UIC : Annual Report 2011 thai

Page 1


รายงานประจำปี 2554 บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)


สารบั ญ สารประธานกรรมการ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทและประวัติโดยย่อ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทางการเงินของบริษัทโดยสรุป ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ รายการระหว่างกัน คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำเนินงาน งบการเงิน™

4 5 6 10 11 12 14 19 32 33 39


ภายใต้ภาวะถดถอยของเศรษฐกิจโลกและวิกฤติหนี้สิน ภาครัฐในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้เกิดการชะลอตัวของ การลงทุนและการค้าโลก ประกอบกับผลกระทบจากปัญหาอุทกภัย

ภายในประเทศเมื่อช่วงปลายปี ทำให้เศรษฐกิจไทยในปี 2554 มีอตั ราการขยายตัวเพียงแค่ 0.1% เท่านัน้ แม้จะมีการคาดการณ์ ว่าเศรษฐกิจของประเทศไทยในปี 2555 จะกลับมาเติบโตตามปกติ ราวร้อยละ 4.5 - 5.5 โดยมีการลงทุนของภาครัฐและการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจโลกเป็นแรงผลักดันให้การบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชนขยายตัวดีขึ้น อย่างไรก็ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ไทยยังคงมีความเปราะบางเนื่องจากมีการเชื่อมโยงกันระหว่าง เศรษฐกิ จ ไทยและเศรษฐกิ จ โลกซึ่ ง ยั ง คงมี ปั จ จั ย เสี่ ย งที่ ต้ อ ง ระมัดระวังอยู่หลายประเด็น ถึงกระนัน้ บริษทั ก็สามารถขยายตัวด้านรายได้จาก 303.02 ล้านบาท

สารประธานกรรมการ

ในปี 2553 เป็น 500.25 ล้านบาทในปี 2554 และทำกำไรสุทธิจาก

17.07 ล้านบาท เป็น 35.61 ล้านบาท โดยมีอตั รากำไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 5.63 เป็นร้อยละ 7.12 ของรายได้จากการขาย ซึ่งถือได้ว่าบริษัทมี ความสามารถในการทำกำไรได้อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ในส่วนของอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ของ บริษทั นัน้ มีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งโดยปรับเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 14.03 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 19.31 ในปี 2554 อันเป็นผลประกอบการที่ มีกำไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม บริษัทได้มีการใช้แหล่ง เงินกูเ้ ป็นเงินทุนหมุนเวียนในสัดส่วนทีเ่ พิม่ มากขึน้ กว่าปีกอ่ น เพือ่ รองรับ ยอดขายที่เพิ่มมากขึ้น ความก้าวหน้าของกิจการบริษทั ฯ ในรอบปี 2554 เป็นผลสืบเนือ่ ง มาจากการดำเนินแผนธุรกิจด้านการจัดหา และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในการจำหน่ายเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อสนองความต้องการของลูกค้า บริษัทฯ ใคร่ขอขอบพระคุณท่านผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ที่กรุณา สนับสนุนกิจการของบริษทั ฯ ด้วยดี บริษทั จะตัง้ ใจกำหนดแผนธุรกิจ และ พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในการจำหน่ายเคมีภณ ั ฑ์ชนิดพิเศษดังกล่าว บริษทั จะใช้โอกาสอันดีนี้ ขยายตัวและสร้างผลกำไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด แด่ท่านผู้ถือหุ้น ด้วยความรอบคอบและระมัดระวังในความไม่แน่นอน ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น กระผมในนามของคณะกรรมการใคร่ขอขอบคุณ ท่านผูถ้ อื หุน้ และผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในการสนับสนุนบริษทั ด้วยดีเสมอมา และหวังว่าจะได้รับการสนับสนุนที่ดีตลอดไป

ในนามคณะกรรมการบริษัท (เจษฎาวัฒน์ เพรียบจริยวัฒน์) ประธานกรรมการ


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย นายกันต์ อรรฆย์วรวิทย์ ประธาน กรรมการตรวจสอบ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญสกุล เต็งอำนวย กรรมการตรวจสอบ และนางสาวสิรสั วดี สุทธิวรพันธ์ชยั กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบทั้งสามท่านมีความรู้ด้านบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

ให้มหี น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีส่ ำคัญได้แก่ การสอบทานให้มรี ายงาน ทางการเงินที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ สอบทานให้มีระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม การสอบทานให้มีการปฏิบัติตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจ จะมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และพิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตัง้ ผู้สอบบัญชีและกำหนดค่าตอบแทน ทั้งนี้ในปี 2554 ที่ผ่านมาคณะ กรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้คือ ได้สอบทานรายการทางการเงินรายไตรมาส และประจำปี 2554 โดยได้หารือกับผู้สอบบัญชีแล้ว มีความเห็นว่า รายงานทางการเงินดัง กล่าวถูกต้องตามควรและเชื่อถือได้ โดยได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการ บัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งรวมถึงมาตรฐานการบัญชีที่บังคับใช้ในปีนี้เช่น มาตรฐานเรือ่ งผละประโยชน์พนักงาน หรือมาตรฐานเรือ่ งทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ เป็นต้น ได้สอบทานว่าบริษทั ฯได้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมถึง กฎหมาย และข้อบังคับอื่นฯที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท ได้สอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และรายการทีอ่ าจจะก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้บริษัทได้มีการซื้อขายสินค้ากับ บริษัทแม่ ซึ่งเป็นบริษัทมหาชน เช่นเดียวกัน และได้กระทำข้อตกลง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมกับทั้งสองฝ่าย และไม่เกิดการทับซ้อนของ การดำเนินธุรกิจ ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ติดตามให้บริษัทการ ปฏิบัติตามข้อตกลงดังกล่าวอย่างเคร่งครัด ได้กำหนดขอบเขตการตรวจสอบภายในให้ครอบคลุมถึงความ เพียงพอของระบบควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง ซึ่งไม่พบ ข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญ อีกทั้งได้แนะนำฝ่ายบริหารปรับปรุงแก้ไข ระบบงานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ รายงานข้อมูลถูกต้องและทันต่อ เหตุการณ์ ได้พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีรายนางสาว ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีเลขที่ 3844 หรือ นายศุภชัย

ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีเลขที่ 3930 หรือนายกฤษดา เลิศวนา ผูส้ อบบัญชีเลขที่ 4958 แห่งบริษทั สำนักงานบัญชี เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ให้เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจำปี 2555 โดยกำหนดค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชีจำนวน 615,000 บาท โดยเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2555 ต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบมีความเป็นอิสระในการปฏิบตั งิ านตามภารกิจ ที่ได้รับมอบหมาย โดยได้ประชุมหารือกับฝ่ายบริหารเป็นระยะ และ ผูส้ อบบัญชีทกุ ไตรมาส เพือ่ ทราบข้อสังเกตุเกีย่ วกับรายงานทางการเงิน และการควบคุมภายในที่เหมาะสม ซึ่งไม่พบประเด็นที่ผิดปรกติอย่างมี นัยสำคัญ

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ (นายกันต์ อรรฆย์วรวิทย์) ประธานกรรมการตรวจสอบ


คณะกรรมการ และประวัติโดยย่ อ นายเจษฎาวั ฒ น์ เพรี ย บจริ ย วั ฒ น์

ตำแหน่ ง ประธานกรรมการและกรรมการอิ ส ระ อายุ 55 ปี คุ ณ วุ ฒิ ท างการศึ ก ษา - - - - - - -

ปริญญาโท สาขา การเงิน New York University ปริญญาโท สาขา บริหารงานวิศวกรรม George Washington University ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตร Director Certification Program (DCP) ประจำปี 2552 หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ประจำปี 2552 หลักสูตร Role of Chairmanship Program (RCP) ปี 2553 FRM (Global Association of Risk Professional : GARP)

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ.

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

ปัจจุบนั บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หัวหน้าเจ้าหน้าทีด่ า้ นการเงิน บริษทั แสนสิริ จำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 2547 - 2550 บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) รองกรรมการผูจ้ ดั การ 2544 - 2547 บริษทั หลักทรัพย์ เคจีไอ ประเทศไทย (จำกัด) รองกรรมการผูจ้ ดั การ


นายกั น ต์ อรรฆย์ ว รวิ ท ย์

ตำแหน่ ง ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิ ส ระ อายุ 50 ปี

คุ ณวุฒิทางการศึกษา - - - - -

ปริญญาโท MBA มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี สาขา เศรษฐศาสตร์ สหกรณ์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 65/2005 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 34/2004 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) ปี 2549

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ.

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

ปัจจุบนั บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษทั ที.เอ็ม.ซี. อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เควิน แอนด์ เคริท์ จำกัด กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เพิม่ สินสตีลเวิคส์ จำกัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ บริษทั คราวน์ เทค แอดวานซ์ จำกัด (มหาชน) กรรมการผูจ้ ดั การ 2551 - 2552 บริษทั บางปะกอก ฮอสพิทอล กรุป๊ จำกัด CFO 2549 - 2551 บริษทั ชูไก จำกัด(มหาชน) CFO 2546 - 2551 บริษทั แบล็คไลเกอร์ จำกัด กรรมการผูจ้ ดั การ 2544 - ปัจจุบนั บริษทั เควิน แอนด์ เคริท์ จำกัด กรรมการผูจ้ ดั การ

นางสาวขวั ญ สกุ ล เต็ ง อำนวย ตำแหน่ ง กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิ ส ระ อายุ 44 ปี

คุ ณวุฒิทางการศึกษา - - - -

ปริญญาเอก สาขาบัญชี The University of Manchester, UK ปริญญาโท MBA (Finance) University of San Antonio, USA ปริญญาโท สาขาบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่วงปี พ.ศ. ปั จจุบนั 2551-ปัจจุบนั 2541 - ปัจจุบนั 2534 - ปัจจุบนั 2534 - 2540

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษทั เฮลธลุค จำกัด กรรมการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาจารย์ประจำภาควิชาบัญชี คณะบริหารธุรกิจ สำนักงานธนากร หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ ไพร์ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ เอบีเอเอส ผูช้ ว่ ยผูส้ อบบัญชี

นางสาวสิ รั ส วดี สุ ท ธิ ว รพั น ธ์ ชั ย คุ ณวุฒิทางการศึกษา

- ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - ปริญญาตรี สาขาเทคนิคการแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตำแหน่ ง กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิ ส ระ อายุ 44 ปี

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ. ปั จจุบนั 2554 - ปัจจุบนั

2543 - 2548 2538 - 2543 2537

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

บริษทั เพลินจิต แคปิตอล จำกัด

ผูอ้ ำนวยการอาวุโสฝ่ายวาณิชธนกิจ

บล. ยูไนเต็ด จำกัด(มหาชน)

ผูอ้ ำนวยการฝ่ายวาณิชธนกิจ

บล. ธนสยาม จำกัด(มหาชน)

ผูจ้ ดั การฝ่ายวาณิชธนกิจ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยระบบงานภายใน


คุ ณ วุ ฒิทางการศึกษา - - -

นายพี ร เจต สุ ว รรณนภาศรี

ปริญญาตรี สาขา บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ตำแหน่ ง ประกาศนียบัตรบริหารธุรกิจ สาขาการเงินการธนาคาร ระหว่างประเทศ The University of Birmingham, UK หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 78 ประจำปี 2548

ประธานกรรมการบริ ห าร อายุ 40 ปี

ประวั ติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ.

ปัจจุบนั

2548 - 2552

2543 - 2548 2534 - 2543

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) บริษทั ยูเคม เอทานอล แอนด์ เอสเตอร์ จำกัด

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ

บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน)

กรรมการ รองกรรมการผูจ้ ดั การ

บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป

บริษทั ยูเนีย่ น เทรดดิง้ แอนด์ อินดัสตรี้ จำกัด

คุ ณ วุ ฒิทางการศึกษา

- ประกาศนียบัตร หลักสูตรพัฒนาผูบ้ ริหาร คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ประจำปี 2548

รองผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด

นายวิรัช สุวรรณนภาศรี

ตำแหน่ ง กรรมการ อายุ 67 ปี

ประวั ติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ. 2553 - ปัจจุบนั 2548 - ปัจจุบนั 2548 - 2553 2524 - 2547

ชือ่ บริษทั บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) บริษทั ไลอ้อน เอเซีย (ไทยแลนด์) จำกัด บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) บริษทั ยูเนีย่ น เทรดดิง้ แอนด์ อินดัสตรี้ จำกัด

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ

นางกาญจนา สุว รรณนภาศรี ตำแหน่ง กรรมการ อายุ 70 ปี

คุณวุฒิทางการศึกษา - - -

ปริญญาเอก สาขา สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พุทธศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ประจำปี 2548

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ.

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

2553 - ปัจจุบนั 2548 - ปัจจุบนั

บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ยูเคม เอทานอล แอนด์ เอสเตอร์ จำกัด กรรมการ บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไลอ้อน เอเซีย (ไทยแลนด์) จำกัด กรรมการ

2524 - 2547

บริษทั ยูเนีย่ นเทรดดิง้ แอนด์ อินดัสตรี้ จำกัด

รองกรรมการผูจ้ ดั การ

นางสาวสุธิด า สุ ว รรณนภาศรี ตำแหน่ง กรรมการ คุ ณ วุ ฒิ ท างการศึ ก ษา อายุ 42 ปี

- ปริญญาโท สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาตรี สาขา นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 78 ประจำปี 2548 ประวัติการทำงานในช่ว ง 5 ปีที่ผ่านมา

ช่วงปี พ.ศ.

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

ปัจจุบนั บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ยูเคม เอทานอล แอนด์ เอสเตอร์ จำกัด กรรมการ 2548 - 2552 บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การทัว่ ไป


นางสาวปิยะนั น ท์ สุ ว รรณนภาศรี ตำแหน่ง กรรมการ คุ ณ วุ ฒิ ท างการศึ ก ษา อายุ 41 ปี

- - - -

ปริญญาโท MBA สาขาการตลาด University of New Haven, USA ปริญญาโท Msc สาขากาเงิน University of New Haven, USA ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 42 ประจำปี 2548

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ.

2548 - ปัจจุบนั 2548 - 2545

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) บริษทั ไลอ้อน เอเชีย จำกัด บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) บริษทั ยูเคม เอทานอล แอนด์ เอสเตอร์ จำกัด บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน)

กรรมการ กรรมการ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน

นายพีรพล สุ ว รรณนภาศรี ตำแหน่ง กรรมการ คุ ณ วุ ฒิ ท างการศึ ก ษา อายุ 34 ปี

- ปริญญาโท สาขา E-Business Management University of Surrey U.K. - ปริญญาตรี สาขา บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ประจำปี 2548

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ. 2548 - ปัจจุบนั 2546 - 2548

คุ ณ วุฒิทางการศึกษา

- ปริญญาโท สาขา Commerce, University of New South Wales - ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ.

ชือ่ บริษทั

ชือ่ บริษทั

บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไลอ้อน เอเซีย (ไทยแลนด์) จำกัด กรรมการ บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ยูเคม เอทานอล แอนด์ เอสเตอร์ จำกัด กรรมการ บริษทั ยูเนีย่ น ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน)

นายการุ ณ ศรี วิ จิ ต รานนท์ ตำแหน่ ง กรรมการ อายุ 35 ปี

ตำแหน่ง

ปัจจุบนั บริษทั ยูเนีย่ น อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) กรรมการ 2549 - ปัจจุบนั Diageo Moet Hennessy, Thailand Croup Customer Marketing Manager 2546 - 2549 บริษทั ดีทแฮล์ม จำกัด Product Manager 2546 Unilever Best Foods(Thailand) Customer Executive 2542 - 2544 บริษทั ดีทแฮล์ม จำกัด Senior Product Management Assistant 2541 - 2542 บริษทั เซ็นทรัล ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ จำกัด Department Manager

นายวิ ษ ณุ มี อ ยู่

คุ ณ วุฒิทางการศึกษา

- ปริญญาเอก สาขา วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวเซาท์เวลส์ - ปริญญาตรี สาขา เคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตำแหน่ ง กรรมการ อายุ 42 ปี

ประวัติการทำงานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ช่ วงปี พ.ศ.

ปั จจุบัน 2538 - ปัจจุบัน 2535 - 2536

ตำแหน่ง

ชือ่ บริษทั

ตำแหน่ง

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

กรรมการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย

บริษัท เอสโซ่สแตนดาร์ด ประเทศไทย จำกัด

วิศวกร

ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจ


010

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ข้อมู ล ทั่ ว ไป ชื่อบริษัท เลขทะเบียนบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เว็บไซต์บริษัท โทรศัพท์ โทรสาร

: บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) : 0107553000140 : จัดหา พัฒนาและจำหน่ายเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ : 130,000,000 บาท : 130,000,000 บาท : 9/8 หมู่ที่ 5 แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร : www.unionintraco.co.th : (662) 888-6800 : (662) 888-7200

ข้ อมูลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ ผู้สอบบัญชี

: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 4, 6-7 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2359-1200-1โทรสาร 0-2359-1259 : คุณศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล เลขทะเบียน 3844 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777 โทรสาร 0-2264-0789-90


รายงานประจำปี 2554 011

ข้ อ มู ลทางการเงิ น ของบริ ษั ท โดยสรุป หน่วย : ล้านบาท

ฐานะการเงิน และผลการดำเนินงาน

งบการเงิ น 2553 2554

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้รวม กำไร(ขาดทุน) สุทธิ กำไร(ขาดทุน) ต่อหุ้น

322.18 191.88 130.30 303.02 17.19 0.22

521.78 283.30 238.48 500.25 35.61 0.33

199.60 ล้านบาท 91.42 ล้านบาท 108.18 ล้านบาท 60.57% 48.27% 0.11 บาท/หุ้น

อัตราส่วนทางการเงิน

2553 2554

เพิ่มขึ้น (ลดลง) จากปีก่อน

อัตรากำไรขั้นต้น อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

14.33% 5.63% 6.66% 14.03% 1.47 เท่า

1 8.94% 7.12% 12.38% 19.31% 1.19 เท่า

เพิ่มขึ้น (ลดลง) จากปีก่อน

4.61% 1.49% 5.72% 5.28% (0.28 เท่า)


012

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ลั ก ษณะของ การประกอบ ธุ ร กิ จ

ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) เป็นผูจ้ ดั หา พัฒนาและจัดจำหน่ายเคมีภณ ั ฑ์ชนิด พิเศษ (Specialty Chemical) สำหรับใช้ใน อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครือ่ งสำอางและผลิตภัณฑ์ ดูแลสุขภาพ สี หมึกพิมพ์และเคลือบสี อาหารและ เวชภัณฑ์ พลาสติกและบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น โดย เคมีภัณฑ์ของบริษัทมีการนำไปใช้ที่หลากหลาย ทัง้ การใช้เป็นวัตถุดบิ ตัง้ ต้น เป็นส่วนผสม ตัวกลาง หรือนำไปแปรรูปเป็นเคมีภัณฑ์ชนิดอื่นๆ เคมีภณ ั ฑ์ชนิดพิเศษของบริษทั จะถูกนำไปใช้ ในกระบวนการผลิ ต ที่ มี ค วามต้ อ งการใช้ ง าน เฉพาะด้านเพือ่ สร้างคุณลักษณะพิเศษให้กบั สินค้า ที่ผลิต จึงมีความแตกต่างจากเคมีโภคภัณฑ์ (Commodity Chemical) ทัง้ ในด้านราคา ปริมาณ และต้นทุนการผลิตรวมไปถึงความต้องการใช้งาน โดยสามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างเคมี โภคภัณฑ์และเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษได้ดังนี้

กลุ่มผลิตภัณฑ์ของบริษัท สิ นค้ า เคมี ภั ณฑ์ ข องบริ ษั ท สามารถแบ่ ง ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ เคมีภัณฑ์ชนิดของเหลว และเคมีภัณฑ์ชนิดผง โดยมีรายละเอียดของ แต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์ดังนี้ เคมีภัณฑ์ชนิดของเหลว • แอลกอฮอล์ (Alcohol) • เอสเตอร์ (Ester) • ไกลคอล (Glycol) เคมีภัณฑ์ชนิดผง • สารเพิ่มคุณสมบัติ (Additive) • สารให้สี (Pigment)

รายได้ ข องบริ ษั ท แบ่ ง แยกตามกลุ่ ม ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ล้า นบาท

500 400 300 200 100 0

497.72

324..97 291.99 238.34 172.75 53.65

เคมี ภั ณ ฑ์ ช นิ ด ของเหลว เคมี ภั ณ ฑ์ ช นิ ด ผง รวมรายได้ จ ากการขาย

2553 2554

ร้ อ ยละ

100 80 60 40 20 0

100.00

100.00 81.63 65.29

34.71 18.37

2553

2554

เคมี ภั ณ ฑ์ ช นิ ด ของเหลว เคมี ภั ณ ฑ์ ช นิ ด ผง รวมรายได้ จ ากการขาย


รายงานประจำปี 2554 013

รายได้ ข องบริ ษั ท แบ่ ง แยกตามกลุ่ ม อุ ต สาหกรรม ล้ า นบาท

500 400 300 200 100 0

497.72

191.61

186.73

291.99 38.86

130.10

90.75

เครื่ อ งสำอางค์ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดู แ ลสุ ข ภาพ

สี , หมึ ก พิ ม พ์ และเคลื อ บสี

39.54

อาหาร และเวชภั ณ ฑ์

71.30 20.14

พลาสติก และ บรรจุ ภั ณ ฑ์

9.22 11.47

อื่ น ๆ

รวมรายได้ จ าก การขาย

2553 2554

ร้ อ ยละ

100 80 60 40 20 0

100.00 100.00

44.56

38.50

เครื่ อ งสำอางค์ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดู แ ลสุ ข ภาพ

31.08 37.52

สี , หมึ ก พิ ม พ์ และเคลื อ บสี

13.54 7.81

6.90 14.33

อาหาร และเวชภั ณ ฑ์

พลาสติก และ บรรจุ ภั ณ ฑ์

3.93

1.85

อื่ น ๆ

รวมรายได้ จ าก การขาย

2553 2554


014

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ปัจจัย ความเสี่ ย ง ความเสี่ ยงจาก การเปลี่ ยนแปลง ราคาวั ต ถุดิบ

ความเสี่ ยงในการ ไม่ ไ ด้ รั บ การต่อ สั ญ ญาตัวแทน จำหน่ า ย

เคมีภัณฑ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมส่วนใหญ่รวมถึงเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษที่บริษัทเป็นผู้จำหน่ายเป็นผลผลิต จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โดยมีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปิโตรเคมีต้นน้ำคือ แนฟทา (Naphtha) เอทิลีน (Ethylene) และ โพรพิลีน (Propylene) เป็นวัตถุดิบตั้งต้นที่สำคัญในการผลิต การเปลี่ยนแปลงราคาของ เคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษจึงมีแนวโน้มไปในทางเดียวกับการเปลี่ยนแปลงราคาของน้ำมันดิบและเคมีภัณฑ์ที่เป็น วัตถุดิบตั้งต้นดังกล่าว ทั้งนี้ ราคาของเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษมีแนวโน้มที่จะมีความผันผวนของราคาน้อยกว่าเคมีโภคภัณฑ์ (Commodity Chemical) เนือ่ งจากไม่ได้แปรตามปัจจัยด้านราคาวัตถุดบิ แต่เพียงอย่างเดียว แต่ยงั ขึน้ อยูก่ บั ความต้องการสินค้าทัง้ ตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ การขาดแคลนของสินค้าหรือแนวโน้มการเพิม่ กำลังการผลิตของผูผ้ ลิตรายใหญ่ โดยเฉพาะเคมีภณ ั ฑ์ชนิดพิเศษบางอย่างเป็นผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นสิทธิบตั รเฉพาะ ของผู้ผลิต ซึ่งส่งผลให้ผู้ผลิตมีอิทธิพลในการกำหนดราคาเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษนั้นๆ ในระดับสูง ทำให้ใน กรณีที่สินค้ามีราคาสูงขึ้นและบริษัทไม่สามารถหาสินค้าทดแทนที่มีคุณสมบัติทางเคมีเทียบเท่าได้เนื่องจาก เป็นสินค้าที่มีผู้ผลิตน้อยราย จะส่งผลให้บริษัทมีความเสี่ยงกับต้นทุนสินค้าที่สูงขึ้น ดังนั้น บริษัทจึงได้กำหนดนโยบายการสั่งซื้อเพื่อลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนสินค้า โดยผูบ้ ริหารของบริษทั ได้มกี ารติดตามการเปลีย่ นแปลงของราคาวัตถุดบิ อย่างใกล้ชดิ เพือ่ ประเมินสถานการณ์ ของตลาด แนวโน้มของราคาและปริมาณความต้องการใช้เคมีภณ ั ฑ์ของลูกค้า โดยใช้ปริมาณคำสัง่ ซือ้ ในอดีต มาประกอบการพิจารณาตัดสินใจเพื่อกำหนดปริมาณการสั่งซื้อสินค้าของบริษัท ส่วนนโยบายในการกำหนด ราคาขายของสินค้าของบริษัท ผู้บริหารจะทบทวนราคาขายของบริษัทเป็นประจำทุกเดือนเพื่อให้สะท้อน ราคาตลาด ณ ขณะนั้น เพื่อลดภาระความผันผวนของราคาวัตถุดิบดังกล่าวไม่ให้มีผลกระทบต่ออัตราการ ทำกำไรอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้บริษัทยังมุ่งเน้นตลาดเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษที่ไม่ได้อาศัยการแข่งขันด้าน ราคาเพียงอย่างเดียว หากแต่ผจู้ ำหน่ายต้องแข่งขันกันในด้านคุณภาพการให้บริการและคุณภาพสินค้า ซึง่ เป็น อีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาวัตถุดิบของบริษัท

บริษทั ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นตัวแทนจำหน่ายสารให้สไี ทเทเนียมไดออกไซด์จากบริษทั Tioxide (Malaysia) SDN BHD ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของ Huntsman International โดยสัญญาตัวแทนจำหน่ายดังกล่าวมีอายุ 1 ปี และต่ออายุสญ ั ญาโดยอัตโนมัตอิ กี คราวละ 1 ปี ซึง่ ในกรณีทไี่ ม่ได้รบั การต่อสัญญาจะทำให้บริษทั ไม่สามารถ ซื้อไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ผลิตโดย Huntsman International เพื่อจำหน่ายในประเทศ และจะไม่ได้รับการ สนับสนุนทางเทคนิคในด้านที่เกี่ยวกับไทเทเนียมไดออกไซด์จาก Huntsman International ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัท อย่างไรก็ตาม ใน ปี 2554 บริษัทได้ขยายตลาดไทเทเนียมไดออกไซด์โดยมีรายได้จากการจำหน่าย สินค้าในกลุ่มสารให้สีดังกล่าว 169.43 ล้านบาท ผู้บริหารจึงมีความเชื่อมั่นว่า ด้วยบุคลากรของบริษัทที่มี ความชำนาญด้านเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษและการมีฐานลูกค้าในอุตสาหกรรมที่มีการใช้ไทเทเนียมไดออกไซด์ใน การผลิต เช่น อุตสาหกรรมสีและบรรจุภณ ั ฑ์ เป็นต้น จะทำให้บริษทั สามารถทำหน้าทีต่ วั แทนจำหน่ายทีด่ ไี ด้ นอกจากนี้เมื่อพิจารณาการเป็นตัวแทนจำหน่ายไทเทเนียมไดออกไซด์ของ Huntsman International ในประเทศไทยอีกรายหนึง่ ซึง่ เป็นตัวแทนจำหน่ายสินค้าดังกล่าวมานานกว่า 30 ปี แล้ว ผูบ้ ริหารของบริษทั จึงเชื่อว่าบริษัทจะมีความเสี่ยงจากการไม่ได้รับต่อสัญญาตัวแทนจำหน่ายในระดับต่ำ


รายงานประจำปี 2554 015

ความเสี่ ย งจาก ลู ก หนี้ ก ารค้ า ที่ผ่านมาปี 2552 - ปี 2554 บริษัทมีลูกหนี้การค้าสุทธิ 40.35 ล้านบาท 86.57 ล้านบาท และ 124.30 ล้านบาท คิดเป็นระยะเวลาการเก็บหนีเ้ ฉลีย่ เท่ากับ 64.57 วัน 78.24 วัน และ 77.31 วัน ตามลำดับ และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทปริมาณลูกหนี้การค้าสุทธิคิดเป็นร้อยละ 23.82 ของสินทรัพย์รวม ปัจจุบนั ไม่พบลูกหนีท้ มี่ ปี ญ ั หาการชำระหนีแ้ ต่อย่างใด จำนวนลูกหนีก้ ารค้าดังกล่าวหากจะต้องตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญ บริษัทจะวิเคราะห์จากแนวโน้มที่จะได้รับการชำระหนี้จากลูกค้ารายเป็นรายๆ หรือเป็นลูกหนี้ที่มีการ ฟ้องร้องดำเนินการทางกฎหมายแล้ว อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากเป็นสินทรัพย์ทมี่ สี ดั ส่วนต่อทรัพย์สนิ รวมสูงดังนัน้ ในอนาคตหากบริษัทมีปัญหาในการจ่ายชำระเงินและกลายเป็นหนี้สูญ อาจส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องและ ผลการดำเนินงานของบริษัท การพิจารณาระยะเวลาการชำระหนีจ้ ะแบ่งตามลักษณะการประกอบกิจการของลูกค้า โดยรวมคือลูกค้า ทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ อุตสาหกรรมเครือ่ งสำอางและผลิตภัณฑ์ดแู ลสุขอนามัย อุตสาหกรรมอาหารและเวชภัณฑ์ อุตสาหกรรม พลาสติกและบรรจุภณ ั ฑ์ จะอนุมตั เิ ครดิตเทอม 60 วัน ส่วนอุตสาหกรรมสี หมึกพิมพ์และเคลือบสี หรือบริษทั ตัวแทนจัดจำหน่ายเคมีภัณฑ์ จะอนุมัติเครดิตเทอม 60 - 90 วัน นโยบายพิจารณาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้า นอกจากจะพิจารณาจากลักษณะกลุม่ ธุรกิจของลูกค้าแล้ว ยังขึน้ กับประวัตกิ ารสัง่ ซือ้ การชำระค่าสินค้าในอดีต โดยจัดให้ฝา่ ยการตลาดและฝ่ายบัญชีของบริษทั ประสานงานกันเพือ่ ทบทวนพิจารณาการให้กำหนดระยะเวลา การชำระหนีแ้ ละวงเงินแก่ลกู ค้าแต่ละรายอย่างสม่ำเสมอ ทำให้บริษทั สามารถปรับการพิจารณาให้ระยะเวลา การชำระหนี้และวงเงินแก่ลูกค้าให้เหมาะสมด้านคุณภาพของลูกหนี้การค้าและการให้สินเชื่อแก่ลูกค้า ทางผู้บริหารได้ให้ความสำคัญในการติดตามลูกหนี้ค้างชำระนานโดยให้ฝ่ายบัญชีแสดงรายชื่อลูกค้า คงค้างรับทราบเป็นประจำทุกเดือน ตรวจสอบประวัติฐานะการเงินก่อนการให้บริการและอนุมัติระยะเวลา การชำระหนี้ และกำหนดมาตรการเร่งรัดลูกหนี้คงค้างหลายระดับตั้งแต่การติดต่อทวงถาม การส่งจดหมาย ทวงหนี้เป็นลายลักษณ์อักษร และหากเกินกำหนดการชำระกว่า 90 วันจะดำเนินการให้ทนายความของ บริษัทฟ้องร้องต่อศาลเพื่อขอรับชำระหนี้ ซึ่งได้เริ่มปฏิบัติมาตั้งแต่ปี 2551 จึงคาดว่าจะสามารถควบคุม ปริมาณหนี้สูญให้อยู่ในจำนวนจำกัดได้ ส่งผลให้ที่ผ่านมาไม่ประสบปัญหาหนี้สูญ โดย ณ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีลูกหนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ค้างชำระไม่เกิน 3 เดือน ค้างชำระเกินกำหนด 3-6 เดือน และ ค้างชำระเกินกำหนดกว่า 12 เดือนเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 55.70 ร้อยละ 43.19 ร้อยละ 0.98 และ ร้อยละ 0.16 ของลูกหนี้การค้ารวม คิดเป็นมูลค่ารวม 69.28 ล้านบาท 53.69 ล้านบาท 1.22 ล้านบาท และ 0.20 ล้านบาท ตามลำดับ ทั้งนี้ ลูกหนี้ที่เกินกำหนดชำระดังกล่าวกว่าร้อยละ 55.70 เป็นลูกหนี้ที่เกินกำหนด ชำระไม่เกิน 30 วัน ซึ่งเกิดจากการเหลื่อมของรอบระยะเวลาวางใบแจ้งหนี้และการรับเช็คเป็นหลัก อีกทั้ง ยังเป็นกลุ่มลูกค้าเดิมของบริษัทที่มีการทำรายการค้าอย่างต่อเนื่องและไม่เคยมีประวัติไม่ได้รับชำระหนี้ อย่างไรก็ตาม สำหรับลูกหนี้ที่เกินกำหนดชำระเป็นเวลานาน บริษัทได้ทำการติดตามการชำระหนี้และได้มี การเจรจาเพือ่ ขอผ่อนปรนชำระหนี้ โดยลูกหนีด้ งั กล่าวได้มกี ารทยอยจ่ายชำระหนีอ้ ย่างสม่ำเสมอ ทัง้ นีจ้ ำนวน ลูกหนี้ค้างชำระดังกล่าวไม่มีนัยสำคัญอันจะกระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัท


016

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ความเสี่ ยงจาก การจั ด เก็บและ ขนส่ ง สิ นค้าเคมี และวั ต ถุ ไวไฟ

แม้ว่าสินค้าของบริษัทส่วนมากจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มเคมีภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และไม่เป็นอันตราย อย่างไรก็ตาม สินค้าเคมีภณ ั ฑ์บางชนิดของบริษทั ถูกจัดอยูใ่ นกลุม่ วัตถุไวไฟ และวัตถุอันตรายตามนิยามของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม จึง จำเป็นต้องมีการดูแลจัดเก็บอย่างระมัดระวังเพือ่ ป้องกันการรัว่ ไหลของเคมีภณ ั ฑ์ซงึ่ จะส่งผล ต่อความปลอดภัยของบุคลากรที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงสิ่งแวดล้อมโดยรอบ บริษัทจึงได้กำหนด นโยบายป้องกันอันตรายโดยการจัดเก็บสินค้าเคมีภณ ั ฑ์ในภาชนะบรรจุในรูปแบบทีเ่ หมาะสม เช่น ถังบรรจุ Anti Static IBC ทีม่ โี ครงสร้างหนา 3 ชัน้ เพือ่ ป้องกันไฟฟ้าสถิตและการระเหย รัว่ ซึมทีอ่ าจเกิดขึน้ และทำความสะอาดรวมทัง้ ตรวจสภาพของภาชนะบรรจุกอ่ นทุกครัง้ ก่อน การนำไปใช้ เพือ่ ให้แน่ใจว่าภาชนะบรรจุอยูใ่ นสภาพทีส่ ะอาดและเรียบร้อยสามารถนำไปใช้งาน ได้อย่างปลอดภัย นอกจากนี้ บริษทั ยังได้จดั เตรียมสถานทีจ่ ดั เก็บสินค้าให้เหมาะสมกับลักษณะของสินค้า และการทำงาน โดยแยกคลังสินค้าที่ใช้จัดเก็บเคมีภัณฑ์ชนิดเหลวและเคมีภัณฑ์ชนิดผง ออกจากกัน สำหรับสินค้าที่เป็นวัตถุไวไฟและมีลักษณะการทำงานหลายขั้นตอนซึ่งอาจมี ความเสีย่ งในการทำงาน บริษทั ได้จดั เตรียมสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ความปลอดภัย เช่น การเดิน ระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์แบบ Explosion Proof และการต่อสายดินภายในคลังสินค้าเพื่อ ป้องกันการเกิดประกายไฟ หรือกระแสไฟฟ้าลัดวงจร ซึ่งเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอัคคีภัยได้ รวมถึงการจัดเตรียมอุปกรณ์ดบั เพลิงเป็นสิง่ จำเป็นและช่วยบรรเทาความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ ใน เบือ้ งต้น พร้อมกับได้ให้บคุ ลากรเข้ารับการอบรมมาตรการรักษาความปลอดภัยในคลังสินค้า และจัดให้มีการซ้อมวิธีป้องกันอุบัติเหตุและแนวทางการปฏิบัติในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ รวมทั้ง ได้จดั ทำประกันภัยความเสียหายสำหรับอาคารสำนักงาน เครือ่ งมือ อุปกรณ์ อาคารคลังสินค้า และสินค้าคงคลังทัง้ หมด โดยบริษทั ได้กำหนดนโยบายกำหนดทุนทำประกันภัยสำหรับสินค้า คงเหลือให้สอดคล้องกับมูลค่าและลักษณะสินค้าคงเหลือในปัจจุบัน เพื่อลดความสูญเสียที่ อาจเกิดขึน้ กับทรัพย์สนิ ของบริษทั ให้เหลือน้อยลง และภาระค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดจากอุบตั เิ หตุเกิดการ รัว่ ไหลส่งผลกระทบผูท้ อี่ ยูบ่ ริเวณใกล้เคียง ทัง้ นี้ ณ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั มีปริมาณสินค้า คงเหลือ 236.67 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากสิน้ ปี 2553 ซึง่ มีสนิ ค้าคงเหลือมูลค่า 109.86 ล้านบาท อันเป็นผลจากการขยายตลาดสินค้าในกลุ่มสารให้สีไทเทเนียมไดออกไซด์ทำให้มีการนำเข้า ไทเทเนียมไดออกไซด์เพิม่ มากขึน้ ซึง่ สินค้าในกลุม่ ดังกล่าวไม่เป็นวัตถุไวไฟ ส่งผลให้ความเสีย่ ง จากการจัดเก็บเคมีวัตถุไวไฟของบริษัทมีแนวโน้มลดลงในอนาคต


รายงานประจำปี 2554 017

ความเสี่ ย งจาก ความผั น ผวน ของอั ต ราแลก เปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่ า งประเทศ การสัง่ ซือ้ เคมีภณ ั ฑ์ของบริษทั ส่วนมากเป็นการนำเข้าจากต่างประเทศกำหนดราคาโดยใช้เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ในการทำสัญญาซือ้ ขายเป็นหลัก โดยในปี 2552 - ปี 2554 บริษทั มูลค่าการนำเข้าเป็นเงินตราต่างประเทศ 3.40 ล้าน เหรียญสหรัฐ 8.41 ล้านเหรียญสหรัฐ และ 7.97 ล้านเหรียญสหรัฐ ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 79 ร้อยละ 80 และ ร้อยละ 82 ของมูลค่าการสัง่ ซือ้ สินค้ารวม ส่วนรายได้จากการขายในปัจจุบนั เป็นการจำหน่ายในประเทศเป็นเงินสกุลบาท ทัง้ หมด ทำให้บริษทั อาจความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศได้หากเกิดสถานการณ์ที่ ทำให้ที่ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้น กรณีดังกล่าวจะทำให้จำนวนเงินจ่ายชำระค่าสินค้าบริษัทสูงขึ้นในขณะที่ ไม่สามารถปรับราคาขายสินค้าตามการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นได้ โดย ณ สิน้ ปี 2554 บริษทั มีหนีส้ นิ ทีย่ งั ไม่ได้ ป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นมูลค่า 7.04 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ เกิดจากการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทได้กำหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยง โดยฝ่ายบัญชีและการเงินมีหน้าทีต่ รวจสอบข้อมูลอัตราแลกเปลีย่ นทุกวัน เพือ่ เปรียบเทียบดูแนวโน้มของตลาดและ ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นและรายงานให้ผบู้ ริหารทราบในทันที ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างเป็นสาระสำคัญ โดยวิเคราะห์แนวโน้มของตลาดทีเ่ กีย่ วข้อง และสิง่ ทีบ่ ง่ บอกถึงแนวโน้มของอัตราแลกเปลีย่ น เพือ่ ให้การคาดการณ์ เป็นไปอย่างระมัดระวังรอบคอบ นโยบายของบริษัทได้กำหนดให้มีการทำ Forward Rate เงินตราต่างประเทศ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนในภาวะที่อัตราแลกเปลี่ยนมีการผันผวนอย่างมาก เพื่อลดความเสี่ยง จากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ในปี 2552-2554 บริษัทมีกำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน  1.77 ล้านบาท 10.17 ล้านบาท (9.73) ล้านบาท ตามลำดับ โดยสาเหตุการขาดทุนและกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนในแต่ละปีนั้นเนื่องจากความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินบาทและเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ

ความเสี่ ย งจาก การเปลี่ยนแปลง ของอัตราดอกเบีย้ บริษทั มีวงเงินสินเชือ่ เพือ่ การนำเข้าจากสถาบันการเงินเป็นวงเงินกูร้ ะยะสัน้ ในรูปทรัสต์รซี ที และเจ้าหนีต้ วั๋ สัญญา ใช้เงิน ที่มีอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมระหว่างธนาคารในประเทศสิงคโปร์ SIBOR (Singapore Interbank Offered Rate) หรือ MOR (Minimum Overdraft Rate) ของธนาคารภายในประเทศ โดยวงเงินสินเชือ่ ดังกล่าวถูกใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการจัดหาสินค้าเพือ่ จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 วงสินเชือ่ ดังกล่าว มียอดคงค้างรวม 286.00 ล้านบาท ซึง่ วงเงินทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนมีอตั ราดอกเบีย้ ลอยตัวทัง้ หมด ดังนัน้ ในภาวะ ของอัตราดอกเบี้ยขาขึ้นอาจทำให้บริษัทต้องรับภาระค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามบริษัทบริหารความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย โดยการติดตามแนวโน้มของอัตราดอกเบี้ยทั้งใน ตลาดโลกและภายในประเทศ ในการประกอบธุรกิจที่ผ่านมา บริษัทให้ความสำคัญเรื่องบริหารความเสี่ยงด้าน แหล่งเงินทุน และพยายามจำกัดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย


018

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ความเสี่ ยงจาก การที่ บ ริษัทมี ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ถื อ หุ้ น รวมกัน ถึ ง ร้ อ ยละ 50

ณ วันที่ 15 มีนาคม 2555 ของบริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมิคอล จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นใน บริษัทรวมกันร้อยละ 99.99 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทในปัจจุบัน ซึง่ สัดส่วนดังกล่าวจะลดลงเหลือร้อยละ 59.99 ของจำนวนหุน้ ทีจ่ ำหน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั โดยกลุ่มสุวรรณนภาศรีเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในบริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมิคอล จำกัด (มหาชน) และมีรายชื่อทั้งหมด 6 คนจากทั้งหมด 12 คนอยู่ในคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ บริหารของบริษัทดังกล่าว การถือครองหุ้นของกลุ่มสุวรรณนภาศรีทั้งทางตรง และทางอ้อมผ่าน บริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) ในสัดส่วนรวมกันเกินกว่าร้อยละ 50 ของทุนชำระแล้วหลังการ เสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนให้แก่ประชาชน จะทำให้กลุม่ สุวรรณนภาศรี สามารถควบคุมมติสว่ นใหญ่ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้ทั้งหมด เว้นแต่เรื่องที่กฎหมายหรือข้อบังคับของบริษัทกำหนดให้ต้องได้ รับมติไม่ต่ำกว่า 3 ใน 4 ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น เช่น การเพิ่มทุน การลดทุนการขายหรือโอน กิจการของบริษทั ทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ ำคัญให้แก่บคุ คลอืน่ เป็นต้น ดังนัน้ ผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ จึง อาจจะไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพือ่ ตรวจสอบหรือถ่วงดุลเรือ่ งทีผ่ ถู้ อื หุน้ ใหญ่นำเสนอได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าว จึงได้มีการจัดให้มีคณะกรรมการที่ เป็นบุคคลภายนอก 6 ท่าน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 50 ของจำนวนกรรมการทั้งหมดของบริษัท โดย เป็นกรรมการอิสระ 4 ท่าน เพือ่ ทำหน้าทีต่ รวจสอบและถ่วงดุลการทำงานของคณะกรรมการและ ผูบ้ ริหารในระดับหนึง่ อีกทัง้ คณะกรรมการมีนโยบายคำนึงถึงผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ เป็นหลัก ในการตัดสินใจกระทำการหรือละเว้นกระทำการใดๆ นอกจากนี้ หากบริษทั มีความจำเป็นในการ ทำรายการกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง บริษทั จะปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารทำรายการ ระหว่างกันและหลักเกณฑ์ที่ประกาศไว้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด โดยผู้บริหาร กรรมการ หรือ ผู้ถือหุ้นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับรายการดังกล่าวจะไม่มีสิทธิในการ ออกเสียงในการพิจารณาเรื่องนั้นๆ


รายงานประจำปี 2554 019

โครงสร้ า งผู้ ถื อ หุ้ น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 130,000,000 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญจำนวน 130,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท โดยเป็นทุนจดทะเบียน ชำระแล้วจำนวน 130,000,000 หุ้น

ผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ปรากฏตามสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 15 มีนาคม 2555 มีดังนี้

ลำดับ

รายชื่อผู้ถือหุ้น

1.

บมจ.ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล

2.

ณ 15 มีนาคม 2555 จำนวนหุ้นที่ถือ สัดส่วน (%) 77,993,000

59.99

นางกนกอร บดินทร์รัตน์

5,900,660

4.54

3.

นางสาววนันธร กิจวานิชเสถียร

3,958,699

3.05

4.

นายธำรงค์ สมพฤกษ์

1,704,600

1.31

5.

นายกำธร สุขวัฒน์

1,582,000

1.31

6.

นางสุริยา แน่นหนา

1,399,400

1.08

7.

นายเอกรัช เต็งอำนวย

1,291,500

0.99

8.

นางสาวกรองทอง เศวตมาลย์

1,140,100

0.88

9.

นางสาวกชพร เชิดชูศรีทรัพย์

1,036,400

0.80

10.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด

812,021

0.62

นโยบายการจ่ายเงินปันผล ในกรณีทกี่ ลุม่ บริษทั ไม่มคี วามจำเป็นในการใช้เงินเพือ่ การลงทุนหรือขยายกิจการ และมีกระแสเงินสดเพียงพอ กลุม่ บริษทั มีนโยบายจ่ายปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล และสำรองตามกฎหมาย ทั้งนี้อัตรา การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจเปลีย่ นแปลงได้ โดยขึน้ อยูก่ บั ความจำเป็นและความเหมาะสมโดยพิจารณาจากประโยชน์สงู สุด ของผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการบริษัทที่อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจะต้องถูกนำเสนอเพื่อขออนุมัติต่อที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ซึง่ คณะกรรมการบริษทั มีอำนาจอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลได้ และให้รายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป


สำนั ก งานตรวจสอบ

ส่ ว นการเงิ น

ส่ ว นงานขนส่ ง ส่ ว นงานธุ รการ

ส่ ว นเคมี ภัณ ฑ์ 2

ส่ ว นประสานงานขาย

ส่ ว นจั ดซื้ อ สิ น ค้า

ส่ ว นบั ญ ชี

ส่ว นคลั ง สิ น ค้ า

สายงานบริ ห ารกลาง

ประธารเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ส่ วนธุ ร การกลาง

ส่ วนจั ด ซื้ อทั่ วไป

ส่ วนงานบุ ค คล

ส่ วนพั ฒนาธุ ร กิ จ

ส่ วนปฏิ บั ติ ก ารคลั งสิ น ค้ า

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ส่ ว นเคมี ภัณ ฑ์ 1

สายงานขายและการตลาด

เลขานุ ก ารบริ ษัท

คณะกรรมการบริ ห าร

คณะกรรมการบริ ษั ท

โครงสร้ า งการจั ด การ 020


รายงานประจำปี 2554 021

คณะกรรมการบริษัท ลำดับ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีกรรมการทั้งหมด 12 ท่าน ดังนี้

รายชื่อ

ตำแหน่ง

นายเจษฎาวัฒน์ เพรียบจริยวัฒน์ นายกันต์ อรรฆย์วรวิทย์ นางสาวขวัญสกุล เต็งอำนวย นางสาวสิรัสวดี สุทธิวรพันธ์ชัย นายพีรเจต สุวรรณนภาศรี นายวิรัช สุวรรณนภาศรี นางกาญจนา สุวรรณนภาศรี นางสาวสุธิดา สุวรรณนภาศรี นางสาวปิยะนันท์ สุวรรณนภาศรี

ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

10. นายพีรพล สุวรรณนภาศรี

กรรมการ

11. นายการุณ ศรีวิจิตรานนท์

กรรมการ

12. นายวิษณุ มีอยู่

กรรมการ

หมายเหตุ : เลขานุการของบริษัท คือ นางสาวปิยธิดา สุวรรณชนะ

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามแทนบริษัท มีดังนี้ นายวิรชั สุวรรณนภาศรี หรือ นางกาญจนา สุวรรณนภาศรี หรือ นางสาวสุธดิ า สุวรรณนภาศรี หรือ นางสาวปิยะนันท์ สุวรรณนภาศรี หรือ นายพีรเจต สุวรรณนภาศรี หรือ นายพีรพล สุวรรณนภาศรี สองในหกคนลงรายมือชื่อร่วมกัน พร้อมประทับตราของบริษทั โดยมิให้ นายวิรชั สุวรรณนภาศรี และ นางกาญจนา สุวรรณนภาศรี ลงลายมือชือ่ ร่วมกัน

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมตรวจสอบของบริษัท ประกอบด้วย 3 ท่าน ดังรายนามต่อไปนี้

ลำดับ

รายชื่อ

ตำแหน่ง

1. นายกันต์ อรรฆย์วรวิทย์*

ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

2. ผศ.ดร. ขวัญสกุล เต็งอำนวย*

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

3. นางสาวสิรัสวดี สุทธิวรพันธ์ชัย*

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

หมายเหตุ : * เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้ความสามารถด้านบัญชีและการเงิน ** เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คือ นางสาวปิยธิดา สุวรรณชนะ


022

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริหารของบริษัท ประกอบด้วย 4 ท่าน ดังรายนามต่อไปนี้

ลำดับ

1. 2. 3. 4.

รายชื่อ

นายพีรเจต สุวรรณนภาศรี นายพีรพล สุวรรณนภาศรี นายการุณ ศรีวิจิตรานนท์ นายวิษณุ มีอยู่

ตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ผู้บริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผู้บริหารของบริษัทประกอบด้วย 5 ท่าน ดังรายนามต่อไปนี้

ลำดับ

1. 2. 3. 4. 5.

รายชื่อ

ตำแหน่ง

นายพีรเจต สุวรรณนภาศรี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นางสาวพัชรี นิยมปัทมะ ผู้อำนวยการฝ่ายขายและการตลาด นางสาวนฐมน แซ่ตั้ง ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหารกลาง/ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน นายอาลี เลาะเดรุส ผู้จัดการฝ่ายคลังสินค้าและขนส่ง นายจิรภัทร เต็มรัตน์ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการคลังสินค้า

การสรรหากรรมการบริษัท

• การสรรหากรรมการบริษัท

• การสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

การคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะดำรงตำแหน่งกรรมการของบริษทั แม้ปจั จุบนั ยังไม่ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) แต่คณะกรรมการบริษทั จะพิจารณาคัดเลือกกรรมการโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธกี ารสรรหา โดยคณะกรรมการบริษทั จะเป็นผูพ้ จิ ารณาคัดเลือกตามเกณฑ์ คุณสมบัตติ ามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังเน้นถึงประสบการณ์ ความรู้ และความสามารถ จากนั้นจึงนำรายชื่อเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง ในการเลือกตั้งคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้ง โดยใช้เสียงข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ให้ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ตนถือ 2. ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทำการเลือกตั้งกรรมการจากบรรดาบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการโดยวิธีการให้ผู้ถือหุ้นทั้งหมดที่มา ประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนทำการออกเสียงลงคะแนนให้แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการเป็นรายบุคคลที่ได้รับ การเสนอชือ่ โดยผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ เสียงต่อหนึง่ หุน้ ทีต่ นถือในการออกเสียงลงคะแนนให้แก่บคุ คลทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ เป็นกรรมการแต่ละคน และไม่สามารถแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมาน้อยเพียงใด 3. ให้บุคคลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะพึงมีตามที่ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นกำหนด ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจำนวนที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งใน ครั้งนั้นให้ประธานในที่ประชุมเป็นผู้ชี้ขาด เพื่อให้ได้กรรมการเป็นจำนวนตามที่ประชุมผู้ถือหุ้นกำหนด คณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีของบริษัทเป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบขึ้น ซึ่งกำหนดให้มีจำนวน ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยคัดเลือกจากคณะกรรมการบริษัท และผู้ที่ได้รับคัดเลือกเป็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1 คน ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ด้านบัญชี หรือการเงิน เมื่อกรรมการตรวจสอบว่างลงจนมีจำนวนต่ำกว่า 3 คน ให้คณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้งให้ครบจำนวนภายใน ระยะเวลาไม่เกินกว่า 3 เดือนนับจากวันที่คณะกรรมการตรวจสอบมีจำนวนน้อยกว่า 3 คน


รายงานประจำปี 2554 023

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนคณะกรรมการ

ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2553 เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2553 ทีป่ ระชุมได้อนุมตั กิ ารกำหนดค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร โดยกำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทในแต่ละปีรวมทั้งสิ้นไม่เกิน 1,600,000 บาท รายละเอียดดังนี้

ตำแหน่ง

ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท)

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ

40,000 20,000 15,000 7,000

ในปี 2553 และปี 2554 บริษัทมีการประชุมกรรมการ บริษัททั้งสิ้น 9 ครั้งและ 5 ครั้ง ตามลำดับ และมีการจ่ายค่า ตอบแทนแก่คณะกรรมการ ดังต่อไปนี้

รายชื่อกรรมการ1

ตำแหน่ง

ค่าเบี้ยประชุม จำนวนครั้งที่เข้า (บาท) ประชุมกรรมการ 2553 2554 2553 2554

นายเจษฎาวัฒน์ เพรียบจริยวัฒน์ ประธานกรรมการ 360,000 480,000 นายกันต์ อรรฆย์วรวิทย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 180,000 240,000 นางสาวขวัญสกุล เต็งอำนวย กรรมการตรวจสอบ 135,000 180,000 นางสาวสิรัสวดี สุทธิวรพันธ์ชัย กรรมการตรวจสอบ 135,000 180,000 นายพีรเจต สุวรรณนภาศรี ประธานกรรมการบริหาร 63,000 84,000 นายวิรัช สุวรรณนภาศรี กรรมการ 63,000 84,000 นางกาญจนา สุวรรณนภาศรี กรรมการ 63,000 84,000 นางสาวสุธิดา สุวรรณนภาศรี กรรมการ 63,000 84,000 นางสาวปิยะนันท์ สุวรรณนภาศรี กรรมการ 63,000 84,000 นายพีรพล สุวรรณนภาศรี กรรมการ 63,000 84,000 2 นายการุณ ศรีวิจิตรานนท์ กรรมการ 42,000 84,000 2 นายวิษณุ มีอยู่ กรรมการ 42,000 84,000 รวม 1,272,000 1,752,000 หมายเหตุ: 1 2

6 6 6 6 9 9 6 6 9 6 3 3

5 4 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5

คณะกรรมการบริษัทได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2553 ณ วันที่ 18 มีนาคม 2553 นายการุณ ศรีวิจิตรานนท์ และนายวิษณุ มีอยู่ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ โดยมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2553 ณ วันที่ 5 กรกฎาคม 2553


024

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีผู้บริหารจำนวน 5 ท่าน อันประกอบด้วยผู้บริหารที่ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการบริษัทด้วย จำนวน 1 ท่าน และผู้บริหารที่มิได้ดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทอีก 5 ท่าน โดยบริษัทมีการจ่ายค่าตอบแทนให้ผู้บริหารของบริษัท ดังนี้

ค่าตอบแทนผู้บริหาร เงินเดือน ค่านายหน้าและโบนัส* ค่าตอบแทนอื่น ๆ ได้แก่ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนประกันสังคมและค่าล่วงเวลา

รวม

2553

จำนวนราย จำนวนเงิน (คน) (บาท)

2554

จำนวนราย จำนวนเงิน (คน) (บาท)

6

3,964,005

5

3,482,499

6

272,321

5

224,735

4,236,326

3,707,234

หมายเหตุ : * รวมค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่นายวิรัช สุวรรณนภาศรี ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารของ บริษัท โดยนายวิรัช สุวรรณนภาศรี ได้ลาออกจากตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2553

2. ค่าตอบแทนที่ไม่เป็นตัวเงิน -ไม่มี-


รายงานประจำปี 2554 025

การกำกับดูแลกิจ การ บริษัทมีนโยบายนำหลักการ การปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ดี (Code of Best Practices) ใช้เป็นแนวทางใน การดำเนินงานของบริษัท เพื่อประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัท และเพื่อเป็นการเสริมสร้างความโปร่งใสใน การดำเนินงาน ตลอดจนเพื่อเพิ่มความมีประสิทธิภาพของฝ่ายบริหารจัดการ อันจะทำให้เกิดความเชื่อมั่นขึ้นในกลุ่มผู้ ถือหุ้น ผู้ลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ซึ่งหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดัง มีรายละเอียดดังนี้

1) สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น บริษัทได้ตระหนักและให้ความสำคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยจะไม่กระทำการใดๆ ที่เป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น รวมถึงส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตน โดยสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้นได้แก่ สิทธิในการซื้อขายหรือการโอนหุ้น สิทธิในการได้รับ ข่าวสารข้อมูลของกิจการอย่างเพียงพอ สิทธิในส่วนแบ่งกำไรของกิจการ สิทธิในการเลือกตัง้ และถอดถอนกรรรมการ และให้ความเห็นชอบ ในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีอิสระ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบ ต่อบริษัท เช่น การจัดสรรเงินปันผล การกำหนดหรือการแก้ไขข้อบังคับและหนังสือบริคณห์สนธิ การลดทุนหรือเพิ่มทุน และการอนุมัติ รายการพิเศษ เป็นต้น นอกเหนือจากสิทธิพนื้ ฐานต่างๆ ข้างต้นแล้ว บริษทั ฯ มีนโยบายในการดำเนินการในเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ ป็นการส่งเสริม และอำนวยความสะดวก ในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้

• จัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปีทุกปี โดยจะจัดภายใน 4 เดือน นับจากวันสิ้นสุดรอบบัญชีในแต่ละปี พร้อมทั้งจัดส่ง

หนังสือนัดประชุม และข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นรับทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม 7 วัน และลงประกาศหนังสือพิมพ์แจ้งวันนัดประชุมล่วงหน้าเป็นเวลา ติดต่อกัน 3 วันก่อนทีจ่ ะถึงวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน โดยใน แต่ละวาระการประชุมจะมีความเห็นของคณะกรรมการประกอบไปด้วย • เผยแพร่ขอ้ มูลประกอบวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้าในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ พร้อมทัง้ ชีแ้ จงสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ในการเข้าประชุม และสิทธิออกเสียงลงมติของผู้ถือหุ้น • ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บริษัทฯ จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ หรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมแทนตนได้เพือ่ สนับสนุนการใช้สทิ ธิออกเสียงของผูถ้ อื หุน้ โดยใช้หนังสือมอบฉันทะแบบหนึง่ แบบใดที่ บริษัทได้จัดส่งไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม • ก่อนการประชุมเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถส่งความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ข้อซักถามได้ลว่ งหน้าก่อนวันประชุมผ่านอีเมล์แอดแดรส ของนักลงทุนสัมพันธ์ และอีเมล์แอดแดรสของเลขานุการคณะกรรมการบริษัท • ในการประชุม บริษทั จะจัดสรรเวลาให้เหมาะสม และจะเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือตัง้ คำถาม ในวาระต่างๆ อย่างอิสระ ก่อนการลงมติในวาระใดๆ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้ให้ข้อมูลรายละเอียดในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอ ต่อการตัดสินใจอนุมัติทำรายการใดๆ โดยในวาระที่ผู้ถือหุ้นมีข้อสงสัย ข้อซักถาม บริษัทฯ จะจัดเตรียมบุคลากรที่มีความรู ้

ความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาเป็นผู้ให้คำตอบภายใต้ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท • กรรมการทุกคนจะเข้าร่วมประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถซักถามข้อมูลรายละเอียดในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้


026

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

2) การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัท มีนโยบายที่จะสร้างความเท่าเทียมกันต่อผู้ถือหุ้นทุกราย ทุกกลุ่ม ด้วยความเป็นธรรม ทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น ที่ไม่เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นต่างชาติ และผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ดังนี้

• การปฏิบัติและอำนวยความสะดวกต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน และไม่กระทำการใดๆ ที่เป็นการจำกัดหรือละเมิดหรือลิดรอน สิทธิของผู้ถือหุ้น • การกำหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมเป็นไปตามจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง • การกำหนดให้กรรมการอิสระเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลผู้ถือหุ้นส่วนน้อย โดยผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอแนะ แสดงความคิดเห็น หรือข้อร้องเรียนไปยังกรรมการอิสระ โดยกรรมการอิสระจะเป็นผูพ้ จิ ารณาดำเนินการให้เหมาะสมในแต่ละเรือ่ ง เช่น หากเป็น ข้อร้องเรียน กรรมการอิสระจะดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและหาวิธีการเยียวยาที่เหมาะสม หรือกรณีเป็นข้อเสนอแนะ ทีก่ รรมการอิสระพิจารณาแล้วมีความเห็นว่าเป็นเรือ่ งสำคัญทีม่ ผี ลต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียโดยรวม หรือมีผลต่อการประกอบธุรกิจของ บริษทั กรรมการอิสระจะเสนอเรือ่ งดังกล่าวต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณากำหนดเป็นวาระการประชุมในการประชุมผูถ้ อื หุน้ • คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่ง

รวมถึง กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของกลุม่ บริษทั ฯ ทีเ่ กีย่ วข้องกับข้อมูล (รวมทัง้ คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ของบุคคลดังกล่าว) รวมถึงได้กำหนดโทษเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั หรือการนำข้อมูลของบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์ ส่วนตนไว้แล้วตามนโยบายการป้องกันการนำข้อมูลภายในไปใช้ประโยชน์ รวมทัง้ ได้ให้ความรูค้ วามเข้าใจแก่คณะกรรมการของ บริษทั และผูบ้ ริหาร ในหน้าทีก่ ารรายงานการถือหลักทรัพย์ตอ่ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 รวมทั้งจะแจ้งข่าวสารและข้อกำหนดต่างๆ ของสำนักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้แก่คณะกรรมการของบริษทั และผูบ้ ริหารตามทีไ่ ด้รบั แจ้งจากทาง หน่วยงานดังกล่าวอย่างสม่ำเสมอ


รายงานประจำปี 2554 027

3) บทบาทของผู้ มี ส่วนได้เสีย บริษัทได้ตระหนักถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน และผู้บริหารของบริษัท หรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ได้แก่ คู่แข่ง คู่ค้า ลูกค้า เป็นต้น โดยบริษัทตระหนักดีว่าการสนับสนุน และรับฟังข้อคิดเห็น ตลอดจนการสร้างสัมพันธ์อันดี กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม จะเป็นประโยชน์ในการดำเนินงาน และพัฒนาให้ ธุรกิจของบริษทั มีการเติบโต และขยายตัวได้ในอนาคต โดยบริษทั จะจัดให้ให้ทกุ กลุม่ มีสทิ ธิได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม รวมทั้งปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

• ผู้ถือหุ้น • พนักงาน • คู่ค้า • คู่แข่ง • ลูกค้า • สังคม

: บริษทั จะเป็นตัวแทนทีด่ ขี องผูถ้ อื หุน้ ในการดำเนินธุรกิจ โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษทั ในระยะยาว รวมทั้งมีระบบการควบคุมและตรวจสอบภายใน : บริษัทตระหนักดีว่าพนักงานเป็นหนึ่งในทรัพยากรหลักที่มีความสำคัญในการพัฒนาองค์กรให้มีความเติบโต บริษทั จึงสนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั รวมทัง้ ส่งเสริมการ ทำงานในลักษณะเป็นทีมเพือ่ เพิม่ ความคล่องตัวในการทำงาน และจัดให้สภาพแวดล้อมในการทำงานมีความปลอดภัย ต่อพนักงาน รวมทั้งปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม โดยให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม : ปฏิบัติต่อคู่ค้าตามกรอบการค้าที่สุจริต โดยยึดหลักการปฏิบัติตามสัญญาเงื่อนไข ทางการค้า และคำมั่นที่ให้

ไว้กับคู่ค้าอย่างเคร่งครัด : ปฏิบตั ติ อ่ คูแ่ ข่งอย่างมีจรรยาบรรณในเชิงธุรกิจ ตามกรอบกติกาแห่งการแข่งขันทีด่ ี โดยการหลีกเลีย่ งการแข่งขัน ด้วยวิธีไม่สุจริต : บริษทั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะผลิตสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ และให้บริการทีด่ แี ก่ลกู ค้า โดยทำการค้ากับลูกค้าด้วยความซือ่ สัตย์

และเป็นธรรม : บริษัทให้ความสำคัญในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมของชุมชนรอบๆ ที่ตั้งของสำนักงานบริษัท

ทั้งนี้ บริษัทได้กำหนดแนวทางที่ต้องปฏิบัติเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มไว้อย่างชัดเจนใน “จริยธรรมธุรกิจ” พร้อมทั้งเผยแพร่และรณรงค์ให้คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายบริหาร ตลอดจนผู้ปฏิบัติงาน ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติใน การดำเนินงาน และถือเป็นภาระหน้าที่ที่สำคัญของทุกคน

4) การเปิ ด เผยข้ อ มูลและความโปร่งใส บริษัทตระหนักดีถึงความสําคัญของการเผิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส ทั้งรายงานข้อมูลทางการเงิน และขอมูลทั่วไป ตามหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 

และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนข้อมูลอื่นที่สําคัญที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัท ซึ่งมีผลต่อกระบวนการ ตัดสินใจของผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท โดยบริษทั จะเผยแพรข้อมูลสารสนเทศของบริษทั ต่อผูถ้ อื หุน นักลงทุน และสาธารณชนผ่านช่อ งทางและสือ่ การเผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแห่งประเทศไทย รวมถึงเว็บไซตของบริษัท คือ http://www.unionintraco.co.th/ ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์นั้น บริษัทได้มอบหมายให้หน่วยงานฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ ทําหน้าที่ติดต่อสื่อสารกับผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น รวมทั้งนักวิเคราะห์ และภาครัฐที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนสามารถติดต่อหน่วยงานดังกล่าวได้ที่นางสาววนันธร กิจวานิชเสถียร โทรศัพท์ 0-2888-6800 หรือ ที่ E-mail address: info@unionintraco.co.th


028

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

5) ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ • โครงสร้างของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย บุคคลที่มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่สามารถเอื้อประโยชน์ได้กับบริษัท โดยเป็น ผู้มีบทบาทสำคัญในการให้ความเห็นชอบการวางนโยบายและแผนการดำเนินธุรกิจและมีการติดตามผลการดำเนินงานเป็นรายไตรมาส อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในเพื่อประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม ณ วันที่ 30 เมษายน 2554 คณะกรรมการของบริษทั มีจำนวน 12 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จำนวน 4 ท่าน โดยมีคณ ุ สมบัตเิ ป็นกรรมการอิสระไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการบริษทั ทัง้ หมด เพือ่ ทำหน้าทีถ่ ว่ งดุลในการออกเสียงพิจารณา เรื่องต่างๆ ตลอดจนสอบทานการบริหารงานของฝ่ายบริหารเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อช่วยในการกำกับดูแลกิจการของบริษัท 2 ชุด คือคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหาร โดยบริษัทได้มีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจ สอบและคณะกรรมการบริหารที่มีต่อผู้ถือหุ้นไว้อย่างชัดเจนเพื่อความเป็นอิสระในการตัดสินใจและนำเสนอวิสัยทัศน์ ดังรายละเอียด ที่กล่าวไว้แล้วภายใต้หัวข้อโครงสร้างการจัดการ

คณะกรรมการตรวจสอบ : บริษัทมีคณะกรรมการตรวจสอบทั้งสิ้น 3 ท่าน เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่อง และเสนอเรื่องให้

คณะกรรมการบริษัทพิจารณาหรือรับทราบตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ที่ได้ระบุไว้ คณะกรรมการบริหาร : บริษัทมีคณะกรรมการบริหารทั้งสิ้นจำนวน 4 ท่าน เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความคล่องตัว

โดยมีขอบเขตอำนาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

นอกจากนี้บริษัทมีนโยบายในการแบ่งแยกตำแหน่งประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารให้เป็นคนละบุคคลกัน เพื่อป้องกันมิให้บุคคลใดมีอำนาจโดยไม่จำกัด โดยคณะกรรมการของบริษัทจะเป็นผู้กำหนดอำนาจหน้าที่และคัดเลือกบุคคลเพื่อ เข้าดำรงตำแหน่งดังกล่าว ทั้งนี้ บริษัทมีเลขานุการคณะกรรมการบริษัทซึ่งทำหน้าที่ให้คำแนะนำด้านกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการจะต้องทราบและ ปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ • ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร บริษัทได้รายงานค่าตอบแทนกรรมการของคณะกรรมการไว้อย่างชัดเจนตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) โดยค่าตอบแทนดังกล่าวต้องได้รับการอนุมัติจากการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี (Annual General Meeting (AGM)) ทุกปี กรณีทกี่ รรมการของบริษทั ได้รบั มอบหมายให้มหี น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเพิม่ มากขึน้ เช่น การเป็น กรรมการตรวจสอบร่วมด้วย เป็นต้น จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายเพิ่มมากขึ้นด้วย ซึ่งต้องพิจารณาตามความสามารถของบริษัทประกอบด้วย


รายงานประจำปี 2554 029

• นโยบายการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ได้กำหนดนโยบายเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยนโยบายดังกล่าวได้รบั ความเห็นชอบ จากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2553 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 โดยบริษัทได้ตระหนักถึงความสำคัญของนโยบายกำกับดูแลกิจการเนื่องจากเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทและ จะส่งเสริมให้บริษทั มีความมัน่ คงและเจริญเติบโตได้อย่างยัง่ ยืนในระยะยาว สำหรับการกำหนดแนวทางในการดำเนินงานนัน้ บริษทั ให้ ความสำคัญเรือ่ งการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน โดยคณะกรรมการบริษทั จะมีการประเมินความเพียงพอการควบคุมภายใน ร่วมกันเป็นประจำทุกปีตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นไป เพื่อให้บริษัทได้ปฏิบัติตามหลักการการกำกับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ คณะกรรมการจะจัดให้มีการทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวเป็นประจำนอกจากนี้ ภายหลังจากที่ หุ้นสามัญของบริษัท เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้แล้ว บริษัทจะถือปฏิบัติตามกฎและข้อบังคับต่างๆ ตามที่ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด • จรรยาบรรณธุรกิจ บริษัทได้กำหนดหลักปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ยึดถือ เป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของบริษัทด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งนี้ บริษัทได้มีการประกาศและแจ้งให้พนักงาน และผู้บริหารทุกคนรับทราบ และยึดปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวอย่างเคร่งครัด • ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษทั ไดกำหนดนโยบายเกีย่ วกับความขัดแย้งทางผลประโยชน บนหลักการทีว่ า การตัดสินใจใดๆ ในการดำเนิน กิจกรรมทางธุรกิจจะตองทําเพื่อผลประโยชน สูงสุดของบริษัทเท่านั้น และควรหลีกเลี่ยงการกระทำที่กอใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชน โดยกำหนดใหผูที่มีสวนเกี่ยวของหรือเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณา ตองแจงให้บริษัททราบถึงความสัมพันธ์หรือ การเกี่ยวโยงของตนในรายการดังกลาว และตองไมเขารวมการพิจารณาตัดสิน รวมถึงไม่มีอํานาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะนำเสนอคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มีความขัดแยงทาง ผลประโยชน ซึ่งไดมีการพิจารณาความเหมาะสมอยางรอบคอบ รวมทั้งบริษัท ได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัดในเรื่องการกำหนดราคาและเงื่อนไขต่างๆ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ให้เสมือน ทำรายการกับบุคคลภายนอกและส่งรายงานตามระยะเวลาที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด และจะไดมีการเปิดเผยไวใน งบการเงิน รายงานประจำปีและแบบแสดงรายการขอมูลประจำปี (แบบ 56-1) ด้วย


030

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

• รายงานของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษทั รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย รวมทัง้ สารสนเทศทีป่ รากฏในรายงานประจำปี แบบแสดงรายการข้อมูล และงบการเงินซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูส้ อบทานคุณภาพของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายใน และการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยนำเสนอโดยต่อคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส การจัดทำ งบการเงินดังกล่าวตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตจากสำนักงาน กลต. เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปใน ประเทศไทย และ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญทั้งข้อมูลทางการเงิน และไม่ใช่การเงิน ดำเนินการบนพื้นฐานความถูกต้อง ครบถ้วน สมเหตุสมผล เชื่อถือได้และใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสม • การประชุมคณะกรรมการ บริษัทจะจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยทุกไตรมาส และมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตาม ความจำเป็นโดยกำหนดวาระการประชุมที่ชัดเจนล่วงหน้า และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดำเนินงานเป็นประจำ โดยในการประชุม คณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ จะมีเลขานุการคณะกรรมการเป็นผูจ้ ดั ทำวาระต่างๆ ของการประชุมและดำเนินการจัดส่งเอกสารการประชุม ให้คณะกรรมการบริษทั ล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วันก่อนการประชุมเพือ่ ให้กรรมการได้มเี วลาพิจารณาและศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอ รวมถึง การบันทึกการประชุม และจัดส่งรายงานดังกล่าวให้แก่กรรมการบริษัทเป็นรายบุคคลตามความเหมาะสม ตลอดจนจัดเก็บรายงาน การประชุมกรรมการทีผ่ า่ นการรับรองจากคณะกรรมการบริษทั อย่างเป็นระบบและพร้อมให้คณะกรรมการของบริษทั และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ตรวจสอบได้ ในการพิจารณาเรือ่ งต่างๆ ประธานกรรมการบริษทั ซึง่ ทำหน้าทีเ่ ป็นประธานในทีป่ ระชุมจะเปิดโอกาสให้กรรมการแสดงความเห็น อย่างอิสระ ทัง้ นีใ้ นการลงมติในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ให้ถอื มติของเสียงข้างมาก โดยกรรมการคนหนึง่ มีเสียงหนึง่ เสียง กรรมการ ทีม่ สี ว่ นได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุม หรืองดออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ ทัง้ นีถ้ า้ คะแนนเสียงเท่ากัน ประธานในทีป่ ระชุมจะออกเสียง เพิ่มอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ในปี 2552 บริษัทจัดการประชุมคณะกรรมการบริษัททั้งหมดจำนวน 11 ครั้ง และในปี 2553 บริษัทจัดการประชุมคณะ กรรมการบริษัททั้งหมดจำนวน 9 ครั้ง โดยในการประชุมแต่ละครั้งมีกรรมการบริษัทเข้าร่วมประชุมครบทุกท่าน • ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน บริษัทไดใหความสําคัญตอระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงาน และเพื่อใหเกิดความมีประสิทธิภาพ ในการดำเนินงาน บริษัทจึงไดกำหนดภาระหนาที่ อํานาจการดำเนินการของผูปฏิบัติ งานและผูบริหารไวเปนลายลักษณอักษร อยางชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทให เกิดประโยชน และมีการแบงแยกหนาที่ ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุม และประเมินผลออกจากกัน นอกจากนี้บริษัทยังจัดให้มีผู้ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบภายในเพื่อทำการสอบทานระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมคี วามเหมาะสม และมีประสิทธิผลมีการควบคุมทางด้านการเงินและมีการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นไปตามแนวทาง ทีว่ างไว้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ การตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั โดยผลการตรวจสอบ จะถูกรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบและผู้บริหารระดับสูง


รายงานประจำปี 2554 031

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำนวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทมีดังนี้

บุคลากร

จำนวน พนักงาน (คน)

จำนวน พนักงาน (คน)

9 10 4 4

12 12 3 3

27

30

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

พนักงานฝ่ายขายและการตลาด พนักงานฝ่ายคลังสินค้าและขนส่ง พนักงานฝ่ายบัญชีและการเงิน พนักงานฝ่ายบริหารกลาง

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

บริษัทได้เพิ่มจำนวนบุคลากรในฝ่ายคลังสินค้าและขนส่งเพิ่มขึ้นเพื่อดูแลคลังสินค้าแห่งใหม่และรองรับการขยายการดำเนินธุรกิจ และได้จัดตั้งฝ่ายตรวจสอบภายในขึ้น โดยบริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินให้แก่พนักงานที่ไม่ใช่ผู้บริหาร ได้แก่ เงินเดือน ค่านายหน้า โบนัส กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนประกันสังคม และค่าล่วงเวลา

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

ประเภท เงินเดือน ค่านายหน้าและโบนัส ค่าตอบแทนอื่นๆ ได้แก่ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนประกันสังคม ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าล่วงเวลาและสวัสดิการอื่นๆ

รวม

(หน่วย : บาท)

ค่าตอบแทนพนักงาน 2553

2554

7,046,101.06

5,686,939.35

504,566.68

415,483.78

7,550,667.74

6,102,423.13

ข้อพิพาทด้านแรงงานในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา - ไม่มี-

ข้อพิพาทด้านแรงงานในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา บริษัทมีนโยบายอย่างต่อเนื่องที่จะส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในแต่ละระดับชั้นให้มีความรู้ ความชำนาญและความสามารถในการ ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อบริษัท โดยแบ่งการพัฒนาในระดับต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ระดับบริหาร บริษัทมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาด้านการบริหารจัดการ ภาวะความเป็นผู้นำและวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้นำขององค์กร 2. ระดับหัวหน้างาน บริษัทมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาด้านการจัดการบริหารเบื้องต้น ทักษะการเป็นหัวหน้างาน การสร้างทีมงานและ การสร้างความร่วมมือในการทำงาน ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในและภายนอกองค์กร ตลอดจนการส่งเสริม พัฒนาความรู้ความเข้าใจเฉพาะทาง 3. ระดับพนักงาน บริษัทมุ่งเน้นเรื่องการสร้างความรู้ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในงานที่ตนเองรับผิดชอบสร้างแรงจูงใจให้

เกิดการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอและการมีทัศนคติที่ดีต่อฝ่ายบริหารและบริษัท


032

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีรายการระหว่างกันดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท : ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ : ผู้ถือหุ้นใหญ่และกรรมการของบริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) มีความเกี่ยวข้องกันโดยเป็นญาติสนิทของกรรมการบริษัท รายการระหว่างกัน : ซื้อขายผลิตภัณฑ์ (โซลเว้นท์) / ให้เช่าคลังสินค้า/ขนส่งสินค้า ระหว่างกัน มูลค่ารายการ : ซื้อสินค้า 8,442,500.60 บาท ขายสินค้า 350,405.50 บาท ให้เช่าคลังสินค้า 480,000.00 บาท ขนส่งสินค้า 116,989.79 บาท ชื่อบริษัท : ไลอ้อน เอเชีย (ไทยแลนด์) จำกัด ความสัมพันธ์ : บริษัทย่อยและกรรมการของบริษัท ไลอ้อน เอเชีย (ไทยแลนด์) จำกัด มีความเกี่ยวข้องกันโดยเป็นญาติสนิทของกรรมการบริษัท รายการระหว่างกัน : ซื้อขายผลิตภัณฑ์ (โซลเว้นท์) / ให้เช่าคลังสินค้า/ขายถังบรรจุ ระหว่างกัน มูลค่ารายการ : ซื้อถังบรรจุ 505,000.00 บาท ขายสินค้า 42,240.00 บาท ขายถังบรรจุ 3,200.00 บาท หมายเหตุ - รายการซื้อและขายสินค้าระหว่างกันของบริษัทกับบริษัทย่อย สูงกว่าราคาทุน - รายการซื้อและขายสินทรัพย์อื่นระหว่างกันเป็นไปตามราคาที่ใกล้เคียงกับราคาตลาด - รายการค่าเช่าโกดังและค่าเช่าอาคารสำนักงานเป็นไปตามสัญญาทีต่ กลงร่วมกัน โดยเงือ่ นไขราคาทีส่ ามารถ เทียบเคียง ได้กับราคาตลาด


รายงานประจำปี 2554 033

คำอธิบายฐานะทางการเงิน และผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนิ น งาน

ภาพรวมของผลการดำเนินงานที่ผ่านมา บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นในปี 2542 มี บริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) (“UKEM”) เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 99.99 เพื่อแบ่งแยกการดำเนินธุรกิจจัดจำหน่ายเคมีภัณฑ์ระหว่างเคมีภัณฑ์โภคภัณฑ์ (Commodity Chemical) และเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ (Specialty Chemical) ซึ่งมีลักษณะการดำเนินธุรกิจที่แตกต่างกัน ตั้งแต่การจัดหาสินค้า การจัดเก็บสินค้า การทำการตลาด และการให้บริการแก่ลูกค้า โดย UKEM จะทำหน้าที่เป็นผู้จัดหาและจัดจำหน่ายสินค้าประเภทเคมีภัณฑ์โภคภัณฑ์ ในขณะที่บริษัทจะทำหน้าที่เป็นผู้จัดหา พัฒนาและจัดจำหน่ายสินค้าประเภทเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ ซึ่งสินค้าเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษเป็น สินค้าทีถ่ กู คิดค้นและพัฒนาคุณสมบัตเิ พือ่ ตอบสนองลักษณะการใช้งานโดยเฉพาะด้าน เป็นนวัตกรรมจากผูผ้ ลิตเคมีภณ ั ฑ์รายใหญ่ของโลก ดังนั้นวัตถุดิบของบริษัทจึงได้มาจากนำเข้าเกือบทั้งหมดยกเว้นสินค้าบางรายการที่สั่งซื้อจากตัวแทนจัดจำหน่ายภายในประเทศหรือ หากเป็นเคมีโภคภัณฑ์ก็จะสั่งซื้อจากบริษัทใหญ่มาจำหน่ายอีกทอดหนึ่งเพื่อความสะดวกในการจัดส่งให้แก่ลูกค้า

รายได้ รายได้ รายได้จากการขาย รายได้อื่น รายได้รวม

2552

2553

2554

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

204.87 2.00 206.87

99.03 0.97 100.00

291.99 11.03 303.02

96.36 3.64 100.00

497.72 2.53 500.25

ร้อยละ 99.49 0.51 100.00

หมายเหตุ : รายได้อื่น ประกอบด้วย รายได้จากกำไรอัตราแลกเปลี่ยนและรายได้ดอกเบี้ยรับ

รายได้รวมของบริษัทระหว่างปี 2552 - ปี 2554 อยู่ที่ 206.87 ล้านบาท 303.02 ล้านบาท และ 500.25 ล้านบาทตามลำดับ โดยรายได้จากการขายถือเป็นรายได้หลักของบริษัทคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 96 - 99 ของรายได้รวม และเมื่อเปรียบเทียบรายได้ ระหว่างปี 2553 - ปี 2554 บริษัทมีรายได้เพิ่มขึ้นถึง 60.57%


034

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ค่าใช้จ่ า ย ต้นทุนขาย

ต้นทุนขายของบริษัทระหว่างปี 2552 - ปี 2554 อยู่ที่ 167.41 ล้านบาท 250.15 ล้านบาท และ 405.99 ล้านบาท การเพิ่มขึ้น ของต้นทุนขายนั้นเป็นไปในทิศทางเดียวกับการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการขายและมีอัตราเพิ่มขึ้น โดยบริษัทมีต้นทุนจากการขายคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 81.72 ร้อยละ 85.67 และร้อยละ 81.57 ของรายได้

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของบริษัท ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายหลัก 4 กลุ่ม ได้แก่ เงินเดือนพนักงานและสวัสดิการ ค่าใช้จ่าย สำนักงาน ค่าขนส่งสินค้าซึ่งบริษัทได้ว่าจ้างผู้รับจ้างขนส่งภายนอก และค่าส่งเสริมการขาย ทั้งนี้ เงินเดือนพนักงานและสวัสดิการ ถือเป็นค่าใช้จ่ายหลักโดยคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 55 ค่าใช้จ่ายสำนักงานประมาณร้อยละ 10 - 15 และค่าขนส่งสินค้า ภายในประเทศประมาณร้อยละ 10 - 15 ของค่าใช้จ่ายในการขายค่าส่งเสริมการขายร้อยละ 5 และค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีกร้อยละ 10

รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารต่อรายได้จากการขายและบริการ สามารถแสดงได้ดังนี้

ค่าใช้จ่ายในการ ขายและบริหาร

2552

2553

2554

9.82 8.09 4.08 22.00

10.48 11.95 4.24 26.67

14.27 13.03 4.98 32.28

4.79% 3.95% 1.99% 10.74%

3.59% 4.09% 1.45% 9.13%

2.87% 2.62% 1.00% 6.49%

มูลค่า (ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวม % ต่อรายได้จากการขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวม

ค่าใช้จา่ ยในการขายในปี 2552 - ปี 2554 มีมลู ค่าอยูท่ ี่ 9.82 ล้านบาท 10.48 ล้านบาท และ 14.27 ล้านบาทตามลำดับ โดยคิดเป็น อัตราส่วนร้อยละ 4.79 ร้อยละ 3.59 และร้อยละ 2.87 ของรายได้จากการขายของบริษัทตามลำดับ ทั้งนี้การลดลงของค่าใช้จ่ายใน การขายของบริษัทมีสาเหตุมาจากการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยรวมให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีก่อนหน้าขณะที่รายได้เพิ่มสูงขึ้นด้วย ปริมาณการสั่งซื้อมากขึ้น


รายงานประจำปี 2554 035

ค่าใช้จ่ายในการบริหารส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายคงที่ที่มิได้มีการผันแปรโดยตรงต่อยอดขาย เช่น ค่าตอบแทนพนักงาน ค่าใช้จ่าย ในการส่งเสริมการขาย ค่าเสื่อมราคา ค่าเช่าอาคาร เป็นต้น ค่าใช้จ่ายในการบริหารของบริษัทในปี 2552 - ปี 2554 มีมูลค่าอยู่ที่ 8.09 ล้านบาท 11.95 ล้านบาท และ 13.03 ล้านบาทตามลำดับ โดยคิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 3.95 ร้อยละ 4.09 และร้อยละ 2.62 ของรายได้จากการขายของบริษทั ตามลำดับ และบริษทั มีคา่ ตอบแทนผูบ้ ริหารในปี 2552 - ปี 2554 จำนวน 4.08 ล้านบาท 4.24 ล้านบาท และ 4.98 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราร้อยละ 1.99 ร้อยละ 1.45 และร้อยละ 1.00 ของรายได้จากการขายในแต่ละปี ตามลำดับ โดยเมือ่ พิจารณาภาพรวมของค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารของบริษทั แล้วนัน้ พบว่าบริษทั มีสดั ส่วนระหว่างปี 2552 - ปี 2554 อัตราส่วนค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารต่อรายได้จากการขายมีแนวโน้มทีป่ รับตัวลดลงจากร้อยละ 10.74 ในปี 2552 เป็น ร้อยละ 9.13 ในปี 2553 ลงมาจนถึงร้อยละ 6.49 ในปี 2554ซึ่งถือได้ว่าบริษัทมีความสามารถในการควบคุมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานได้อยู่ใน เกณฑ์ที่ดี

กำไรสุ ท ธิ แ ละความสามารถในการทำกำไร บริษัทมีกำไรสุทธิในปี 2552 - ปี 2554 เท่ากับ 10.62 ล้านบาท 17.07 ล้านบาท และ 35.61 ล้านบาทตามลำดับ โดยมีอัตรา กำไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 5.14 ร้อยละ 5.63 และร้อยละ 7.12 ของรายได้รวมในช่วงที่ผ่านมาตามลำดับ ทั้งนี้ อัตราส่วนแสดง ความสามารถในการทำกำไรของบริษัทระหว่างปี 2552 - ปี 2554 สามารถแสดงได้ดังนี้

อัตรากำไรขั้นต้น (%) อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (%) อัตรากำไรอื่น (%) อัตรากำไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)1

2552

2553

2554

18.28 7.55 0.11 5.14 9.77

14.33 5.20 0.28 5.63 14.03

18.94 9.55 0.00 7.12 19.31

ในปี 2554 บริษัทมีอัตรากำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากปี 2553 โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 14.33 เป็นร้อยละ 18.94 อัตรากำไรจากการ ดำเนินงานมีอตั ราเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 5.20 เป็นร้อยละ 9.55 และอัตรากำไรสุทธิเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 5.63 เป็นร้อยละ 7.12 ของรายได้ จากการขาย ซึ่งถือได้ว่าบริษัทมีความสามารถในการทำกำไรได้อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ในส่วนของอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ของบริษัทนั้น มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปรับเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 9.77 ในปี 2552 มาอยู่ที่ระดับร้อยละ 14.03 ในปี 2553 และร้อยละ 19.31 ในปี 2554 อันเป็นผลประกอบการที่มีกำไร สุทธิที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม บริษัทได้มีการใช้แหล่งเงินกู้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในสัดส่วนที่เพิ่มมากขึ้นกว่าปีก่อน เพื่อรองรับยอดขายที่เพิ่มมากขึ้น


036

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ฐานะทางการเงิน สินทรัพ ย์ ร วม สินทรัพย์รวมของบริษัท ณ สิ้นปี 2552 - ปี 2554 เท่ากับ 190.50 ล้านบาท 322.18 ล้านบาท และ 521.78 ล้านบาท ตามลำดับ โดยส่วนประกอบหลักของสินทรัพย์ของบริษัทสามารถแสดงได้ดังนี้

สินทรัพย์

% ต่อสินทรัพย์รวม สิ้นปี 2552 สิ้นปี 2553 สิ้นปี 2554

เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การค้า-สุทธิ สินค้าคงเหลือ-สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

9.47% 21.18% 18.20% 48.99% 50.77% 51.02%

0.90% 26.82% 39.36% 68.98% 30.83% 31.02%

11.62% 23.82% 45.36% 82.17% 17.74% 17.83%

ส่วนประกอบหลักของสินทรัพย์ของบริษทั ได้ แก่ ลูกหนีก้ ารค้า สินค้าคงเหลือ และทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ โดยการเปลีย่ นแปลง เพิม่ ขึน้ หรือลดลงของสินทรัพย์รวมนัน้ เกิดจากการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์หมุนเวียนในส่วนของลูกหนีก้ ารค้าและสินค้าคงคลังเป็นสำคัญ

หนี้สินรวม หนี้สินรวมของบริษัท ณ สิ้นปี 2552 - ปี 2554 อยู่ที่ 77.39 ล้านบาท 191.88 ล้านบาท และ 283.30 ล้านบาทตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 30 - 60 ของสินทรัพย์รวมในช่วงเวลาที่ผ่านมา ทั้งนี้ หนี้สินส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทเป็นหนี้สิน หมุนเวียนระยะสั้น เพื่อใช้ในการจัดหาสินค้าเป็นหลัก โดยแบ่งได้เป็น 2 ได้แก่ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นที่เป็นวงเงิน เครดิตเพื่อการนำเข้าและเจ้าหนี้การค้า โดยในกรณีที่บริษัทจัดหาสินค้าจากผู้ผลิต หรือตัวแทนจำหน่ายภายในประเทศ บริษัทจะ ทำการจ่ายชำระตรงแก่คู่ค้าและบันทึกเป็นเจ้าหนี้การค้า โดยได้รับระยะเวลาเครดิตประมาณ 90 วัน ในขณะที่การนำเข้าสินค้านั้น บริษัทจะดำเนินการโดยการชำระเงินผ่านธนาคารพาณิชย์ ทั้งในลักษณะ L/C หรือ T/R ทำให้เกิดรายการเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงินขึ้น โดยมีกำหนดชำระเงินประมาณ 90 วัน


รายงานประจำปี 2554 037

ส่วนของผู้ ถื อ หุ้ น ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ณ สิน้ ปี 2552 - ปี 2554 อยูท่ ี่ 113.10 ล้านบาท 130.30 ล้านบาท และ 238.48 ล้านบาทตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 40 - ร้อยละ 70 ของสินทรัพย์รวมในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมาการเพิม่ ขึน้ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ผลประกอบการของบริษัทมีกำไรสุทธิอย่างต่อเนื่อง

กระแสเงิ น สด ด้วยลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั ทีม่ กี ารจัดหาสินค้า จากผูผ้ ลิตหรือตัวแทนจำหน่ายทัง้ ในและต่างประเทศ โดยในกรณีที่ บริษัททำการจัดหาสินค้าจากผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายภายในประเทศนั้น จะใช้แหล่งเงินทุนในรูปแบบการได้รับระยะเวลาเครดิต จากเจ้าหนี้การค้า ซึ่งถูกพิจารณาเป็นกิจกรรมจากการดำเนินงาน ในขณะที่การจัดหาสินค้าจากผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายจาก ต่างประเทศนั้น จะใช้แหล่งเงินทุนผ่านการทำ L/C หรือ T/R จากธนาคารพาณิชย์ ซึ่งถูกพิจารณาเป็นกิจกรรมการจัดหาเงิน ดังนั้น เมือ่ พิจารณางบกระแสเงินสดจะพบว่ามีการเปลีย่ นแปลงขึน้ ลงในรายการเจ้าหนีก้ ารค้า และรายการเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน อันเป็นผลจากแหล่งที่มาในการสรรหาสินค้าเพื่อจำหน่ายของบริษัทในแต่ละช่วงเวลาดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น และส่งผลต่อ กระแสเงินสดได้มาและใช้ไปของแต่ละประเภทกิจกรรมที่แสดงในงบกระแสเงินสดของบริษัท ณ สิ้นปี 2554 บริษัทมีกำไรก่อนภาษีเท่ากับ 47.80 ล้านบาท บริษัทได้เพิ่มเงินทุนหมุนเวียนสำหรับส่วนเพิ่มขึ้นในรายการ สินค้าคงคลังและลูกหนี้การค้า ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของยอดขายในช่วงครึ่งปีแรก ประกอบกับการเตรียมสินค้าคงคลัง ไว้รองรับการขยายตัวของยอดขายในอนาคต โดยสินค้าคงคลังและลูกหนีก้ ารค้าเพิม่ ขึน้ เท่ากับ 109.86 ล้านบาทและ 37.82 ล้านบาท ตามลำดับ ทั้งนี้แม้ว่าบริษัทจะมีผลกำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินหมุนเวียน 67.41 ล้านบาท บริษัทมีกระแสเงินสดใช้ไปจากการดำเนินงานทั้งสิ้น 96.65 ล้านบาท และมีกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนเป็นการปรับปรุง ประสิทธิภาพภายในคลัง 1.17 ล้านบาท รวมทั้งมีกระแสเงินสดได้มาในการจัดหาเงินทุน 153.20 ล้านบาท โดยสรุป บริษัทมีกระแส เงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 57.72 ล้านบาทเป็นผลให้เงินสด ณ สิ้นงวดของบริษัทเพิ่มขึ้นเหลือ 60.61 ล้านบาท

ค่าตอบแทนผู้ ส อบบัญชี ในปี 2554 ค่าตอบแทนรวมของผู้สอบบัญชี (Audit fee) ของบริษัท ประกอบด้วยค่าสอบบัญชีจำนวน 330,000 บาทและค่า สอบทานงบการเงินไตรมาสละ 95,000 บาท ทั้งนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและสำนักงานสอบบัญชี คือ นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน และ นายกฤษดาเลิศวนา จากบริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ซึ่งไม่เป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท



รายงานประจำปี 2554 039

งบการเงิน

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) รายงาน และ งบการเงิน 31 ธันวาคม 2554


040

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ และงบกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อ ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผล การตรวจสอบของข้าพเจ้า งบการเงินของบริษทั ดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันทีน่ ำมาแสดงเปรียบเทียบไว้ ณ ทีน่ ไี้ ด้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีอนื่ ซึง่ ได้แสดงความเห็นอย่างไม่มเี งือ่ นไขต่องบการเงินดังกล่าวตามรายงานลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความ เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบ หลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการ ใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของ การแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุด วันเดียวกันของบริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 ในระหว่างปี ปัจจุบนั บริษทั ฯได้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ทอี่ อกโดยสภาวิชาชีพบัญชีเพือ่ จัดทำและนำเสนอ งบการเงินนี้ ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 23 กุมภาพันธ์ 2555


รายงานประจำปี 2554 041

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) หมายเหตุ 2554 2553 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 60,614,503 2,899,189 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 8 124,303,007 86,566,757 สินค้าคงเหลือ 9 236,673,572 126,814,280 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ภาษีซื้อรอเรียกคืน 6,364,628 3,950,485 อื่นๆ 766,084 2,015,395 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 428,721,794 222,246,106 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 10 92,586,961 99,342,687 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 472,656 588,507 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 93,059,617 99,931,194 รวมสินทรัพย์ 521,781,411 322,177,300 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


042

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) หมายเหตุ 2554 2553 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 11 224,213,440 133,253,535 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 12 47,903,127 47,980,478 ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี 13 996,544 882,281 ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 2,884,130 4,362,551 หนี้สินหมุนเวียนอื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 5,445,108 674,962 อื่นๆ 682,643 2,608,865 รวมหนี้สินหมุนเวียน 282,124,992 189,762,672 หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจากส่วนที่ ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 13 1,121,175 2,117,719 สำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 14 51,631 - รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 1,172,806 2,117,719 รวมหนี้สิน 283,297,798 191,880,391 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจำปี 2554 043

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) หมายเหตุ 2554 2553 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 130,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท 130,000,000 130,000,000 ทุนออกจำหน่ายและชำระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 130,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (31 ธันวาคม 2553: หุน้ สามัญ 78,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) 15 130,000,000 78,000,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 15 41,650,493 - กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย 16 3,545,996 1,765,431 ยังไม่ได้จัดสรร 63,162,361 50,406,715 องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น 124,763 124,763 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 238,483,613 130,296,909 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 521,781,41 322,177,300 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


044

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) หมายเหตุ 2554 2553 รายได้ รายได้จากการขาย 497,724,584 291,994,376 รายได้อื่น 2,525,229 862,213 กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - 10,165,724 รวมรายได้ 500,249,813 303,022,313 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย 405,994,146 250,148,711 ค่าใช้จ่ายในการขาย 14,272,124 10,484,213 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 18,011,825 16,182,592 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 9,731,681 - รวมค่าใช้จ่าย 448,009,776 276,815,516 กำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล 52,240,037 26,206,797 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (4,444,610) (2,225,103) กำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 47,795,427 23,981,694 ภาษีเงินได้นิติบุคคล (12,184,130) (6,912,807) กำไรสำหรับปี 35,611,297 17,068,887 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลกำไรจากการตีราคาที่ดิน - 124,763 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี - 124,763 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี 35,611,297 17,193,650 กำไรต่อหุ้น 18 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 0.33 0.22 จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หุ้น) 109,342,466 78,000,000 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจำปี 2554 045

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) กำไรสะสม ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง จัดสรรแล้ว - ที่ออกและชำระแล้ว มูลค่าหุ้นสามัญ จากการตีราคาสินทรัพย์ สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 78,000,000 - - 911,986 34,191,273 113,103,259 กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการตีราคาสินทรัพย์ - - 124,763 - - 124,763 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี - - - - 17,068,887 17,068,887 โอนกำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น สำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 16) - - - 853,445 (853,445) - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 78,000,000 - 124,763 1,765,431 50,406,715 130,296,909 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 78,000,000 - 124,763 1,765,431 50,406,715 130,296,909 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงาน (หมายเหตุ 3) - - - - (41,086) (41,086) ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 15) 52,000,000 41,650,493 - - - 93,650,493 จ่ายเงินปันผล (หมายเหตุ 21) - - - - (21,034,000) (21,034,000) กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี - - - - 35,611,297 35,611,297 โอนกำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น สำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 16) - - - 1,780,565 (1,780,565) - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 130,000,000 41,650,493 124,763 3,545,996 63,162,361 238,483,613 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


046

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) 2554 2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษี 47,795,427 23,981,694 รายการปรับกระทบยอดกำไรก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา 7,457,951 6,699,670 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 80,767 50,076 (กำไร) ขาดทุนจากการจำหน่ายยานพาหนะ (1,869,158) 39,917 ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ - 1,450 สำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 10,545 - (กำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 9,493,439 (3,424,145) ดอกเบี้ยตัดจำหน่ายตามสัญญาเช่าซื้อ 86,632 9,743 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 4,357,978 2,215,360 กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน 67,413,581 29,573,765 สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น (37,817,018) (46,266,210) สินค้าคงเหลือ (109,859,292) (92,149,484) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (1,164,833) (5,694,262) สินทรัพย์อื่น 115,851 (143,236) หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น (213,326) 34,171,322 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 2,483,278 1,698,061 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น - (410) เงินสดใช้ไปในกิจกรรมดำเนินงาน (79,041,759) (78,810,454) จ่ายดอกเบี้ย (3,949,633) (2,286,193) จ่ายภาษีเงินได้ (13,662,551) (5,570,805) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมดำเนินงาน (96,653,943) (86,667,452) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจำปี 2554 047

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) 2554 2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ซื้อยานพาหนะและอุปกรณ์ (702,226) (6,266,659) เงินสดรับจากการจำหน่ายยานพาหนะและอุปกรณ์ 1,869,159 78,140 เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน 1,166,933 (6,188,519) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 32,000,000 78,275,463 ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้น (40,000,000) เจ้าหนี้ทรัสต์รีซีทส์เพิ่มขึ้น 89,602,444 ชำระคืนเจ้าหนี้ค่าทรัพย์สิน (47,700) (218,109) ชำระคืนหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ (968,913) (344,997) เงินสดรับสุทธิจากการจำหน่ายหุ้นสามัญ 93,650,493 - เงินปันผลจ่าย (21,034,000) - เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน 153,202,324 77,712,357 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ 57,715,314 (15,143,614) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี 2,899,189 18,042,803 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี 60,614,503 2,899,189 ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่ใช่เงินสด ซื้อสินทรัพย์เป็นเงินเชื่อ - 47,700 ซื้อสินทรัพย์โดยทำสัญญาเช่าระยะยาว - 3,000,000 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


048

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 1. ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายไทยและประกอบ กิจการในประเทศไทย บริษัทฯมีบริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทมหาชนทีจ่ ดทะเบียนจัดตั้งใน ประเทศไทยเป็นบริษัทใหญ่ ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการจัดหาและจำหน่ายเคมีภัณฑ์ ที่อยู่บริษัทฯตามที่จดทะเบียนตั้ง อยู่เลขที่ 9/8 หมู่ที่ 5 แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา จังหวัดกรุงเทพมหานคร 2. เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดง รายการใน งบการเงินตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตาม ค วามในพระราชบั ญ ญั ติ การบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมายงบการเงินฉบับภาษาอังกฤษ แปลจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 3. การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีใหม่ในระหว่างปี ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯได้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ออกโดยสภาวิชาชีพ บัญชีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) การนำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) สินค้าคงเหลือ ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) สัญญาเช่า


รายงานประจำปี 2554 049

ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) รายได้ ฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) ต้นทุนการกู้ยืม ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เงินลงทุนในบริษัทร่วม ฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) กำไรต่อหุ้น ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก ฉบับที่ 6 การสำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 รายได้ - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา มาตรฐานการบัญชีข้างต้นไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินนี้ ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำหนดให้กิจการรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกิจการได้รับบริการจ้างงาน จากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจการจะต้องประเมินและบันทึกหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานเนื่องจาก เกษียณอายุ โดยใช้การคำนวณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งเดิมบริษัทฯรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานดังกล่าว เมื่อเกิดรายการ


050

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

4. 5. 5.1

บริษัทฯได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวในปีปัจจุบันและรับรู้หนี้สินในช่วงที่เปลี่ยนแปลงโดยบันทึก ปรั บ กั บ กำไรสะสม ณ วันต้นงวดของปีปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้บริษัทฯมีกำไรสำหรับปี 2554 ลดลง เป็นจำนวน 0.05 ล้านบาท ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าวแสดงเป็นรายการแยกต่าง หากในงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้น มาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช้สำหรับรอบ ร ะ ย ะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดข้างล่างนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความ ช่วยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจง กับกิจกรรมดำเนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษีเงินได้ - การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาที่ตี ราคาใหม่ ฉบับที่ 25 ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯเชือ่ ว่ามาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงิน เมือ่ นำมาถือ ปฏิบตั ิ นโยบายการบัญชีที่สำคัญ การรับรู้รายได้ ขายสินค้า รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อบริษัทฯได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยสำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้าให้ กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำกับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ส ำหรั บ สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ส่ ง มอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว


รายงานประจำปี 2554 051

5.2 5.3 5.4 5.5

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึ่งถึงกำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำกัดในการเบิกใช้ ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุน โดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและ การวิเคราะห์อายุหนี้ สินค้าคงเหลือ สินค้าสำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึงต้นทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งค่าโสหุ้ยโรงงานด้วยวัตถุดิบ ภาชนะบรรจุและหีบห่อแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ ราคาใด จะต่ำกว่า และจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาที่ตีใหม่ อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่า เผื่อ การด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) บริษัทฯบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของที่ดินในราคาทุน ณ วันที่ได้มา หลังจากนั้นบริษัทฯจัดให้มีการประเมินราคาที่ดิน โดยผู้ประเมินราคาอิสระและบันทึกที่ดินดังกล่าวในราคาที่ตีใหม่ ทั้งนี้บริษัทฯจัดให้มีการประเมินราคาที่ดินดัง กล่าว เป็นครั้งคราวเพื่อมิให้ราคาตามบัญชี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานแตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างมี สาระสำคัญ บริษัทฯบันทึกส่วนต่างซึ่งเกิดจากการตีราคาสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ - บริ ษัทฯบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและรับรู้ จำนวนสะสมในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในส่วนของผู้ถือหุ้น อย่างไรก็ตามหากสินทรัพย์ นั้นเคยมีการตีราคาลดลงและบริษัทฯได้รับรู้ราคาที่ลดลงในส่วนของกำไรหรือขาดทุนแล้ว ส่วนที่เพิ่มจากการ ตีราคาใหม่นี้จะถูกรับรู้ เป็นรายได้ไม่เกินจำนวนที่เคยลดลงซึ่งรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายปีก่อนแล้ว


052

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

5.6 5.7

- บริษัทฯรับรู้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ลดลงจากการตีราคาใหม่ในส่วนของกำไรหรือขาดทุน อย่างไร ก็ตาม หากสินทรัพย์นั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่จะถูกรับรู้ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นใน จำนวนที่ไม่เกินยอด คงเหลือของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง - 20 ปี เครื่องจักรและอุปกรณ์ - 3 - 10 ปี เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้สำนักงาน - 3-5 ปี ยานพาหนะ - 5 ปี ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพย์ระหว่างติดตั้ง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน บริษัทฯตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิด การด้อยค่าบริษัทฯจะทบทวนระยะเวลาการตัดจำหน่ายและวิธีการตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าว ทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำหน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัดมีดังนี้ อายุการให้ประโยชน์ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 3 ปี รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำนาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกบริษทั ฯควบคุม ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรง หรือทาง อ้อมซึ่งทำให้มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญต่อบริษัทฯ ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจ ในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ


รายงานประจำปี 2554 053

5.8 5.9 5.10

สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่ายานพาหนะที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็น สัญญาเช่าการเงินสัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของยานพาหนะที่เช่าหรือมูลค่า ปัจจุบันสุทธิของจำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำกว่าภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของกำไรหรือขาดทุนต ลอดอายุ ข อง สัญญาเช่า ยานพาหนะที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งาน ของยานพาหนะที่เช่า จำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกำไรหรือขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุ ของสัญญาเช่า เงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯจะทำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ ไม่มีตัวตนอื่นของบริษัทฯหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่าเป็นรายปี บริษัทฯรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่า เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนหมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า บริษทั ฯจะรับรูร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของกำไรหรือขาดทุน ยกเว้นในกรณีที่ ทีด่ นิ ซึง่ ใช้วธิ กี ารตีราคาใหม่ และได้บันทึกส่วนเกินทุนจากการตีราคาใหม่ไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกินไปกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว้


054

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

5.11

หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ มีข้อบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่รับรู้ ในงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง บริษัทฯจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์นั้น และจะ ก ลั บ รายการ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ในงวดก่อนก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้กำหนด มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ คืนภายหลังจากการรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าครั้งล่าสุด โดยมูลค่าตามบัญชีของ สิ นทรั พ ย์ ที่ เพิ่ ม ขึ้ นจากการกลั บ รายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีที่ควรจะเป็นหาก กิจการไม่เคยรับรู้ผลขาดทุนจากการ ด้อยค่าของสินทรัพย์ในงวดก่อนๆ บริษัทฯจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุน จากการด้อยค่าของสินทรัพย์โดยรับรู้ไปยัง ส่วนของกำไรหรือขาดทุนทันที เว้นแต่สินทรัพย์นั้นแสดงด้วยราคาที่ ตีใหม่การกลับรายการส่วนที่เกินกว่ามูลค่าตาม บัญชีที่ควรจะเป็นถือเป็นการตีราคาสินทรัพย์เพิ่ม ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริษัทฯ จ่ายสมทบให้เป็นรายเดือนสินทรัพย์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทฯ เงินที่บริษัทฯจ่าย สมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษัทฯมีภาระสำหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่งบริษัทฯ ถือว่าเงิน ชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสำหรับพนักงาน บริษัทฯคำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานโดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ ประมาณ การไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระได้ทำการประเมินภาระผูกพันดัง กล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ผลกำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสำหรับโครงการผลประโยชน์หลังออกจาก งานของพนักงานจะรับรู้ทันทีในกำไรหรือขาดทุน ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงานเป็นครั้งแรก บริษัทฯเลือกรับรู้หนี้สิน ในช่วงการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าหนี้สินที่รับรู้ ณ วันเดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิมโดยบันทึกปรับกับกำไรสะสม ณ วันต้นงวดของปีปัจจุบัน


รายงานประจำปี 2554 055

5.12 5.13 6. 7.

ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ภาษีเงินได้ บริษัทฯบันทึกภาษีเงินได้ตามจำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐโดยคำนวณจากกำไรทางภาษี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายภาษีอากร การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในบางสถานการณ์ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้การประมาณ และการตัง้ สมมติฐาน ซึง่ มีผลกระทบต่อจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและ หมายเหตุประกอบงบการ เงินด้วยเหตุนี้ ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณไว้ รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี บริษัทฯมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไป ตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม นโยบายการกำหนดราคา 2554 2553 รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้าสำเร็จรูป 396 457 ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ซื้อสินค้าสำเร็จรูป 8,443 8,743 ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ซื้อสินทรัพย์ 477 - ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ค่าเช่าคลังสินค้า 480 494 ราคาตามสัญญา ค่าขนส่งสินค้า 117 147 ราคาตามสัญญา


056

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2553 ลูกหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 8) บริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) 107 157 บริษัท ไลอ้อน เอเซีย (ไทยแลนด์) จำกัด 49 - รวมลูกหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 156 157 เจ้าหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 12) บริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) 2,046 2,156 รวมเจ้าหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 2,046 2,156 เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 12) บริษัท ยูเนี่ยน ปิโตรเคมีคอล จำกัด (มหาชน) 13 - กรรมการ 696 357 รวมเจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 709 357 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานของกรรมการและ ผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 ผลประโยชน์ระยะสั้น 5,137 4,236 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 6 - รวม 5,143 4,236


รายงานประจำปี 2554 057

8. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น (หน่วย: พันบาท) 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2553 บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระ ยังไม่ถึงกำหนดชำระ 156 105 ค้างชำระ ไม่เกิน 3 เดือน - 52 รวมลูกหนี้การค้า - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 156 157 บริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ถึงกำหนดชำระ 69,125 63,804 ค้างชำระ ไม่เกิน 3 เดือน 53,689 22,382 3 - 6 เดือน 1,218 - 6 - 12 เดือน - - มากกว่า 12 เดือน 196 224 รวม 124,228 86,410 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (81) - รวมลูกหนี้การค้า - บริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 124,147 86,410 รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ 124,303 86,567 9. สินค้าคงเหลือ (หน่วย: พันบาท) รายการปรับลดราคาทุนให้ ราคาทุน เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ สินค้าคงเหลือ-สุทธิ 2554 2553 2554 2553 2554 2553 สินค้าสำเร็จรูป 205,113 104,977 - - 205,113 104,977 สินค้าระหว่างทาง 31,086 14,603 - - 31,086 14,603 วัตถุดิบ - 7,089 - - - 7,089 ภาชนะบรรจุและหีบห่อ 474 145 474 145 รวม 236,673 126,814 236,673 126,814


058

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

10. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (หน่วย: พันบาท) สินทรัพย์ซึ่งแสดงมูลค่าตามราคาทุน ทีด่ นิ ซึง่ แสดง เครือ่ งตกแต่ง อาคารและ เครือ่ งจักรและ มูลค่าตาม สินทรัพย์ระหว่าง และเครือ่ งใช้ รวม ราคาทีต่ ใี หม่ สิง่ ปลูกสร้าง อุปกรณ์ ยานพาหนะ ติดตัง้ และก่อสร้าง สำนักงาน ราคาทุน / ราคาที่ตีใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 47,042 24,732 11,586 3,946 5,722 17,646 110,674 ซื้อเพิ่ม - - 1,533 292 5,985 1,505 9,31 จำหน่าย - - (283) (10) - - (293) โอน - - 19,151 - - (19,151) - ตีราคา 125 - - - - - 125 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 47,167 24,732 31,987 4,228 11,707 - 119,821 ซื้อเพิ่ม - - 579 123 - - 702 จำหน่าย - - - - (4,170) - (4,170) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 47,167 24,732 32,566 4,351 7,537 - 116,353 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 - 1,907 6,032 1,685 4,328 - 13,952 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี - 1,237 3,998 693 772 - 6,700 (165) (10) - - (175) ค่าเสือ่ มราคาสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่าย - - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - 3,144 9,865 2,368 5,100 - 20,477 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี - 1,237 4,374 699 1,148 - 7,458 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่าย - - - - (4,170) - (4,170) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 - 4,381 14,239 3,067 2,078 - 23,765 ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 - - - - - - - บันทึกเพิ่มขึ้นระหว่างปี 1 - - - - - 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 1 - - - - - 1 เพิ่มขึ้นระหว่างปี - - - - - - - ลดลงระหว่างปี - - - - - - - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 1 - - - - - 1 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 47,166 21,588 22,122 1,860 6,607 - 99,343 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 47,166 20,351 18,327 1,284 5,459 - 92,587 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี 2553 (จำนวน 4.9 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขาย ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร) 6,700 2554 (จำนวน 5.3 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขาย ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร) 7,458


รายงานประจำปี 2554 059

บริษัทฯได้จัดให้มีการประเมินราคาที่ดินโดยผู้ประเมินราคาอิสระในปี 2553 โดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) ซึ่งผลการประเมินเกิดผลต่างจากการตีราคาที่ดินเพิ่มขึ้นจำนวน 0.12 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้ บันทึกผลต่างดังกล่าวแสดงไว้ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และเกิดค่าเผือ่ การด้อยค่าของทีด่ นิ จำนวน 0.001 ล้านบาทซึง่ บริษทั ฯ ได้บันทึกผลขาดทุนนี้ไว้ในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมียอดคงเหลือของยานพาหนะซึ่งได้มาภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน โดยมี มูลค่าสุทธิตามบัญชีเป็นจำนวนเงิน 5.10 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯมีอาคารและอุปกรณ์จำนวนหนึง่ ซึง่ ตัดค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีกอ่ นหักค่าเสือ่ มราคาสะสมของสินทรัพย์ดงั กล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 4.89 ล้านบาท (2553:5.16 ล้านบาท) 11. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หน่วย: พันบาท) อัตราดอกเบี้ย 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2553 (ร้อยละต่อปี) เงิน กูย้ มื ระยะสัน้ จาก อัตราตลาดบวก / อัตราตลาดบวก / สถาบันการเงิน ลบส่วนต่างที่ ลบส่วนต่างที่ 224,213 133,254 กำหนด กำหนด รวม 224,213 133,254 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯมีวงเงินสินเชือ่ ระยะสัน้ ทีไ่ ด้รบั จากธนาคารพาณิชย์ซงึ่ ปลอดภาระ ค้ำประกัน ที่ ยั ง มิได้เบิกใช้รวมเป็นจำนวนประมาณ 286 ล้านบาท 12. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น (หน่วย: พันบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 เจ้าหนี้การค้า - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 2,046 2,156 เจ้าหนี้การค้า - บริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 44,381 45,228 เจ้าหนี้อื่น - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 709 357 เจ้าหนี้อื่น - บริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 767 239 รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 47,903 47,980


060

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

13. 14.

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (หน่วย: พันบาท) 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2553 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 2,202 3,171 หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจำหน่าย (84) (171) รวม 2,118 3,000 หัก : ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี (997) (882) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี 1,121 2,118 บริษัทฯได้ทำสัญญาเช่าการเงินกับบริษัทลีสซิ่งเพื่อเช่ายานพาหนะใช้ในการดำเนินงานของกิจการโดยมีกำหนดการ ชำระค่า เช่าเป็นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลา 3 ปี ณ วันที่3 1 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่ำตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้ (หน่วย: พันบาท) ไม่เกิน 1 ป ี 1 - 5 ปี รวม ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 1,057 1,145 2,202 ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าซื้อ/เช่าการเงินรอการตัดบัญชี (60) (24) (84) มูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 997 1,121 2,118 สำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน จำนวนเงินสำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึง่ เป็นเงินชดเชยพนักงานเมือ่ ออกจากงานณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงาน โดยปรับกับกำไรสะสมต้นปี (หมายเหตุ 3) 41.1 ต้นทุนบริการในปัจจุบัน 8.3 ต้นทุนดอกเบี้ย 2.2 ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี - ยอดคงเหลือปลายปี 51.6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยู่ในกำไรหรือขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำนวน 0.01 ล้านบาท


รายงานประจำปี 2554 061

15. 16.

สมมติฐานที่สำคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้ 31 ธันวาคม 2554 31ธันวาคม 2553 (ร้อยละต่อปี) (ร้อยละต่อปี) อัตราคิดลด 4.41 4.41 อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต (ขึ้นกับช่วงอายุของพนักงาน) 8.12 8.12 อัตราการเปลี่ยนแปลงในจำนวนพนักงาน 15 - 22 15 - 22 ทุนเรือนหุ้น/ส่วนเกินมูลค่าหุ้น เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯครั้งที่ 2/2553 มีมติให้บริษัทฯเพิ่มทุนจดทะเบียน จากเดิม 78,000,000 บาท (หุ้นสามัญ 78,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท) เป็น 130,000,000 บาท (หุ้นสามัญ 130,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท) และมีมติให้บริษัทฯเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัทฯ จาก เดิมหุน้ ละ 1,000 บาท เป็นหุน้ ละ 1 บาท ทำให้ทนุ จดทะเบียนและเรียกชำระแล้วของบริษทั ฯเท่ากับ 130,000,000 บาท และ 78,000,000 บาท ตามลำดับ ซึ่งบริษัทฯได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนและการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้น สามัญดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2553 โดยเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ได้อนุญาตให้บริษัทฯ เสนอขายหุ้นสามัญของบริษัทฯต่อประชาชนในส่วนของตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (MAI: Market for Alternative Investment) ต่อมาในระหว่างวันที่ 18-20 พฤษภาคม 2554 และ 23-25 พฤษภาคม 2554 บริษัทฯได้เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน ให้แก่ประชาชนทั่วไปและผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ ในราคาหุ้นละ 1.92 บาท คิดเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 99,840,000 บาท และในวันที่ 26 พฤษภาคม 2554 บริษัทฯได้รับชำระเงินค่าหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวแล้วทั้งจำนวน โดยค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง กับการเสนอขายหุ้นดังกล่าวจำนวนประมาณ 6.2 ล้านบาท ได้แสดงหักจากส่วนเกินมูลค่าหุ้น บริษัทฯ ได้จดทะเบียน การเพิ่มทุนชำระแล้วดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 สำรองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรกำไรสุทธิ ประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไป จ่ายเงินปันผลได้


062

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

17. 18. 19.

ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำคัญดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2553 เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน 9,298 7,551 ค่าตอบแทนผู้บริหาร 6,889 4,236 ค่าเสื่อมราคา 7,458 6,700 ซื้อวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูป 515,853 324,460 การเปลี่ยนแปลงในวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูป (109,859) (80,660) ค่าเช่าจ่ายตามสัญญาเช่าดำเนินงาน 1,608 859 ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง 5,067 4,238 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 9,731 - กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 กำไรสำหรับปี (พันบาท) 35,611 17,069 จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (พันหุ้น) 109,342 78,000 กำไรต่อหุ้น (บาท/หุ้น) 0.33 0.22 ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน บริษทั ฯดำเนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจการจัดหาและจำหน่ายเคมีภณ ั ฑ์โดยมีทงั้ การจำหน่ายในประเทศและ ก ารส่ ง ออก ซึ่งเป็นการจำหน่ายภายในประเทศมากกว่าร้อยละ 99 ของยอดขายรวม บริษัทฯดำเนินกิจการในส่วนงาน ทางธุรกิจเดียว และดำเนินธุรกิจจากส่วนงานภูมิศาสตร์เดียวคือประเทศไทย ดังนั้น รายได้ กำไร และสินทรัพย์ ทั้งหมดที่แสดงในงบการ เงินจึงเกี่ยวข้องกับส่วนงานธุรกิจและส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้


รายงานประจำปี 2554 063

20. 21. 22. 22.1 22.2

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษทั ฯและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุน สำรองเลีย้ งชีพนีบ้ ริหารโดยบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนอยุธยา จำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯ ในระหว่างปี 2554 บริษัทฯได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็น จำนวนเงิน 0.25 ล้านบาท (2553: 0.22 ล้านบาท) เงินปันผล เงินปันผลที่ประกาศจ่ายในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัทฯ ประกอบด้วย อนุมัติโดย รวมเงินปันผล เงินปันผล (ล้านบาท) (บาทต่อหุ้น) เงินปันผลจากกำไรปี 2553 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี ของบริษัทฯ วันที่ 9 มีนาคม 2554 8.034 0.103 เงินปันผลระหว่างกาลสำหรับ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ปี 2554 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2554 13.0 0.10 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำเนินงาน บริษทั ฯได้เข้าทำสัญญาเช่าดำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับสัญญาเช่าคลังสินค้าและสัญญาบริการ ซึง่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดำเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้ ดังนี้ จ่ายชำระภายใน ล้านบาท ภายใน 1 ปี 1.35 1 ถึง 5 ปี 0.11 แสตนด์บายเลตเตอร์ออฟเครดิต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมีภาระผูกพันจากการทำแสตนด์บายเลตเลอร์ออฟเครดิตเป็นจำนวนเงิน ประมาณ 3.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเป็นการค้ำประกันการชำระหนี้ค่าสินค้า


064

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

23. เครื่องมือทางการเงิน 23.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการ เปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น เงินกู้ยืมระยะสั้น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น และหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน บริษัทฯมีความเสี่ยง ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการ กำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็น สาระสำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯ ม ีฐานของลูกค้าที่ หลากหลายและมีอยู่จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของ ลูกหนี้และลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงินและเงินกู้ยืมระยะสั้นที่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือม ี อั ต รา ดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯจึงอยู่ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำหรับสินทรัพย์และ หนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำหนด หรือ วันที่มีการกำหนด อัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ยอัตรา ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ้นลง ไม่มี ดอกเบี้ย 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย รวม ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี) สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - - - 28,303 32,316 60,619 0.13-0.75 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - - - - 124,303 124,303 - - - - 28,303 156,619 184,922 หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - - - 224,213 - 224,213 2.20- 3.38 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - - - - 49,765 49,765 - หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน 997 1,121 - - - 2,118 3.63 997 1,121 - 224,213 49,765 276,096


รายงานประจำปี 2554 065

23.2 24.

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัทฯได้ตกลงทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็น เครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมียอดคงเหลือของหนี้สินทางการเงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้ อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย สกุลเงิน หนี้สินทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) เหรียญสหรัฐอเมริกา 7.97 31.8319 ยูโร 0.05 41.3397 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับ อัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่ แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันหรือจ่ายชำระหนี้สินในขณะ ที่ทั้ง สองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มี ความเกีย่ วข้องกัน วิธกี ารกำหนดมูลค่ายุตธิ รรมขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำหนด จากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและ การดำรงไว้ซึ่งความสามารถในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง บริษทั ฯบริหารจัดการสถานะของทุนโดยใช้อตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุน (Debt-to-Equity Ratio) ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.19:1 (2553: 1.47:1)


066

บริษัท ยูเนี่ยน อินทราโก้ จำกัด (มหาชน)

25. 26. 27.

เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 1/2555 ได้มีมติเห็นชอบให้เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือ หุ้นซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนเมษายน 2555 ในเรื่องการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นจากกำไรของปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.11 บาท รวมเป็นเงิน 14.3 ล้านบาท เงินปันผลนี้จะจ่ายและบันทึกบัญชีภายหลังจากได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นแล้ว การจัดประเภทรายการในงบการเงิน เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าเกี่ยวกับการจัดประเภทรายการในงบการเงินตามที่ กล่าวไว้ในหมายเหตุ 2 และผลจากการนำมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่และฉบับปรับปรุงมาถือปฏิบัติตามที่กล่าวใน หมายเหตุ 3 บริษัทฯได้จัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปีปัจจุบัน โดยไม่มีผลกระทบต่อกำไร หรือส่วนของผู้ถือหุ้นตาม ที่ได้รายงานไว้ (หน่วย: พันบาท) ตามที่จัดประเภทใหม่ ตามที่เคยรายงานไว้ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2553 งบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า 86,567 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 86,567 - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 2,015 5,966 ภาษีซื้อรอเรียกคืน 3,951 - เจ้าหนี้การค้า - 47,742 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 47,980 - เจ้าหนี้อื่น 992 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 2,609 2,530 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 675 - (หน่วย: พันบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามที่จัดประเภทใหม่ ตามที่เคยรายงานไว้ งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 16,182 11,946 ค่าตอบแทนผู้บริหาร - 4,236 การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555


รายงานประจำปี 2554 067


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.