PICO: Annal Report 2013 TH

Page 1

รายงานประจ�ำปี 2556

บริษัท ปิโก้ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด มหาชน


!

สารบัญ 01 02 03 04 06

สรุปข้อมูลทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท สารจากประธาน สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 09 14 21 24 26 27

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ข้อพิพาททางกฎหมาย ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำคัญอื่น

ส่วนที่ 2 การจัดการและการกำกับดูแลกิจการ 32 35 42 62 77 80

ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ การกำกับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน

ส่วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน 90 94

ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ การวิเคราะห์และคำอธิบายของฝ่ายจัดการ

102 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล

เอกสารแนบ 105

!

111 112 113

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจควบคุม และ เลขานุการบริษัท เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน เอกสารแนบ 4 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและงบการเงิน

2


สรุปข้อมูลทางการเงิน

สรุปข้อมูลทางการเงินที่สำคัญสำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 3 ปี ตั้งแต่ปี 2554 ถึงปี 2556 ดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ หน่วย: ล้านบาท

งบการเงินรวม

2554

2555

2556

2554

2555

2556

33

255

88

300

สินทรัพย์หมุนเวียนรวม

671

621

733

685

สินทรัพย์รวม

819

760

879

820

หนี้สินหมุนเวียนรวม

441

339

466

359

หนี้สินรวม

443

371

469

396

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม

376

389

410

424

1,249

1,204

1,362

1,288

กำไรขั้นต้น

260

293

349

364

กำไรสุทธิ

61

60

75

66

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

1.5

1.7

1.6

1.7

อัตรากำไรขั้นต้น (%)

21

24

26

28

อัตรากำไรสุทธิ (%)

5

5

6

5

17

16

20

16

8

8

9

8

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า)

1.6

1.5

1.6

1.5

อัตราส่วนหนี้สินทั้งหมดต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

1.2

1.0

1.1

0.9

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)

2.262

2.259

2.461

2.461

กำไรสุทธิต่อหุ้น* (บาท)

0.282

0.280

0.344

0.302

เงินปันผลต่อหุ้น (บาท)

0.10

0.66

181 468 627 197 233 394 865 211 29 2.0 24 3 7 4 1.3 0.6 1.831 0.136 0.10

0.10

0.66

213 570 730 249 291 439 1,043 287 40 2.0 28 4 9 5 1.4 0.7 2.041 0.174 0.10

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

รายได้จากการให้บริการ

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)

* กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำนวนถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี และได้ปรับปรุงจำนวนหุ้นสามัญที่ใช้ในการคำนวณกำไรต่อหุ้นของปีก่อนที่นำมาเปรียบเทียบ โดยถือเสมือนว่าการออกหุ้นปันผลได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่เริ่มต้นของงวดแรกที่เสนอรายงาน

!1


คณะกรรมการบริษัท นายเชีย ซอง เฮง

นายวิริยะ ผลโภค

ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการสรรหา ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทนและ รองประธานกรรมการบริหาร

กรรมการบริษัท กรรมการสรรหา กรรมการกำหนดค่าตอบแทนและ ที่ปรึกษา

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

นายไชยยศ บุญญากิจ

รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการสรรหา ประธานกรรมการบริหารและ ประธานอำนวยการ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

นายเสริญ วิเทศพงษ์

กรรมการบริษัท กรรมการสรรหา กรรมการบริหารและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

นางศศิธร พงศธร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

นายยอง ชุน คอง* กรรมการบริษัท

* นายยอง ชุน คอง ดำรงตำแหน่งกรรมการแทนนายชุง ชี คีออง เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556

!2 สารบัญ


สารจากประธาน สวัสดีครับผุ้ถือหุ้นทุกท่าน ปี 2556 ถือเป็นอีกปีแห่งความสำเร็จของ ปิโก กรุป๊ โดยหลังจากที่ ปิโก ได้ขบั เคลือ่ นองค์กรตามแนวทาง “นวัตการสูก่ ารเติบโต” หรือ “Innovate for Growth” ปิโก ได้มกี ารริเริม่ และพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ ในการให้บริการอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในด้านการสร้างสรรค์ กลยุทธ์ทางการตลาดแบบใหม่แก่ลกู ค้า การพัฒนาองค์ความรูเ้ พือ่ ต่อยอดในการทำงาน รวมถึงการกำหนดกลยุทธ์ Pico+ (Pico Plus) ซึง่ เป็นกลยุทธ์ใหม่ทมี่ งุ่ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั การให้บริการในส่วน Total Brand Activation ของ ปิโก กรุป๊

!Pico+

เป็นกลยุทธ์สำคัญที่จะนำพาปิโกสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน ด้วยการมุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถและความชำนาญ ขององค์กร ให้บริษัทฯ มีศักยภาพและมีความพร้อมที่จะนำเสนอการให้บริการในรูปแบบใหม่ๆ ที่หลากหลายในอนาคตให้แก่ ลูกค้าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

!ทัง้ นี้ จากกลยุทธ์ดงั กล่าว ปิโก ได้จดั ตัง้ Digital Pico ขึน้ ซึง่ จะเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาและสร้างสรรค์เครือ่ งมือในรูปแบบ

ดิจติ อลต่างๆ เพือ่ เสริมศักยภาพการให้บริการหลักของปิโกกรุป๊ โดย Pico TV เป็นตัวอย่างหนึง่ ของธุรกิจภายใต้ Digital Pico ซึง่ เป็นส่วนธุรกิจทีเ่ น้นการพัฒนาและผลิต แอพพลิเคชัน่ (Application) ทีส่ ง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของกลุม่ เป้าหมาย โดยแอพพลิเคชัน่ ดังกล่าวจะเป็นการถ่ายทอดสดการจัดงานและกิจกรรมทางการตลาดต่างๆ ของลูกค้าเพือ่ ขยายผลการมีสว่ นร่วมของกลุม่ เป้าหมาย ในวงทีก่ ว้างขึน้

!สำหรับ ปิโก (ไทยแลนด์) เราให้ความสำคัญอย่างต่อเนือ่ งกับการส่งเสริมวัฒนธรรมในองค์กรทีเ่ อือ้ ต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรม

อย่างยัง่ ยืน (Sustainable innovation culture) ซึง่ ถือเป็นแนวทางทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจของ ปิโก กรุป๊ โดยบริษทั ฯ เชือ่ ว่า เราจะประสบความสำเร็จในการสร้างสรรค์นวัตการสูก่ ารเติบโตได้นนั้ ก็ตอ่ เมือ่ นวัตกรรมทีเ่ ราสร้างสรรค์ขนึ้ สามารถตอบ โจทย์ความต้องการของสังคมได้ ดังนัน้ เราจึงได้ผนวกมิตทิ างสังคมเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ในกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษทั ฯ โดยเรา จะให้ความสำคัญกับแนวความคิดทีส่ ามารถนำไปพัฒนาต่อยอดและส่งผลสนับสนุนการเจริญเติบโตและความยัง่ ยืนของสังคม

!เราเชื่อว่าการดำเนินธุรกิจในลักษณะการสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม หรือ Creating Shared Value (CSV) นั้น จะเป็นแนวทาง ที่จะทำให้ ปิโก ประสบความสำเร็จในการเป็นองค์กรที่ยั่งยืน ในสังคมที่ยั่งยืน !โดยในปีทผี่ า่ นมา ปิโกได้รบั การจัดอันดับเป็นบริษทั ด้านการจัดอีเวนต์ อันดับ 2 จากการจัดอันดับ 50 บริษทั ชัน้ นำด้านการจัด อีเวนต์ของโลก โดยนิตยสาร Special Events1 ซึง่ แสดงถึงความเป็นผูน้ ำของ ปิโก ในกลุม่ อุตสาหกรรมการจัดอีเวนต์ระดับสากล และเราภูมิใจทีจ่ ะบอกว่า ปิโก (ไทยแลนด์) มีสว่ นสำคัญอย่างยิง่ ต่อความสำเร็จดังกล่าวของ ปิโก กรุป๊

!ในปี 2557 ปิโก (ไทยแลนด์) จะก้าวเข้าสู่ปีที่ 10 ของการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดยบริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะพัฒนา ารเป็นบริษัทแห่งอนาคต ที่สามารถสร้างความมั่งคั่งให้แก่ผู้ถือหุ้น แก่พนักงาน และแก่สังคมได้ !สุองค์ดท้กายนีรสู่ก้ ผมขอขอบคุ ณผูถ้ อื หุน้ ทุกท่าน ลูกค้า พันธมิตรทางธุรกิจ สำหรับความไว้วางใจและมิตรภาพทีท่ า่ นได้มอบให้แก่ บริษทั ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) อย่างต่อเนือ่ งเสมอมา ขอขอบคุณคณะกรรมการบริหาร ทีมผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกท่าน สำหรับความมุง่ มัน่ และการให้บริการอย่างดีเยีย่ มในปี 2556

!ผมขอให้ท่านและครอบครัวมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุขตลอดปี 2557 ครับ ! ! !

นายเชีย ซอง เฮง ประธานกรรมการ 1_

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น ประธานอำนวยการ

นิตยสาร Special Events magazine เป็นนิตยสารทีจ่ ดั ทำและเผยแพร่โดย International Special Events Society (ISES) เพือ่ นำเสนอเรือ่ งราวและผลงานต่างๆ ในอุตสาหกรรมอีเวนต์ทวั่ โลก

53 สารบัญ


สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เรียนผู้ถือหุ้นทุกท่าน เป็นข้อเท็จจริงทีว่ า่ องค์กรจะสามารถประสบความสำเร็จในการพัฒนาสูก่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืนได้นน้ั ก็ตอ่ เมือ่ องค์กรดำเนินธุรกิจ อยู่ในสังคมทีม่ คี วามยัง่ ยืน เราจึงตระหนักดีวา่ เป็นความรับผิดชอบของเราทีต่ อ้ งดำเนินธุรกิจทีส่ ามารถสร้างประโยชน์ให้แก่ทงั้ องค์กรและสังคมได้ และนีค่ อื แนวทางทีบ่ ริษทั ฯ มุง่ มัน่ ดำเนินการ

!

หลังจากที่บริษัทฯ ได้ริเริ่มการให้บริการในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า การสร้างสรรค์แหล่งสื่อสารองค์ความรู้ หรือ Knowledge Communication ในปี 2548 โดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาการศึกษาโดยเฉพาะในส่วนของการพัฒนาวิชาชีพครู ในช่วงที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้นำเสนอบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาการศึกษาซึ่งเป็นการตอบโจทย์ความต้องการของสังคมอย่างต่อเนื่อง ในวันนี้ ปิโก (ไทยแลนด์) ได้รับการยอมรับจากนักการศึกษาจากทั่วประเทศในฐานะผู้สื่อสารองค์ความรู้ หรือ Knowledge Communication Agent จากสิ่งที่เราทำมาตลอด ซึ่ง ก็คือการนำเสนอและถ่ายทอดนวัตกรรมการพัฒนาการศึกษา การเรียน การสอนในรูปแบบใหม่ๆ จากทั่วโลกแก่ครูไทย ซึ่งการได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางนี้ ถือเป็นก้าวย่างแห่งการเติบโตที่ สำคัญอีกก้าวของบริษัทฯ

!

ในช่วงที่ผ่านมา บริษัทฯ มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจหลักของบริษัท ทั้งในส่วนการ ลงทุนเพื่อการพัฒนานวัตกรรม การขยายและพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญใหม่ๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขัน และการขยายประโยชน์จากข้อได้เปรียบที่บริษัทฯ มีเครือข่ายอยู่ทั่วโลก ทั้งในเรื่องของข้อมูลทางการตลาดเชิงลึก และการแนะนำลูกค้าผ่านเครือข่ายของปิโก กรุ๊ป โดยเมื่อพิจารณาอัตราการเติบโตในช่วง 5 ปีของธุรกิจที่บริษัทดำเนินการ พบว่าธุรกิจของบริษัทฯ มีการเติบโตเพิ่มขึ้น 16% ซึ่งทำให้มั่นใจได้ว่าเรามีศักยภาพที่จะขยายการให้บริการและสร้างรายได้ มากขึ้นเพื่อส่งเสริมการเติบโตของบริษัทฯ

!

ผลงานที่โดดเด่นของบริษัทฯ ในปี 2556 ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการจัดงาน ITU Telecom World 2013 ที่จัดขึ้นใน ประเทศไทย ในฐานะผู้จัดงานนิทรรศการและบริหารงาน (Professional Exhibition Organizer) โดยบริษัทฯ ยังได้ออกแบบ และดำเนินการสร้างสรรค์ในส่วนของศาลาประเทศไทย (Thailand Pavilion) ภายในงานนี้ด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ดำเนิน การบริหารจัดการ ออกแบบ และสร้างสรรค์บูธให้แก่ค่ายรถชั้นนำต่างๆ ภายในงานมหกรรมยานยนต์ ครั้งที่ 29 และ งานบางกอกอินเตอร์เนชัน่ แนล มอเตอร์โชว์ ครัง้ ที่ 34 และในปีทผ่ี า่ นมา บริษทั ฯ ประสบความสำเร็จในการจัดงาน EDUCA 2013 หรืองานมหกรรมทางการศึกษาเพือ่ พัฒนาวิชาชีพครู ซึง่ เป็นงานทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผูร้ เิ ริม่ ขึน้ โดยในปีทผี่ า่ นมา มียอดครูเข้าร่วมงาน จากทั่วประเทศ มากกว่า 50,000 คน ผลงานของบริษัทฯ ยังรวมถึง การบริหารจัดการ และผลิตรายการสำหรับช่อง มหิดล แชลแนล (Mahidol Channel) ที่ออกอากาศผ่านทางช่องดาวเทียม CTH ช่อง 107 นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการเปิดตัว Pico Geodesic Dome ซึ่งเป็นทางเลือกใหม่ของการสร้างสรรค์พื้นที่จัดงาน โดยโดมดังกล่าวนอกจากจะทำให้สามารถใช้สอย พื้นที่ได้อย่างเต็มที่แล้ว การใช้โดมนี้ในการจัดงานยังช่วยในเรื่องของการประหยัดพลังงานด้วย

!

ในปี 2556 ในภาพรวม บริษัทฯ มียอดขาย 1,043 ล้านบาท เป็นกำไรสุทธิ 40 ล้านบาท โดยเป็นรายได้จากการสร้างสรรค์ กิจกรรมทางการตลาด (Event Marketing) 33% การบริหารจัดการและการบริการอย่างครบวงจรในธุรกิจไมซ์ (MICE Management and service) 50% และการสร้างสรรค์แหล่งสื่อสารองค์ความรู้ (Knowledge Communication) 17%

! !

24 สารบัญ


สำหรับกลยุทธ์ ในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในปี 2557 นั้น บริษัทฯ ยังคงให้ความสำคัญกับการเติบโตของบริการหลัก ทั้ง 3 ส่วน ได้แก่ การสร้างสรรค์กิจกรรมทางการตลาด (Event Marketing) การบริหารจัดการและการบริการอย่างครบวงจร ในธุรกิจไมซ์ (MICE Management and service) และการสร้างสรรค์แหล่งสือ่ สารองค์ความรู้ (Knowledge Communication) รวมถึงบริษัทฯ จะเน้นการขยายการให้บริการในกลุ่มอุตสาหกรรมเฉพาะ (Niche industries) ด้วย ทั้งนี้ บริษัทฯ เชื่อมั่นว่า บริษัทฯ จะได้รับการตอบรับที่ดีจากสังคมจากการให้บริการต่างๆ ที่บริษัทฯ ได้สร้างสรรค์ขึ้นตามแนวทางการดำเนินธุรกิจที่ เน้นการสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม หรือ Creating Shared Value (CSV)

!

สุดท้ายนี้ ผมขอขอบคุณผู้ถือหุ้นทุกท่าน ลูกค้า และพันธมิตรทางธุรกิจสำหรับความเชื่อมั่นที่ท่านมอบให้แก่บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) และขอขอบคุณคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกท่านที่เต็มเปี่ยมไปด้วย พลังที่จะสร้างสรรค์งานและพร้อมจะขับเคลื่อนบริษัทฯ ไปข้างหน้า ขอบคุณสำหรับความมุ่งมั่นของทุกท่านครับ

! ผมหวังว่าปี 2557 จะเป็นปีที่ดีสำหรับเราทุกคน ! ! ! นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

25 สารบัญ


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ผู้ถือหุ้น บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน)

!

คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย นายไชยยศ บุญญากิจ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายเสริญ วิเทศพงษ์ และนางศศิธร พงศธร เป็นกรรมการตรวจสอบ

!

คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวม 4 ครั้ง ทั้งนี้ได้ประชุมร่วมกับผู้บริหารระดับสูงและผู้สอบบัญชีใน วาระที่เกี่ยวข้อง ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสำคัญ สรุปได้ดังนี้ การจัดทำงบการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2556 ร่วมกับฝ่ายบริหารและ ผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควร ตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วนและเชื่อถือได้ นอกจากนี้ได้สอบทาน การเปิดเผยรายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทย่อย และบริษัทร่วม รวมทั้งรายการที่เกี่ยวโยงกันเพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ ได้ดำเนินตามเงื่อนไขทางธุรกิจและหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด ระบบการควบคุมภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายใน โดยพิจารณาร่วมกับฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี พร้อมทั้งให้ข้อสังเกตและแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้การปฏิบัติงาน เกิดผลงานที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การติดตามและดำเนินการแก้ไขตามรายงานผลการตรวจสอบในประเด็นทีม่ นี ยั สำคัญอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ของบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น การบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง ได้กำหนดให้มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยงและ ระบบป้องกันความเสี่ยงตามความจำเป็น เพื่อลดผลกระทบที่อาจมีต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ การทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งอาจทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ เป็นรายการจริงทางการค้าอันเป็นธุรกิจปกติทั่วไป ซึ่งบริษัทฯ ได้ถือปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี

! !

A6 สารบัญ


! ! ! การปฏิบัติว่าด้วยกฎเกณฑ์ภาครัฐ

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ พบว่ามีการปฏิบัติตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปอย่างถูกต้อง การกำกับดูแลกิจการที่ดี

บริษัทฯ ให้ความสำคัญในการบริหารงานตามหลักการของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้มีความโปร่งใสและมีจริยธรรม ก่อ ให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

!

คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้น แต่งตั้ง นายวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 7309 และ/หรือ นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์ ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3104 และ/หรือ นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 2982 แห่ง บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชันแนล จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีสำหรับปี พ.ศ. 2557 ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีเป็นเงิน รวม 1,620,000 บาท

! ! ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ ! ! !

.................................................. (นายไชยยศ บุญญากิจ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

!

A7 สารบัญ


! ! ! !

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 01 02 03 04 05 06

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ข้อพิพาททางกฎหมาย ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำคัญอื่น

ส่วนที่ 2 การจัดการและการกำกับดูแลกิจการ 07 08 09 10 11 12

ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ การกำกับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน

ส่วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน 13 14

ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ การวิเคราะห์และคำอธิบายของฝ่ายจัดการ

15 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล

เอกสารแนบ 16 17 18 19

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัท เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน เอกสารแนบ 4 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและงบการเงิน

!8 สารบัญ


นโยบายและ
 ภาพรวม
 การประกอบธุรกิจ ! ! ! ! ! !

ความเป็นมา บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2524 ภายใต้ชื่อบริษัท ปิโกไทย เอ็กซิบิชั่น คอนแทรกเตอร์ จำกัด จากการลงทุนร่วมกันระหว่างผู้ร่วมลงทุนกลุ่ม คุณพิเสฐ จึงแย้มปิ่น กับบริษัท ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด สาธารณรัฐ สิงคโปร์ ซึง่ เป็นบริษทั ชัน้ นำในธุรกิจออกแบบก่อสร้าง งานแสดงสินค้าและนิทรรศการระดับ โลก

!

ต่อมาบริษัท ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด ได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง และขยาย กิจการในธุรกิจต่างๆ ให้ครอบคลุมทั้งห่วงโซ่ธุรกิจ รวมทั้งได้มีการลงทุนในธุรกิจอื่นๆ เช่น อสังหาริมทรัพย์ และวัสดุก่อสร้าง เป็นต้น โดยปัจจุบันบริษัท ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง จำกัด มีสาขาทั่วโลก 34 สาขา ใน 23 ประเทศ

! !

!9 สารบัญ

1


!

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำคัญ บริษทั ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ได้มกี ารพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้การดำเนินธุรกิจเป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจในแต่ละช่วง โดยการเปลี่ยนแปลงที่เกิด ขึ้นนั้น จะสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกับวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ขององค์กร สำหรับการ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำคัญของบริษัทฯ มีดังนี้

! !

2556

จัดตั้ง บจก. ฟิฟตี้พลัส เอเชีย

2555

ได้ลงทุนใน บจก. เอเซีย เอ็กซิบิทชั่น เซอร์วิสเซส

2554

ได้ลงทุนใน Andrew Bethell Associates Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในสหราชอาณาจักร

2553

จัดตั้ง บจก. ไทยทีชเชอร์.ทีวี (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น บจก. ทีซีบีเอ็น ในปี พ.ศ. 2555) และ บจก. เอฟซีจี

2549

จัดตั้ง บจก. ไอบริก

2548

เพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 65 ล้านบาท เป็น 115 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2548

2547

เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2547

2546

เปลีย่ นชือ่ เป็น บจก. ปิโก (ไทยแลนด์) และจดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษทั มหาชน ชือ่ บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) เมือ่ วันที่ 16 กันยายน 2546 และมีการเพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 65 ล้านบาท

2539

จัดตั้ง บจก. อาร์ทคอม กราฟฟิค (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น บจก. น็อกซ์ บางกอก ในปี พ.ศ. 2551) และ บจก. อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย)

2538

จัดตั้ง บจก. พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม และ บจก. มัลติดีไซน์

2535

จัดตั้งบริษัทใหม่ในนาม บจก. ปิโก อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ ไพรส์ (ไทยแลนด์) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2535 มี การปรับปรุงโครงสร้างการลงทุนและการถือหุ้นเพื่อรองรับการแข่งขันที่เพิ่มสูงขึ้น โดยการจัดตั้งบริษัทดังกล่าว มี ทุนจดทะเบียน 15 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนผู้ถือหุ้นคือ บจก. ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี 49% และผู้ถือหุ้น ชาวไทย 51%

!1100 สารบัญ


วิสัยทัศน์ บริษัทฯ มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจเพื่อความสำเร็จทางการเงิน ในการเป็นบริษทั ชัน้ นำด้านการให้บริการด้านการ สือ่ สารประสบการณ์ เพือ่ เป็นบริษทั แรกทีล่ กู ค้านึกถึง และเพือ่ เป็นสถานทีท่ ำงานอันดับแรกทีค่ นเก่งเลือก

พันธกิจ เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ พันธกิจที่สำคัญของบริษัทฯ คือการมอบบริการที่ดีเยี่ยมแก่ลูกค้า ผ่านการสร้างสรรค์และการสือ่ สารในรูปแบบทีห่ ลากหลาย โดยผสมผสานความคิดสร้างสรรค์องค์ความรู้ และ การใช้นวัตกรรมมาประกอบกัน เพื่อให้ได้รูปแบบการสื่อสารประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และ เกินความคาดหวังของลูกค้า

เป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ บริษัทฯ มีเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ 4 ประการ ได้แก่ 1. สร้างผลตอบแทนให้กับผู้ถือหุ้นสูงที่สุด

โดยบริษัทฯ มีการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างราบรืน่ และก่อ ให้เกิดรายได้สงู สุด ทัง้ นี้ ปัจจัยสนับสนุนหลักของบริษัทฯ คือการมีเครือข่ายที่เข้มแข็งทั้งในและต่าง ประเทศ อันส่งผลต่อความไว้วางใจของลูกค้าต่อบริษัทฯ ในวงกว้าง 2. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการอย่างต่อเนื่อง

โดยมุง่ เน้นที่ลูกค้าเป็นหลัก เพือ่ สร้างผลงานทีต่ อบสนองความมุง่ หวังของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการต่อยอดความชำนาญของบริษัทฯ ในทุกธุร กิจ ที่ ใ ห้ บ ริการเพื่อรักษาความเป็นผู้นำใน อุตสาหกรรมด้านนี้ 3. สร้างความมั่นคงและความก้าวหน้าของบริษัทฯ

โดยการดำเนินการของบริษัทฯ ยึดถือหลักการ “คุณภาพงาน คุณภาพคน” ดังนั้นบริษัทฯ จึงให้ความ สำคัญกับการพัฒนาคุณภาพบุคลากรและการสร้างความผูกพันระหว่างบุคลากรกับบริษัทฯ โดยเน้นเรื่อง การสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน การส่งเสริมการต่อยอดนวัตกรรมทางความคิด รวมทั้งการดูแล บุคลากรด้วยระบบสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม ทั้งนี้ เพื่อให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี และ สามารถสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพ 4. การสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม

โดยปรัชญาในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ คือ “เราเชื่อว่าอะไรที่ดีต่อสังคม ย่อมดีต่อการดำเนินธุรกิจ” ดังนั้น บริษัทฯ จึงเน้นการสร้างสรรค์งานที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมคุณภาพของสังคมผ่านธุรกิจ บริการด้านต่างๆ ของบริษัทฯ โดยเฉพาะบริการด้านการสร้างสรรค์แหล่งสื่อสารองค์ความรู้ อาทิ งาน มหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู และการพัฒนาช่องสถานีดาวเทียมเพื่อถ่ายทอดองค์ความ รู้ในแขนงต่างๆ

! !

!1111 สารบัญ


!

ภาพรวมธุรกิจ บริษทั ฯ มีการเติบโตทางธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง โดยได้ขยายขอบเขตการให้บริการทีก่ ว้างขึน้ ตามประสบการณ์ และความเชีย่ วชาญที่เพิ่มขึ้น เพื่อให้ครอบคลุมความต้องการของลูกค้าที่หลากหลาย และเพื่อสร้าง โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ให้เกิดขึน้ โดยในปัจจุบนั ธุรกิจหลักของบริษัทฯ ได้แก่

! ! ! ! ! ! ! ! !

Meeting 
 Incentive 
 Convention Exhibition

Event Marketing

Knowledge Communication

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังทำธุรกิจให้บริการอื่นๆ ที่เชื่อมโยงกับธุรกิจหลักข้างต้น เช่น งานออกแบบ การให้บริการอุปกรณ์ก่อสร้างและตกแต่ง ทัง้ นี้ เพื่อให้การให้บริการของบริษัทฯ เป็นไปอย่างครบวงจร และเอื้อประโยชน์สูงสุดต่อลูกค้า โดยการให้บริการในแต่ละประเภทธุรกิจนัน้ บริษทั ฯ จะเน้นการให้บริการ แบบครบวงจร ซึ่งเป็นบริการที่ครอบคลุมตั้งแต่การวางแนวความคิด ร่วมวางแผน ออกแบบ จัดสร้าง จัดกิจกรรม การเลือกใช้สื่อในการจัดงาน และบริหารจัดงานในภาพรวม ทัง้ นี้ ขอบเขตการให้บริการใน แต่ละงานจะขึน้ อยูก่ บั ความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก

!

ในภาพรวมของการดำเนินการในแต่ละธุรกิจ บริษัทฯ ทำการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลทางธุรกิจของลูกค้า ก่อน เพื่อให้สามารถเข้าใจความต้องการของลูกค้าได้อย่างชัดเจน ตลอดจนทราบถึงกลุ่มเป้าหมายที่ เป็นปลายทางของการสื่อสาร เพื่อนำไปวางแผนดำเนินการจัดกิจกรรมต่อไป ซึ่งรวมถึงการเลือกหา และจัดทำกระบวนการส่งผ่านข้อมูล ข่าวสารเฉพาะจากลูกค้าไปสู่กลุ่มเป้าหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อ นำไปสู่การตอบสนองในทิศทางที่ดีตามวัตถุประสงค์ของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นการตอบสนองในเชิงการ ตลาด หรือการเกิดความเข้าใจ และนำองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดไปพัฒนาต่อยอด

!

สำหรับทิศทางของแต่ละธุรกิจนัน้ บริษทั ฯ มีเป้าหมายจะขยายการดำเนินงานในส่วนด้านการจัดสร้างและ ดำเนินงานให้มากขึ้น รวมถึงการเพิ่มสัดส่วนทางการตลาดของงานบริการในกลุ่มอุตสาหกรรมที่ หลากหลาย ทั้งในและต่างประเทศให้สูงขึ้น

! !

!1122 สารบัญ


!

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท บริษัทฯ ได้ลงทุนในธุรกิจที่มีความสัมพันธ์และส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานในธุรกิจหลักของบริษัทฯ ให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบถ้วนและมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทย่อยและบริษัทร่วมนั้น ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางในสาขาวิชาชีพนั้นๆ จึงทำให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพ มีเอกลักษณ์ และเป็นที่ยอมรับของลูกค้าได้ โดยรายละเอียดลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม อยู่ในหัวข้อ “ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำคัญอื่น”

! ! !

บริษัทย่อย

! ! ! !

บริษัทร่วม

ความสัมพันธ์กับกลุ่มของผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัท ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง จำกัด (ต่อไปนี้ ใช้คำว่า “ปิโก ฟาร์อีส”) เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด (ต่อไปนี้ ใช้คำว่า “ปิโก อาร์ต”) สาธารณรัฐสิงคโปร์ ซึ่ง ปิโก อาร์ต มีสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ อยู่ที่ร้อยละ 40 จากโครงสร้างการถือหุ้นดังกล่าว บริษัทฯ จึงเป็นบริษัทร่วม ของ ปิโก อาร์ต และ ปิโก ฟาร์อีส

!

บริษัทฯ ได้รับสิทธิในการใช้เครื่องหมายการค้า ชือ่ ทางการค้าเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ของ ปิโก อาร์ต ในการดำเนินธุรกิจได้ ตามสัญญา Offshore Services Agreement และ Intellectual Property License Agreement ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2535 และวันที่ 3 พฤศจิกายน 2546 ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อให้บริษัทฯ สามารถใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าวได้ในอนาคต ถึงแม้ ปิโก อาร์ต ได้ลดสัดส่วนการถือหุน้ ทัง้ หมดในบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ มีภาระต้องจ่ายค่าสิทธิในการใช้เครือ่ งหมายและชือ่ ทางการค้า ดังกล่าวในอัตราร้อยละ 2.53 ของรายได้ และหากบริษัทฯ ยังคงจ่ายค่าสิทธิดังกล่าวในอัตราร้อยละ 2.53 ของรายได้ แม้ว่า ปิโก อาร์ต ไม่ได้เป็นผูถ้ อื หุน้ ในบริษทั ฯ แล้วก็ตาม บริษทั ฯ ก็ยงั คงได้รบั สิทธิในการใช้เครือ่ งหมายและชือ่ ทางการค้าของ ปิโก อาร์ต ดังกล่าวต่อไป จนกว่าบริษัทฯ ไม่ประสงค์ที่จะใช้และตกลงบอกเลิกสัญญา Intellectual Property License Agreement และ ได้การรับรองจาก ปิโก อาร์ต ว่าจะไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ หุน้ ส่วน หรือดำเนินธุรกิจแข่งกับบริษทั ในประเทศไทยไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม อย่างไรก็ดี ข้อตกลงนี้ในทางปฏิบัติจะไม่รวมถึงกรณีที่ลูกค้าในต่างประเทศมีความประสงค์ ให้บริษัทฯ ให้บริการโดยตรง ในต่างประเทศนั้นๆ บริษัทฯ ก็สามารถให้บริการในประเทศนั้นๆ ได้เพราะเป็นความประสงค์โดยตรงจากลูกค้า

!

การที่บริษัทฯ ได้รับสิทธิในการใช้เครื่องหมายและชื่อทางการค้าของ ปิโก อาร์ต นั้น ทำให้บริษัทฯ สามารถสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีแก่บริษัทฯ และสร้างความมั่นใจให้แก่ลูกค้า เนือ่ งจากเครือ่ งหมายการค้าดังกล่าวเป็นทีร่ จู้ กั และได้รบั การยอมรับจากทัว่ โลก ว่าเป็นบริษัทชั้นนำในการให้บริการด้านการออกแบบ ก่อสร้างงานแสดงสินค้าและนิทรรศการ นอกจากนี้ บริษัทฯ สามารถใช้ เครือข่ายที่มีอยู่ทั่วโลก ในการให้บริการลูกค้าได้ทั้งในและต่างประเทศได้อย่างทั่วถึง

!1133 สารบัญ


ลักษณะ
 การประกอบ
 ธุรกิจ

2 ! !

บริษัทฯ มีการดำเนินธุรกิจหลัก ได้แก่

! ! Meeting 
 ! Incentive 
 ! Convention ! Exhibition ! ! !

Knowledge Event Marketing Communication

Others

โดยในการดำเนินธุรกิจข้างต้น ทางบริษัทฯ ได้พัฒนามาจากประสบการณ์และความ เชี่ยวชาญหลักของบริษัทฯ ในด้านการสื่อสารในลักษณะ Face-to-Face Communication ซึ่ง ความชำนาญดัง กล่ า วถือ เป็ น พื้น ฐานสำคัญ ในการต่ อ ยอดธุร กิจ หลัก ของบริษัท ฯ ในปัจจุบัน

!

!1144 สารบัญ


1. ธุรกิจด้านการบริหารจัดการและการให้บริการในธุรกิจไมซ์

ธุรกิจในส่วนนี้ ถือเป็นการให้บริการตามความชำนาญเริ่มแรกของบริษัทฯ ซึ่งนอกจากจะอาศัยความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทั้งในด้านบุคลากร กระบวนการทำงาน และการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการ ทำงานแล้ว บริษัทฯ ยังอาศัยเครือข่ายที่กว้างขวางทั่วโลกเป็นปัจจัยสนับสนุนในการสร้างงานให้มี ประสิทธิภาพและอำนวยความสะดวกแก่ลูกค้าที่ต้องการขยายตลาดในต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าอย่างต่อเนื่องเสมอมา

Meeting 
 Incentive 
 Convention Exhibition

2. ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์กิจกรรมทางการตลาดและส่งเสริมภาพลักษณ์

ธุรกิจด้านนี้ ถือเป็นการให้บริการจัดกิจกรรมทางการตลาดที่อาศัยความเชี่ยวชาญของบริษัทฯ ในด้าน การสื่อสาร โดยเฉพาะในรูปแบบ Field Marketing หรือ Face to Face Marketing ซึ่งบริษัทฯ มี ประสบการณ์ทางด้านนี้มากว่า 30 ปี และด้วยประสบการณ์รวมกับความสามารถในการสร้างสรรค์ กิจกรรมในรูปแบบที่แปลกใหม่ ประกอบกับการให้บริการในลักษณะคู่คิดทางการค้า ที่ให้คำปรึกษา และ เสนอแนะรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับลูกค้า ทำให้ธุรกิจทางด้านนี้ กลายเป็นหนึ่งในธุรกิจหลักที่สร้าง รายได้ให้กับบริษัทฯ

Event Marketing

3. ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์แหล่งการสื่อสารองค์ความรู้

ธุรกิจนี้เกิดจากความตั้งใจของบริษัทฯ ที่ต้องการสร้างประโยชน์ ให้สังคมตามปรัชญาการทำงาน ของบริษัทฯ ที่ต้องการสร้างสรรค์ธุรกิจที่เอื้อประโยชน์ทั้งต่อบริษัทและต่อสังคม ซึ่ง ธุร กิจ ด้ า นนี้ ถือเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ที่บริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ คือด้านการสื่อสารและการทำ กิจกรรมทางการตลาด โดยนำความชำนาญดังกล่าวมาผสมผสานและประยุกต์ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอด องค์ความรู้ที่เป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพ และสร้างคุณค่าต่อสังคม บริษัทฯ มองว่าธุรกิจด้านนี้มี ศักยภาพในการเติบโตสูงในอนาคต เนื่องจากเป็นธุรกิจที่ส่งเสริมการพัฒนาประเทศ และหน่วยงานใน หลายภาคส่วนได้ตระหนักถึงความสำคัญด้านการสื่อสารองค์ความรู้เพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มีการขยายขอบเขตการให้บริการในส่วนนี้ ให้ครอบคลุมถึงการบริการด้านการพัฒนาและ เผยแพร่ดิจิตอลคอนเทนท์และดิจิตอลมีเดียด้วย

Knowledge Communication

4. ธุรกิจบริการด้านอื่นๆ

นอกจากการให้บริการหลักข้างต้นแล้ว บริษัทฯ ยังมีบริการด้านอื่นที่สนับสนุนและอำนวยความสะดวก ให้กับลูกค้า เช่น

!

- บริการให้เช่าเต็นท์ขนาดใหญ่ ซึง่ ให้บริการตัง้ แต่เต็นท์ขนาด 1,000 ตรม. ไปจนถึงมากกว่า 20,000 ตรม. ซึ่งเป็นการให้บริการขยายพื้นที่การจัดแสดงแบบชั่วคราวแก่ผู้จัดแสดงที่ต้องการใช้พื้นที่ ในร่ม จำนวนมาก - การออกแบบและผลิตป้ายและป้ายโฆษณาให้บริการออกแบบป้ายโฆษณา - บริการด้านอุปกรณ์ตกแต่งประกอบงานจัดแสดง เช่น เฟอร์นิเจอร์ ตู้แสดงสินค้า สำหรับคูหา นิทรรศการหรือติดตั้งตามห้างสรรพสินค้า เพื่อช่วยในการส่งเสริมการขายหรือดึงดูดกลุ่มเป้าหมาย - บริการออกแบบตกแต่งภายในสำนักงาน ออกแบบตราสัญลักษณ์องค์กร

!

สำหรับการให้บริการในทุกกลุ่มธุรกิจของบริษัทฯ นั้น จะเป็นในลักษณะครบวงจร โดยเริ่มตั้งแต่การร่วม วางแผน การวางกรอบแนวคิด ออกแบบ บริหารจัดการ ดำเนินงาน บริหารจัดการ รวมถึงอำนวยความ สะดวกในการจัดงาน ตลอดจนการขนส่งอุปกรณ์และบริการติดตั้ง

!1155 สารบัญ

Others


!

โครงสร้างรายได้ !

รายได้จากการให้บริการจำแนกตามส่วนงาน ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมาโดยรวม มีรายละเอียดดังนี้ หน่วย: ล้านบาท

2554

2555

2556

ธุรกิจด้านการบริหารจัดการและการให้บริการในธุรกิจไมซ์

551

664

ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์กิจกรรมทางการตลาดและส่งเสริมภาพลักษณ์

230

327

ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์แหล่งการสื่อสารองค์ความรู้

483

260

98

37

1,362

1,288

465 338 81 159 1,043

ธุรกิจบริการด้านอื่นๆ

! ! รายได้จากการให้บริการจำแนกตามลักษณะกลุ่มลูกค้าในปี 2556 สรุปเป็นสัดส่วนได้ ดังนี้ ! ! ! 31%

6%

กลุ่มรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ กลุ่มธุรกิจรถยนต์ กลุ่มธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม กลุ่มธุรกิจสถาบันการเงิน กลุ่มธุรกิจอื่นๆ

7% 13% 43%

!1166 สารบัญ


การตลาดและสภาวะการแข่งขัน นโยบายและลักษณะการตลาด การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ถือเป็นหนึ่งในธุรกิจที่อยู่ ในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ ซึ่งธุรกิจใน อุตสาหกรรมนี้มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องในประเทศไทย ด้วยความต้องการที่เพิ่มขึ้นของทั้งหน่วยงาน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในฐานะบริษัทชั้นนำด้านการให้บริการในอุตสาหกรรมนี้ บริษัทฯ มีความมุ่งมั่น ที่จะพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า สอดรับกับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลง และเพื่อให้การบริการมีความนำสมัย มีประสิทธิภาพ และสามารถรองรับความต้องการ ของลูกค้าที่หลากหลายได้ โดยบริษัทฯ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาในแต่ละด้าน ดังนี้ การพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า

บริษัทฯ เน้นการบริการที่เข้าถึงลูกค้า การทำความเข้าใจกับอุตสาหกรรม ธุรกิจ และความต้องการของ ลูกค้า โดยบริษัทฯ จะเป็นเสมือนคู่คิดและที่ปรึกษาทางธุรกิจแก่ลูกค้า เพื่อร่วมหาคำตอบและ สร้างสรรค์งานที่มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของลูกค้า นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความ สำคัญกับการขยายฐานลูกค้าในอุตสาหกรรมที่หลากหลายทั้งในและต่างประเทศด้วย การพัฒนาเทคโนโลยี

บริษัทฯ ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรเรียนรู้และก้าวทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง รวมถึงยังมีการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และนวัตกรรมต่างๆ ระหว่างเครือข่ายปิโกทั่วโลกด้วย การพัฒนาด้านการให้บริการ

บริษทั ฯ เน้นการให้บริการแบบครบวงจร เพือ่ อำนวยความสะดวกและลดต้นทุนของลูกค้า ซึง่ นอกจากการ ให้บริการทีค่ รอบคลุมทุกด้านแล้ว บริษทั ฯ ยังเน้นการควบคุมคุณภาพในทุกขัน้ ตอนของการทำงานด้วย การพัฒนาคุณภาพการออกแบบ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม

เนื่องจากคุณภาพและความพึงพอใจของลูกค้าเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดที่สำคัญที่สุดของบริษัทฯ ซึ่ง บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญอย่างมากกับคุณภาพของผลงาน โดยบริษัทฯ มุ่งเน้นในการพัฒนาการ ออกแบบ ความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งการนำนวัตกรรมใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง ชึ่งเป็นปัจจัย หลักในการยกระดับคุณภาพของผลงานเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดต่อลูกค้า

!

สำหรับทิศทางของบริษัทฯ ในปี 2557 นอกจากบริษัทฯ จะมุ่งเน้นในการรักษาและขยายฐานธุรกิจหลัก ของบริษัทแล้ว บริษัทฯ ยังมีนโยบายที่จะขยายฐานการให้บริการในธุรกิจด้านการสร้างสรรค์แหล่ง สื่อสารองค์ความรู้ และการสร้างสรรค์งานของบริษัทฯ ในอุตสาหกรรมเฉพาะกลุ่มด้วย

!

!1177 สารบัญ


! ลักษณะของลูกค้า ลูกค้าหลักของบริษัทฯ มีอยู่ ในทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานธุรกิจ ทั้งในและ ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นลูกค้าในกลุ่มธุรกิจที่มีศักยภาพในการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เน้นการขยาย ตลาดในต่างประเทศ และต้องการดำเนินนโยบายส่งเสริมการตลาด และส่งเสริมภาพลักษณ์ขององค์กร ทั้งนี้ กลุ่มลูกค้าสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

กลุ่มรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ ลูกค้าในกลุ่มนี้เน้นการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมต่างๆ ของภาครัฐ รวมถึงการ ส่งเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมต่างๆ ของประเทศ ตลอดจนการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วยงาน และของประเทศ โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบในกิจกรรมดังกล่าว อาทิ กระทรวงวิทยาศาสตร์ กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการ และกรมส่งเสริมการส่งออก เป็นต้น

กลุ่มธุรกิจเอกชน กลุ่มธุรกิจรถยนต์

กลุ่มธุรกิจนี้ให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมทางการตลาด เนื่องจากเป็นตลาดทางตรงที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจของผู้บริโภคทันที กลุ่มธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม

เป็นธุรกิจที่มีศักยภาพในการเติบโตและมีการแข่งขันทางการตลาดสูง โดยลูกค้าในกลุ่มนี้ให้ความสำคัญ กับการจัดกิจกรรมส่งเสริมทางการตลาด กลุ่มธุรกิจพลังงาน

เป็นกลุ่มธุรกิจที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยลูกค้าจะให้ความสำคัญในเรื่องการสื่อสารองค์ความรู้ด้าน ความรับผิดชอบต่อชุมชน จึงมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ต่อสาธารณะ เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีแก่ องค์กรอย่างต่อเนื่อง กลุ่มธุรกิจสถาบันการเงิน

ลูกค้าในกลุ่มนี้ ให้ความสำคัญต่อการสื่อสารทางการตลาดเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มี การแข่งขันสูงและมีการปรับกลยุทธ์ทางการตลาดอย่างต่อเนื่อง กลุ่ ม ธุร กิจ อื่นๆ

เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการแข่งขันที่รุนแรง ทำให้กลุ่มธุรกิจประเภทอุปโภคบริโภคให้ ความสำคัญกับการสร้างภาพลักษณ์ และการประชาสัมพันธ์ธุรกิจมากขึ้น ดังนั้น ธุรกิจในอุตสาหกรรม เหล่านี้ จึงให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมทางการตลาด การสื่อสารองค์ความรู้ และการส่งเสริมภาพ ลักษณ์ขององค์กรมากขึ้น

! !

!1188 สารบัญ


! ช่องทางการให้บริการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย การนำเสนอผลงานแก่หน่วยงานต่างๆ

เกิดขึ้นจากการบริษัทฯ ติดตามผลงานของลูกค้า หรือจากการได้รับเชิญให้เข้าไปนำเสนอผลงาน ฝ่ายการตลาดของบริษัทฯ จะนำข้อมูลที่ได้รับมาจัดเตรียมแผนงานและงบประมาณตามวัตถุประสงค์ที่ ลูกค้าต้องการและนำเสนอ หากได้รับการคัดเลือกฝ่ายผลิตของบริษัทฯ ดำเนินการประสานงานกับ ลูกค้าเพื่อดำเนินงานขั้นต่อไป การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า

การกำหนดมาตรฐานของบริษัทฯ ซึ่งมุ่งเน้นให้อยู่ในระดับสากล เป็นส่วนที่สร้างความเชื่อมั่นและ พึงพอใจให้กับลูกค้าก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน ทำให้ลูกค้ากลับมาใช้บริการของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง การสร้างพันธมิตรทางการค้า

การเป็นพันธมิตรทางการค้ากับผู้จัดงานแสดงสินค้าและพันธมิตรอื่นที่อยู่ในสายการจัดกิจกรรมทางการ ตลาดเป็นช่องทางหนึ่งที่สามารถแนะนำบริษัทฯ หรือสนับสนุนบริษัทฯ ต่อลูกค้า การแนะนำของลูกค้า

ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี และคุณภาพซึ่งอยู่ในมาตรฐานระดับนานาชาติ ทำให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจ และมีการแนะนำลูกค้าอื่นมาใช้บริการของบริษัทฯ การแนะนำจากบริษัท ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง จำกัด และเครือข่าย

เป็นการร่วมมือกันของบริษัทในกลุ่มที่มีสาขาทั่วโลก 34 สาขา ใน 23 ประเทศ เพื่อก่อให้เกิดความ สะดวกสบายกับลูกค้ามากที่สุด หากลูกค้าของบริษัทเหล่านี้ต้องการจัดกิจกรรมทางการตลาดใน ประเทศไทย ก็จะประสานงานมายังบริษัทฯ ให้เป็นผู้ให้บริการแก่ลูกค้าต่อไป

! !

!1199 สารบัญ


การจัดหาผลิตภัณฑ์ ขั้นตอนดำเนินงานให้บริการของบริษัทฯ มีดังนี้ ด้านการตลาด

- ศึกษาข้อมูลของลูกค้า - ติดต่อลูกค้าเพื่อรับทราบวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม - วางแนวคิดและแผนการดำเนินงาน ด้านการออกแบบ

- ศึกษาหรือวิจัยข้อมูลเฉพาะทางตามความต้องการของลูกค้า - ออกแบบเนื้อหาจัดแสดงและโครงสร้างหรือสิ่งจัดแสดงที่เป็นรูปธรรม โดยบริษัทในเครือ - ประเมินราคาและนำเสนอแก่ลูกค้า ด้านการก่อสร้าง

บริษัทฯ จะทำการจัดสร้างหรือดำเนินงานในส่วนที่มีความชำนาญหรือมอบหมายงานแก่บุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง โดยบริษัทฯ จะทำการควบคุมคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานและ แผนงานที่วางไว้ จากนั้นจึงทำการตรวจสอบผลงานและส่งมอบงานให้ลูกค้าในลำดับต่อไป ด้านการบริหารงาน

เมื่อเสร็จสิ้นการก่อสร้าง บริษัทฯ จะทำหน้าที่จัดเตรียมทีมงานบริหาร/ดำเนินการ เช่น การจัดหาบุคคล เพื่อประชาสัมพันธ์ในงาน การฝึกอบรม การเตรียมการแสดง การทำความสะอาดและรักษาความ ปลอดภัย โดยบริษัทฯ จะประสานงานไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและทำหน้าที่ควบคุมการผลิตและ ดำเนินงานจนงานสำเร็จลุล่วง

286 ล้านบาท

งานที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีงานที่อยู่ระหว่างดำเนินการและยังไม่ได้ส่งมอบจำนวน 286 ล้านบาท ประกอบด้วยธุรกิจการจัดประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ จำนวน 233 ล้านบาท ธุรกิจด้าน กิจกรรมการสื่อสารองค์ความรู้ จำนวน 45 ล้านบาท และธุรกิจการให้บริการอื่นๆ จำนวน 8 ล้านบาท

!

!2200 สารบัญ


ปัจจัยความเสี่ยง

3

!

คณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร ผูต้ รวจสอบภายใน และบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง ให้ความสำคัญกับการบริหารความเสีย่ ง ได้กำหนดให้มี การประเมินปัจจัยความเสีย่ งและระบบป้องกันความเสีย่ ง เพือ่ ลดผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ การดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และสนับสนุน แนวทางในการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และบูรณาการแนวทางในการบริหารความเสีย่ งในแต่ละระดับร่วมกับทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง

! ปัจจัยความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ ได้แก่ ! ! ! ! ! ! ! การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นในธุรกิจ

การเปลี่ ย นแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ ทั้งในประเทศและต่างประเทศและความ ผันผวนของค่าเงิน

เนื่องจากปัจจุบันมีบริษัทที่ให้บริการในธุรกิจด้านนี้จัดตั้งขึ้น เป็นจำนวนมาก ทำให้บริษัทฯ ต้องมีการปรับกลยุทธ์และ การดำเนิ น งานเพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของบริษัทฯ โดยนอกจากบริษัทฯ ได้ปรับขอบเขตการ บริการให้ครอบคลุมครบวงจรแล้ว บริษัทฯ ยังได้สร้าง ความแตกต่าง หรือจุดเด่นของบริษัทฯ ในเรื่องการเป็น ผู้นำในธุรกิจการเป็นแหล่งการสื่อสารองค์ความรู้ ซึ่งถือ เป็นจุดแข็งใหม่ของบริษัทฯ ที่ทำให้บริษัทฯ สามารถรักษา ฐานลูกค้าและขยายการให้บริการได้เพิ่มขึ้น

จากความไม่แน่นอนทางการเมืองและความผันผวนของ ค่าเงิน ทำให้บริษัทฯ ต้องมีการติดตามประเมินสถานการณ์ อย่างใกล้ชิดสม่ำเสมอ เพื่อเตรียมความพร้อมในการปรับ ยุทธศาสตร์ และแผนทางการเงินของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มีการปรับกระบวนการทำงานให้เอื้อต่อลูกค้า มากที่สุด โดยการเข้าสู่กระบวนการจัดสร้างและดำเนินงาน กิจกรรมตั้งแต่ต้นน้ำ ครอบคลุมไปจนถึงปลายน้ำ เพื่อ สร้างความต่อเนื่องของธุรกิจ รวมถึงการร่วมวางแผนทาง ธุรกิจเป็นที่ปรึกษา เพื่อให้ได้แผนงานที่เหมาะสมกับธุรกิจ และสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด ทั้งนี้ เพื่อ ให้ การจัด สรรงบประมาณการใช้ จ ่ า ยเป็ น ไปอย่ า ง คุ้มค่าที่สุด

!

D2211 สารบัญ


! ! ! ! ! !

! ! ! ! !

ภาวะความผันผวนของลูกค้า

ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ

สืบเนื่องจากปัจจัยแวดล้อมต่างๆ อาจส่งผลกระทบต่อการ ตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ หรือการวางแผนทางการตลาด ของลูกค้า ดังนั้นบริษัทฯ จึงไม่อาจจะพึ่งพาหรือขึ้นอยู่กับ การให้บริการลูกค้าเฉพาะกลุ่มใด กลุ่มหนึ่งได้ เพื่อรองรับ ความผันผวนของลูกค้าที่จะเกิดขึ้น บริษัทฯ จึงได้มี ยุทธศาสตร์ขยายฐานลูกค้าไปยังภาคธุรกิจที่หลากหลายทั้ง ตลาดในประเทศและต่างประเทศมากขึ้น เพื่อให้บริษัทฯ มี ความยืดหยุ่นและความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจ

ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ เช่น วิกฤติน้ำท่วมของ ประเทศไทยในปี 2554 ซึ่งมีแนวโน้มที่อาจจะเกิดขึ้นอีกใน อนาคต และสร้างความเสียหายอย่างมาก ซึ่งภัยเหล่านี้ส่ง ผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เช่น การเลื่อน หรือ ยกเลิกการจัดงาน อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ได้มีการ ติดตามเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อประเมินสถานการณ์ และหาทางป้องกันเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ในทุกสถานการณ์ เพื่อความปลอดภัยในการจัดงานและความปลอดภัยของ ผู้ที่จะเข้ามาร่วมงานด้วย รวมทั้ง บริษัทฯ ได้ทำประกันภัย ที่ครอบคลุมความเสี่ยงดังกล่าวเพิ่มขึ้นอีกระดับหนึ่งด้วย

! ! ! ! !

! ! ! ! ! !

ภาวะทางการเมือง เสถียรภาพและความไม่สงบทางการเมือง ถือเป็นอีกปัจจัย สำคั ญ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การประกอบธุ ร กิ จ ประเภทนี้ เนื่องจากการขาดเสถียรภาพทางการเมืองส่งผลโดยตรงต่อ ความเชื่อมั่นและการตัดสินใจลงทุนของภาคเอกชน ซึ่งถือ เป็นกลุ่มลูกค้าหลักของบริษัทฯ และความไม่สงบทางการ เมืองส่งผลโดยตรงต่อบรรยากาศในการดำเนินธุรกิจและ ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของทุกภาคส่วน รวมทั้งส่งผลต่อ ความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาต่างชาติด้วย ซึ่ง ภาพพจน์ในทางลบของประเทศ ย่อมมีผลต่อการตัดสินใจ เลือกใช้บริการของกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติของบริษัทฯ ด้วย อย่างไรก็ตามเพื่อบรรเทาผลกระทบดังกล่าว บริษัทฯ ได้ ร่วมกับเครือข่ายของปิโกกรุ๊ปที่กระจายอยู่ ในทุกภูมิภาค ทั่วโลก ในการสื่อสารทำความเข้าใจเกี่ยวกับภาพลักษณ์ ของประเทศไทยกับกลุ่มลูกค้าต่างประเทศ

ความเสี่ยงด้านบุคลากร เนื่ อ งจากการขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ต้ อ งอาศั ย บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและมีความคิดสร้างสรรค์ เป็นกลไกสำคัญ บริษัทฯ จึงให้ความสำคัญกับการคัดสรร และสรรหาบุคลากรที่มีความสามารถ และมีศักยภาพเข้า ร่วมงานกับบริษัทฯ รวมถึงดำเนินการส่งเสริมความผูกพัน ในองค์กรอย่างต่อเนื่อง ทั้งการสร้างบรรยากาศที่ดีในการ ทำงาน การส่งเสริมพัฒนาความรู้ ความชำนาญ ตลอดจน จัดสรรผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม ตามนโยบาย “คุณภาพงาน คุณภาพคน” บริษัทฯ เชื่อ ว่านโยบายนี้จะสามารถควบคุมความเสี่ยงในการสูญเสีย บุคลากรที่มีคุณค่าต่อบริษัทฯ ได้

! !

!

D2222 สารบัญ


! ! ! ! !

ความเสี่ ย งด้ า นการเปลี่ ย นแปลงของ เทคโนโลยี เทคโนโลยีถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ในการให้บริการใน ธุรกิจของบริษัทฯ ตั้งแต่การออกแบบ จนถึงการจัดสร้าง ดังนั้นหากบริษัทฯ ไม่มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีและไม่ สามารถพัฒนาบุคลากรให้ก้าวทันกับความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี บริษัทฯ อาจสูญเสียความเชื่อมั่นจากลูกค้าได้ บริ ษั ท ฯ จึ ง ตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ในการลงทุ น ใน เทคโนโลยี สำหรับอุปกรณ์ที่บริษัทฯ จำเป็นต้องใช้ให้ทัน สมัยตลอดเวลา อย่างไรก็ตามการลงทุนดังกล่าวมีความ เสี่ยงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีท่ีรวดเร็ว ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น บริษัทฯ จึงเลือกลงทุน ในเฉพาะอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นเท่านั้น สำหรับในด้าน เทคโนโลยีที่ใช้ในการบริการ ซึ่งต้องเป็นเทคโนโลยีที่ ทันสมัย บริษัทฯ จะเลือกใช้บริการจากบริษัทที่ให้บริการ เฉพาะด้านต่างๆ จากทั้งในและนอกประเทศ

!

D2233 สารบัญ


ทรัพย์สิน
 ที่ใช้ในการ
 ประกอบธุรกิจ

4 ! !

ที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้าง ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 มีรายละเอียดดังนี้

รายละเอียดของที่ดินและอาคารสำนักงาน เอกสารสิทธิ์ที่ดิน เลขที่ 216194-7

ซอยสุขุมวิท 105 (ลาซาล 56) ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา 
 เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260

อาคารสำนักงาน

จำนวนพื้น ที่

ลักษณะกรรมสิทธิ์

ล้านบาท

ภาระผูกพัน

2 ไร่ 200 ต.ร.ว.

เป็นเจ้าของ

47.5

ไม่มี

4,097 ต.ร.ม.

เป็นเจ้าของ

14.2

ไม่มี

10 ซอยสุขุมวิท 105 (ลาซาล 56) ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260

!

ที่ดินแสดงในราคาที่ตีใหม่ หากการตีราคาสินทรัพย์ใหม่ทำให้มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้นเพิ่มขึ้น บริษัทฯ จะรับรู้มูลค่า ตามบัญ ชีข องสิน ทรัพ ย์ ที่เ พิ่ม ขึ้น จากการตีร าคาใหม่ ไ ปยัง กำไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ อื่น และรับ รู้ จ ำนวนสะสมไปยัง ส่ ว น ของผู้ถือหุ้นภายใต้บัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” อย่างไรก็ตามบริษัทฯ จะรับรู้ส่วนเพิ่มจากการตีราคาใหม่นี้ ในกำไรหรือขาดทุนไม่เกินจำนวนที่ตีราคาสินทรัพย์ดังกล่าวลดลงในอดีต และเคยรับรู้ในกำไรหรือขาดทุน

! บริษัทฯ มีนโยบายที่จะประเมินมูลค่าของที่ดินที่ใช้ในการดำเนินงานทุกๆ 3 ปี โดยใช้ผู้ประเมินราคาอิสระ ! !

62244 สารบัญ


! รายละเอียดของทรัพย์สินอื่นๆ สินทรัพย์

ลักษณะกรรมสิทธิ์

ล้านบาท

ภาระผูกพัน

ยานพาหนะ

เจ้าของ

0.6

ไม่มี

ยานพาหนะ

ผู้เช่าซื้อ

9.8

ทั้งจำนวน

อุปกรณ์สำนักงาน

เจ้าของ

4.3

ไม่มี

คอมพิวเตอร์

เจ้าของ

5.2

ไม่มี

เครื่องมือและเครื่องจักร

เจ้าของ

0.1

ไม่มี

เครื่องตกแต่งสำนักงาน

เจ้าของ

0.7

ไม่มี

อุปกรณ์ดำเนินงาน

เจ้าของ

35.7

ไม่มี

!

หมายเหตุ

มีภาระผูกพันกับบริษัทให้เช่าซื้อ

อาคารและอุปกรณ์ แสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)

นโยบายการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัทฯ มีนโยบายการลงทุนในบริษัทที่มีธุรกิจเกื้อหนุนและสอดคล้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยมุ่งเน้นที่จะลงทุน กับผู้ที่มีความชำนาญในธุรกิจนั้นๆ อาทิ บริษัทออกแบบ เป็นต้น ซึ่งช่วยส่งเสริมให้บริษัทฯ ให้บริการได้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น

!

ในปี พ.ศ. 2538 บริษัทฯ ได้ลงทุนในบริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด และบริษัท มัลติดีไซน์ จำกัด ในปี พ.ศ. 2539 บริษัท อาร์ทคอม กราฟฟิค จำกัด (ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท นอกซ์ บางกอก จำกัด ในปี พ.ศ. 2551) และบริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมสเจส (ประเทศไทย) จำกัด ในปี พ.ศ. 2549 บริษัท ไอบริก จำกัด และบริษัท ดีไซน์แลป เอ็มไอเอสซี จำกัด1 ในปี พ.ศ. 2553 บริษัท ไทย ทีชเชอร์.ทีวี จำกัด (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด ในปี พ.ศ. 2555) และบริษัท เอฟซีจี จำกัด ในปี พ.ศ. 2554 Andrew Bethell Associates Ltd. และในปี พ.ศ. 2556 บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จำกัด เพื่อ ให้บริษัทฯ ให้การบริการได้ครบวงจรมากขึ้น

!

1[

เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติให้ขายเงินลงทุนทั้งหมดใน บริษัท ดีไซน์แลป เอ็มไอเอสซี จำกัด

62255 สารบัญ


5

ข้อพิพาท
 ทางกฎหมาย ! !

ในปี 2556 บริษทั ฯ มีคดีความเป็นจำเลยในศาลแรงงาน อยู่ 1 คดี ในขณะนีค้ ดีความดังกล่าว ยังไม่ยตุ ิ ซึง่ บริษทั ฯ ได้บนั ทึกหนีส้ นิ ดังกล่าวแล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้

!

คดีของศาล :

ศาลแรงงานกลาง

คดีหมายเลข : ดำที่ 2312/2551

วันที่เริ่มคดี :

วันที่ 9 มิถุนายน 2551

โจทก์ :

นางสาวนิธิดา ธรรมสุนทรา

จำเลย :

บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน)

มูลคดี :

เบื้องต้นประมาณ 50 ล้านบาท ต่อมาปรับลดลงเหลือทั้งสิ้นประมาณ 18 ล้านบาท

ความคืบหน้าของคดี :

ศาลแรงงานกลางพิพากษาให้บริษัทฯ ชำระเงินจำนวน 2.62 ล้านบาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2551 อย่างไรก็ตามบริษัทฯ และโจทก์ต่างได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ซึ่งปัจจุบันคดีความดังกล่าวอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา

! ! !

!2266 สารบัญ


ข้อมูลทั่วไป
 และ
 ข้อมูลสำคัญอื่น บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ! ! ! !

บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลัก :

การให้บริการบริหารจัดทำการประชุมและการแสดงสินค้านานาชาติ กิจกรรมทางการตลาด การสร้างภาพลักษณ์ทางธุรกิจแบบครบวงจร การให้บริการด้านการสร้างสรรค์แหล่งสื่อสาร องค์ความรู้ และการผลิตสือ่ และเผยแพร่องค์ความรูใ้ นรูปแบบของดิจติ อลคอนเทนต์และมีเดีย ที่ตั้งสำนักงาน :

เลขที่ 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 เลขทะเบียนบริษัท :

บมจ. 0107546000296 ทุนเรือนหุ้น :

ทุนจดทะเบียน 215,624,775 บาท เป็นทุนเรียกชำระแล้ว 215,624,559 บาท แบ่งเป็น หุ้ น บุริม สิท ธิ 330,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท และหุ้นสามัญ 215,294,559 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท โทรศัพท์ :

+662 748 7007 โทรสาร :

+662 745 8521-2 เว็บไซต์ :

www.picothai.com

82277 สารบัญ

6


!

บริษัทย่อย ! ! ! ! บจก พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม ! ประกอบธุรกิจหลัก :

! ! !

บจก นอกซ์ บางกอก (เดิมชื่อ บจก.อาร์ทคอม กราฟฟิค) ประกอบธุรกิจหลัก :

! ! ! บจก มัลติดีไซน์ !

ประกอบธุรกิจหลัก :

การสร้างประกอบคูหา งานแสดงสินค้าและ การให้บริการด้านการประชาสัมพันธ์ โดยเน้น นิทรรศการ และการสนับสนุนด้านการจัดหา การให้ บ ริ การด้ า นการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละ ทรัพย์สินเพื่อใช้ในกิจกรรมทางการตลาด 
 กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการประชาสัมพันธ์ สื่อสารองค์กรเป็นหลัก

การให้บริการออกแบบ ตกแต่ง งานแสดงสินค้า และนิทรรศการ และการตกแต่งภายในต่างๆ รวมทั้งสนับสนุนด้านการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ต่างๆ

ที่ตั้ง สำนักงาน :

ที่ตั้งสำนักงาน :

!

ที่ตั้ง สำนักงาน :

เลขที่ 12 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท เลขที่ 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท เลขที่ 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 10260 10260 ทุนเรือนหุ้น :

ทุนเรือนหุ้น :

ทุนเรือนหุ้น :

ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 11 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 10 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 4 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 110,000 หุน้ มูลค่าหุ้นละ แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 100,000 หุน้ มูลค่าหุ้นละ แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 40,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท 100 บาท 100 บาท โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ :

+662 748 7625-9

+662 745 8058

+662 361 7835-6

โทรสาร :

โทรสาร :

โทรสาร :

+662 748 7630

+662 745 8059

+662 748 7593

สัดส่วนการถือหุ้น :

สัดส่วนการถือหุ้น :

สัดส่วนการถือหุ้น :

89.99%

99.99%

59.99%

! !

!

82288 สารบัญ

!


! ! ! ! !

บจก ทีซีบีเ อ็น (เดิมชื่อ บจก. ไทยทีชเชอร์.ทีวี) ประกอบธุรกิจหลัก :

! ! ! บจก เอฟซีจี !

ประกอบธุรกิจหลัก :

! ! ! Andrew Bethell Associates Ltd. ! ประกอบธุรกิจหลัก :

การให้บริการด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ การให้บริการด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ การให้บริการเผยแพร่รายการเกีย่ วกับการศึกษา 
 และผลิต รับจ้างผลิต และเผยแพร่สื่อใน และผลิต รับจ้างผลิต และเผยแพร่สื่อใน 
 รูปแบบดิจติ อลคอนเทนต์และมีเดีย
 รูปแบบดิจิตอลคอนเทนต์และมีเดีย

!

ที่ตั้ง สำนักงาน :

!

!

ที่ตั้ง สำนักงาน :

ที่ตั้งสำนักงาน :

เลขที่ 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท เลขที่ 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท 1st Floor Bristol & West House, แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 100 Cross Brook Street, Cheshunt, Hurts 10260 10260 EN8 8JJ ทุนเรือนหุ้น :

ทุนเรือนหุ้น :

ทุนเรือนหุ้น :

ทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 3 ล้านบาท ทุ น จดทะเบี ย นและเรี ย กชำระแล้ ว 100 100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท เป็น แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 30,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ ปอนด์สเตอร์ลิง แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 100 หุ้น 100 บาท ทุนเรียกชำระแล้ว 5 ล้านบาท มูลค่าหุ้นละ 1 ปอนด์สเตอร์ลิง โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ :

+662 745 8112-3

+662 745 8112-3

+440 208 800 1047

โทรสาร :

โทรสาร :

+662 748 7910

+662 748 7910

สัดส่วนการถือหุ้น :

สัดส่วนการถือหุ้น :

99.99%

99.99%

! !

!

! !

สัดส่วนการถือหุ้น :

!

75.00%

82299 สารบัญ


!

บริษัทร่วม ! ! ! !

บ จ ก อิ ง ค ์ เ จ็ ท อิ ม เ ม จ เ จ ส (ประเทศไทย)

!

ประกอบธุรกิจหลัก :

! ! ! บจก ไอบริก 
 ! !

ประกอบธุรกิจหลัก :

ธุรกิจออกแบบกราฟฟิคและงานพิมพ์อิงค์เจ็ท 
 ธุรกิจจัดงานแสดงสินค้าและธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง

!

ที่ตั้ง สำนักงาน :

!

! ! ! บจก ฟิฟตี้พลัส เอเชีย 
 ! ! ประกอบธุรกิจหลัก :

รั บ จ้ า งจั ด งานแสดงสิ น ค้ า จั ด กิ จ กรรม ทางการตลาด ออแกไนเซอร์ สิ่ง พิม พ์ สื่อ และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ที่ตั้งสำนักงาน :

ที่ตั้ง สำนักงาน :

เลขทึ่ 28/43-45 ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต เ ล ข ที่ 2 1 / 1 1 8 ซ อ ย ศู น ย ์ วิ จ ั ย เลขที่ 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 10900 กรุงเทพมหานคร 10320 ทุนเรือนหุ้น :

ทุนเรือนหุ้น :

ทุนเรือนหุ้น :

ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 6 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 5 ล้านบาท ทุน จดทะเบีย น 15 ล้ า นบาท แบ่ ง เป็ น แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 600,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ หุน้ สามัญ 150,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท เป็นทุนเรียกชำระแล้ว 3.75 ล้านบาท 10 บาท 100 บาท โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ :

+662 936 3366-68

+662 203 0522 ต่อ 26

+662 748 7007

โทรสาร :

โทรสาร :

โทรสาร :

+662 936 3636

+662 203 0522 ต่อ 13

+662 745 8521-2

สัดส่วนการถือหุ้น :

สัดส่วนการถือหุ้น :

สัดส่วนการถือหุ้น :

22.22%

40.00%

45.00%

! !

!

83300 สารบัญ

!


!

ข้อมูลบุคคลอ้างอิงอื่นๆ ! ! ! ! !

! ! ! บจก สำนักกฎหมายธรรมนิติ 
 ! ที่ปรึกษากฎหมาย 
 !

อาคารตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย 62 ถนนรั ช ดาภิ เ ษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

ชั้น 4 อาคารนายเลิศทาวเวอร์ 2/4 ถนนวิทยุ 316/322 ซอยสุ ขุ ม วิ ท 22 คลอยเตย แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร 10110 
 10330

โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ :

+662 229 2800

+662 252 1260 และ +662 655 0711

+662 259 5300-2

โทรสาร :

โทรสาร :

โทรสาร :

+662 359 1259

+662 252 1104 และ +662 655 0708

+662 260 1553 และ +662 259 8956

บจก ศู น ย์ รั บ ฝากหลั ก ทรั พ ย์ (ประเทศไทย) นายทะเบียนหลักทรัพย์ 
 ที่ตั้ง สำนักงาน :

! !

ที่ตั้ง สำนักงาน :

! ! !

บจก สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์ เนชั่นแนล นายวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล 
 ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 7309 ที่ตั้งสำนักงาน :

!

โทรศัพท์ :

!

83311 สารบัญ

!


ข้อมูล
 หลักทรัพย์และ
 ผู้ถือหุ้น

7 ! !

ทุนเรือนหุ้น เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ มีมติอนุมัติเกี่ยวกับ หุ้นสามัญจดทะเบียนดังนี้

!

- ลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จากทุนจดทะเบียนเดิม 172,499,970 บาท เป็น 172,499,820 บาท โดยวิธีตัดหุ้นจดทะเบียนที่ยังมิได้ออกจำหน่ายจำนวน 150 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 1 บาท และ

!

- เพิ่มทุนจดทะเบียนจำนวน 43,124,955 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 172,499,820 บาท เป็น 215,624,775 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จำนวน 43,124,955 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผล

!

บริษัทฯ ได้ดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เป็นทุนจดทะเบียนและ ทุนชำระแล้วจำนวน 215,624,775 บาท และ จำนวน 215,624,559 บาท ตามลำดับ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556

216 ล้านบาท

ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 215,624,775 บาท ซึ่งประกอบด้วย หุ้นสามัญจำนวน 215,294,775 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาทหุ้น และหุ้นบุริมสิทธิจำนวน 330,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท เป็นทุนเรียกชำระแล้ว 215,624,559 บาท ซึง่ ประกอบด้วย หุ้นสามัญจำนวน 215,294,559 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท และหุ้นบุริมสิทธิจำนวน 330,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท

! !

!3322 สารบัญ


!

สิทธิของหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ !

ทุนจดทะเบียนของบริษัทประกอบด้วยหุ้น 2 ชนิด คือ หุ้นสามัญ และหุ้นบุริมสิทธิ หุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิได้รับเงินปันผลร่วมกับหุ้นสามัญในอัตราเท่ากัน โดยคำนวณจากส่วนของผลกำไร ภายหลังจากออกหุ้นบุริมสิทธิแล้ว เว้นผลกำไรจากการประเมินราคาที่ดิน อาคาร หรือสินทรัพย์อื่น ซึ่งได้มาอยู่ก่อนออกหุ้นบุริมสิทธิ ซึ่งให้แบ่งแก่หุ้นสามัญ

!

ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยหนึ่งหมื่นหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิออกเสียงเท่ากับ หนึ่งหุ้นสามัญ นอกจากนี้หุ้นบุริมสิทธิมีสภาพและสิทธิในการรับส่วนแบ่งคืนทุนเมื่อชำระบัญชี โดยให้มี สิทธิได้รับส่วนแบ่งเฉลี่ยร่วมกับหุ้นสามัญในอัตราเท่ากัน

ผู้ถือหุ้นสามัญ รายชื่อและสัดส่วนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ที่ปรากฏตามสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

!

*

! **

#

ชื่อ ผู้ ถือ หุ้ น

จำนวนหุ้น

ร้อยละ

1

บริษัท ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด*

86,250,187

40.06

2

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น** และญาติสนิท

55,809,897

25.93

3

นางสาวอัญชนา พินิจกุศลจิต

4,130,000

1.92

4

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด

2,696,583

1.25

5

นายศุภวิทย์ วัฒนพันธ์

2,646,750

1.23

6

พันตำรวจตรี จตุพล บงกชมาศ

2,100,000

0.98

7

นายเกียรติศักดิ์ ไตรตรึงษ์ทัศนา

1,899,787

0.88

8

นางสุภรณ์ หาญประทักษ์

1,421,500

0.66

9

นายพรชัย อริยรัชโตภาส และญาติสนิท

1,310,861

0.61

10

นางสาวจงกล งามเลิศชัย

1,146,000

0.53

159,411,565

74.05

บริษัท ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง จำกัด ถือหุ้นทั้งหมดในบริษัท ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด และ ประธานกรรมการของบริษัทฯ เป็นกรรมการของ บริษัท ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด เป็นกรรมการบริษัท

!3333 สารบัญ


!

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบายจ่ายเงินปันผลประมาณร้อยละ 40 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ หากไม่มีเหตุจำเป็นอื่น เช่น การลงทุนเพื่อขยายธุรกิจ

!

เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติการจ่ายปันผล จากผลการดำเนินงานประจำปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2555 โดยมีรายละเอียดดังนี้

!

48 ล้านบาท

- จ่ายปันผลเป็นหุ้นสามัญ ในอัตรา 4 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปันผล โดยหุ้นปันผลมีมูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นมีเศษของหุ้นเดิมหลังการจัดสรรหุ้นปันผลแล้วให้จ่ายปันผลเป็น เงินสดแทนในอัตราหุ้นละ 0.25 บาท และ

!

- จ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.027777778 บาท รวมคิดเป็นการจ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 0.277777778 บาท โดยบริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556

!

22 ล้านบาท

เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ มีมติให้ดำเนินการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลในอัตราหุน้ ละ 0.10 บาท สำหรับหุน้ จำนวน 215,624,559 หุน้ เป็นจำนวนเงิน 21,562,456 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ณ วันที่ 24 กันยายน 2556 โดยบริษัทได้จ่าย เงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556

!

!3344 สารบัญ


8

โครงสร้าง
 การจัดการ ! ! โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 ! ! !

!3355 สารบัญ


!

โครงสร้างกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมด 5 ชุด

!

!

ณ วัน ที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีกรรมการจำนวน 8 คน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารจำนวน 5 คน ซึ่งในจำนวนนี้มีกรรมการอิสระจำนวน 3 คน ดังนี้

ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีกรรมการบริหาร จำนวน 6 ท่าน ดังนี้

1. คณะกรรมการบริษัท

!

รายชื่อ/ตำแหน่ง

2. คณะกรรมการบริหาร

! !

จำนวนครั้งเข้าร่วมประชุม
 /จำนวนครั้งประชุมทั้งปี

รายชื่อ/ตำแหน่ง

จำนวนครั้งเข้าร่วมประชุม
 /จำนวนครั้งประชุมทั้งปี

นายเชีย ซอง เฮง

5/5

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

5/5

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

5/5

นายเชีย ซอง เฮง

5/5

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

5/5

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

5/5

นายชุง ชี คีออง*

2/5

นายโชคชัย วัชรนิรันดร์กุล

5/5

นายยอง ชุน คอง**

-

นางสาวสุภาภรณ์ สว่างจิตต์

4/5

นายวิริยะ ผลโภค

5/5

นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์

5/5

นายไชยยศ บุญญากิจ

5/5

นายเสริญ วิเทศพงษ์

5/5

นางศศิธร พงศธร

5/5

ประธานกรรมการ

รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการและที่ปรึกษา กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

ประธานกรรมการบริหาร

รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

!

กรรมการบริหาร

3. คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน ดังนี้

!

กรรมการอิสระ * นายชุง ชี คีออง ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 ** นายยอง ชุน คอง ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการแทนนายชุง ชี คีออง เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556

!

รายชื่อ/ตำแหน่ง

จำนวนครั้งเข้าร่วมประชุม
 /จำนวนครั้งประชุมทั้งปี

นายไชยยศ บุญญากิจ

4/4

นายเสริญ วิเทศพงษ์

4/4

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท

นางศศิธร พงศธร

3/4

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น ลงลายมือชื่อร่วมกับ นายเชีย ซอง เฮง หรือ นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์ หรือ นายยอง ชุน คอง รวม เป็นสองคนและประทับตราสำคัญของบริษัทฯ

โดยมีนายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ เป็นเลขานุการคณะ กรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการตรวจสอบ

โดยมีนายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ เป็นเลขานุการคณะ กรรมการบริษัท

กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

!

!3366 สารบัญ


! ! !

! ! !

4. คณะกรรมการสรรหา

5. คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหา จำนวน 7 ท่าน ดังนี้

ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีคณะกรรมการ กำหนดค่าตอบแทนจำนวน 5 ท่าน ดังนี้

รายชื่อ/ตำแหน่ง

รายชื่อ/ตำแหน่ง

นายเชีย ซอง เฮง

นายเชีย ซอง เฮง

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

นายวิริยะ ผลโภค

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

นายไชยยศ บุญญากิจ

นายวิริยะ ผลโภค

นายเสริญ วิเทศพงษ์

นายไชยยศ บุญญากิจ

นางศศิธร พงศธร

!

!

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

กรรมการ

รองประธานกรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

นายเสริญ วิเทศพงษ์ กรรมการ

เลขานุการบริษัท

นางศศิธร พงศธร

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการเงินบัญชี ทำหน้าที่เป็น เลขานุการบริษัท โดยบริษัทฯ ได้แนบข้อมูลประวัติของ เลขานุการบริษัท ในเอกสารแนบ 1

! ! ! !

กรรมการ

!

!3377 สารบัญ


! ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท 
 ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน กรรมการ

ผู้บริห าร

ทีป่ ระชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2556 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 มีมติอนุมัติค่าตอบแทนและ โบนัสกรรมการ โดยให้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการ ประจำปี 2556 เป็นเงินจำนวนไม่เกิน 6,000,000 บาท โดย ให้คณะกรรมการไปจัดสรรกันเอง โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ ได้รับอนุมัติจากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นต้นไป จนกว่าทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นจะมีมติเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น

ในปี 2555 และ ปี 2556 บริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนที่เป็น ตั ว เงิ น ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเงิ น เดื อ นและโบนั ส แก่ ผู้ บ ริ ห าร และที่ปรึกษาของบริษัทฯ รวมเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 34.61 ล้านบาท และ 27.47 ล้านบาท ตามลำดับ

ค่าตอบแทนอื่น ๆ

!

บริษัทฯ ได้จัดให้มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยบริษัทฯ ได้ สมทบในอัตราส่วนร้อยละ 5 ของเงินเดือน โดยในปี 2556 บริษัทฯ ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับ ผู้บริหาร 5 ราย จำนวน 0.99 ล้านบาท

หลักเกณฑ์การแบ่งจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ

! !

ค่าตอบแทนรายเดือน

เดือนละ 10,000 บาทต่อคน

ค่าเบี้ยประชุม

ครัง้ ละ 20,000 บาท สำหรับประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ และ ครั้งละ 15,000 บาท สำหรับกรรมการที่เข้าประชุม

ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจสอบ

จ่ายปีละ 200,000 บาทต่อคน โดยจ่ายเป็นรายไตรมาส

เงินโบนัสกรรมการ

คณะกรรมการบริษทั มีมติให้จา่ ยเงินโบนัสกรรมการให้แก่กรรมการอิสระ 3 คน และ กรรมการที่ปรึกษา 1 คน รวมเป็น 4 คน โดยพิจารณาจากหน้าที่ความรับผิดชอบ ของกรรมการแต่ละคน

!

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของคณะกรรมการตามมติของคณะกรรมการบริษัทฯ ในปี 2556 มีรายละเอียดดังนี้ ค่าตอบแทน
 รายเดือน

ค่าเบี้ยประชุม

ค่าตอบแทน
 กรรมการตรวจสอบ

โบนัส
 กรรมการ

รวม

นาย เชีย ซอง เฮง

120,000

100,000

-

-

220,000

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

120,000

75,000

-

-

195,000

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

120,000

75,000

-

-

195,000

นายชุง ชี คีออง

120,000

30,000

-

-

150,000

นายวิริยะ ผลโภค

120,000

75,000

-

940,000

1,135,000

นายไชยยศ บุญญากิจ

120,000

100,000

200,000

985,000

1,405,000

นายเสริญ วิเทศพงษ์

120,000

75,000

200,000

955,000

1,350,000

นางศศิธร พงศธร

120,000

75,000

200,000

955,000

1,350,000

บาท

960,000

605,000

600,000

3,835,000

6,000,000

รายชื่อ

!

!3388 สารบัญ


บุคลากร ! ! ! !

จำนวนพนักงาน

ค่าตอบแทนของพนักงาน

ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีพนักงานจำนวน

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

ในปี 2555 และปี 2556 ค่าตอบแทนพนักงานที่เป็นตัวเงิน ของพนักงานบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประกอบด้วยเงินเดือน และโบนัส เป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 128 ล้านบาท และ 115 ล้านบาท ตามลำดับ

คน

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

111

บริษัทย่อย

77

!

188

ค่าตอบแทนอื่น

พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ได้ ก ำหนดให้ พนักงานสามารถเลือกสะสมเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ร้อยละ 3 หรือ ร้อยละ 5 ของเงินเดือน และบริษัทฯ สมทบอีกร้อยละ 3 หรือ ร้อยละ 5 ในอัตราที่พนักงาน สะสมเอาไว้ ทั้ง นี้ พนักงานมีสิทธิได้รับเงินสมทบและ ผลประโยชน์ จ ากเงิ น สมทบตามอายุ ก ารทำงานโดย พนักงานที่ทำงานตั้งแต่ 2 ปีขนึ้ ไป 3 ปีขนึ้ ไป และ 5 ปีขนึ้ ไป จะได้รับผลประโยชน์จากเงินสมทบเท่ากับร้อยละ 30 ร้อยละ 50 และร้อยละ 100 ของเงินกองทุนที่หักจากพนักงาน แต่ละคนตามลำดับ

ในส่วนพนักงานของบริษัทฯ จำนวน 111 คน แบ่งได้ดังนี้ คน

ฝ่ายบริหาร

8

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

5

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

13

ฝ่ายการเงินและบัญชี

14

ฝ่ายการตลาด (กิจกรรมทางการตลาด)

67

ฝ่ายจัดซื้อและเทคโนโลยีสารสนเทศ

4

!

!

หน่วย: ล้านบาท

2555

2556

เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชี้พ

3.99

3.95

! ! ! ! !

การเปลี่ยนแปลงจำนวนพนักงาน หน่วย: ล้านบาท

2554

2555

2556

พนักงานลาออก

15

46

39

พนักงานใหม่

21

25

35

!

!3399 สารบัญ


! ! ! ! !

! ! ! !

ข้อพิพาทด้านแรงงานที่สำคัญ

การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร

ในรอบระยะเวลา 3 ปี ที่ผ ่ า นมา บริษัท ฯ มีค ดีความ เป็นจำเลยในศาลแรงงาน อยู่ 1 คดี ในขณะนี้คดีความ ดังกล่าวยังไม่ยุติ โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่หัวข้อ “ข้อพิพาททางกฏหมาย”

บริษัทฯ มีหลักเกณฑ์การคัดเลือกพนักงานใหม่ที่มีคุณภาพ บนพื้นฐานความสามารถหลักที่ตอบสนองความต้องการ ขององค์กรและสอดคล้องกับธุรกิจ ตลอดจนมีการพิจารณา จัดสรรอัตรากำลังคนที่เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ และการดำเนิ น ธุ ร กิ จ รวมถึ ง การเตรี ย มความพร้ อ ม ทรั พ ยากรบุ ค คลเพื่ อ รองรั บ การขยายตั ว ของธุ ร กิ จ ใน อนาคต

! ! ! !

! ! ! ! !

นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ ให้ความสำคัญกับพนักงานซึ่งถือเป็นทรัพยากรที่มี ค่าสูงสุด และเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาบริษัทฯ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลถือเป็นนโยบายหลักที่สำคัญ ของบริษัทฯ ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีนโยบายมุ่งเน้นที่จะพัฒนา ทรั พ ยากรบุ ค คลและปรั บ ปรุ ง ระบบการบริ ห ารงาน ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประสิทธิภาพ ให้ความสำคัญตั้งแต่ กระบวนการสรรหา เพื่อสรรหาบุคลากรที่ที่มีศักยภาพ สูงสุด มีการส่งเสริมการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ อย่างต่อเนื่อง และการปลูกฝังค่านิยมในองค์กร ให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนเสริมสร้างให้พนักงานให้ เป็ น พนั ก งานที่ มี คุ ณ ภาพทั้ ง คุ ณ ภาพการทำงานและ คุณภาพชีวิตควบคู่กันไป

การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน

บริษัทฯ ถือว่า พนักงานคือทรัพยากรที่มีค่าสำคัญยิ่ง จึงสนับสนุนการพัฒนาให้พนักงานทุกคนมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและสมรรถภาพหลั ก ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การปฏิบัติงาน โดยดำเนินการจัดให้มีการฝึกอบรมใน หลักสูตรต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร รวมถึง หลักสูตรการอบรมและดูงานในต่างประเทศ ส่งเสริมการ เรียนรู้และการพัฒนาองค์ความรู้ให้เกิดขึ้น ส่งเสริมให้ พนักงานเกิดความคิดสร้างสรรค์ ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ พนักงานได้แสดงศักยภาพอย่างเต็มที่ ทั้งในระดับบุคคล และทีมงาน เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกันในบริษัทฯ โดยถือเป็นการสร้างรากฐานในระยะยาวที่จะส่งผลสำคัญถึง ความสำเร็จในปัจจุบนั และในอนาคตของบริษทั ฯ เสริมสร้าง ความรู้ ความสามารถของพนักงาน โดยให้สอดคล้องกับ การเติบ โต การเป็ น ผู้ น ำของการแข่ ง ขัน และการเป็ น ผู้สร้างมูลค่าเพิ่มของบริษัทฯ

!

บริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล ความคู่ไปกับการดูแลให้พนักงานปฏิบัติงานอย่างมีความ สุข ดังนี้

!

!

!4400 สารบัญ


! ! ! !

พนักงานสัมพันธ์

! ! ! ! !

บริษัทฯ จัดให้มีการดำเนินงานส่งเสริมด้านแรงงานสัมพันธ์ และสร้างความผูกพันอย่างต่อเนื่องของพนักงานในบริษัทฯ เพื่อให้พนักงานมีความรัก สามัคคีกัน และเป็นการ สนับสนุนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมรูปแบบต่างๆ ของบริษัทฯ ตัวอย่างของการดำเนินงานด้านแรงงานสัมพันธ์ ได้แก่ กิจกรรมทำบุญบริษัทฯ กิจกรรมวันปีใหม่ การจัดให้มี กิจกรรมเพื่อสังคมที่ให้พนักงานได้ทำกิจกรรมเพื่อสังคม เช่น การไปบริจาคสิ่งของอุปกรณ์การเรียนแก่เด็กยากจน และเด็ก กำพร้ า ในสถานสงเคราะห์ หรือ การช่ ว ยเหลือ ผู้ประสบภัยธรรมชาติ และการบริจาคเงินช่วยเหลือแก่ มูลนิธิต่างๆ และการร่วมจัดสร้างห้องสมุดในโรงเรียน ทุรกันดาร เป็นต้น

บริษัทฯ ให้ความสำคัญกับการรักษาสุขภาพความปลอดภัย และสภาพแวดล้ อ มในการทำงาน โดยมี ก ารจั ด ตั้ ง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม เพื่ อ ดำเนิ น งานเกี่ ย วกั บ การวางแผนพั ฒ นาระบบความ ปลอดภัยและชีวอนามัยที่ดีและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จัดให้ มี ก ารตรวจสอบความปลอดภั ย ของสถานที่ ท ำงาน สม่ำเสมอ และจัดเตรียมเครื่องมือ และอุปกรณ์ด้านความ ปลอดภัยต่างๆ ให้แก่พนักงาน และจัดฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยเกี่ยวกับการอพยพหนีไฟและการป้องกันอัคคีภัย แก่พนักงาน เพื่อให้พนักงานสามารถใช้อุปกรณ์ดับเพลิงได้ อย่างถูกต้อง

การดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อมในการทำงาน

!

!

บริษัทฯ จัดให้มีการจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ พนักงาน อีกทัง้ ได้เชิญผูเ้ ชีย่ วชาญมาให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่พนักงานในเรื่องต่างๆ เช่น การเชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ ความรู้เรื่องแนวทางการบริหารร่างกายในระหว่างปฏิบัติ งานเพื่อป้องกันการเกิดโรค เป็นต้น นอกจากนี้บริษัทฯ ยังให้ความสำคัญกับคุณภาพชีวิตของพนักงานที่ต้องควบคู่ ไปกับการเจริญเติบโตของธุรกิจ โดยให้ความสำคัญกับ สุขภาพที่ดีของพนักงานทั้งร่างกายและจิตใจโดยจัดให้มี การตรวจเช็คสุขภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เป็นต้น

บริษัทฯ ส่งเสริมให้พนักงานยึดมั่นในวัฒนธรรมองค์กร คือ มีความรับผิดชอบ (Accountability) มีความซื่อสัตย์ (Integrity) มีเกียรติ (Dignity) เพื่อส่งเสริมให้พนักงานมี หลักมัน่ ในการทำงานบนพืน้ ฐานด้านจริยธรรม และยังส่งเสริม ปัจจัยต่างๆ เพื่อให้พนักงานมีคุณภาพที่ดีในการทำงาน เช่น สวัสดิการที่เหมาะสม สภาพการทำงานที่ปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพของพนักงาน สร้างจิตสำนึกในการทำงาน ร่วมกัน

! ! ! ! !

สวัสดิการพนักงาน

บริษัทฯ ให้ความสำคัญในการจัดผลตอบแทนและสวัสดิการ ที่เหมาะสมให้กับพนักงาน โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการ สวัสดิการในสถานประกอบการ เพื่อทบทวนนโยบายด้าน สวัสดิการพนักงานอย่างสม่ำเสมอ โดยพิจารณาให้มีการ จ่ายผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม สำหรับพนักงาน ได้แก่ กองทุนสำรองเลีย้ งชีพ การประกันชีวติ ประกั น ทุ พ พลภาพ และประกั น สุ ข ภาพแก่ พ นั ก งาน ตลอดจนมีการปรับปรุงสวัสดิการด้านสุขภาพเพิ่มเติมแก่ พนักงาน

!4411 สารบัญ


การกำกับ
 ดูแลกิจการ

9 ! !

คณะกรรมการบริษัทได้ตระหนักถึงความสำคัญของหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อเป็น แนวทางในการควบคุมการบริหารจัดการให้เป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพและโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทจึงได้กำหนดแนวทางการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ตลอดจน กำหนดขอบเขตอำนาจของคณะกรรมการและผู้บริหารให้ชัดเจน อาทิ การปฏิบัติหน้าที่ให้ เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ รวมทั้งกำหนด นโยบายและทิศทางการดำเนินงานของบริษัทฯ และกำกับควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริหารดำเนิน การให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนดไว้

!

เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน อันเป็นแนวทางที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนดไว้นั้น บริษัทฯ จึงได้สรุปสาระสำคัญด้านการกำกับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ในปี 2556 ดังนี้

!

!4422 สารบัญ


หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้นในฐานะที่เป็นเจ้าของบริษัทฯ โดยครอบคลุมสิทธิพื้นฐาน เช่น การซื้อขาย การโอนหุ้น การมีส่วนในส่วนแบ่งกำไรของบริษัทฯ และสิทธิต่างๆ ในการเข้าร่วม ประชุม แสดงความเห็น และออกเสียงลงมติในการประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้น

ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้จัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมทั้งข้อมูลประกอบการประชุม วาระต่างๆ รวมทัง้ ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ในทุกวาระ ก่อนทีจ่ ะส่งหนังสือนัดประชุมให้ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าก่อนวันนัดประชุมไม่น้อยกว่า 7 วัน ซึ่งข้อมูลประกอบเหล่านี้ ได้มีการเผยแพร่ล่วงหน้า ก่อนวันประชุมผ่านทางเว็ปไซต์ของบริษัทฯ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพือ่ การตัดสินใจในการลงมติ พร้อมทั้งประกาศลงในหนังสือพิมพ์ติดต่อกันต่อเนื่อง 3 วัน ก่อนวันประชุมอย่างน้อย 3 วัน สำหรับ ผู้ถือหุ้นเพื่อเตรียมตัวเข้าร่วมประชุม ในปี 2556 บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ซึ่งมี กรรมการเข้าร่วมประชุมครบทั้ง 8 คน โดยบริษัทฯ จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ณ ห้องศรีนครินทร์ 2 โรงแรมดุสิต ปริ๊นเซส ศรีนครินทร์ ซึ่งมีขนาดเพียงพอรองรับผู้ถือหุ้นที่มาประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยได้จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ต้อนรับและให้ข้อมูลในการตรวจ เอกสารและลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมประชุม ซึ่งบริษัทฯ ได้เปิดให้ลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 1 ชั่วโมง และได้นำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในการลงทะเบียนเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการลงทะเบียน ก่อนเริ่มประชุม ประธานได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัท เป็นผู้ชี้แจงหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการ ประชุมทั้งหมด เช่น การเปิดประชุม และการออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งวิธีการนับคะแนนเสียงของ ผู้ถือหุ้นที่จะต้องลงมติในแต่ละวาระ ในการนับคะแนนได้จัดให้มีที่ปรึกษากฎหมายจาก บริษัท สำนัก กฎหมายธรรมนิติ จำกัด และผู้สอบบัญชีอิสระจาก บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ร่วมเป็นสักขีพยาน และทำหน้าที่เป็นคนกลางตรวจสอบความถูกต้องในการลงคะแนนเสียง เพื่อ ความโปร่งใสในทุกระเบียบวาระการประชุม โดยในวาระเลือกตั้งกรรมการ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการลง คะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล สำหรับวาระแต่งตั้งและกำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี บริษัทฯ ได้ระบุชื่อผู้สอบบัญชี บริษัทที่สังกัด ประเด็นความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และค่าบริการของ ผู้สอบบัญชี ไว้ในหนังสือนัดประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี ระหว่างการประชุม บริษัทฯ ยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้มีสิทธิสอบถาม แสดงความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะต่างๆ และได้ใช้ระบบบาร์โค้ดในการนับคะแนน เพื่อให้การประชุมดำเนินได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ ทั้งนี้ การประชุมได้ดำเนินไปตามลำดับระเบียบวาระที่แจ้งในหนังสือเชิญประชุม และ ไม่มีการขอเพิ่มวาระอื่นๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้แต่อย่างใด หลังการประชุม บริษัทฯ ได้เปิดเผยมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น พร้อมผลการนับคะแนนในช่วงเย็นของ วันประชุม โดยการแจ้งเป็นจดหมายข่าวไปยังตลาดหลักทรัพย์ฯ และเปิดเผยไว้บนเว็ปไซต์ของบริษัทฯ รวมทั้ง จัดให้มีบันทึกการประชุมที่ถูกต้อง ครบถ้วน ซึ่งครอบคลุมถึง การแสดงความคิดเห็นการตอบ ข้อซักถามต่างๆ และผลการนับคะแนน ให้ผู้ถือหุ้นตรวจสอบได้ และนำส่งต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใน 14 วันหลังวันประชุมตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ พร้อมทั้งเผยแพร่บันทึกการประชุมและ วีดีทัศน์การประชุมให้ผู้ถือหุ้นรับทราบบนเว็ปไซต์ของบริษัทฯ

!4433 สารบัญ


หมวดที่ 2 การปฎิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกราย ทุกกลุ่ม ด้วยการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันและ เป็นธรรม ทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารและที่ไม่ใช่ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมทั้ง ผู้ถือหุ้นต่างชาติได้แก่

!

- จัดส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า อย่างน้อย 14 วันก่อนวันประชุม และได้จัดทำหนังสือ นัดประชุมและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นภาษาอังกฤษเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติ

!

- เผยแพร่หนังสือนัดประชุมฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนเว็ปไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้า 14 วัน ก่อนวันประชุม

!

- จัดส่งหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. แนบไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม ซึ่งได้อธิบายถึงขั้นตอนและ เอกสารในการมอบฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถจัดเตรียมเอกสารได้อย่างถูกต้องและไม่เกิดปัญหา ในการเข้าร่วมประชุมของผู้รับมอบฉันทะ และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วม ประชุมสามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่น หรือกรรมการอิสระของบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงลง มติแทนได้ ซึ่งบริษัทฯ ได้แนบประวัติ และรายงานความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการพิจารณา วาระต่างๆ ของกรรมการอิสระแต่ละท่านอย่างครบถ้วน

!

- การสนับสนุนให้มีการใช้บัตรลงคะแนนในวาระที่สำคัญ เช่น การทำรายการเกี่ยวโยง การทำรายการ ได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ เป็นต้น เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้

!

- ดำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลำดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือนัดประชุม และมีนโยบายที่ จะไม่เพิ่มวาระในที่ประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า

การใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการและผู้บริหารในการนำข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัว โดยสามารถดูรายละเอียดในหัวข้อ “การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน”

! !

!4444 สารบัญ


! !

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ ได้ ก ำหนดหลัก เกณฑ์ ก ารเข้ า ทำธุร กรรม ดังกล่าว ดังนี้

!

- ในกรณีที่กรรมการบริษัทหรือผู้บริหารคนใดมีส่วนได้เสียกับผลประโยชน์ ในเรื่องที่กำลังพิจารณา ผู้มีส่วนได้เสียนั้นก็จะไม่เข้าร่วมประชุมหรืองดออกเสียงเพื่อให้การตัดสินใจของคณะกรรมการ บริษัทและผู้บริหารเป็นไปอย่างยุติธรรม เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง

!

- กรณีมีการทำรายการระหว่างกันที่เป็นรายการธุรกิจปกติและมีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป หรือรายการ สนับสนุนธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป และค่าตอบแทนสามารถคำนวณได้จากทรัพย์สิน หรือมูลค่าอ้างอิง จะพิจารณาดำเนินการทำรายการดังกล่าวให้เป็นไปตามข้อกำหนดของสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ที่ใช้บังคับกับการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบพิจารณารับทราบทุกๆ ไตรมาส

!

- กรณีมีการทำรายการระหว่างกันอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบจะ เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจำเป็นในการเข้าทำรายการและความเหมาะสมทางด้านราคาของ รายการนั้นๆ โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการดำเนินธุรกิจปกติในอุตสาหกรรม และมีการเปรียบเทียบราคาของบุคคลภายนอกหรือราคาตลาด หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มี ความชำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดหาผู้เชี่ยวชาญอิสระ หรือผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการดังกล่าว เพื่อนำไปใช้ประกอบการ ตัดสินใจของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี โดยกรรมการ ผู้มีส่วนได้เสียจะไม่มีสิทธิออกเสียงในรายการดังกล่าว

! !

!4455 สารบัญ


หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ตระหนักถึงสิทธิและบทบาทของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มให้ได้รับการปฏิบัติที่ดีอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและความร่วมมือระหว่างบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียเหล่านี้ อันจะนำมาซึ่ง การเจริญเติบโต ความมั่งคั่ง และมั่นคงของบริษัทฯ ในระยะยาว

!

บริษัทฯ จึงได้กำหนดหลักเกณฑ์โดยมีรายละเอียดดังนี้ ผู้ถือหุ้น :

บริษัทฯ มุ่งเน้นที่จะดำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส โดยมุ่งมั่นที่จะพัฒนาบริษัทฯ ให้มีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งบริษัทฯ ยังได้คำนึงถึงสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น ซึ่งได้เปิดเผยรายละเอียดไว้ใน หมวดที่ 1 “สิทธิของผู้ถือหุ้น” และหมวดที่ 2 “การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน” พนักงาน :

บริษัทฯ ตระหนักดีว่าพนักงานเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าสูงสุด อันเป็นปัจจัยแห่งความก้าวหน้า ของบริษัทฯ จึงสนับสนุนการพัฒนาให้พนักงานทุกคนมีความรู้ความสามารถและมีการดูแลพนักงาน อย่างเสมอภาค มีการให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม โดยได้จัดสวัสดิการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ การประกันชีวิต และประกันสุขภาพแก่พนักงาน ตลอดจนเปิดโอกาสให้ พนักงานมีช่องทางการสื่อสาร เสนอแนะต่อคณะทำงานและผู้บริหาร ซึ่งข้อเสนอแนะต่างๆ จะได้รับการ พิจารณาและกำหนดแนวทางแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายและสร้างความสัมพันธ์อันดีใน การทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข คู่ค้า :

บริษัทฯ มีการซื้อสินค้าและบริการจากคู่ค้าโดยเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า ซึ่งบริษัทฯ คำนึงถึง ผลประโยชน์ร่วมกันกับคู่ค้า โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่ายและ หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการปฏิบัติตามสัญญาต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด ลูกค้า :

บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สุงสุดจากการให้บริการของบริษัทฯ โดยให้บริการที่มี คุณภาพและมาตรฐานและตรงตามเวลาที่กำหนด ให้ความดูแลและรับผิดชอบ รวมถึงการรักษา ความลับของลูกค้า คู่แข่ง :

บริษัทฯ เชื่อว่าการแข่งขันทางการค้าเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดพัฒนาการที่ดีขึ้นในการดำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี รักษาบรรทัดฐานของข้อพึงปฏิบัติในการแข่งขัน หลีกเลี่ยง วิธีการที่ไม่สุจริตเพื่อทำลายคู่แข่งขัน เจ้าหนี้ :

บริษัทฯ เชื่อว่าการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงไว้ต่อเจ้าหนี้ทางการค้าเพื่อประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่าย จะก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และนำมาซึ่งความไว้วางใจต่อกันในระยะยาว ชุมชน :

บริษัทฯ มีความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายและ กฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้ได้รับการดูแลอย่างดี

!

!4466 สารบัญ


! !

นโยบายการแจ้งเบาะแสและการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส บริษัทฯ ได้จัดให้มีช่องทางในการรับแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ ที่มี ผลกระทบต่ อ ผู้ มีส ่ ว นได้ เ สีย จากการดำเนิน ธุร กิจ ของบริษัท ฯ หรือ จากการปฏิบัติข องพนัก งาน ของบริษัทฯ โดยสามารถแจ้งเบาะแสโดยตรงมาที่

!

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) เลขที่ 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 02-748-7007 โทรสาร 02-745-8521-2

!

ทั้งนี้ บริษัทฯ จะดำเนินการตรวจสอบตามขั้นตอนและบันทึกการสอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดย ไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส รวมทั้ง ดำเนินการจัดเก็บเอกสารข้อมูลการร้องเรียนเป็นความลับ เพื่อ คุ้มครองผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งเบาะแสดังกล่าว

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการเปิดเผยข้อมูลต่างๆ ทั้งข้อมูลทางการเงินและ สารสนเทศอื่นที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินต่อสาธารณชน ตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านช่องทางต่างๆ เช่น แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำปี (แบบ 56-2) เว็บไซต์ของบริษัทที่ www.picothai.com การเข้าร่วมกิจกรรมพบปะนักลงทุน (Opportunity Day) การจัดให้มีการประชุมกับนักวิเคราะห์หลักทรัพย์อย่างสม่ำเสมอ โดยในปีที่ผ่านมา บริษัท ฯ ได้เปิดโอกาสให้นักลงทุนและนักวิเคราะห์ทั้งในและต่างประเทศพบปะและร่วมประชุม กับผู้บริหาร เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ

!

บริษทั ฯ ได้มกี ารเปิดเผยรายละเอียดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั ไว้ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” นอกจากนี้ ในปี 2556 บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายให้มีการรายงานการซื้อ-ขาย และการถือครอง หลัก ทรัพ ย์ ข องบริษัท ฯ และรายงานการเปลี่ย นแปลงการมีส ่ ว นได้ เ สีย ของตน ต่ อ ที่ป ระชุม คณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส

!

ทั้งนี้ บริษัทฯ มั่นใจว่าการปฏิบัติดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบข่าวสาร ตลอดจนข้อมูลสำคัญ ต่างๆ ที่จำเป็น และยังจัดให้ผู้ถือหุ้นและบุคคลทั่วไปสามารถซักถามข้อสงสัยต่างๆ ผ่านผู้รับผิดชอบ ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ได้ตลอดเวลา

!

โดยบริษัทฯ ได้มอบหมายให้ นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการเงินบัญชี ทำหน้าที่ในการติดต่อกับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถติดต่อโดยโทรศัพท์ เบอร์ 02-748-7007 หรือที่อีเมล์ chaijit@picothai.com

!

!4477 สารบัญ


หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างของคณะกรรมการ - คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการ 8 คน เป็นกรรมการอิสระ จำนวน 3 คน ซึ่งสัดส่วน ของกรรมการอิสระคิดเป็น 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมดตามมาตรฐานที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้กำหนดไว้

!

- คณะกรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยกรรมการที่อยู่ ในตำแหน่งนานที่สุด จะหมุนเวียนกันออกตามวาระคราวละ 1 ใน 3

!

- กรรมการบริษัทจำนวน 3 คน ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการบริหาร ทำหน้าที่ดำเนินงานให้เป็น ไปตามเป้าหมาย ทิศทาง แผนการดำเนินงาน และงบประมาณประจำปีที่กำหนดไว้ อันเป็นการ แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการบริหารไว้อย่าง ชัดเจน

!

- คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งหมด เพื่อ ช่วยในการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบจะมีกำหนดการประชุมเป็นประจำทุก 3 เดือน นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้มีการประชุมร่วมกันกับผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็น ประจำทุก 3 เดือนเช่นกัน และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท

!

- คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา และคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน เพื่อ คัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริษัทและเสนอแนะการกำหนด ค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นใด โดยคำนึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานอำนวยการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

!

- บริษัทฯ ได้กำหนดให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการเงินบัญชี ทำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะ กรรมการบริษัท และเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำหน้าที่แนะนำด้านกฎหมาย และ กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการต้องทราบ รวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติของที่ประชุม คณะกรรมการ

! !

!4488 สารบัญ


! !

วาระการดำรงตำแหน่ง

!

คณะกรรมการมีกำหนดวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริษัทได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยในการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่งจำนวนหนึ่งในสามของคณะกรรมการ ทั้งคณะ ถ้าจำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับ ส่วนหนึ่งในสาม โดยกรรมการที่จะต้องออกจากตำแหน่งนั้น ให้พิจารณาจากกรรมการที่อยู่ในตำแหน่ง นานที่สุดเป็นผู้ออกจากตำแหน่งตามวาระ และกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รับเลือกเข้า ดำรงตำแหน่งใหม่ได้

!

กรณีกรรมการพ้นจากตำแหน่งเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาเลือกบุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนได้ โดยบุคคลดังกล่าวจะอยู่ในตำแหน่งกรรมการได้เท่าวาระ ที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน

การถ่วงดุลอำนาจของกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่กำกับดูแลการทำงานของคณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายที่ กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้แต่งตั้งประธานกรรมการบริษัทเป็นคนละบุคคลกับ ประธานคณะกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน โดยบริษัทฯ ได้กำหนดให้มีการแบ่งแยกบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานไว้อย่าง ชัดเจน

!

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 คน เพื่อ ทำหน้าที่ถ่วงดุลอำนาจและตรวจทานการบริหารงานของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการวางแผนและการ ตัดสินใจทางธุรกิจมีความเหมาะสม และไม่ได้ผูกขาดโดยกรรมการบริหาร หรือกลุ่มบุคคลกลุ่มเดียว

การถ่วงดุลอำนาจของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท โดยไม่ให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีอำนาจในการตัดสินใจแต่ เพียงบุคคลเดียว หรือกลุ่มเดียว เพื่อให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพและสร้างกลไกการถ่วงดุล

!

- กรรมการที่เป็นกรรมการบริหาร 3 ท่าน - กรรมการที่ไม่ได้เป็นกรรมการบริหาร 5 ท่าน - กรรมการทีเ่ ป็นอิสระ 3 ท่าน

! !

!4499 สารบัญ


! การกำหนดบริษทั จดทะเบียนทีก่ รรมการบริษทั จะไปดำรงตำแหน่งกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ได้ ก ำหนดนโยบายการจำกัด จำนวนบริษัท ที่กรรมการบริษัท จะไปดำรง ตำแหน่งกรรมการ เพื่อให้กรรมการสามารถอุทิศเวลาสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำหนดให้กรรมการบริษัทสามารถดำรงตำแหน่ง ไม่เกิน 5 บริษัทจดทะเบียนรวมถึงบริษัทย่อยที่ ไม่ได้เป็นบริษัทจดทะเบียน

!

ในคณะกรรมการบริษทั ไม่มกี รรมการอิสระทีด่ ำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนมากกว่า 5 แห่ง และไม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหารดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนมากกว่า 2 แห่ง

การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ได้ ต ระหนัก ถึง หน้ า ที่ส ำคัญ ในฐานะกรรมการที่จ ะต้ อ งเข้ า ร่ ว มประชุม คณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำเสมอเพื่อรับทราบ แสดงความคิดเห็น เสนอแนะ และร่วมตัดสินใจใน กิจการสำคัญในการดำเนินธุรกิจ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อย ไตรมาสละ 1 ครั้ง และมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจำเป็น และบริษัทฯ ได้จัดให้กำหนดวันประชุม ไว้ล่วงหน้าทุกปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ และแจ้งให้กรรมการทุกท่าน ทราบทุกครั้งที่มีการประชุม โดยเลขานุการคณะกรรมการบริษัทได้แจ้งกำหนดวัน เวลา และสถานที่ พร้อมทั้งจัดส่งระเบียบวาระการประชุมและเอกสารการประชุมให้แก่กรรมการทุกท่านเป็นการล่วงหน้า อย่างน้อย 5 วันทำการ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทในแต่ละครั้ง ประธานกรรมการบริษัทและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นผู้ร่วมกันกำหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรื่องเข้าวาระการประชุม คณะกรรมการบริษัท และเปิดโอกาสให้กรรมการสามารถเสนอเรื่องเพิ่มเติมให้ที่ประชุมพิจารณาได้ กรรมการแต่ละท่านยังสามารถที่จะแสดงความคิดเห็นต่อที่ประชุมได้อย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา โดยเลขานุการคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้จดบันทึกการประชุมและจัดทำรายงานการประชุม

!

ในปี 2556 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง โดยรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการแต่ละท่านได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ”

!

!5500 สารบัญ


! เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้ง นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ เป็นเลขานุการบริษัท โดยเลขานุการ บริษัทที่คณะกรรมการแต่งตั้งขึ้นนั้น เป็นผู้ที่คณะกรรมการเห็นว่ามีความเหมาะสม มีความรู้ความ สามารถด้านบัญชี และได้ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการ บริษัท โดยมีรายละเอียดใน “เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัท”

! เลขานุการบริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบหลักดังต่อไปนี้ !

- ดูแลการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และการประชุมคณะกรรมการบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับบริษทั ฯ และข้อพึงปฏิบัติต่างๆ - จัดทำและเก็บรักษาหนังสือนัดประชุม เอกสารประกอบการประชุม รายงานการประชุม และติดตาม ให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท - จัดทำและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ - เป็นที่ปรึกษาและเลขานุการคณะกรรมการบริษัท - ดูแลการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ - ประสานงานกับที่ปรึกษากฎหมายและผู้สอบบัญชี - ให้คำแนะนำเบื้องต้นแก่กรรมการบริษัท เกี่ยวกับข้อกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของบริษัทฯ และติดตามให้มีการปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง รวมทั้งรายงานการเปลี่ยนแปลงที่มี นัยสำคัญแก่กรรมการ - รับผิดชอบจัดทำและจัดเก็บรักษารายงานประจำปี (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายงานข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ มีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้กรรมการ ผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท เข้าร่วม อบรมสัมมนาในหลักสูตรต่างๆ ที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานภายนอก เช่น สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และสถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อสร้างความ มั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลขานุการบริษัทเป็นผู้จัดทำทะเบียนประวัติการ เข้าร่วมอบรมของคณะกรรมการ พร้อมทั้งนำเสนอหลักสูตรที่เหมาะสมต่อกรรมการแต่ละท่านเพื่อ พิจารณาเข้าร่วมอบรม

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ ในกรณีที่มีกรรมการใหม่ บริษัทฯ มีนโยบายให้มีการจัดการปฐมนิเทศ รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารและ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อแนะนำลักษณะธุรกิจและแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนให้เข้ารับการอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ

!

!5511 สารบัญ


! โครงสร้างกรรมการของบรษัทฯ โครงสร้างกรรมการของบรษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมด 5 ชุด ดังนี้

1. คณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท

1. การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้ปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ให้เป็นประโยชน์ต่อ การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และปฏิบัติหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ ด้วยความระมัดระวังและใช้วิจารณญาณเพื่อรักษาผลประโยชน์และรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น

!

2. กำหนดเป้าหมาย ทิศทางการดำเนินงาน และนโยบายของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท มีห น้ า ที่ท บทวนและกำหนดนโยบายและทิศ ทางการดำเนิน งานของบริษัท ฯ อย่างเหมาะสมยกเว้นนโยบายหรือการดำเนินงานทีต่ อ้ งได้รบั ความเห็นชอบและอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้

!

3. แต่งตั้งและกำกับดูแลคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทอาจแต่งตั้งกรรมการจำนวนหนึ่งตามที่เห็นสมควรให้เป็นคณะกรรมการบริหารเพื่อ ปฏิบัติงาน ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้ง นี้ ในการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2546 คณะกรรมการได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และ กำหนดขอบเขตอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารไว้โดยชัดเจน และคณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่กำกับดูแลให้คณะกรรมการบริหารดำเนินตามนโยบายที่ได้รับอนุมัติไปให้มีประสิทธิภาพ

! !

!5522 สารบัญ


!

4. แต่งตั้งและมอบอำนาจให้บุคคลอื่น คณะกรรมการบริษัทอาจแต่งตั้งบุคคลอื่นใดให้ดำเนินกิจการของบริษัทฯ ภายใต้การควบคุมของ คณะกรรมการหรืออาจมอบอำนาจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีอำนาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควรและ ภายในเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควรและคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข อำนาจนั้นๆ ก็ได้ การแต่งตั้งหรือมอบอำนาจดังกล่าวต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

!

- การแต่งตั้งหรือมอบอำนาจในเรื่องใด ผู้ได้รับการแต่งตั้งหรือผู้รับมอบอำนาจจะต้องไม่เป็นผู้ที่มี ส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยในเรื่องนั้น

!

- การแต่งตั้งหรือมอบอำนาจต้องไม่มีลักษณะเป็นการแต่งตั้ง หรือการมอบอำนาจที่ทำให้ผู้ได้รับการ แต่งตั้งหรือผู้รับมอบอำนาจสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้ ส่วนเสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย

!

การแต่งตัง้ หรือมอบอำนาจ ต้องกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของผูไ้ ด้รบั การแต่งตัง้ หรือผูร้ บั มอบอำนาจไว้อย่างชัดเจน และต้องเป็นไปตามมติของทีป่ ระชุมคณะกรรมการทีม่ กี รรมการอิสระ หรือกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม และกรณีที่กรรมการอิสระหรือกรรมการตรวจสอบคัดค้านการ มอบอำนาจนั้น ต้องบันทึกความเห็นของกรรมการที่คัดค้านในรายงานการประชุมให้ชัดเจนด้วย ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของประธานกรรมการบริษัท

1. ทำหน้าที่เป็นผู้นำของคณะกรรมการบริษัท ในการกำกับดูแล ติดตาม การบริหารงานของ คณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการอื่นๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ นโยบาย และแผนงาน ที่กำหนดไว้ 2. เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น 3. เป็นผูล้ งคะแนนเสียงชีข้ าดในกรณีทที่ ปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั มีการลงคะแนนเสียงสองฝ่ายเท่ากัน

! !

!5533 สารบัญ


2. คณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร

!

1. เสนอแนะให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติในเรื่องดังต่อไปนี้ -

!

เป้าหมายและทิศทางการดำเนินธุรกิจ นโยบายและกลยุทธ์ทางธุรกิจ แผนการดำเนินงานและงบประมาณประจำปี โครงสร้างองค์กรและการบริหารโดยให้ครอบคลุมถึงรายละเอียดของการคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง และการเลิกจ้างพนักงานบริษัท

2. ควบคุมดูแลการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามนโยบายธุรกิจ แผนธุรกิจ และกลยุทธ์ทาง ธุรกิจที่คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติแล้ว

!

3. พิจารณาการเข้าทำสัญญาเกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทฯ และสัญญาเกี่ยวกับการซื้อทรัพย์สินหรือ ทำให้ได้มาซึ่งสิทธิเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ในกิจการของบริษัทฯ ตลอดจนการกำหนดขั้นตอนและ วิธีการเจรจาเพื่อทำสัญญาดังกล่าว

! 4. พิจารณาการเข้าทำสัญญาเกี่ยวกับการเงิน การกู้ยืม การค้ำประกัน ! 5. การแก้ไขสัญญาและการเลิกสัญญาซึ่งมีสาระสำคัญตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควร !

6. พิจารณาผลกำไรและขาดทุนของบริษัทฯ และการเสนอจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล หรือเงินปันผล ประจำปีเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท

!

7. ดำเนินการใดๆ เพื่อสนับสนุนการดำเนินการดังกล่าวข้างต้น หรือตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท ในแต่ละคราวไป

!

ทั้งนี้ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้างต้น ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของกฏหมาย และกฎระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริหารไม่มีอำนาจอนุมัติรายการที่กรรมการบริหาร หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หากมีกรณีดังกล่าวให้คณะกรรมการบริหารนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาต่อไป

!

!5544 สารบัญ


! ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของประธานอำนวยการ

1. รับผิดชอบทำหน้าที่เป็นผู้นำคณะกรรมการบริหาร โดยการดูแล ให้คำแนะนำและประเมินผลการ ดำเนินงานของฝ่ายจัดการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. ลงนามร่วมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหารในการอนุมัติงบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ รวมทั้ง สัญญาต่างๆ 3. เรียกประชุมคณะกรรมการบริหารได้ตามความเหมาะสม 4. พิจารณากลั่นกรองวาระการประชุมเพื่อนำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

1. ควบคุม การบริห ารงานของบริษัท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามนโยบายที่ค ณะกรรมการบริษัท หรือ คณะกรรมการบริหารกำหนดไว้ และรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการบริหารและ คณะกรรมการบริษัท ตามลำดับ 2. พิจารณาการจัดสรรงบประมาณประจำปีที่ฝ่ายบริหารจัดทำเพื่อนำเสนอให้คณะกรรมการบริหาร พิจารณาอนุมัติ รวมทั้งควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของแต่ละหน่วยงาน 3. กำหนดเงื่อนไขในการทำงานของพนักงานและลูกจ้าง ออกคำสั่งหรือประกาศกำหนดวิธีการ บริหารงานและการดำเนินกิจการของบริษัทฯ โดยไม่ขัดแย้งกับระเบียบของบริษัทฯ และมติ คณะกรรมการ หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 4. จ้าง บรรจุ แต่งตั้ง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจ้าง และให้พนักงานหรือลูกจ้างพ้นสภาพ รวมทั้งการเลื่อนหรือปรับค่าจ้างของพนักงาน แต่ไม่รวมถึงพนักงานหรือลูกจ้าง ซึ่งคณะกรรมการ หรือระเบียบข้อบังคับกำหนดให้กรรมการเป็นผู้จ้าง บรรจุ แต่งตั้ง ลงโทษทางวินัย หรือเลิกจ้าง 5. มีอ ำนาจพิจ ารณาอนุมัติก ารสั่ง ซื้อ และจ่ า ยเงิน ในเรื่อ งที่เ กี่ย วกับ การดำเนิน งานตามปกติ ของบริษัทฯ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร และรายจ่ายลงทุน ให้เป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท หรือคณะกรรมการบริหาร 6. สำหรับการอนุมัติรายการที่เกินวงเงินที่คณะกรรมการบริษัทกำหนด จะต้องเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาและอนุมัติรายการดังกล่าวตามข้อบังคับของบริษัทฯ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกำหนด 7. พิจารณาการนำสิทธิและทรัพย์สินของบริษัทฯ ไปก่อภาระผูกพันใดกับบุคคล บริษัท ห้างร้าน หรือ สถาบันการเงิน เพื่อนำเสนอคณะกรรมการบริหารอนุมัติ 8. พิจารณาผลกำไรและขาดทุนของบริษทั ฯ การเสนอจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลหรือเงินปันผลประจำปี เพื่อนำเสนอคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ 9. ดำเนินการใดๆ เพือ่ สนับสนุนการดำเนินงานของบริษทั ฯ ตามการให้อำนาจจากคณะกรรมการบริษทั ซึ่งอยู่ภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษัท

! !

!5555 สารบัญ


3. คณะกรรมการตรวจสอบ คุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

1. ถือหุ้นไม่เกิน 1% ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่ ว ม ผู้ ถือ หุ้ น รายใหญ่ หรือ ผู้ มีอ ำนาจควบคุม ของบริษัท ฯ โดยให้ นับ รวมหุ้ น ที่ถือ โดยผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (บุคคลตามมาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์)

!

2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับ เงินเดือนประจำ หรือเป็นผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้น จากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ ลักษณะ ต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของส่วนราชการ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ

!

3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย

!

4. ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ ของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำนาจควบคุมของผู้มีความสัมพันธ์ทาง ธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุม ของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง

!

5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ สำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี

!

!5566 สารบัญ


! 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ ปรึกษาทางการเงินซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี

!

7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่

!

8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือ บริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหาร ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับ กิจการของบริษัทฯ หรือ บริษัทย่อย

! 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯ !

10. กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตาม ข้อ 1 - 9 อาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้ ตัดสินใจในการดำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับ เดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบองค์คณะได้

!

!5577 สารบัญ


!

ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ

!

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ มีขอบเขต หน้าที่ ความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษทั ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเปิดเผยเพียงพอ โดยการประสานงาน กับผู้สอบบัญชีภายนอกและผู้บริหารที่รับผิดชอบจัดทำรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและ ประจำปี 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล 3. สอบทานการปฏิบัติของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น 5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน 6. จัด ทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ด เผยไว้ ใ นรายงานประจำปี ข องบริษัท ฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูล อย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ 3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องของธุรกิจของบริษัทฯ 4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบั จากการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตร 8) รายการอื่น ที่เ ห็นว่ า ผู้ ถือ หุ้ น และผู้ ล งทุน ทั่ว ไปควรทราบ ภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่แ ละ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั มอบหมายด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

!

ทั้งนี้ ในคณะกรรมการการตรวจสอบ มีนางศศิธร พงศธร เป็นกรรมการตรวจสอบที่เป็นผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์เพียงพอที่จะทำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้

!

!5588 สารบัญ


4. คณะกรรมการสรรหา และ 5. คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ขอบเขตอำนาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการสรรหาและคณะกรรมการ กำหนดค่าตอบแทน

1. พิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริษัทและเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท เพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติ

!

2. พิจารณาเสนอแนะการกำหนดค่ า ตอบแทนและผลประโยชน์ อื่น ใด โดยคำนึง ถึง หน้ า ที่แ ละ ความรับผิดชอบของประธานอำนวยการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตลอดจนพิจารณา หลักเกณฑ์และประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อกำหนดผลตอบแทนการปฏิบัติงานประจำปี

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ มีกระบวนการสรรหากรรมการโดยประธานกรรมการจะมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาช่วย ในการคัดเลือก พิจารณาบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย บริษัทมหาชนจำกัด ทั้งนี้ จะพิจารณาจากวิสัยทัศน์ คุณวุฒิพื้นฐาน ความชำนาญที่หลากหลายอันเป็น ประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจ มีคุณธรรมและจริยธรรม และจะต้องเป็นไปตามเกณฑ์คุณสมบัติตาม มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง และเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการ เพื่อคัดเลือกต่อไป

!

กรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่า งลงด้วยสาเหตุอื่นใดนอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระ คณะกรรมการ ที่เหลือสามารถเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเข้าเป็นกรรมการแทนได้ในการประชุมคณะกรรมการ คราวถัดไป โดยไม่ต้องเรียกประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อลงมติเลือกตั้ง และบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการดังกล่าว จะอยู่ในตำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทนเท่านั้น

!

กรณีตำแหน่งกรรมการว่างลง เนื่องจากครบกำหนดวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี ซึ่งกรรมการต้องพ้นจากตำแหน่งหนึ่งในสามนั้น อาจพิจารณารายชื่อบุคคลที่เหมาะสมจากบุคคลที่เป็น กรรมการเดิมที่พ้นวาระเพื่อเสนอให้ดำรงตำแหน่งต่อไป โดยที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้เลือกตั้งกรรมการ โดยใช้เสียงข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้

! 1. ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ สามัญต่อเสียงหนึง่ และหนึง่ หมืน่ หุน้ บุรมิ สิทธิตอ่ เสียงหนึง่ !

2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตามข้อ 1 เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคน เป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้

!

3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวน กรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนัน้ ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตัง้ ในลำดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงเลือกตั้ง ในครั้งนั้นให้ผู้เป็นประธาน เป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด

!

!5599 สารบัญ


ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ :

บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายค่าตอบแทนของกรรมการโดยพิจารณาจากความเหมาะสมของบทบาท ภาระหน้ า ที่ และความรับ ผิด ชอบโดยมีรูป แบบและหลัก เกณฑ์ ไ ว้ อ ย่ า งชัด เจนและโปร่ ง ใส โดยค่าตอบแทนอยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรมเดียวกัน ค่าตอบแทนของกรรมการบริหาร :

ค่าตอบแทนของกรรมการบริหารเป็นไปตามหลักการ ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับบริหารแต่ละท่าน โดยมีกระบวนการพิจารณาค่าตอบแทนที่ เหมาะสมอยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรมเดียวกัน หรือมีขนาดใกล้เคียงกัน รวมทั้งผลการประกอบการ ของบริษัทฯ และประสิทธิภาพการดำเนินงานของผู้บริหารแต่ละท่านมาประกอบการพิจารณา

การกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ในส่วนนโยบายในการบริหารงานในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมนั้น บริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งตัวแทนให้เป็น กรรมการในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เพื่อให้มีส่วนร่วมเป็นกรรมการบริหารงานของบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมนั้นๆ โดยมีส่วนในการควบคุมและกำหนดนโยบายของบริษัท ซึ่งกำหนดให้บริษัทย่อยและ บริษัทร่วมพึ่งพารายได้จากบริษัทแม่ไม่เกินร้อยละ 30 ของรายได้ของแต่ละบริษัทนั้นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ บริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าวสามารถขยายฐานลูกค้าและบริการไปยังลูกค้ากลุ่มอื่นๆ เพื่อเป็นการ เพิ่มรายได้และส่งเสริมให้บริษัทย่อยและบริษัทร่วมสามารถเติบโต และพึ่งพาตนเองได้ อีกทั้งเป็นการ กระจายความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทโดยรวมด้วย สำหรับบริษัทย่อย บุคคลที่ได้รับ แต่งตั้งจากบริษัทฯ นั้น จะต้องดูแลให้บริษัทย่อยมีการจัดเก็บข้อมูลและการบันทึกบัญชีให้บริษัทฯ สามารถตรวจสอบได้ และรวบรวมมาจัดทำงบการเงินรวมได้ทันกำหนด

การควบคุมภายใน บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่กำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติงานในการดำเนินธุรกิจอย่างเพียงพอ มีการปรับปรุง พัฒนาให้เหมาะสมกับสถานการณ์อยู่เสมอ ฝ่ายบริหารได้มีการตรวจสอบให้มีการปฏิบัติ ตามระเบียบที่กำหนดนั้นๆ เพื่อให้มั่นใจว่าระบบดังกล่าวนี้มีประสิทธิภาพ และมีการประเมินระบบการ ควบคุมภายในอย่างสม่ำเสมอ ให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงและขนาดขององค์กร โดยจัดให้มีฝ่าย ตรวจสอบภายใน ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเข้าทำการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอและรายงานผลการ ตรวจสอบต่อประธานกรรมการตรวจสอบโดยตรง

! !

!6600 สารบัญ


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ กำหนดนโยบายในการป้องกันและควบคุมผู้บริหารมิ ให้นำข้อมูลภายในองค์กรไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัว ทั้งนี้รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โดยมีนโยบายดังนี้

!

- ให้ความรู้แก่ผู้บริหารในฝ่ายต่างๆ เกี่ยวกับหน้าที่ของผู้บริหารที่ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ และบทลงโทษตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และ ตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

!

- ห้ามมิให้ผู้บริหารหรือพนักงานที่ได้รับทราบข้อมูลภายในเปิดเผยข้อมูลภายในแก่บุคคลภายนอก หรือบุคคลที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง

!

- ห้ามผู้บริหารทำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ เป็นระยะเวลา 30 วัน ก่อนเปิดเผยงบการเงิน รายไตรมาสและงบการเงินประจำปี และภายใน 24 ชั่วโมงหลังการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าว

!

- กรณีที่ผู้บริหารได้รับทราบข้อมูลภายในที่ส่งผลกระทบต่อราคาซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ต้องไม่ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ จนกว่าจะพ้นระยะเวลา 24 ชั่วโมงนับแต่ได้มีการเปิดเผย ข้อมูลนั้นสู่สาธารณะ

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์ เนชั่นแนล จำกัด ในรอบปีบัญชี 2556 เป็นจำนวนเงินรวม 2,160,000 บาท ค่าบริการอื่น

บริษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนของงานบริการอืน่ ในรอบปีบญั ชี 2556 ได้แก่ ค่าจัดสัมมนามาตราฐานการบัญชี เป็นเงินจำนวน 22,000 บาท ให้แก่บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

!

!6611 สารบัญ


ความรับผิดชอบ
 ต่อสังคม

10

! ! การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม ปิโกและแนวคิดการสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม (Creating Shared Value : CSV)

บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาองค์กรสู่การเติบโต ทางธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยตระหนักว่า การเติบโตที่ยั่งยืนจะเกิดขึ้นได้ เมื่อดำเนินธุรกิจใน สังคมและสภาพแวดล้อมที่ดีและมีคุณภาพ บริษัทฯ มีปรัชญาในการดำเนินธุรกิจ คือ “สิ่งใดที่ดีต่อสังคม สิ่งนั้นย่อมดีต่อการดำเนินธุรกิจ” ดังนั้น บริษัทฯ จึงเน้นการสร้างสรรค์ งานที่เป็นประโยชน์ตอ่ การส่งเสริมคุณภาพของสังคมผ่านธุรกิจบริการด้านต่างๆ ของบริษัทฯ มาโดยตลอด ผนวกการร่วมพัฒนาสังคม กับ นวัตกรรมสร้างสรรค์

จากปรัชญาการดำเนินธุรกิจ สู่การผนวกมิติทางสังคม (Social Dimension) เข้าไว้ใน กลยุทธ์การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ มีการดำเนินธุรกิจหลัก ได้แก่

!

1. ธุรกิจด้านการบริหารจัดการและการให้บริการในธุรกิจไมซ์ 2. ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์กิจกรรมทางการตลาดและการส่งเสริมภาพลักษณ์ 3. ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์แหล่งสื่อสารองค์ความรู้ ซึ่งรวมถึงการให้บริการด้านดิจิตอล คอนเทนท์และมีเดียและอื่นๆ

! !

!6622 สารบัญ

CSV


! ในปี 2548 บริษัทฯ ริเริ่มเสริมจุดแข็งของบริการหลักด้วยการเพิ่มองค์ความรู้หรือเนื้อหา (Content) สู่บริการของบริษัทฯ ในฐานะบริษัทที่มีเครือข่ายอยู่ทั่วโลก บริษัทฯ ดำเนินการหาแหล่งความรู้ใหม่ๆ จากรอบโลกเพื่อนำเสนอนวัตกรรมใหม่ๆ สู่สังคมไทยโดยเฉพาะธุรกิจทางด้านการสร้างสรรค์แหล่ง สื่อสารองค์ความรู้ หรือ Knowledge Communication เป็นธุรกิจที่เกิดจากความตั้งใจของบริษัทฯ ที่ต้องการสร้างประโยชน์ให้สังคมจากการดำเนินธุรกิจ ถือเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ที่บริษัทฯ มีความ เชี่ยวชาญเป็นพิเศษ คือ ด้านการสื่อสารและการทำกิจกรรมทางการตลาดโดยนำความชำนาญดังกล่าว มาผสมผสานและประยุกต์ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพและสร้าง คุณค่าต่อสังคม บริษทั ฯ มองเห็นโอกาสการเติบโตสูงของธุรกิจด้านนี้ในอนาคต เนือ่ งจากเป็นปัจจัยหลักใน การพัฒนาประเทศ และ พบว่าในการดำเนินงานต่างๆ หลายภาคส่วนได้ให้ความสำคัญในการสื่อสาร องค์ความรู้มากขึ้น

!

ทั้ง นี้ ในการเริ่มต้นธุรกิจด้านการสร้างสรรค์แหล่งสื่อสารองค์ความรู้นั้น บริษัท ฯ เริ่มต้นจาก “เรื่องของการศึกษา” เนื่องจากเป็นความต้องการของตลาดและสังคม เพราะปัญหาเรื่องคุณภาพการ ศึกษาส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนในสังคมรวมทั้งภาคเอกชน ผลผลิตของระบบการศึกษา ก็คือ คุณภาพของพนักงานและคุณภาพของสังคมไทยในอนาคต

!

จากที่บริษัทฯ ได้ทำการศึกษาผลวิจัยด้านการศึกษาจากหน่วยงานต่างๆ พบว่า ผลการศึกษาจาก การจั ด อั น ดั บ ความสามารถในการแข่ ง ขั น ด้ า นการศึ ก ษาโดยสถาบั น การจั ด การนานาชาติ (International Institute for Management Development : IMD) ในปี 2554 แสดงว่า ไทยอยูใ่ นอันดับที่ 51 จาก 59 ประเทศทัว่ โลก จากเดิมทีเ่ คยอยูใ่ นอันดับ 46 จาก 55 ประเทศเมือ่ ปี 2550 ในฐานะภาคธุรกิจ บริษัทฯ จึงตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา

!

เมื่อเปรียบเทียบกับนานาชาติ จากการทดสอบระดับนานาชาติอย่าง PISA1 ของ OECD ปี 2552 ซึ่ง เป็นการประเมินผลครั้งที่ 4 จาก 65 ประเทศ พบว่า การอ่าน นักเรียนไทยมีคะแนนเฉลี่ย 421 คะแนน อยู่ในตำแหน่งที่ 47-51 คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย 419 คะแนน อยู่ในตำแหน่งที่ 48-52 และ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย 425 คะแนน อยู่ในตำแหน่งที่ 47-49 ในขณะที่เซี่ยงไฮ้ และสิงค์โปร์อยู่ใน อันดับต้นๆ ของการทดสอบและมีคะแนนเฉลี่ยของประเทศสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยรวมมาก ประเทศชิลี ซึ่ง เคยมีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าไทยทั้งในเรื่องความสามารถในการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ กลับมีพัฒนาการที่ก้าวกระโดด ด้วยความตระหนักในความสำคัญและเห็นโอกาสในการดำเนินธุรกิจที่ ร่วมสร้างคุณค่าแก่สังคมในเรื่องการศึกษา บริษัทฯ จึงเริ่มต้นจากงานวิจัยและค้นคว้าหาองค์ความรู้ที่ เกี่ยวข้องโดยฝ่ายงานที่เรียกว่า Knowledge Communication

! !

1`

PISA มาจากคำว่า Programme for International Student Assessment คือ โครงการประเมินผลนักเรียนในระดับนานาชาติของประเทศ สมาชิกองค์กรเพื่อความร่วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งดำเนินการโดย OECD (Organization for Economic Co-operation and Development)

!6633 สารบัญ


! จากการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลแนวคิดและแนวปฏิบัติเพื่อพัฒนาการศึกษาของแต่ละประเทศ พบว่า ปัญหาทางการศึกษาเป็นปัญหาที่เป็นสากล ซึ่งหมายความว่า หลายประเทศทั่วโลกก็เผชิญวิกฤตการณ์ เรื่องนี้เช่นกัน ในระบบการศึกษาหลายเรื่องที่เราสามารถเรียนรู้จากแนวปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จแล้ว ได้ครูบางคนสร้างให้เราเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ และเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ในห้องเรียนของ พวกเขาครูใหญ่ หรือ ผู้บริหารโรงเรียนที่มีภาวะผู้นำ แสดงให้เราเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ อย่างยั่งยืนและต่อเนื่องในโรงเรียนของพวกเขาจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง บริษัทฯ เล็งเห็น การเปลี่ยนแปลงที่มีความหมายท่ามกลางระบบการศึกษาที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งก็ได้รับการพิสูจน์ทั้งจากงาน วิจัยของ McKinsey (2007) ในเรื่อง How the World’s best performing school systems come out on top และ ตัวอย่างที่ประเทศที่ประสบความสำเร็จทางการศึกษาอย่างสิงค์โปร์ ว่าสิ่งที่มีความสำคัญใน ระบบการศึกษา คือ “การพัฒนาวิชาชีพครู”

!

ดังนั้น ในฐานะภาคธุรกิจที่ต้องการสร้างคุณค่าร่วมกับสังคมในเรื่องการศึกษา บริษัทฯ ได้กำหนดจุดยืน ของบริษัทฯ ในการร่วมพัฒนาการศึกษาเป็น Knowledge Communication Agent หรือผู้ส่งต่อความรู้ ทางการศึกษาใหม่ๆ จากทั่วโลกเพื่อนำเสนอนวัตกรรมสู่สังคมไทย ทั้งนี้ มีจุดหลักที่มุ่งเน้น คือ “เรื่องการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง (Continuous Teacher Professional Development) ซึ่งเป็น ห่วงโซ่ที่สำคัญที่สุดของระบบการศึกษา”

!

ด้วยแนวคิดที่บริษัทฯ เริ่มดำเนินธุรกิจในแนวทางนี้ ต่อมาการดำเนินงานลักษณะดังกล่าวไปสอดคล้อง กับแนวคิดในการดำเนินธุรกิจที่เรียกว่า “การสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม” หรือ “Creating Shared Value” ที่ศาสตราจารย์ ไมเคิล อี พอตเตอร์เป็นผู้นำเสนอแนวคิดนี้ในปี 2554 โดยได้อธิบายความสำคัญของ การดำเนินธุรกิจแบบสร้างคุณค่าร่วมกับสังคมว่าเป็นแนวทางการดำเนินธุรกิจที่นำไปสู่การเติบโตอย่าง ยั่งยืนในอนาคต

! !

!6644 สารบัญ


! นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรม นวัตกรรม บริการ และกิจกรรมทางด้านการศึกษาที่มุ่งสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม

นวัตกรรม บริการ และกิจกรรมสำคัญที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานโดยมุ่งสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม (Creating Shared Value) ทางด้านการศึกษาของบริษัทฯ ถูกกำหนดไว้ในกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจ โดย แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ กิจกรรมหลักที่เป็นธุรกิจของบริษัทฯ และ กิจกรรมส่งเสริมคุณค่าร่วม ทางการศึกษาแก่สังคม มีรายละเอียดดังนี้

1. กิจกรรมหลักของบริษัทฯ

EDUCA มหกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู “นวัตกรรมความร่วมมือระหว่างรัฐ และ เอกชนเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง” !

EDUCA เป็นส่วนหนึ่งของงานด้านการสร้างสรรค์แหล่งสื่อสารองค์ความรู้ที่บริษัทฯ ริเริ่มขึ้นตั้งแต่ ปี 2550 งาน EDUCA มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง และได้รับการตอบรับจากครูทั่วประเทศเป็นอย่างดี ตลอด 7 ปีที่ผ่านมา EDUCA เติบโตอย่างเข้มแข็งและ เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความยั่งยืนเพื่อพัฒนา วิชาชีพครูไทยอย่างต่อเนื่องมีจำนวนครูผู้เข้าชมงาน และได้รับการสนับสนุนและร่วมมืออย่างดีจาก ภาครัฐและภาคเอกชนเพิ่มขึ้นทุกปี ดำเนินการภายใต้โมเดลความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public and Private Partnership)

!

ในปี 2556 ซึ่งเป็นการจัดงานครั้งที่ 6 ภายใต้แนวคิด Strong Performer and Successful Reformer มี ยอดครูที่เข้าร่วมงานจากทั่วประเทศสูงกว่า 50,000 คน และมีครูมากกว่า 200,000 คน ได้ลงทะเบียน เป็นสมาชิกในเครือข่ายของ EDUCA ซึ่งแสดงให้เห็นว่างาน EDUCA เป็นงานที่ได้รับการยอมรับจาก ครูและนักการศึกษาทั่วประเทศ ในฐานะแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพของครูไทย ที่ครูสามารถเรียนรู้ และแบ่งปันประสบการณ์ทั้งเรื่องเทคนิคการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่สนับสนุนการเรียน การสอน และความเคลื่อนไหวในวงการศึกษาโลกได้ในงานเดียว

!

EDUCA มีความโดดเด่นเนื่องจากเป็นมหกรรมการศึกษาที่มุ่งเน้นความสำคัญของ “ครู” และ “การพัฒนาวิชาชีพครู” โดยมีกิจกรรมที่ตอบสนองทุกความต้องการในการพัฒนาวิชาชีพครู ซึ่งครู สามารถเลือกเข้ารับการพัฒนาได้ตามความสนใจกิจกรรมในงานประกอบด้วย

! 1. 2. 3. 4.

! !

การประชุมนานาชาติจากผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษาระดับโลก การเสวนาผู้บริหารสถานศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับครูจำนวนมากกว่า 200 หัวข้อ และ การจัดแสดงนิทรรศการ สินค้า นวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยีทางการศึกษา

!6655 สารบัญ


! ทั้งนี้ การอบรมเชิงปฏิบัติการทั้งหมดไม่มีค่าใช้จ่าย เนื่องจากใช้โมเดลสนับสนุนและร่วมมือจากภาครัฐ และ ภาคเอกชนที่จะเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายสำหรับให้แก่ครูทุกคนเข้าร่วมการพัฒนาตนเอง โดย บริษัทฯ มีรายได้จากการจัดประชุมนานาชาติ และขายพื้นที่การจัดแสดงสินค้า บริษัทฯ มุ่งมั่นพัฒนา งาน EDUCA ต่อไป และยินดีต้อนรับหน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนที่จะมาช่วยสนับสนุนให้ EDUCA ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง เพราะเป้าหมายของ EDUCA คือ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แก่ ครูไทยทั้งประเทศ

Teachers as Learners ดิจิตอลมีเดียเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครู !

ปี 2553 - 2555 บริษัทฯ ในฐานะผู้ดำเนินการผลิตและเผยแพร่รายการตลอดระยะเวลา 3 ปีของ โครงการโทรทัศน์ ได้รุดหน้าพัฒนาความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่ได้เป็นส่วนการให้บริการด้าน ดิจติ อลคอนเทนต์และมีเดีย (Digital Content and Media) ซึง่ เป็นบริการใหม่ของบริษทั ฯ โดยสร้างสรรค์ “นวัตกรรมรายการโทรทัศน์เพื่อการพัฒนาวิชาชีพครู”

!

ทั้งนี้ รายการที่บริษัทฯ ได้นำเสนอและเผยแพร่ไปนั้นยังได้รับการยอมรับจากครูและนักการศึกษาทั้งใน เรื่องของคุณภาพเนื้อหาและรูปแบบรายการ รวมถึงความสามารถในการเข้าถึงครูไทยทั่วประเทศด้วย โดยมีสมาชิกโครงการโทรทัศน์ครูกว่า 200,000 คน มีโรงเรียนต้นแบบในการนำไปใช้ประโยชน์ 619 โรง และมหาวิทยาลัย 71 แห่งใช้โทรทัศน์ครูผ่านการสนับสนุนของแม่ข่าย 9 แห่ง ความโดดเด่น ของนวัตกรรมรายการโทรทัศน์ครูได้แก่

! 1. 2. 3. 4. 5. 6.

!

นำเสนอแบบปฏิบัติการสอนที่ดีจากทั่วไทย และทั่วโลก ในรูปแบบรายการโทรทัศน์คุณภาพสูง มีรายการกว่า 3,500 ตอนครอบคลุมทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ ทุกระดับ และทุกบทบาททางการศึกษา สร้างแรงบันดาลใจ เพื่อปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน เติมสิ่งที่ครูขาดและต้องการ ด้วยรูปแบบรายการที่ทั้งตอบโจทย์ความต้องการ และตอบใจครู พัฒนาครูอย่างได้ผลจากเห็นแนวปฏิบัติจากต้นแบบและ มีช่องทางการรับชมที่หลากหลาย

ด้วยศักยภาพความเชี่ยวชาญในด้านดิจิตอลมีเดีย และประสบการณ์จากโครงการโทรทัศน์ครูดังกล่าว นำสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการศึกษา “Teachers as Learners” คือ นวัตกรรมสร้างสรรค์ทางการ ศึกษาในรูปของสื่อดิจิตอล (Digital Media) เพื่อส่งเสริมให้เกิดชุมชนครูผู้เรียนรู้ และการพัฒนาการ ศึกษาไทย ประกอบด้วยรายการสากลพร้อมคำอธิบายในการประยุกต์ และรายการไทย ซึ่งทุกรายการมี องค์ความรู้ทางการศึกษาและ การปฏิบัติการสอนที่ดีซึ่งผู้ชมสามารถรับชมรายการ และ ร่วมสร้าง ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู ได้ทาง YouTube, Facebook และ Application และเริ่มเผยแพร่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 โดยมีแผนการดำเนินธุรกิจภายใต้โมเดลความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาค เอกชน (Public and Private Partnership) เช่นเดียวกับงาน EDUCA

! !

!6666 สารบัญ


! 2. กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณค่าร่วมทางการศึกษาแก่สังคม

Thailand K-12 Education System: Progress & Failure การสนับสนุนการจัดทำงานวิจัยระบบการศึกษาไทยตั้งแต่ปฐมวัย ถึงมัธยมปลาย : ความก้าวหน้าและความล้มเหลว !

ตั้งแต่ปี 2553 - 2555 บริษัทฯ สนับสนุนการจัดทำงานวิจัย “ระบบการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยถึงมัธยม ปลาย : ความก้าวหน้า และความล้มเหลว” ซึ่งจัดทำโดย ดร.สุธรรม วาณิชเสนี นักวิจัยที่มีความ เชี่ยวชาญเรื่องแนวคิดเชิงระบบและคณะ และเริ่มเผยแพร่เมื่อปี 2555 นำเสนอแก่ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการ ศึกษาหลายกลุ่ม รับฟังข้อเสนอแนะและเพิ่มเติมจนเนื้อหาสมบูรณ์ ผลวิจัยดังกล่าว

!

1. แสดงให้เห็นวิกฤตการณ์ทางด้านการศึกษาของไทย 2. นำเสนอองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของตัวแปรทางการศึกษาทั้งหมดของระบบการศึกษา 3. ฉายภาพให้เห็นความเข้าใจอย่างลึกซึ้งของระบบ และความเป็นมาที่ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ทาง ศึกษาในปัจจุบัน

!

งานวิจัยดังกล่าวนับเป็นครั้งแรกที่ทำให้สังคมได้ตระหนัก ความสำคัญของการคิดเชิงระบบต่อปัญหา การศึกษาไทย ซึ่งบริษัทฯ ในฐานะ Knowledge Communication ส่งต่อความรู้เรื่องนี้สู่ผู้เกี่ยวข้องระดับ นโยบาย และสาธารณชนเพื่อมุ่งหวังการขับเคลื่อนเพื่อแก้ไขและพัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระบบ ผลกระทบจากงานดังกล่าว คือ

!

1. ผลการศึกษาถูกนำเสนอสู่กลุ่มนักการศึกษา ผู้ตัดสินใจเชิงนโยบาย คณาจารย์ครุศึกษา สื่อมวลชน และผู้เกี่ยวข้อง 2. งานวิจัยได้กลายเป็นแหล่งอ้างอิงสำหรับการประชุมระดับนโยบายในหลายเวที 3. สร้างประเด็นความสนใจและความเข้าใจแก่สังคมในเรื่องการศึกษาปัญหาการศึกษาไทยด้วยแนวคิด เชิงระบบ

! !

!6677 สารบัญ


การสร้างสรรค์หนังสือฉะเชิงเทราโมเดล รอยต่อที่สูญหายของการศึกษาไทย !

ปี 2554 เริ่มต้นจากวิทยานิพนธ์เรื่อง “การวิเคราะห์โครงการปรับปรุงส่งเสริมการศึกษาฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2494 - 2502” ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาณี พันธุ์เมือง เป็นจุดตั้งต้นของการค้นคว้าข้อมูลด้วย ความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน และ บริษัทฯ ร่วมกัน สร้างสรรค์หนังสือ “ฉะเชิงเทราโมเดล รอยต่อที่สูญหายของการศึกษาไทย” หนังสือสารคดีเล่าเรื่องผ่าน ปลายปากกาของนักเขียนสารคดีมืออาชีพนำเสนอสู่สาธารณชนผู้สนใจการศึกษา

!

“ฉะเชิงเทราโมเดล รอยต่อที่สูญหายในวงการศึกษาไทย” เป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ทางการศึกษา ในอดีต เพื่อจุดประกายให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันในเรื่องการศึกษาของชาติ “โครงการฉะเชิงเทรา” แสดง ให้เห็นการแสวงหาความรู้สากลเพื่อทดลองพัฒนาการจัดการศึกษาระดับจังหวัดในยุคหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 จากจุดเริ่มต้น แนวคิดโครงการแสดงปรัชญาการเรียนการสอนและการศึกษาไทย หลายเรื่องที่ เป็นเรื่องล้ำสมัยเมื่อ 60 กว่าปีก่อน และยังคงใช้ประโยชน์ ได้ตราบถึงปัจจุบัน อานิสงส์แห่งการ เปลี่ยนแปลงของโครงการดังกล่าวถูกเล่าเรื่องอย่างมีสีสันผ่านชีวิตของผู้คนลุ่มน้ำบางปะกง ที่เป็น ผลิตผลของโครงการ หนังสือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อสื่อสารองค์ความรู้ด้านการศึกษาแก่ผู้อ่านทั้งที่ เป็นนักการศึกษาและไม่ใช่นักการศึกษา

!

บริษัทฯ มีความมุ่งหวังให้สาระเนื้อหาจากหนังสือเป็นเรื่องราวนำมาเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อต่อยอดความรู้ ให้เกิดแนวคิดในการพัฒนาการศึกษาของชาติต่อไปได้ผลกระทบจากกิจกรรมดังกล่าว คือ

!

1. สร้างความตระหนักในโครงการพัฒนาการศึกษา ฉะเชิงเทราโมเดล ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกือบจะ สูญหายแล้วในประวัติศาสตร์การศึกษาไทย 2. ฟื้นคืนองค์ความรู้และแนวปฏิบัติบางเรื่องที่ยังคงเป็นแนวคิดที่ทันสมัยและมีประโยชน์ต่อการจัดการ ศึกษาในปัจจุบัน 3. สร้างความสนใจและประเด็นอภิปรายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในอดีตและปัจจุบันกับกลุ่มผู้สนใจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสื่อมวลชนสายการศึกษา 4. ได้หนังสือที่เป็นแหล่งอ้างอิงเกี่ยวกับประวัติการศึกษาไทยเพิ่มเติมสำหรับโรงเรียน ครุศึกษาและ สถาบันทางการศึกษา

! !

!6688 สารบัญ


! โครงการพัฒนาศักยภาพครูพี่เลี้ยงสำหรับครุศึกษา !

“นำองค์ความรู้ในการสร้างและบ่มเพาะนิสิตครูจากแบบปฏิบัติที่ดีของโลก (ประเทศฟินแลนด์) สู่วงการครุศึกษาในประเทศไทย”

ปี 2554 บริษัทฯ ในฐานะ Knowledge Communication Agent ด้วยความตระหนักในความสำคัญของ สถาบันอุดมศึกษาที่เป็นผู้สร้างและบ่มเพาะครูไทย บริษัทฯ ประสานให้เกิดความร่วมมือระหว่างคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ (ประสานมิตร)โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ (ประสานมิตร) (ฝ่ายมัธยม) และโรงเรียนสาธิตวิกกิ แห่งมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เพื่อ พัฒนาสร้างหลักสูตรพัฒนาครูพี่เลี้ยงโดยเชิญ ศ.ดร.เจอร์กี ลอยม่า หนึ่งในวิทยากรสำคัญ (Keynote Speaker)ของงาน EDUCA 2011 ในฐานะครู ใหญ่โรงเรียนสาธิตวิกกิ แห่งมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ และคณะ มาร่วมให้คำแนะนำปรึกษาในการพัฒนา “หลักสูตรพัฒนาศักยภาพครูพี่เลี้ยง” โดยมีบริษัทฯ เป็นผู้ประสานงานเชื่อมโยงนักการศึกษาชั้นนำระดับโลก สู่วงการครุศึกษาของประเทศ

!

ผลกระทบของโครงการดังกล่าว ทำให้วงการครุศึกษาเริ่มตื่นตัวในการให้ความสำคัญกับการพัฒนา เรื่องครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนสาธิตมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีความสำคัญในการเป็นสถานที่บ่มเพาะและฝึก ประสบการณ์ของนิสิตครู และเป็นแนวคิดที่ทางสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง ศึกษาธิการ นำไปใช้ในการพัฒนาโครงการเกี่ยวกับ Mentoring and Coaching โรงเรียนทั่วประเทศ

! !

!6699 สารบัญ


! ศึกษาฟอรั่ม Suksa Forum “จากผลวิจัย Thailand K-12 EducationSystem: Progress and Failure สนับสนุนให้เกิด การพูดคุยของกลุ่มผู้นำความคิดและผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เรียกว่า ศึกษาฟอรั่ม”

!

ปี 2556 ภายหลังจากงานวิจัยเรื่องThailand K-12 Education System: Progress and Failure เผยแพร่สู่กลุ่มผู้เกี่ยวข้องทางการศึกษา และ สาธารณชนผู้ใส่ใจในการศึกษาบางส่วนแล้ว บริษัทฯ ได้ สนับสนุนให้เกิดการเสวนาพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องนี้กว้างขวางขึ้นเพื่อประโยชน์ ในการขับเคลื่อนการศึกษา ในเดือนพฤษภาคม 2556 บริษัทฯ สนับสนุนให้เกิดการพูดคุยของกลุ่มผู้นำความคิดทางการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาร่วมการเสวนาดังกล่าว ภายใต้จุดมุ่งหมาย “ร่วมกัน เปลี่ยนแปลง และสร้างสรรค์ ระบบการศึกษาไทยเพื่ออนาคตของชาติ” จวบจนปัจจุบัน เวที ศึกษาฟอรั่มเกิดขึ้น 2 ครั้งแล้ว

!

ครั้งแรกในชื่อ “ศึกษาเสวนา ปฐมฤกษ์” เมื่อวันศุกร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 และ “ศึกษาฟอรั่ม ครั้งที่ 2” “The Way Forward” เมื่อวันศุกร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556 และศึกษาฟอรั่มจะดำเนินต่อไป อย่างต่อเนื่อง ด้วยจุดมุ่งหมายที่มั่นคง เพื่อสร้างการสื่อสารเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติ

! ผลกระทบของกิจกรรมการเสวนาดังกล่าว ได้แก่ !

1. สร้างความตระหนักแก่สังคมในประเด็นสำคัญของปัญหาทางการศึกษาโดยใช้กรอบแนวคิดเชิงระบบ (เป็นกรอบร่วมกันในการมองปัญหา) และส่งต่อความรู้นี้สู่สังคมโดยเชิญสื่อมวลชนเข้าร่วมรับฟัง และถ่ายทอดแนวคิดจากการเสวนาสู่สาธารณชน

!

2. ได้สรุปประเด็นสำคัญที่เกิดขึ้นจากการเสวนาโดยผู้ทรงคุณวุฒิในรูปแบบรายงาน วิดีโอ เพื่อนำเสนอ สู่ ก ลุ่ ม ผู้ เ กี่ย วข้ อ ง และสาธารณชนเพื่อสร้างแรงผลักดันในการแก้ไขปัญหาเชิงระบบต่อไป ด้วยความเชื่อมั่นว่าจากปัญญาร่วมของผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลาย จะสร้างแรงขับเคลื่อนและร่วมกัน วิวัฒนระบบการศึกษาไทยในอนาคตไปในทิศทางที่ดีขึ้น

! !

!7700 สารบัญ


! การสนับสนุนโครงการพัฒนาภาวะผูน้ ำของนักการครุศกึ ษา ! “ประสานความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครุศึกษาของไทย”

บริษัทฯ มีส่วนสนับสนุนในเรื่องค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และประสานให้เกิดความร่วมมือกับวิทยากร จากต่างประเทศ ในกิจกรรมที่เน้นการพัฒนภาวะผู้นำของนักการศึกษา ผู้บริหารครุศึกษา เพื่อผลักดัน ให้เป็นผู้บริหารเหล่านี้เป็นทรัพยากรสำคัญ ซึ่งหมายถึง มันสมองในการร่วมพัฒนาการศึกษาของชาติ ต่อไป ซึ่งได้แก่การสนับสนุน

!

โครงการพัฒนาภาวะผู้นำของนักการครุศึกษาเรื่อง “ครุศึกษาเพื่ออนาคต” Teacher education for the future - Teacher Educators Leadership Program เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2556 โดย คณะ ครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสมาคมการศึกษาเปรียบเทียบและการศึกษานานาชาติแห่ง ประเทศไทย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผบู้ ริหารสถาบันครุศกึ ษาและผูท้ มี่ แี นวโน้มมาดำรงตำแหน่งดังกล่าวได้

!

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาครุศึกษาในมุมมองมหภาคและในระดับสากล 2. มีวิสัยทัศน์อันเป็นพลวัตประกอบด้วยภาวะผู้นำที่สามารถทำให้การครุศึกษาบรรลุเป้าหมายทั้งด้าน วิชาการและด้านบทบาทอื่นในสังคม 3. มีความเป็นมืออาชีพในการบริหารสถาบันครุศึกษาให้มีประสิทธิภาพเทียบเท่ามาตรฐานของสถาบัน ครุศึกษาระดับสากล

!

โดยมีวิทยากร คือ ศาสตราจารย์ดร.ฮันเนเล นีเอมี สาขาการศึกษาคณะพฤติกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัย เฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ ปัจจุบนั ดำรงตำแหน่งประธานเครือข่ายโครงการความร่วมมือวิจยั การเรียนรู้ (CICERO Learning Network) และ เป็นหนึ่งในวิทยากรสำคัญของ EDUCA 2012

!

และในเดือนกันยายน 2556 คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ และ โรงเรียนสาธิตแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดให้มี โครงการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ขึ้นโดยความร่วมมือกับวิทยากรจากประเทศฟินแลนด์ คือ ศ.ดร.เจอร์กี ลอยม่า หนึ่งใน วิทยากรสำคัญของงาน EDUCA 2011 ขึ้นอีกครั้ง

! !

!7711 สารบัญ


7KH 1DWLRQ

6HFWLRQ )LUVW 6HFWLRQ ('8&$7,21 'DWH 0RQGD\ -XQH 9ROXPH 1R 3DJH $ 5LJKW

&OLS )XOO &RORU +HDGOLQH 7($&+(5 75$,1(56 .(< 72 6&+22/6 68&&(66 )LQQLVK H[SHUW

1HZV ,' &

3DJH

การสนับสนุนโครงการพัฒนาการบรรยายสาธารณะ เรือ่ ง ภาวะผูน้ ำของนักการครุศกึ ษาและนโยบายการศึกษาของชาติ “โดยความร่วมมือกับครุศาสตร์ จุฬาฯ สรรสร้างเวที นำความรู้เรื่องการพัฒนาครุศึกษา สู่สาธารณชน” !

ในโอกาสที่ ศาสตราจารย์ ดร.ฮันเนเล นีเอมี มาเป็นวิทยากรในโครงการพัฒนาภาวะผู้นำของ นักการครุศึกษาโครงการพัฒนาภาวะผู้นำของนักการครุศึกษา ของคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย บริษัทฯ ร่วมกับเจ้าภาพจัดการบรรยายสาธารณะ เรื่อง Teacher Educators Leadership and National Education Policy เพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้บริหารและคณาจารย์ ในสถาบันครุศึกษา นักการศึกษา ตลอดจนผู้สนใจทั่วไปได้รับความรู้และประสบการณ์การจัดการครุศึกษาในฟินแลนด์ ซึ่ง เป็นประเทศที่ได้รับการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับแนวหน้าของโลก และเป็นประเทศ ต้นแบบในการผลิตบัณฑิตครูคุณภาพสูง ที่สามารถนำพาการศึกษาของชาติจนประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างโอกาสให้สื่อมวลชน และสาธารณชนได้รับองค์ความรู้จากวิทยากรท่านนี้เพิ่มเติมด้วย นับเป็นการต่อยอดและสื่อสารองค์ความรู้ทางการศึกษาสู่สังคม

!

ตลอดระยะเวลากว่า 7 ปีที่ผ่านมาและด้วยความมุ่งมั่นเพื่อร่วมสร้างคุณค่าร่วมสู่สังคมในเรื่องการศึกษา บริษัท ฯ ยังคงดำเนินกิจการด้วยแนวทางดังกล่าวด้วยความเชื่อมั่น และเล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจ ที่ผลิดอกออกผลเป็นทั้งความสำเร็จในเชิงกลยุทธ์เพื่อสร้างศักยภาพการแข่งขันที่เหนือกว่าให้กับธุรกิจ และสร้างคุณค่าแก่สังคมในเรื่องการศึกษาที่ยั่งยืน เพราะในขณะที่บริษัทฯ สื่อสารองค์ความรู้ทางการ ศึกษาสู่สังคม บริษัทฯ ก็ได้รับประโยชน์จากแนวคิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการ ศึกษารูปแบบใหม่ที่ตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายอย่างสม่ำเสมอ ขณะเดียวกันสังคม สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้องก็ได้รับประโยชน์โดยตรงจากการองค์ความรู้ที่บริษัทฯ ในฐานะ Knowledge Communication Agent สรรหาและเชื่อมโยงแก่กลุ่มเป้าหมาย อันจะเป็นประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนใน การผลักดันและพัฒนาการศึกษาของชาติต่อไป ในอนาคตบริษัทฯ ยังเล็งเห็นโอกาสที่จะขยายการสร้าง คุณค่าร่วมแก่สงั คมในประเด็นอืน่ ๆ อีก ซึง่ สอดคล้องกับปรัชญาในการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ เสมอมา

! !

!7722 สารบัญ


การจัดการสิ่งแวดล้อม นโยบายทางด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ นั้น เป็นนโยบายกลางของทางปิโก กรุ๊ป ซึ่งเน้นเรื่อง 3R ได้แก่ Reduce, Reuse, และ Recycle ซึ่งทางบริษัทฯ ได้นำมาตรการ 3R มาใช้ในการดำเนินงานใน เรื่องต่างๆ ของบริษัทฯ ดังนี้ REDUCE: การลดการใช้ทรัพยากร

1. โครงการ “Think before you print” เพื่อรณรงค์การลดการใช้กระดาษ โดยเน้นการลดปริมาณการ พิมพ์ Email และข้อมูลต่างๆ ที่ส่งผ่านทาง Email โดยพนักงานจะมีโลโก้ Pico Eco พร้อม ข้อความ “Think before you print” ใน E-Signature ของพนักงาน

!

นอกจากนี้ เพื่อเป็นการสนับสนุนโครงการดังกล่าว ทางบริษัทฯ ได้เปลี่ยนมาใช้เครื่องพิมพ์ (Printer) ที่ สามารถตั้งคำสั่งได้ว่าหลังจากได้รับคำสั่งพิมพ์งานแล้ว ให้รอจนกว่าผู้สั่งพิมพ์จะมาที่เครื่องและกดรหัส เพื่อให้เครื่องพิมพ์ทำงาน โดยหากไม่มีคนมากดรหัส เครื่องก็จะไม่พิมพ์เอกสารดังกล่าว ซึ่งการตั้งค่า คำสั่งเครื่องพิมพ์ลักษณะนี้ ถือว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจมาก เนื่องจากสามารถลดปริมาณเอกสารที่พิมพ์ โดยไม่ตั้งใจ หรือเอกสารที่สั่งพิมพ์แล้วลืมเดินไปหยิบ ได้อย่างดีเยี่ยม โดยปริมาณเอกสารที่เหลือคา เครื่ อ งพิ ม พ์ แ ละไม่ ไ ด้ น ำไปใช้ ง านลดลงอย่ า งมาก ถื อ เป็ น การประหยั ด การใช้ ป ระดาษอย่ า งมี ประสิทธิภาพ

!

2. การส่งเสริมการส่งมอบรายงานแก่ลูกค้า ในรูปแบบ CD (Soft file) เพื่อลดการใช้กระดาษและการ ใช้ทรัพยากรอื่นๆ ซึ่งได้เริ่มใช้สำหรับการส่งมอบงานแก่ลูกค้ารายใหญ่บางรายแล้ว

!

3. การส่งเสริมการลดการใช้พลังงานในสำนักงาน โดยรณรงค์เรื่องการประหยัดพลังงาน โดยการ รณรงค์ดังกล่าวเป็นเสมือนการสร้างจิตสำนึกแก่พนักงานในระยะยาว โดยต้องอาศัยความร่วมมือ จากพนักงานทุกฝ่ายทุกคน

!

4. การรณรงค์ให้พนักงานลดปริมาณขยะ และการใช้น้ำอย่างสิ้นเปลือง โดยเริ่มจากการส่งเสริมการลด การใช้แก้วกระดาษ ในร้านกาแฟของบริษัท โดยหากพนักงานนำภาชนะหรือแก้วของตนเองมา จะ ได้ลดราคาเครื่องดื่ม ซึ่งทำให้ปริมาณขยะจากแก้วกระดาษในสำนักงานลดลง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มีจุดบริการน้ำดื่มสำหรับพนักงาน เพื่อให้พนักงานกดเติมน้ำตามความต้องการ ซึ่งเป็นการลด ปริมาณขวดพลาสติก และน้ำที่เหลือทิ้งจากการใช้เหยือกน้ำ

! !

!7733 สารบัญ


! REUSE: การนำทรัพยากรมาใช้ซ้ำ

1. การเน้นการใช้โครงสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆ ในการสร้างสรรค์งานให้ลูกค้า ที่ สามารถใช้ซ้ำได้ เช่น การให้บริการ Pico Dome โดมขนาดใหญ่สำเร็จรูป ที่นอกจากจะสามารถ สร้างสรรค์พื้นที่การจัดงานของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว การใช้โดมลักษณะนี้ ยังเป็นการ ประหยัดในเรือ่ งการขนส่ง ลดการก่อสร้าง และลดปริมาณขยะทีเ่ กิดจากการก่อสร้างและรือ้ ถอนด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความสำคัญกับการเสนอแนะและแนะนำให้ลูกค้า เน้นการใช้งาน โครงสร้าง และอุปกรณ์ตกแต่งงานทีส่ ามารถใช้ซำ้ ได้ เพือ่ ลดต้นทุนทัง้ ในส่วนของบริษทั และของลูกค้า

!

2. โครงการ “Give me a second chance” เป็นการรณรงค์การใช้กระดาษหน้าที่ 2 โดยส่งเสริมให้ พนักงานนำกระดาษที่ใช้งานเพียงหน้าเดียวนำกลับมาใช้หรือมาพิมพ์อีกครั้ง เพื่อลดปริมาณการใช้ กระดาษและลดปริมาณขยะในสำนักงานการส่งเสริมเรือ่ งการใช้กระดาษสองหน้านัน้ พนักงานส่วนใหญ่ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี โดยเฉพาะฝ่ายที่จำเป็นต้องใช้กระดาษในการทำงาน เช่น ฝ่ายบัญชีและ การเงิน และเลขาทีม ซึ่งจะมีการแยกกระดาษที่ใช้หน้าเดียวไว้ในบริเวณเครื่องพิมพ์เอกสาร เพื่อให้ พนักงานเลือกใช้กระดาษดังกล่าวก่อน ความร่วมมือดังกล่าว ส่งผลให้ปริมาณการใช้กระดาษของ สำนักงานลดลง

!

3. การบริจาควัสดุต่างๆ จากการสร้างสรรค์งานให้ลูกค้า ไปให้หน่วยงานที่ต้องการ เพื่อลดปริมาณ ขยะการให้เกิดการใช้งานทรัพยากรอย่างคุ้มค่าที่สุด ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้มีการบริจาคข้าวสารที่ใช้ เป็นของตกแต่งในพื้นที่จัดงานให้สถานสงเคราะห์สุนัข และยังมีการบริจาควัสดุประเภทไม้ไผ่ที่ใช้ใน การตกแต่งงานให้มูลนิธิเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นต่อ เช่น การสร้างฝายกั้นน้ำ ทั้งนี้ นโยบาย ดังกล่าวเป็นการรณรงค์ในองค์กรเท่านั้น ซึ่งความสำเร็จของการดำเนินนโยบาย ต้องอาศัยความ เห็นชอบร่วมกันกับลูกค้าด้วย Recycle: การแปรรูปทรัพยากรเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่

!

การนำขยะของสำนักงานไปรีไซเคิล โดยปัจจุบัน จะมีการแยกขยะเป็น 3 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ 1. ขยะที่นำไป Recycle ได้ เช่น ขวดแก้ว พลาสติก กล่องลัง และเอกสารที่ย่อยทำลาย 2. กระดาษที่ใช้ทั้งสองหน้าแล้วและไม่มีข้อมูลที่เป็นความลับของบริษัท และ 3. ขยะทั่วไป

!

โดยสำหรับขยะในกลุ่มแรก บริษัทฯ จะขายต่อให้ผู้รับเหมาขยะไปแปรรูปต่อไป ส่วนขยะในกลุ่มที่ 2 บริษัทฯ จะรวบรวมไว้เพื่อส่งมอบต่อให้หน่วยงานนำไปย่อยเพื่อให้ประโยชน์ต่างๆ ต่อไป และสำหรับ ขยะทั่วไป บริษัทฯ จะนำไปทิ้งทำลายตามปกติ

! !

!7744 สารบัญ


! การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม บริษัทฯ ถือหลักการดำเนินและแข่งขันทางธุรกิจอย่างเป็นธรรม โดยบริษัทฯ มุ่งเน้นการให้บริการที่เป็น ประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจของลูกค้า และการสร้างประโยชน์ต่อสังคม และในการดำเนินธุรกิจนั้น บริษัทฯ ให้ความสำคัญกับการเคารพทรัพย์สินทางปัญญาและลิขสิทธิ์ของผู้อื่น โดยบริษัทฯ จะมีความ ระมัดระวังเรื่องการละเมิดเป็นอย่างสูง

การต่อต้านการทุจริต บริษัทฯ มีการดำเนินการอย่างเข้มงวดในเรื่องของการต่อต้านทุจริตในการทำงาน โดยได้มีการกำหนด ขั้นตอนการทำงานอย่างรอบคอบและรัดกุมเพื่อลดโอกาสในการเกิดการทุจริต รวมทั้ง ยังมีการย้ำเตือน ในเรื่องความซื่อสัตย์ในการทำงานแก่พนักงานอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ เน้นคุณสมบัติของพนักงานที่ สำคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1. Accountable โดยพนักงานต้องมีความรับผิดชอบ เป็นคนที่เชื่อถือได้ ไม่โยนภาระความรับผิดชอบ ให้ผู้อื่น 2. Integrity พนักงานต้องเป็นคนซื่อสัตย์ ปฏิบัติงานด้วยความสุจริต ไม่ทุจริตและไม่สนับสนุนการทำ ทุจริต และ 3. Dignity พนักงานต้องเคารพตนเองและให้ความเคารพผู้อื่น โดยต้องปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความเคารพ และให้เกียรติ

การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ ให้ความเคารพพนักงาน ผู้รับจ้าง และผู้ส่วนมีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจทุกคน โดย กระบวนการในการพิจารณา คัดเลือก และให้ผลตอบแทนนั้น บริษัทฯ จะให้ความสำคัญในเรื่องของ ความรู้ความสามารถในการทำงานเป็นหลัก โดยมิได้คำนึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ ส่งเสริมการสร้างรายได้ในชุมชน โดยการเปิดโอกาสให้มีการตั้งร้านขายอาหารในบริเวณโรงอาหาร ของบริษัทฯ แก่พนักงาน ซึ่งทำให้คนในชุมชนที่สนใจขายอาหารมีอาชีพ รวมทั้งยังเป็นการอำนวย ความสะดวกให้แก่พนักงานของบริษัทฯ และบริษัทข้างเคียงด้วย

! !

!7755 สารบัญ

AID


ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค การให้บริการของบริษัทฯ เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพระดับสากล โดยบริษัทฯ ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO 9001:2008 on Project Management for Event Marketing, Exhibition, Museum and Special Project ซึ่งบริษัทฯ ถือเป็นบริษัทแรกๆ ในกลุ่มธุรกิจด้านการให้บริการด้านการจัด กิจกรรมทางการตลาดและการบริการด้านการบริหารจัดการและการให้บริการในธุรกิจไมซ์ ที่ได้รับการ รับรองมาตรฐานในลักษณะนี้

!

ทั้งนี้ การได้รับการรับรองมาตรฐานดังกล่าว ถือเป็นเครื่องยืนยันถึงคุณภาพการให้บริการ ความ ปลอดภัยในการทำงาน กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การส่งมอบงานที่ตรงเวลา และการบันทึก ข้อมูลอย่างรอบคอบเป็นระบบ

การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทฯ มีนโยบายคุณภาพในการทำงาน คือ “คุณภาพคน คุณภาพงาน (Quality Work Quality Life)” โดยเชื่อว่างานที่มีคุณภาพ ต้องมาจากคนที่มีคุณภาพ ซึ่งหมายถึงคนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีการกำหนดนโยบายผลตอบแทน และสวัสดิการพนักงานอย่างเป็นธรรม และเสมอภาค

!

!7766 สารบัญ


การควบคุมภายใน
 และการบริหาร
 จัดการความเสี่ยง ! !

คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ จำนวน 3 คน โดยแต่ละคนไม่ได้เป็นพนักงานของบริษัทฯ

!

คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการสอบทานในรายงานทางการเงิน ของบริษัทฯ ให้มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ตลอดจน ปฏิบัติตามกฏหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการ ควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล โดยบริษัทฯ ได้จ้างที่ปรึกษาด้านการตรวจสอบระบบการ ควบคุมภายใน คือ นายสมโภชน์ แซ่จึง โดยสามารถดูรายละเอียดได้ใน “เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน” ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ มีความ เห็นว่า นายสมโภชน์ แซ่จึง เป็นผู้ที่มีความเหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวได้อย่างมี ประสิทธิภาพ หากมีการแต่งตั้ง ถอดถอน และโยกย้ายหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน จะ ต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ

!

ในปี 2556 ที่ปรึกษาด้านการตรวจสอบภายในได้จัดทำรายงานผลการตรวจสอบภายใน แต่ละไตรมาสและประชุมร่วมกับคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อรายงานผลการตรวจสอบและ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้นำ รายงานดังกล่าวประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี และฝ่ายจัดการ หลังจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาร่วมกันกับคณะกรรมการบริษัท เป็นประจำทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีประสิทธิภาพเพียงพอ และเหมาะสมกับลักษณะของธุรกิจ โดยไม่พบข้อบกพร่อง ของระบบการควบคุมภายในที่จะกระทบอย่างมีสาระสำคัญต่อความถูกต้องและความ น่าเชื่อถือของงบการเงิน รวมทั้ง การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้บรรลุเป้าหมาย

! นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นไว้ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบดังนี้ ! !

!7777 สารบัญ

11


!

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ผู้ถือหุ้น บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน)

!

คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย นายไชยยศ บุญญากิจ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายเสริญ วิเทศพงษ์ และนางศศิธร พงศธร เป็นกรรมการตรวจสอบ

!

คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวม 4 ครั้ง ทั้งนี้ได้ประชุมร่วมกับผู้บริหารระดับสูงและผู้สอบบัญชีใน วาระที่เกี่ยวข้อง ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสำคัญ สรุปได้ดังนี้ การจัดทำงบการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2556 ร่วมกับฝ่ายบริหารและ ผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควร ตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วนและเชื่อถือได้ นอกจากนี้ได้สอบทาน การเปิดเผยรายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทย่อย และบริษัทร่วม รวมทั้งรายการที่เกี่ยวโยงกันเพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ ได้ดำเนินตามเงื่อนไขทางธุรกิจและหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด ระบบการควบคุมภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายใน โดยพิจารณาร่วมกับฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี พร้อมทั้งให้ข้อสังเกตและแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้การปฏิบัติงาน เกิดผลงานที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การติดตามและดำเนินการแก้ไขตามรายงานผลการตรวจสอบในประเด็นทีม่ นี ยั สำคัญอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ของบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น การบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง ได้กำหนดให้มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยงและ ระบบป้องกันความเสี่ยงตามความจำเป็น เพื่อลดผลกระทบที่อาจมีต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ การทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งอาจทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ เป็นรายการจริงทางการค้าอันเป็นธุรกิจปกติทั่วไป ซึ่งบริษัทฯ ได้ถือปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี

! !

!7788 สารบัญ


! ! ! ! การปฏิบัติว่าด้วยกฎเกณฑ์ภาครัฐ

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ พบว่ามีการปฏิบัติตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปอย่างถูกต้อง การกำกับดูแลกิจการที่ดี

บริษัทฯ ให้ความสำคัญในการบริหารงานตามหลักการของการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้มีความโปร่งใสและมีจริยธรรม ก่อ ให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

!

คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้น แต่งตั้ง นายวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 7309 และ/หรือ นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์ ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3104 และ/หรือ นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 2982 แห่ง บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชันแนล จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีสำหรับปี พ.ศ. 2557 ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีเป็นเงิน รวม 1,620,000 บาท

! ! ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ ! ! !

.................................................. (นาย ไชยยศ บุญญากิจ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

!

!7799 สารบัญ


รายการระหว่างกัน

12 ! !

ในระหว่างปีบริษัทฯ มีรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โดยที่บริษัทฯ ได้คิดราคา ซื้อ-ขายสินค้าและบริการกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โดยราคาดังกล่าวล้วนเป็นการดำเนิน ธุร กิจ ปกติข องบริษัท ฯ บริษัท ย่ อ ย บริษัท ร่ ว มและบุค คลที่อาจมีความขัด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจ ซึ่งรายการเกี่ยวกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันนี้

มาตรการหรื อ ขั้ น ตอนการอนุ มั ติ รายการระหว่างกัน บริษัทฯ ได้กำหนดมาตรฐานและขั้นตอนในการอนุมัติการทำรายการระหว่างกัน โดย กำหนดให้การเข้าทำรายการของบุคคลที่อาจจะมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์จะต้องผ่าน การพิจารณาของคณะกรรมการอิสระ โดยต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทและ กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียจะไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในรายการดังกล่าว

!

!8800 สารบัญ


!

ความจำเป็ น และความสมเหตุ ส มผลของ รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 เป็นรายการที่มีความจำเป็นและสมเหตุสมผล เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น ซึ่งรายการดังกล่าวเป็นไปตามลักษณะธุรกิจทั่วไป โดยมีนโยบายการกำหนดราคาที่เหมาะสมและเงื่อนไขอื่นๆ ตามราคาตลาดเช่นเดียวกันกับการกำหนด ราคาให้กับบุคคลหรือกิจการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกัน และไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รวมถึงบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน

แนวโน้มการทำรายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันระหว่างบริษัทฯ กับผู้ถือหุ้น หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องในกลุ่มเฉพาะที่มีความเกี่ยวเนื่อง กันทางธุรกิจทั่วไป และตามลักษณะของบริษัทร่วมลงทุนที่อนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่ง ผู้บริหารได้มีส่วนร่วมในการอนุมัติรายการดังกล่าว อย่างไรก็ดีในการทำรายการระหว่างกันที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้คำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็นสำคัญ บริษทั ฯ คาดว่ารายการระหว่างกันดังกล่าว อาทิ รายได้จากการให้บริการการขายสินค้าแบบลูกหนีก้ ารค้า การซื้อสินค้าแบบเครดิตทางการค้า ค่าธรรมเนียมการจัดการ เป็นต้น จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตาม ลักษณะการดำเนินการค้าปกติ รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จะ ต้องผ่านการพิจารณาจากกรรมการอิสระ ในการตรวจสอบรายการระหว่างกันว่าเป็นลักษณะการค้าปกติ โดยบริษัทฯ จะดำเนินการตามกำหนดในประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยผู้ที่มีส่วนได้เสีย ในรายการใดๆ จะไม่มีสิทธิในการออกเสียงอนุมัติการทำรายการนั้นๆ

! !

!8811 สารบัญ


!

รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งเกี่ยวข้องกันโดยการถือหุ้นและ/หรือมีกรรมการร่วมกัน ได้แสดงตามมูลฐานที่ ได้ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

! ยอดคงเหลือที่สำคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วย ! ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

ลูกหนี้การค้า Pico Art International Pte Ltd.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

3,283,339

652,436

3,283,339

652,436

Pico International (HK) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

6,172,900

5,016,283

569,967

330,481

Pico International (M) Sdn Bhd

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

3,344,942

-

3,010,930

Pico International Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

1,522,380

129,163

1,522,380

129,163

Pico IES Group Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

1,123,500

-

1,123,500

Pico In-Creative (UK) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

5,676,874

-

5,676,874

-

Pico TBA Consulting Group Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

59,970

-

59,970

Pico International (LA) Inc.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

971,600

256,050

971,600

256,050

Shanghai Pico Exhibition Management Co., Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

170,600

-

170,600

Pico North Asia Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

594,000

-

-

Pico International (DUBAI) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

62,022

-

62,022

-

-

-

2,969,250

-

17,689,115

11,346,944

15,055,432

5,733,130

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

ลูกหนี้สินทรัพย์กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

391,619

-

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

-

-

182,618

-

-

-

574,237

-

! !

!8822 สารบัญ


!

! !

ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน Pico Art International Pte Ltd.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

914,371

697,269

914,371

697,269

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

153,517

154,553

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

232,257

209,297

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

5,516,733

1,340,062

บริษัท เอฟซีจี จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

1,481,521

215,358

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

21,302

53,364

21,302

53,364

บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเซีย จำกัด

บริษัทร่วม

1,981

-

1,981

-

937,654

750,633

8,321,682

2,669,903

2,893,417

1,357,150

1,113,144

1,357,150

เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า Pico Art International Pte Ltd.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

Pico International (LA) Inc.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

12,355

-

12,355

-

Pico International Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

2,360,631

1,606

2,360,631

1,606

บริษัท ยู-เร้นท์ จำกัด

บริษัทร่วม

337,500

225,000

-

-

กิจการร่วมค้า

1,939,066

1,939,066

3,231,776

3,231,776

7,542,969

3,522,822

6,717,906

4,590,532

กิจการร่วมค้า - กลุ่มบริษัทที่ปรึกษา โครงการ เอ-เซเว่น ปิโก

ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชี บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

1,530,000

1,700,000

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

1,177,757

-

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

15,500

22,000

15,500

22,000

15,500

22,000

2,723,257

1,722,000

!

!8833 สารบัญ


! ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และ กิจการร่วมค้า บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

12,750,714

12,750,714

บริษัท นอกซ์ บางกอก จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

10,298,600

10,298,600

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

2,520,000

2,520,000

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

9,999,700

4,999,850

บริษัท เอฟซีจี จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

2,999,700

2,999,700

Andrew Bethell Associates Limited

บริษัทย่อย

-

-

971,000

971,000

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

6,519,740

5,933,963

3,922,033

3,922,033

บริษัท ไอบริก จำกัด

บริษัทร่วม

5,055,536

5,579,387

1,999,800

1,999,800

บริษัท ยู - เร้นท์ จำกัด

บริษัทร่วม

6,975,434

5,837,941

-

-

บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จำกัด

บริษัทร่วม

1,630,071

-

1,687,425

-

กิจการร่วมค้า

-

-

160,000

160,000

กิจการร่วมค้า

-

-

920,000

920,000

20,180,781

17,351,291

48,228,972

41,541,697

กิจการร่วมค้า - บจก.เอกค้าไทย บมจ.ปิโก (ไทยแลนด์) และบจก.บิวคอน กิจการร่วมค้า - กลุ่มบริษัท ที่ปรึกษา โครงการ เอ - เซเว่น ปิโก

เจ้าหนี้การค้า Intertrade Service Pte Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

468,689

-

468,689

Pico IES Group (CHINA) Co., Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

1,718,045

-

1,718,045

-

Pico International (HK) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

58,562

205,903

58,562

205,903

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

3,498,472

3,022,140

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

2,600,100

2,156,050

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

1,645,400

15,320,144

บริษัท ยู - เร้นท์ จำกัด

บริษัทร่วม

2,083,456

2,939,656

767,244

2,351,223

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

1,734,052

5,027,891

1,734,052

5,027,891

5,594,115

8,642,139

12,021,875

28,552,040

!

!8844 สารบัญ


! ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

ต้นทุนค้างจ่าย บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

968,000

32,000

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

1,188,000

440,000

บริษัท ยู - เร้นท์ จำกัด

บริษัทร่วม

877,494

776,537

199,420

758,647

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

930,167

1,010,870

930,167

1,010,870

1,807,661

1,787,407

3,285,587

2,241,517

21,909,410

27,352,036

21,909,410

27,352,036

43,941

496,829

43,941

496,829

เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน Pico Art International Pte Ltd.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

Pico Global Services Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

16,050

-

บริษัท นอกซ์ บางกอก จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

2,140

3,210

บริษัท เอฟซีจี จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

-

173,019

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

23,433

12,652

23,433

12,652

21,976,784

27,861,517

21,994,974

28,037,746

-

-

120,000

-

-

-

120,000

-

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

!

!8855 สารบัญ


! !

รายการค้าที่สำคัญระหว่างบริษัทฯ กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

รายได้จากการให้บริการ Pico Art International Pte Ltd.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

13,155,484

2,876,034

7,491,730

2,876,034

Pico International Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

4,953,028

5,423,115

4,953,028

5,423,115

Pico International (M) Sdn Bhd

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

5,943,208

-

2,813,953

Pico In-Creative (UK) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

9,107,308

-

9,107,308

-

Pico International (Bahrain) S.P.C.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

116,822

-

116,822

Pico IES Group Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

2,358,028

1,605,000

1,629,000

1,605,000

Pico TBA Consulting Group Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

56,047

-

56,047

Pico Australia Pty Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

556,589

537,383

556,589

537,383

Pico International (HK) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

6,022,577

5,118,410

786,192

327,591

Pico International (DUBAI) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

58,036

-

58,036

-

Pico Indian Exhibit Contractor Pte Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

134,271

-

134,271

Pico International (LA) Inc.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

928,617

445,374

928,617

445,374

Shanghai Pico Exhibition Management Co.,Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

159,439

-

159,439

Pico North Asia Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

1,850,467

-

-

บริษัท นอกซ์ บางกอก จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

-

17,650,031

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

-

93,100

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

-

88,350

บริษัท ยู - เร้นท์ จำกัด

บริษัทร่วม

-

2,368,319

-

59,560

37,139,667

26,633,889

25,510,500

32,386,070

!

!8866 สารบัญ


! !

ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

รายได้เงินปันผล บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

3,600,448

5,115,071

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

-

4,499,865

บริษัท เอฟซีจี จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

-

2,499,750

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

333,333

933,331

333,333

933,331

บริษัท ไอบริก จำกัด

บริษัทร่วม

732,459

587,099

732,459

587,099

1,065,792

1,520,430

4,666,240

13,635,116

รายได้อื่น - รายได้ค่าธรรมเนียมการจัดการ บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

388,800

388,800

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

338,400

338,400

-

-

727,200

727,200

รายได้อื่น บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

32,200

32,400

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

627,600

627,600

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

4,254,893

1,486,740

บริษัท เอฟซีจี จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

1,891,773

2,021,640

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

129,400

209,400

129,400

209,400

บริษัท ดีไซน์แลป เอ็มไอเอสซี จำกัด

บริษัทร่วม

-

198,259

-

198,259

129,400

407,659

6,935,866

4,576,039

!

!8877 สารบัญ


! ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

ต้นทุนการให้บริการ Pico International (M) Sdn Bhd

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

218,025

-

218,025

Intertrade Service Pte Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

470,675

-

470,675

Pico International (HK) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

80,868

208,783

80,868

208,783

Pico IES Group Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

494,644

-

494,644

-

Pico International (DUBAI) Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

12,590

4,065,575

12,590

4,065,575

Pico Indian Exhibit Contractor Pte Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

1,444,540

-

1,444,540

-

Pico IES Group (CHINA) Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

1,723,085

-

1,723,085

-

Beijing Pico Exhibition Management Co., Ltd.

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

-

470,953

-

470,953

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

18,003,357

12,756,250

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

7,201,000

5,218,000

บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

บริษัท ยู - เร้นท์ จำกัด

บริษัทร่วม

13,721,555

14,233,431

9,855,097

11,724,032

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

11,276,895

13,877,452

11,276,895

13,877,452

28,754,177

33,544,894

50,452,076 171,996,787

ผู้ถือหุ้นใหญ่

21,132,440

26,682,072

21,132,440

26,682,072

กรรมการ

6,000,000

5,000,000

6,000,000

5,000,000

ผู้ถือหุ้นใหญ่

27,791,726

32,455,627

27,791,726

32,455,627

กรรมการ

17,760,712

20,313,553

17,760,712

20,313,553

45,552,438

52,769,180

45,552,438

52,769,180

360,000 122,987,042

ต้นทุนการให้บริการ - ค่าธรรมเนียมการจัดการ Pico Art International Pte Ltd.

ค่าตอบแทนกรรมการ เงินปันผลจ่าย Pico Art International Pte Ltd. กรรมการ

!

!8888 สารบัญ


! ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ์

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2556

2555

ค่าใช้จ่ายในการขาย บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

693,000

1,500,000

บริษัท ดีไซน์แลป เอ็มไอเอสซี จำกัด

บริษัทร่วม

-

-

360,000

-

-

-

1,053,000

1,500,000

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร Pico Art International Pte Ltd.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

648,511

540,984

648,511

540,984

Pico Global Services Limited

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน

187,060

136,660

187,060

136,660

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

54,000

-

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

127,000

84,000

บริษัท เอฟซีจี จำกัด

บริษัทย่อย

-

-

-

161,700

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัทร่วม

61,449

53,446

61,449

34,824

897,020

731,090

1,078,020

958,168

36,093,344

36,630,351

22,239,498

22,063,527

1,747,620

1,648,121

1,292,288

1,219,975

ค่าตอบแทนที่จ่ายให้ผู้บริหารสำคัญ ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์เมื่อถูกเลิกจ้าง

!รายได้จากการให้บริการ และต้นทุนการให้บริการ กำหนดขึ้นตามข้อตกลงระหว่างบริษัทกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าว โดยวิธีต้นทุนบวกส่วนเพิ่ม ซึ่งเป็นเงื่อนไขการค้าทั่วไปตามปกติธุรกิจ !เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2552 บริษัทฯ ได้ทำสัญญาว่าจ้างที่ปรึกษาบริหารงานกับบริษัทย่อยทั้ง 2 แห่ง สัญญามีผลบังคับใช้ 37,840,964

38,278,472

23,531,786

23,283,502

เป็นเวลา 3 ปี นับจากวันที่ในสัญญา และทั้งสองฝ่ายสามารถต่ออายุสัญญาได้อีก 3 ปี โดยมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมกับ บริษัทย่อยดังกล่าว ดังนี้

!

ชื่อบริษัท

ค่าธรรมเนียมต่อเดือน

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด

32,400 บาท

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จำกัด

28,200 บาท

!เมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม 2535 บริษทั ฯ ได้ทำสัญญารับบริการและสัญญาสิทธิทางปัญญารวมทัง้ ได้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติมในภายหลัง

กับผู้ถือหุ้นใหญ่ คือ Pico Art International Pte Ltd. บริษัทฯ มีภาระผูกพันต้องจ่ายค่าธรรมเนียมภายใต้สัญญาดังกล่าว ในอัตราร้อยละ 2.53 ของรายได้ขั้นต้น โดยสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ต่อเนื่อง จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะบอกเลิกสัญญา

!8899 สารบัญ


ข้อมูลทางการเงิน
 ที่สำคัญ

13 ! ! สรุปรายงานการสอบบัญชี

รายงานงบการเงินที่ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตสำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 3 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2554 ถึงปี 2556 ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษทั ว่าได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสด ของบริษัทฯ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญและตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

!

ปี

! !

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

สำนักงานตรวจสอบบัญชี

เลขทะเบียน ความเห็นในรายงานการสอบบัญชี

2554 คุณนิติ จึงนิจนิรันดร์

บจก. ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี

3809

ไม่มีเงื่อนไข

2555 คุณวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล

บจก. สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล

7309

ไม่มีเงื่อนไข

2556 คุณวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล

บจก. สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล

7309

ไม่มีเงื่อนไข

!9900 สารบัญ


! สรุปฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน สรุปฐานะการเงินและผลการดำเนินงานสำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 3 ปี ตั้งแต่ปี 2554 ถึงปี 2556 ดังนี้ ! งบการเงินเฉพาะกิจการ

หน่วย: ล้านบาท

งบการเงินรวม

2554

2555

2556

2554

2555

2556

33

255

88

300

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

363

248

367

263

สินทรัพย์หมุนเวียนรวม

671

621

733

685

เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า

41

41

17

17

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

94

87

108

98

819

760

879

820

33

23

33

23

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

406

314

426

329

หนี้สินหมุนเวียนรวม

441

339

466

359

หนี้สินรวม

443

371

469

396

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม

376

389

181 142 468 48 101 627 195 197 233 394

410

424

213 181 570 20 120 730 9 234 249 291 439

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

สินทรัพย์รวม เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

!

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หน่วย: ล้านบาท

งบการเงินรวม

2554

2555

2556

2554

2555

2556

ทุนที่ออกและชำระแล้ว

115

172

115

172

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

101

101

101

101

ทุนสำรองตามกฎหมาย

11

15

11

15

กำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรร

120

72

148

101

29

29

29

29

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่

376

389

404

418

ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม

-

-

6

6

376

389

216 101 16 30 31 394 394

410

424

216 101 16 67 31 432 8 439

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม

!

!9911 สารบัญ


งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

หน่วย: ล้านบาท

2554

2555

2556

2554

2555

2556

รายได้จากการให้บริการ

1,249

1,204

1,362

1,288

รายได้อื่น

33

24

8

13

กำไรขั้นต้น

260

293

349

364

ค่าใช้จ่ายในรวมก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้

204

221

241

271

61

60

865 19 211 188 29

75

66

1,043 10 287 243 40

กำไรสุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ หน่วย: ล้านบาท

งบการเงินรวม

2554

2555

2556

2554

2555

2556

79

260

125

253

7

(3)

4

(6)

(67)

(35)

10 (32) (51)

(66)

(35)

(2) (42) (43)

เพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

19

222

63

212

ณ วันต้นปี

14

33

25

88

ณ วันสิ้นปี

33

255

88

300

เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุน กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

!92

(73) 254 181

(87) 300 213


งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

2554

2555

2556

2554

2555

2556

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

1.5

1.7

1.6

1.7

อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า)

7.5

6.3

7.9

6.4

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)

48

58

46

57

อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้การค้า (เท่า)

4.7

4.4

5.4

4.6

ระยะเวลาชำระหนี้เฉลี่ย (วัน)

76

83

2.0 6.4 57 5.3 70

67

79

2.0 7.1 51 6.0 62

อัตรากำไรขั้นต้น (%)

21

24

26

28

อัตรากำไรสุทธิ (%)

5

5

6

5

17

16

24 3 7

20

16

8

8

9

8

1.6

1.5

5 1.3

1.6

1.5

1.2

1.0

1.1

0.9

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)

2.262

2.259

2.461

2.461

กำไรสุทธิต่อหุ้น* (บาท)

0.282

0.280

0.344

0.302

เงินปันผลต่อหุ้น (บาท)

0.10

0.66

0.10

0.66

อัตราส่วนสภาพคล่อง

อัตราส่วนความสามารถในการหากำไร

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%)

28 4 9

อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า)

5 1.4

อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินทั้งหมดต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

0.6 1.831 0.136 0.10

0.7 2.041 0.174 0.10

* กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำนวนถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี และได้ปรับปรุงจำนวนหุ้นสามัญที่ใช้ในการคำนวณกำไรต่อหุ้นของปีก่อนที่นำมาเปรียบเทียบ โดยถือเสมือนว่าการออกหุ้นปันผลได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่เริ่มต้นของงวดแรกที่เสนอรายงาน

!93


การวิเคราะห์
 และคำอธิบายของ
 ฝ่ายจัดการ

14

! ! ภาพรวมผลการดำเนินงาน สำหรับผลประกอบการในปี 2556 บริษัทฯ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 1,043 ล้านบาท ลดลง จากปีก่อนประมาณร้อยละ 19 จากการส่งมอบงานเสร็จสิ้นแล้วของโครงการที่พัฒนาขึ้นใหม่ ในธุรกิจดิจิตอลมีเดียและคอนเทนท์ในปีก่อน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังคงรักษาระดับความ สามารถในการหารายได้จากธุรกิจหลักของบริษัทฯ ใกล้เคียงกับปีก่อน รวมทัง้ ความสามารถ ในการทำกำไร เช่น อัตรากำไรขัน้ ต้นทีร่ อ้ ยละ 28 ซึ่งบริษัทฯ มีสัดส่วนรายได้ส่วนใหญ่มาจาก ธุรกิจการจัดนิทรรศการร้อยละ 42 และธุรกิจกิจกรรมทางการตลาดร้อยละ 32

!

บริษัทฯ มีกำไรสุทธิ 40 ล้านบาท และได้จ่ายปันผลระหว่างกาลสำหรับผลประกอบการ งวดเก้าเดือน ในอัตรา 0.10 บาทต่อหุ้น รวมเป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 22 ล้านบาท เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556

!

ในปี 2556 บริษัทฯ ได้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์โครงการสำคัญใหญ่ต่างๆ มากมาย อาทิ การมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์บูธให้แก่ค่ายรถชั้นนำต่างๆ ในงานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ ครัง้ ที่ 34 โครงการมหิดล แชแนล ซึง่ เป็นโครงการความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดลกับบริษทั ฯ ในการผลิตรายการเกี่ยวกับการศึกษาและบริหารสถานี และ งาน ITU Telecom World 2013 โดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นอกจากนี้ ยังมีงาน EDUCA 2013 ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 6 เป็นงานทีบ่ ริษทั ฯ ริเริม่ ขึน้ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาไทย ผ่านการพัฒนาวิชาชีพครู

! !

!9944 สารบัญ


การเติบโตของรายได้และรายได้จำแนกตามส่วนงาน

! ! ! ! ! ! !

547 ธุรกิจด้านการบริหารจัดการและการให้บริการในธุรกิจไมซ์ ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์แหล่งการสื่อสารองค์ความรู้

349

58 89

1,043 รายได้ (ล้านบาท)

ธุรกิจด้านการสร้างสรรค์กิจกรรมทางการตลาด ธุรกิจบริการด้านอื่นๆ

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 นั้น บริษัทฯ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 1,043 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 19 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน อย่างไรก็ตาม หากไม่รวมรายได้จากธุรกิจ สื่อสารองค์ความรู้ รายได้จากธุรกิจหลักของบริษัทฯ ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญ แสดงให้เห็นว่า บริษทั ฯ ยังคงมีความสามารถในการรักษาระดับรายได้และกำไรจากธุรกิจหลัก โดยมีอัตรากำไรสุทธิที่ร้อยละ 28 และมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม 5 ปี เท่ากับร้อยละ 16

16% CAGR 5 ปี

!

รายได้จากธุรกิจด้านการบริหารจัดการและการให้บริการในธุรกิจไมซ์จำนวน 547 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 50 ของรายได้รวม และมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสม 5 ปี เท่ากับร้อยละ 13 โครงการเด่นของบริษัทฯ ในธุรกิจนี้ ได้แก่ งานบางกอกอินเตอร์เนชั่นแนลมอเตอร์ โชว์ ครั้งที่ 34 งาน TCC Expo 2012 และงาน ITU Telecom World 2013

!

รายได้จากธุรกิจกิจกรรมทางการตลาด จำนวน 349 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 33 ของ รายได้รวม โดยสัดส่วนรายได้ในธุรกิจนี้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน และมีอัตราเติบโตฉลี่ยสะสม 5 ปี เท่ากับร้อยละ 40 แสดงให้เห็นว่าธุรกิจนี้มีการเติบโต อย่างก้าวกระโดด โครงการเด่นของธุรกิจนี้ ได้แก่ งานเปิดตัว AIS 3G และ iPhone 5

!

รายได้จากธุรกิจสื่อสารองค์ความรู้จำนวน 58 ล้านบาท ลดลงหลังจากสิ้นสุดโครงการ โทรทัศน์ครู เมื่อเดือนพฤษภาคมปีที่แล้ว อย่างไรก็ตาม ธุรกิจนี้เริ่มมีการปรับตัวดีขึ้น โดยมีโครงการมหิดล แชแนล มาชดเชยรายได้ดังกล่าว

! !

!9955 สารบัญ

40% CAGR 5 ปี


ค่าใช้จ่ายก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้

243

140

ล้านบาท

ค่าใช้จ่ายพนักงาน

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย

25 6

72

ค่าตอบแทนกรรมการ

ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

ค่าใช้จา่ ยก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้จำนวน 243 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10 เมือ่ เปรียบเทียบกับ ปีก่อน ส่วนใหญ่จากแปรผันตามรายได้ที่ลดลง ค่าใช้จ่ายพนักงานจำนวน 140 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับปีก่อน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีจำนวนพนักงานเพิ่มขึ้นเป็น 188 คน โดยจำนวนพนักงานที่เพิ่มขึ้นเป็นพนักงานของบริษัทย่อย ซึ่ง ค่าใช้จ่ายพนักงานเฉลี่ยต่อพนักงานหนึ่งคน ลดลงร้อยละ 10 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่ายจำนวน 25 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14 เนื่องจากบริษัทฯ มีการลงทุน ในอุปกรณ์การดำเนินงาน ค่าตอบแทนผู้บริหารจำนวน 6 ล้านบาท ซึ่งเป็นไปตามที่ได้มีการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เท่ากับ 72 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 31 แปรผันตาม รายได้ที่ลดลง

กำไรสุทธิและความสามารถในการทำกำไร

40 ล้านบาท

ผลจากโครงการโทรทัศน์ครูเสร็จสิ้นลง ส่งผลให้รายได้รวมของบริษัทฯ ในปีนี้ลดลง ร้อยละ 19 และ เป็นสาเหตุที่ทำให้กำไรสุทธิลดลง คงเหลือเท่ากับ 40 ล้านบาท กำไรต่อหุ้น เท่ากับ 0.174 บาทต่อหุ้น อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับร้อยละ 9 และอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เท่ากับ ร้อยละ 5 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม อัตรากำไรสุทธิคงเหลือเท่ากับร้อยละ 4 ซึ่งลดลงเพียงร้อยละ 1

!96


! ภาพรวมฐานะการเงิน ณ วั น ที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัท ฯ มีสิน ทรัพ ย์ ร วมจำนวน 730 ล้ า นบาท ลดลงร้ อ ยละ 11 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน สินทรัพย์รวมส่วนใหญ่ประกอบด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนจำนวน 570 ล้านบาท ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ จำนวน 120 ล้านบาท มากกว่าร้อยละ 85 ของหนี้สินรวม คือ หนี้สินหมุนเวีย น ซึ่งหนี้สินหมุนเวียนรวมลดลง 110 ล้านบาท คงเหลือจำนวน 249 ล้านบาท ขณะทีส่ ว่ นของผูถ้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4 คงเหลือจำนวน 439 ล้านบาท และมูลค่าสุทธิตามบัญชีเท่ากับ 2.041

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วัน ที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเท่ากับ 213 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29 ของสินทรัพย์รวม โดยยอดคงเหลือลดลง 87 ล้านบาท จากการใช้เงินในกิจกรรม ดำเนินงาน กิจกรรมการลงทุน และกิจกรรมจัดหาเงิน จำนวน 1.5 ล้านบาท 42 ล้านบาท และ 43 ล้านบาท ตามลำดับ ด้วยเหตุผลด้านกลยุทธ์ บริษัทฯ พิจารณาที่จะเก็บเงินสดไว้ เพื่อใช้ในการลงทุนที่ เหมาะสม เมื่อมีโอกาส

!

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น บริษัทฯ มีลูกหนี้การค้าสุทธิจำนวน 124 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 27 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน มากกว่าร้อยละ 86 ของลูกหนี้การค้า เป็นลูกหนี้การค้าบริษัทอื่น เกือบทั้งหมดของลูกหนี้การค้า มีอายุหนี้ไม่เกิน 3 เดือน

!

ลูก หนี้ก ารค้ า อื่น มีจ ำนวน 57 ล้า นบาท ลดลงร้ อ ยละ 21 ซึ่ง ทั้ง หมดมีอ ายุห นี้ ไ ม่ เ กิน 3 เดือ น ลูกหนี้การค้าอื่นส่วนใหญ่ เป็นภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย เท่ากับ 35 ล้านบาท

!

เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้าเป็นการรับรู้ตามมูลค่างานที่เกิดขึ้นและรับรู้กำไรขาดทุนแล้ว จนถึงปัจจุบัน หัก ด้วยค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ และเงินรับล่วงหน้าและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีเงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้าจำนวน 130 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10

!

เงินลงทุน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2556 บริษัทฯ ได้ลงทุนในหุ้นสามัญของ บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จำกัด ร้อยละ 45 ของทุนจดทะเบียน ซึ่ง บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จำกัด มีทุนจดทะเบีย น 15 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 มีทุนชำระแล้วจำนวน 3.75 ล้านบาท โดยบริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จำกัด ประกอบธุรกิจด้านออแกไนเซอร์และเป็นเจ้าของงาน “50 Plus Fair 2014”

! !

!9977 สารบัญ

213 ล้านบาท


! ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในปี 2556 ที่ดินได้มีการตีราคาใหม่อีกครั้ง โดยผู้ประเมินราคาอิสระ โดยใช้วิธิต้นทุนเปลี่ยนแทน และมี ส่วนเพิ่มจากการตีราคาอีกจำนวน 2.5 ล้านบาท ซึ่งได้รวมไว้ในบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน

!

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ลงทุนเพิ่มเติมในอุปกรณ์ดำเนินงาน เช่น Geodesic Dome เพื่อประกอบธุรกิจ จำนวน 24 ล้านบาท

!

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น บริษัทฯ มีเจ้าหนี้การค้าจำนวน 84 ล้านบาท และต้นทุนค้างจ่ายจำนวน 49 ล้านบาท รวมทั้งสิ้นจำนวน 133 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 22 เมื่อเทียบกับปีก่อน ซึ่งมากกว่าร้อยละ 94 ของเจ้าหนี้การค้าเป็นหนี้สิน กับบริษัทอื่น

!

เจ้าหนี้การค้าอื่นจำนวน 98 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 38 เจ้าหนี้การค้าอื่นส่วนใหญ่ประกอบด้วย เจ้าหนี้กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน 22 ล้านบาท ซึ่งเป็นค่าบริหารจัดการที่ต้องจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นใหญ่ คือ บริษัท ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายจำนวน 33 ล้านบาท เงินที่ลูกค้ามี สิทธิเรียกร้องจากกิจการจำนวน 17 ล้านบาท ซึ่งเงินที่ลูกค้ามีสิทธิเรียกร้องจากกิจการเป็นการรับรู้ตาม ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หักด้วยมูลค่างานที่เกิดขึ้นและรับรู้รายได้ใน งบกำไรขาดทุนแล้วจนถึงปัจจุบัน และเจ้าหนี้อื่นจำนวน 16 ล้านบาท

!

ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 บริษัทฯ มีภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงาน เมื่อลาออกจากงานจำนวน 37 ล้านบาท

!

ความเพียงพอของสภาพคล่อง บริษัทฯ มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน เท่ากับ 2.0 เท่า และตามที่ได้อธิบายไว้ในหัวข้อ “เงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสด” รวมทั้ง บริษัทฯ ยังมีวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินมี่ยังไม่ได้ใช้อีกจำนวน 291 ล้านบาท ปัจจัยเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า บริษัทฯ มีเงินทุนมากเพียงพอที่จะดำเนินการตามกลยุทธ์ เช่น การควบรวมกิจการหรือการเข้าซื้อกิจการ เมื่อมีโอกาส

!

!9988 สารบัญ


! ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ ประกอบด้วยหุ้น 2 ชนิด คือ หุ้นสามัญ และหุ้นบุริมสิทธิ !

หุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิได้รับเงินปันผลร่วมกับหุ้นสามัญในอัตราเท่ากัน โดยคำนวณจากส่วนของผลกำไร ภายหลังจากออกหุ้นบุริมสิทธิแล้ว เว้นผลกำไรจากการประเมินราคาที่ดิน อาคาร หรือสินทรัพย์อื่น ซึ่ง ได้มาอยู่ก่อนออกหุ้นบุริมสิทธิ ซึ่งให้แบ่งแก่หุ้นสามัญ

!

ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยหนึ่งหมื่นหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิออกเสียงเท่ากับ หนึ่งหุ้นสามัญ นอกจากนี้หุ้นบุริมสิทธิมีสภาพและสิทธิในการรับส่วนแบ่งคืนทุนเมื่อชำระบัญชี โดยให้มี สิทธิได้รับส่วนแบ่งเฉลี่ยร่วมกับหุ้นสามัญในอัตราเท่ากัน

!

เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมสามัญผูถือหุ้นของบริษัทฯ มีมติอนุมัติเกี่ยวกับหุ้นสามัญ จดทะเบียนดังนี้

!

- ลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จากทุนจดทะเบียนเดิม 172,499,970 บาท เป็น 172,499,820 บาท โดยวิธีตัดหุ้นจดทะเบียนที่ยังมิได้ออกจำหน่ายจำนวน 150 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท และ

!

- เพิ่มทุนจดทะเบียนจำนวน 43,124,955 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 172,499,820 บาท เป็น 215,624,775 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จำนวน 43,124,955 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผล

!

บริษัทฯ ได้ดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เป็นทุนจดทะเบียนและทุนชำระแล้ว จำนวน 215,624,775 บาท และ จำนวน 215,624,559 บาท ตามลำดับ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556

! !

!9999 สารบัญ

216 ล้านบาท


! เงินปันผลจ่าย เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติการจ่ายปันผล จากผลการดำเนินงานประจำปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2555 โดยมีรายละเอียดดังนี้

48 ล้านบาท

!

- จ่ายปันผลเป็นหุน้ สามัญ ในอัตรา 4 หุน้ เดิมต่อ 1 หุน้ ปันผล โดยหุน้ ปันผลมีมลู ค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ใน กรณีที่ผู้ถือหุ้นมีเศษของหุ้นเดิมหลังการจัดสรรหุ้นปันผลแล้วให้จ่ายปันผลเป็นเงินสดแทนในอัตรา หุ้นละ 0.25 บาท และ

!

- จ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.027777778 บาท รวมคิดเป็นการจ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 0.277777778 บาท โดยบริษัทฯ ได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556

!

22 ล้านบาท

เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ มีมติให้ดำเนินการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท สำหรับหุ้นจำนวน 215,624,559 หุ้น เป็นจำนวนเงิน 21,562,456 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ณ วันที่ 24 กันยายน 2556 โดยบริษัทฯ ได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556

ข้อมูลตลาดทางด้านการเงิน ! SET

MAI

Pico

P/E (เท่า)

15.31

29.46

P/BV (เท่า)

2.11

2.77

Market Yield

3.06%

1.42%

10.51 0.92 5.60%

!

จากข้ อ มูล ของ SETTRADE เมื่อ วัน ที่ 9 ธันวาคม 2556 แสดงให้ เ ห็นว่ า ราคาหุ้ น ของบริษัท ฯ ต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี และมีอัตราส่วนราคาต่อกำไร (P/E) ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของ SET และ MAI ขณะที่ อัตราผลตอบแทนของบริษัทฯ มีค่าสูงกว่า SET และ MAI

!

!1100 00 สารบัญ


! ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อผลการดำเนินงานในอนาคต ปี 2556 ที่ผ่านมา เกิดเหตุการณ์ที่สำคัญมากมาย โดยเฉพาะการออกมาชุมนุมประท้วงในไตรมาส สุดท้ายของปี ซึ่งมีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัทฯ เช่น การจัดงานนิทรรศการและกิจกรรม ทางการตลาดต้องถูกเลื่อนออกไปและยกเลิก ในปี 2557 หากสถานะการณ์ทางการเมืองยืดเยื้อและไม่มี เสถียรภาพ อาจมีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญให้เศรษฐกิจชะลอตัว และ ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม จากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ ได้เปิดประมูลใบอนุญาตประกอบธุรกิจดิจิตอลทีวี ทำให้ธุรกิจที่เกี่ยวข้องมีโอกาส เติบโตอย่างมาก เช่น ธุรกิจการผลิตรายการ ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อการเติบโตของธุรกิจดิจิตอล มีเดียและคอนเทนท์ของบริษัทฯ รวมทั้ง บริษัทฯ ได้เตรียมแผนงานและกลยุทธ์ โดยบริษัทฯ ได้ลงทุน ในธุรกิจต้นนำ้ ในบริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จำกัด ซึ่งเป็นเจ้าของงาน 50 Plus Fair 2014

!1101 01 สารบัญ


การรับรอง
 ความถูกต้อง
 ของข้อมูล

15

! !

!1102 02 สารบัญ


! “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปีฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริหาร ของบริษทั ฯหรือผูด้ ำรงตำแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วนไม่เป็นเท็จ ไม่ทำให้ผู้อื่นสำคัญผิด หรือไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสำคัญ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าขอรับรองว่า

!

1. งบการเงินและข้อมูลทางการเงินที่ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี ได้แสดงข้อมูลอย่าง ถูกต้องครบถ้วนในสาระสำคัญเกีย่ วกับฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษทั ฯ แล้ว

!

2. ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้บริษัทฯ มีระบบการเปิดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลใน ส่วนที่เป็นสาระสำคัญของบริษัทฯ อย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกล่าว

!

3. ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการจัดให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบ ดังกล่าว และข้าพเจ้าได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุม ภายใน ณ วั น ที่ 6 ธันวาคม 2556 ต่ อ ผู้ ส อบบัญ ชี และกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ แล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงข้อบกพร่องและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของระบบการ ควบคุมภายในรวมทั้งการกระทำที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทำรายงานทางการเงินของบริษัทฯ

!

ในการนี้ เพื่อเป็นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็นเอกสารที่ข้าพเจ้าได้รับรองความถูกต้องที่เป็นชุดเดียวกันกับที่ ข้าพเจ้าได้ มอบหมายให้ นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ เป็นผู้ลงลายมือชื่อกำกับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใด ไม่มี ลายมือชื่อของ นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ กำกับไว้ ข้าพเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ข้อมูลที่ข้าพเจ้าได้รับรองความถูกต้องของ ข้อมูลแล้วดังกล่าวข้างต้น”

!

ชื่อ

ตำแหน่ง

นายเชีย ซอง เฮง

กรรมการและประธานกรรมการบริษัท

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

กรรมการและประธานอำนวยการ

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

! !

กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ชื่อผู้รับมอบอำนาจ

ตำแหน่ง

นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการเงินบัญชี

!

ลายมือชื่อ

ลายมือชื่อ

!1103 03 สารบัญ


! “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปีฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ข้าพเจ้าไม่มีเหตุอันควรสงสัยว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้องครบถ้วนเป็นเท็จ ทำให้ผู้อื่นสำคัญผิด หรือขาดข้อมูลที่ควรต้อง แจ้งในสาระสำคัญ

!

ในการนี้เพื่อเป็นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็นเอกสารที่ข้าพเจ้าได้รับรองความถูกต้องเป็นชุดเดียวกันกับที่ ข้าพเจ้าได้มอบ หมายให้ นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ เป็นผู้ลงลายมือชื่อกำกับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ กำกับไว้ ข้าพเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ข้อมูลที่ข้าพเจ้าได้สอบทานแล้วดังกล่าวข้างต้น”

!

ชื่อ

ตำแหน่ง

นายยอง ชุน คอง

กรรมการ

นายวิริยะ ผลโภค

กรรมการและที่ปรึกษา

นายไชยยศ บุญญากิจ

ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นายเสริญ วิเทศพงษ์

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นางศศิธร พงศธร

! !

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

ชื่อผู้รับมอบอำนาจ

ตำแหน่ง

นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการเงินบัญชี

!

ลายมือชื่อ

ลายมือชื่อ

!1104 04 สารบัญ


105

สารบัญ

61

59

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

-

สัดส่วนการถือหุ้น

! ! ! ! !

ตำแหน่ง

Directors Accreditation Program, Directors Certification Program, Finance for Non-Finance Directors และ Role of Chairman Program จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

! !

!105

! ! ! !

16

บจ. ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง พีทีอี บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

ประวัติการทำงาน 5 ปี ย้อนหลัง บริษัท

2546 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการสรรหา ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทน และรองประธานกรรมการบริหาร

ช่วงเวลา

2544 - ปัจจุบัน กรรมการ 1 พ.ย. 2549 - รองประธานกรรมการบริษัท 16 ก.ย. 2546 ปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 25.93% ปัจจุบัน กรรมการสรรหา (รวมญาติสนิท 
 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ ประธานกรรมการบริหาร และบุตรที่ยังไม่
 และประธานอำนวยการ Mini MBA. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บรรลุนิติภาวะ)

16 ก.ย. 2546 Executive Program, Stanford University - National University of Singapore

อายุ (ปี) วันที่ได้รับแต่งตั้ง คุณวุฒิการศึกษา

นายเชีย ซอง เฮง

รายชื่อ

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอำนาจควบคุมและเลขานุการบริษัท 
 !


106

สารบัญ

60

60

นายวิริยะ ผลโภค

48

นายชุง ชี คีออง*

นายยอง ชุน คอง**

57

Directors Accreditation Program จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

!

BS. (Computer) University of Central Oklahoma, Oklahoma, USA.

!

16 ก.ย. 2546 ปริ ญ ญาตรี วิ ท ยาศาสตร์ บั ณ ฑิ ต (บัญชี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

4 พ.ย. 2556 Bachelor’s Degree in Economics, Leeds University, England

Directors Accreditation Program, Directors Certification Program และ Finance for Non-Finance Directors จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 6 มิ.ย. 2551 Bachelor’s Degree in Accounting, National University of Singapore

!

16 ก.ย. 2546 ปริญญาตรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อายุ (ปี) วันที่ได้รับแต่งตั้ง คุณวุฒิการศึกษา

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

รายชื่อ

!106

-

-

-

0.37%

สัดส่วนการถือหุ้น

ช่วงเวลา

ตำแหน่ง

2535 - 2553 กรรมการบริษัท 2 ก.ย. 2548 - กรรมการบริษทั ปัจจุบัน กรรมการสรรหา กรรมการกำหนดค่าตอบแทน และที่ปรึกษา

! !

2552 - ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
 ด้านการเงิน 2553 - ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส

6 มิ.ย. 2551 - 
 กรรมการบริษัท 30 ก.ย. 56

! ! !

1 พ.ย. 2549 - กรรมการบริษัท ปัจจุบัน กรรมการสรรหา กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

บจก. ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง พีทีอี บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

!

บจก. ปิโก ฟาร์อีส โฮลดิ้ง พีทีอี

บจก. ปิโก อาร์ต อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี

! !

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

ประวัติการทำงาน 5 ปี ย้อนหลัง บริษัท


107

สารบัญ

นายเสริญ วิเทศพงษ์

นายไชยยศ บุญญากิจ

รายชื่อ

60

59

Directors Accreditation Program จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

!

Directors Accreditation Program, Audit Committee Program, Improving Board Decision, Improving the Quality of Financial Report, Finance for Non-Finance Directors และ Monitoring the System of Internal Control and Risk Management จากสมาคม
 ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 16 ก.ย. 2546 ปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

!

16 ก.ย. 2546 ปริญญาเอก สาขาเคมี, 
 The American University, Washington D.C., USA.

อายุ (ปี) วันที่ได้รับแต่งตั้ง คุณวุฒิการศึกษา

!107

-

-

สัดส่วนการถือหุ้น

! ! ! ! 2556 - ปัจจุบัน ! ! 2555 – 2556 !

ช่วงเวลา

2535 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการ

! ! ! ! !

2546 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา และกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

2540 - 2555 รองผู้อำนวยการ

! ที่ปรึกษาทางวิชาการ ! ! ผู้เชี่ยวชาญ !

ตำแหน่ง

2546 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา และกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

บจก. ปาล์มเมอร์ แอนด์ เทอร์เนอร์ (ประเทศไทย)

! ! ! !

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

! สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย !

บจก. ยู ไ นเต็ด แอนนาลิส ต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

! ! ! !

ประวัติการทำงาน 5 ปี ย้อนหลัง บริษัท


108

สารบัญ

นายโชคชัย วัชรนิรันดร์กุล

นางศศิธร พงศธร

รายชื่อ

53

56

Directors Accreditation Program จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

!

ปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

!

Directors Accreditation Program, Directors Certification Program, และ Financial Institutions Governance Program จากสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 29 ส.ค. 2546 ป ริ ญ ญ า ต รี ค ณ ะ รั ฐ ศ า ส ต ร ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

!

หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง จากสถาบัน วิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 12)

!

Master Degree in Business Administration, Notre Dame de Namur University, California, U.S.A

!

28 พ.ย. 2548 Bachelor’s Degree in Science in Chemical Engineer, Chulalongkorn University

อายุ (ปี) วันที่ได้รับแต่งตั้ง คุณวุฒิการศึกษา

!108

0.30%

-

สัดส่วนการถือหุ้น

บมจ. ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) 2544 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารและ รองประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารอาวุ โ ส กิจกรรมทางการตลาดและโครงการพิเศษ

19 ธ.ค. 2548 - กรรมการบริหาร ปัจจุบัน และกรรมการผูจ้ ัดการ

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์)

! ! ! ! ส.ค. 2555 - กรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบัน อนุกรรมการสรรหาและกำกับดูแลกิจการ ! ! และอนุกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ! ! ! ! 22 เม.ย. 2552 - กรรมการบริหาร บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป ปัจจุบัน และกรรมการผู้จัดการ ! ! ! ! ! ! ! !

ตำแหน่ง

17 พ.ย. 2548 - กรรมการอิสระ ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา และกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

ช่วงเวลา

ประวัติการทำงาน 5 ปี ย้อนหลัง บริษัท


109

สารบัญ

* ** ***

47

นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์

! ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต !

International Banking and Finance, University of Birmingham, U.K.

!

Directors Accreditation Program จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย 1 พ.ค. 2551 ปริญญาตรี คณะบัญชี มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย

!

29 ส.ค. 2546 ปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิ ช านฤมิ ต ศิ ล ป์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

-

0.09%

สัดส่วนการถือหุ้น

!109

Company Secretary Program, Effective Minutes Taking, How to Develop a Risk Management Plan, Successful Formulation & Execution of Strategy และ How to Measure the Success of Corporate Strategy จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย นายชุง ชี คีออง ลาออกจากการเป็นกรรมการ มีผลเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 นายยอง ชุน คอง ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งกรรมการแทนนายชุง ชี คีออง เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 สำหรับหน้าที่ของเลขานุการบริษัท โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ “การกำกับดูแลกิจการ”

45

อายุ (ปี) วันที่ได้รับแต่งตั้ง คุณวุฒิการศึกษา

นางสาวสุภาภรณ์ สว่างจิตต์

รายชื่อ

ช่วงเวลา

ตำแหน่ง

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) 1 พ.ค. 2551 - กรรมการบริหาร ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท*** และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการเงินบัญชี

บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) 2546 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารและ รองประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกิ จ กรรม ทางการตลาด

ประวัติการทำงาน 5 ปี ย้อนหลัง บริษัท


110

สารบัญ

บจก.
 พีเอ็กซ์ซิสเต็ม

-

บมจ. 
 ปิโก (ไทยแลนด์)

X, /, //

X, /, //

/, //

/

/

นายเชีย ซอง เฮง

นายพิเสฐ จึงแย้มปิ่น

นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์

นายชุง ชี คีออง*

นายยอง ชุน คอง**

/ /

/

/

/

//

//

//

นายไชยยศ บุญญากิจ

นายเสริญ วิเทศพงษ์

นางศศิธร พงศธร

นายโชคชัย วัชรนิรันดร์กุล

นางสาวสุภาภรณ์ สว่างจิตต์

นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์

/

/

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจก.
 นอกซ์ บางกอก

/

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจก.
 มัลติดีไซน์

!110

X : ประธานกรรมการ / : กรรมการ // : กรรมการบริหาร * นายชุง ชี คีออง ลาออกจากการเป็นกรรมการ มีผลเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 ** นายยอง ชุน คอง ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งกรรมการแทนนายชุง ชี คีออง เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556

!

-

/

นายวิริยะ ผลโภค

รายชื่อ

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจก.
 ทีซีบีเอ็น

บริษัทย่อย

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจก
 เอฟซีจี

/

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

Andrew Bethell Associates Ltd.

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจก. 
 อิงค์เจ็ท อิมเมสเจส

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจก.
 ไอบริก

บริษํทร่วม

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

บจก. 
 ฟิฟตี้ พลัส เอเชีย

รายละเอียดเกีย่ วกับการดำรงตำแหน่งของผูบ้ ริหารและผูม้ อี ำนาจควบคุมในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม


111

สารบัญ

/

นายโชคชัย วัชรนิรันดร์กุล

!111

นายชัยจิตต์ เทหะสุวรรณรัตน์ / *บริษัทย่อยที่มีนัยสำคัญ ซึ่งมีรายได้เกินกว่าร้อยละ 10 ของรายได้รวมตามงบกำไรขาดทุนรวมของปีบัญชีล่าสุด

/

บจก.พีเอ็กซ์ซิสเต็ม

นายชูชัย เกษมสุข

รายชื่อ

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการบริษัทย่อย* 
 !

17


112

สารบัญ

นายสมโภชน์ แซ่จึง

รายชื่อ

44

ตำแหน่ง

! ! !

ช่วงเวลา

! !

บริษัท

สมาชิก สมาคมนัก บัญ ชีแ ละ ผู ้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าตแห่ ง ประเทศไทย

!

Operation Audit and Risk Based Audit Certification Program สมาคมผู้ตรวจสอบ ภายในแห่งประเทศไทย

! ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต !

!112

ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ 1 ส.ค. 2536 - 
 ผู้จัดการสอบบัญชี สาขาบั ญ ชี มหาวิ ท ยาลั ย 31 พ.ค. 2547 เกษตรศาสตร์

!

บจก. เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี

1 มค. 2548 ปริญญาโท สถาบันบัณฑิต 1 ม.ค. 2548 - ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) ปัจจุบัน พัฒนบริหารศาสตร์

อายุ (ปี) วันที่ได้รับแต่งตั้ง คุณวุฒิการศึกษา

รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน 
 !

การปฏิบัติงาน : จัดทำสรุปทบทวนผลการดำเนินงาน เพื่อนำเสนอที่ประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ ทุกไตรมาส และจัดทำสรุปความ ก้าวหน้าของงานตรวจสอบภายใน เพื่อนำเสนอที่ ป ระชุม คณะกรรมการตรวจสอบ

!

การดำเนินงานตรวจสอบภายใน : ประเมินระบบการควบคุมภายในทุกด้าน ซึ่งได้รับอนุมัติจาก ฝ่ายจัดการ และจัดทำรายงานผลการประเมินและข้อเสนอแนะ และปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบ

!

แผนงานตรวจสอบภายในประจำปี : ประเมินความเสีย่ งของบริษทั โดยการหารือร่วมกับผูจ้ ดั การฝ่าย ฝ่ายจัดการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อความเข้าใจใน การดำเนินงาน และสิง่ ทีฝ่ า่ ยจัดการต้องการจะเน้นย้ำ และพัฒนา กลยุ ท ธ์ แ ผนงานตรวจสอบภายใน โดยได้ รั บ อนุ มัติ จาก กรรมการตรวจสอบ

!

กฎบัตรการตรวจสอบภายใน : กำหนดวัตถุประสงค์ อำนาจ บทบาท หน้าที่ในส่วนของการ ตรวจสอบภายใน โดยได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ

หน้าที่ความรับผิดชอบ

18


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้น รายงานของผู ้สอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน)

เสนอ ผู้ถือหุ้น ข้าพเจ้ นเฉพาะกิจการของบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริ ษัทาได้ปิตโกรวจสอบงบการเงิ (ไทยแลนด์)นรวมและงบการเงิ จำกัด (มหาชน) และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน และของเฉพาะบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะ นเฉพาะกิจนการ ณ วัจนการของบริ ที่ 31 ตุลาคม และงบกำไรขาดทุ น เบ็ด เสร็จบริรวมและ ข้การเงิ าพเจ้นารวมและงบแสดงฐานะการเงิ ได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงิ เฉพาะกิ ษัท ปิ2556 โก (ไทยแลนด์ ) จำกัด (มหาชน) ษัทย่อย งบกำไรขาดทุ เบ็ดเสร็ เฉพาะกิ จการ งบแสดงการเปลี วนของผู ้ถือดหุ้น(มหาชน) รวมและงบแสดงการเปลี วนของ และกิจการที่คนวบคุ มร่จวมกั น และของเฉพาะบริ ษัท ปิโ่ยกนแปลงส่ (ไทยแลนด์ ) จำกั ซึ่งประกอบด้ว่ยนแปลงส่ งบแสดงฐานะ ผูการเงิ ้ถือหุน้ รวมและงบแสดงฐานะการเงิ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงิ นสดรวมและงบกระแสเงิ บปีสิ้นสุดวันนเบ็เดีดยเสร็ วกันจ รวมและ รวมถึง นเฉพาะกิ จการ ณ วันที่ 31 นตุสดเฉพาะกิ ลาคม 2556จการสำหรั และงบกำไรขาดทุ หมายเหตุ ส รุ ป นโยบายการบั ญ ชี ท ส ่ ี ำคั ญ และหมายเหตุ เ รื อ ่ งอื น ่ ๆ งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลียนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ ผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึง หมายเหตุ ปนโยบายการบั ญชีทอี่สงบการเงิ ำคัญและหมายเหตุ เรื่องอื่นๆ ความรับผิสดรุชอบของผู ้บริหารต่ น ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำและการนำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงาน ความรั บผินดชอบของผู หารต่อ่ยงบการเงิ น ม ภายในที่ผู้ บ ริห ารพิจารณาว่ า จำเป็ น เพื่อให้สามารถจัดทำงบการเงินที่ ทางการเงิ และรับผิ้บดริชอบเกี วกับการควบคุ ปราศจากการแสดงข้ มูลที่ขัดต่อข้ดอทำและการนำเสนองบการเงิ เท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญไม่วน่าเหล่ จะเกิานีดจากการทุ ริตหรือ่ข้คอวรตามมาตรฐานการรายงาน ผิดพลาด ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดอชอบในการจั ้โดยถูกต้อจงตามที ทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำเป็นเพื่อให้สามารถจัดทำงบการเงินที่ ปราศจากการแสดงข้ อมู้สลอบบั ที่ขัดญ ต่อชีข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรั บผิดชอบของผู ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงาน ความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ญชี ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั ปฏิ บัติงาานตรวจสอบเพื ่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่ งบการเงินปราศจากการแสดงข้ ่ขัดต่าได้ อข้ปอฏิเท็บัตจิงจริานง ข้าพเจ้ เป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็ นต่าองสมเหตุ งบการเงิสนมผลว่ ดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้ าพเจ้อามูข้ลาทีพเจ้ อัตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั นเป็นสาระสำคัญหรือไม่ ญชี ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อัการตรวจสอบรวมถึ นเป็นสาระสำคัญหรืงการใช้ อไม่ วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดง ข้การตรวจสอบรวมถึ อมูลที่ขัดต่อข้อเท็งจการใช้ จริงอัวนิธเป็ีการตรวจสอบเพื นสาระสำคัญของงบการเงิ นไม่กฐานการสอบบั ว่าจะเกิดจากการทุ อข้อผิดพลาด ในการประเมิ ่อให้ได้มาซึ่งหลั ญชีเกีจ่ยริวกัตหรื บจำนวนเงิ นและการเปิ ดเผยข้อมูนล ความเสี ่ ย งดั ง กล่ า ว ผู ้ ส อบบั ญ ชี พ ิ จ ารณาการควบคุ ม ภายในที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด ทำและการนำเสนองบการเงิ น โดยถูกต้อง ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดง ธีการตรวจสอบที ่เหมาะสมกั บสถานการณ์ ม่ใอช่ข้เพือ่ผิอวัดตพลาด ถุประสงค์ ในการแสดงน ข้ตามที อมูล่คทีวรของกิ ่ขัดต่อข้จอการ เท็จจริเพื งอั่อนออกแบบวิ เป็นสาระสำคั ญของงบการเงิ นไม่ว่าจะเกิ ดจากการทุจแต่ ริตไหรื ในการประเมิ ความเห็ ต่องประสิ มภายในของกิจมการ การตรวจสอบรวมถึ งการประเมิ นความเหมาะสมของนโยบายการ ความเสี่ยนงดั กล่าวทธิผผูลของการควบคุ ้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุ ภายในที ่เกี่ยวข้องกับการจั ดทำและการนำเสนองบการเงิ นโดยถูกต้อง บัตามที ญชีท่คี่ผวรของกิ ู้บริหารใช้จการ และความสมเหตุ สมผลของประมาณการทางบั ญชีทบี่จสถานการณ์ ัดทำขึ้นโดยผู้บแต่ ริหาร เพื่อออกแบบวิ ธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกั ไม่ใช่รวมทั เพื่อวั้งตการประเมิ ถุประสงค์นใการนำเสนอ นการแสดง งบการเงิ น โดยรวม ความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการ บัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการนำเสนอ ข้าพเจ้าเชืนอ่ โดยรวม ว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสม เพือ่ ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า งบการเงิ 
 ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสม เพือ่ ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

! !

! !

8113 81113 13 สารบัญ


! ความเห็น

ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน และของเฉพาะบริษทั ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31ตุลาคม 2556 และผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแส เงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน

! ! บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ! ! ! (นายวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 7309

!

วันที่ 6 ธันวาคม 2556

81114 14 สารบัญ


บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556 หน่วย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - กิจการร่วมค้า เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น -กิจการร่วมค้า เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า - กิจการร่วมค้า ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชี

4.1 4.1 5 6, 22 7, 22 8, 22

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

เงินฝากธนาคารที่ใช้เป็นหลักประกัน - กิจการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษัทย่อยบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น -กิจการร่วมค้า รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

9, 22 10 11 12

210,279,942 3,161,145 8,306,534 181,118,653 127,189 129,677,070 37,664,250 570,334,783

300,285,169 90,740 243,714,174 133,114 118,350,540 3,231,776 19,602,180 685,407,693

181,273,215 142,135,553 108,496,701 35,861,518 467,766,987

254,619,609 226,952,168 118,523,868 21,091,647 621,187,292

680,000 20,180,781 6,473,825 119,709,600 10,344,217 1,982,462 494,000 159,864,885 730,199,668

680,000 17,351,291 6,473,825 97,877,481 10,074,890 1,766,828 321,100 134,545,415 819,953,108

48,228,972 2,398,800 101,278,514 6,933,445 727,900 159,567,631 627,334,618

41,541,697 2,398,800 86,633,349 7,360,799 727,900 138,662,545 759,849,837

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

115 สารบัญ


บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556 หน่วย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการร่วมค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - กิจการร่วมค้า หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี

13 14, 22 22

15

ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

15 16

8,500,000 231,756,938 2,689,485 110,390 57,409 2,597,817 3,012,771 248,724,810

23,000,000 329,487,516 2,691,485 109,332 57,409 1,846,086 1,775,233 358,967,061

194,714,260 2,597,817 197,312,077

23,000,000 314,297,509 1,846,086 339,143,595

4,920,715 37,231,048 42,151,763 290,876,573

4,698,818 32,502,963 37,201,781 396,168,842

4,920,715 30,888,789 35,809,504 233,121,581

4,698,818 27,241,738 31,940,556 371,084,151

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

116 สารบัญ


บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556 หน่วย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ 330,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท หุ้นสามัญ 215,294,775 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท

17

(31 ตุลาคม 2555: หุ้นสามัญ 172,169,970 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท)

330,000

330,000

330,000

330,000

215,294,775 215,624,775

172,169,970 172,499,970

215,294,775 215,624,775

172,169,970 172,499,970

330,000

330,000

330,000

330,000

215,294,559 215,624,559

172,169,820 172,499,820

215,294,559 215,624,559

172,169,820 172,499,820

101,250,000

101,250,000

101,250,000

101,250,000

15,993,282 66,951,989 31,717,379 431,537,209 7,785,886 439,323,095 730,199,668

14,521,556 100,449,817 29,216,973 417,938,166 5,846,100 423,784,266 819,953,108

15,993,282 29,627,817 31,717,379 394,213,037 394,213,037 627,334,618

14,521,556 71,276,931 29,217,379 388,765,686 388,765,686 759,849,837

ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุน้ บุริมสิทธิ 330,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ชาระครบแล้ว หุ้นสามัญ 215,294,559 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ชาระครบแล้ว (31 ตุลาคม 2555: หุ้นสามัญ 172,169,820 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ชาระครบแล้ว)

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัทใหญ่

ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุน้ รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

18

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

117 สารบัญ


บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลำคม 2556 หน่วย : บาท หมายเหตุ รายได้จากการให้บริการ ต้นทุนการให้บริการ กาไรขั้นต้น รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รายได้อื่น-กิจการร่วมค้า กาไรก่อนค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหาร-กิจการร่วมค้า รวมค่าใช้จ่าย กาไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย กาไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

22 22 22 22

22 22

23

กาไรสาหรับปี

2556 1,043,330,797 (756,133,084) 287,197,713 1,065,792 9,193,572 16,844 297,473,921 (21,766,716) (221,120,750) (9,200) (242,896,666) 54,577,255 (604,899) 2,657,858 56,630,214 (16,837,205) 39,793,009

งบการเงินรวม 2555 1,288,007,268 (923,890,021) 364,117,247 1,520,430 11,992,719 1,358 377,631,754 (33,491,962) (237,831,970) (14,187) (271,338,119) 106,293,635 (9,608,006) 2,598,754 99,284,383 (33,435,216) 65,849,167

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 864,880,543 1,203,779,509 (654,423,766) (910,424,847) 210,456,777 293,354,662 4,666,240 13,635,116 14,168,390 10,221,394 229,291,407 317,211,172 (21,901,750) (30,359,454) (165,987,980) (190,918,586) (187,889,730) (221,278,040) 41,401,677 95,933,132 (454,602) (9,608,006) 40,947,075 86,325,126 (11,645,390) (26,032,399) 29,301,685 60,292,727

406 2,500,000 42,293,415

(406) 65,848,761

2,500,000 31,801,685

60,292,727

37,452,971 2,340,038 39,793,009 0.174 215,294,559

64,918,993 930,174 65,849,167 0.302 215,294,559

29,301,685 29,301,685 0.136 215,294,559

60,292,727 60,292,727 0.280 215,294,559

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่างบการเงิน

ผลกาไรจากการตีมูลค่าสินทรัพย์ใหม่ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี ส่วนแบ่งปันกาไร

ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน (บาท) จานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก (หุ้น)

21

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

118 สารบัญ


119

สารบัญ

18

17,20 20

18

17,20 20

หมำยเหตุ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายงวด ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556

ยอดคงเหลือต้นงวด ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี สารองตามกฎหมาย

ยอดคงเหลือปลายงวด ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2555

ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย

ยอดคงเหลือต้นงวด ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2554 การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี สารองตามกฏหมาย

หน่วย : บาท

330,000

330,000 -

330,000 330,000

หุ้นบุริมสิทธิ

215,294,559

172,169,820 43,124,739 -

114,669,980 57,499,840 172,169,820

หุ้นสำมัญ

ทุนทีอ่ อกและชำระแล้ว

101,250,000

101,250,000 -

101,250,000 101,250,000

ส่วนเกิน มูลค่ำหุ้นสำมัญ

15,993,282

14,521,556 1,471,726

11,500,000 3,021,556 14,521,556

จัดสรรแล้ว ทุนสำรอง ตำมกฎหมำย

บริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลำคม 2556

66,951,989

100,449,817 (43,124,739) (26,354,334) 37,452,971 (1,471,726)

119,691,265 (57,499,840) (23,639,045) 64,918,993 (3,021,556) 100,449,817

ยังไม่ได้จัดสรร

กำไรสะสม

31,717,379

29,217,379 2,500,000 -

29,217,379 29,217,379

-

(406) 406 -

(406) (406)

31,717,379

29,216,973 2,500,406 -

(406) 29,216,973

29,217,379

431,537,209

417,938,166 (26,354,334) 39,953,377 -

(23,639,045) 64,918,587 417,938,166

376,658,624

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้นของ บริษัทใหญ่

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่วนเกินทุนจำก กำรแปลง รวมองค์ประกอบอื่นของ กำร ตีรำคำที่ดิน ค่ำงบกำรเงิน ส่วนของผู้ถือหุ้น

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

7,785,886

5,846,100 (400,252) 2,340,038 -

(569,013) 930,174 153,845 5,846,100

5,331,094

ส่วนได้เสีย ที่ไม่มี อำนำจควบคุม

439,323,095

423,784,266 (26,754,586) 42,293,415 -

(24,208,058) 65,848,761 153,845 423,784,266

381,989,718

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น


120

สารบัญ 18

17,20 20

18

17,20 20

หมำยเหตุ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลำยงวด ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556

เงินปันผลจ่าย กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี สารองตามกฎหมาย

การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ

ยอดคงเหลือต้นงวด ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2555

ยอดคงเหลือปลำยงวด ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555

เงินปันผลจ่าย กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี สารองตามกฎหมาย

การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ

ยอดคงเหลือต้นงวด ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2554

หน่วย : บาท

172,169,820 43,124,739 215,294,559

330,000

172,169,820

330,000 330,000 -

114,669,980 57,499,840 -

หุ้นสำมัญ

330,000 -

หุ้นบุริมสิทธิ

ทุนที่ออกและชำระแล้ว

บริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลำคม 2556

101,250,000

101,250,000 -

101,250,000

101,250,000 -

ส่วนเกิน มูลค่ำหุ้นสำมัญ

15,993,282

14,521,556 1,471,726

14,521,556

11,500,000 3,021,556

จัดสรรแล้ว ทุนสำรอง ตำมกฎหมำย

29,627,817

71,276,931 (43,124,739) (26,354,334) 29,301,685 (1,471,726)

71,276,931

95,144,645 (57,499,840) (23,639,045) 60,292,727 (3,021,556)

ยังไม่ได้จัดสรร

กำไรสะสม

31,717,379

29,217,379 2,500,000 -

29,217,379

29,217,379 -

31,717,379

29,217,379 2,500,000 -

29,217,379

-

29,217,379 -

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวม ส่วนเกินทุนจำกกำร องค์ประกอบอื่น ตีรำคำที่ดิน ของส่วนของผู้ถือหุ้น

394,213,037

388,765,686 (26,354,334) 31,801,685 -

388,765,686

352,112,004 (23,639,045) 60,292,727 -

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น


บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลำคม 2556 หน่วย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนินงำน

กาไรก่อนภาษีเงินได้ ปรับปรุงด้วย: ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย การแปลงค่างบการเงิน หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ (กาไร)ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการเลิกใช้สินทรัพย์ถาวร กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น (กาไร)ขาดทุนจากการจาหน่ายเงินลงทุน เงินปันผลรับจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ส่วนแบ่ง(กาไร)ขาดทุนจากเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย

ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กาไรจากการดาเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดาเนินงาน สินทรัพย์ดาเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น -กิจการร่วมค้า เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า - กิจการร่วมค้า ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น -กิจการร่วมค้า กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน (ต่อ) หนี้สินดาเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการร่วมค้า เงินสดรับ (จ่าย) จากการดาเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย รับคืนภาษีเงินได้ จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน

56,630,214

99,284,383

40,947,075

86,325,126

4,728,085 24,653,386 406 319,977 (857,006) 67,453 (555,471) 1,515,792 (2,657,858) 604,899

4,354,393 22,131,698 (406) 12,786,519 9,352 (211,470) (204,374) 1,835,430 (2,598,754) 9,608,006

3,647,051 17,349,215 621,503 (857,006) 55,334 (524,196) 454,602

3,349,857 16,776,084 12,484,993 494 (218,038) (198,259) 9,608,006

84,449,877

146,994,777

61,693,578

128,128,263

(8,306,534) 59,882,894 5,925 (11,326,530) 3,231,776 (18,062,070) (215,634) (172,900)

63,000,934 (58) 170,207,894 17,878,169 (498,928) 186,000

84,224,735 10,027,167 (14,769,871) -

69,310,939 170,649,461 15,548,946 -

(97,730,578) (2,000) 11,754,226 (604,899) 16,023,896 (28,675,442) (1,502,219)

(98,031,198) (330,189) 299,407,401 (9,608,006) (36,900,360) 252,899,035

(119,583,249) 21,592,360 (454,602) 11,611,204 (22,762,022) 9,986,940

(91,814,733) 291,822,876 (9,608,006) (22,191,198) 260,023,672

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

121 สารบัญ


บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลำคม 2556 หน่วย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน

เงินสดรับจากเงินฝากธนาคารที่ใช้เป็นหลักประกัน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ถาวร เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ถาวร เงินสดรับจากการจาหน่ายเงินลงทุน ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย ซื้อเงินลงทุนในบริษัทร่วม ซื้อเงินลงทุนในบริษัทอื่น เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน

(40,054,940) (1,933,205) 1,410,503 (1,687,425) (42,265,067)

3,609,942 (6,475,827) (625,690) 598,159 (2,538,800) (5,432,216)

(25,986,300) (801,920) 1,410,503 (4,999,850) (1,687,425) (32,064,992)

3,299,943 (3,607,818) (143,190) 598,159 (971,000) (2,398,800) (3,222,706)

-

766,000,000

-

766,000,000

(14,500,000) 1,058 (1,914,008) (26,354,334) (400,252) (43,167,536)

(776,000,000) 109,332 (1,796,198) (23,638,895) 153,845 (35,171,916)

(23,000,000) (1,914,008) (26,354,334) (51,268,342)

(776,000,000) (1,796,198) (23,638,895) (35,435,093)

(86,934,822) 300,375,909 213,441,087

212,294,903 88,081,006 300,375,909

(73,346,394) 254,619,609 181,273,215

221,365,873 33,253,736 254,619,609

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน

เงินสดรับจากเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชาระเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ เงินปันผลจ่าย เงินสดรับ(จ่าย)จากส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ณ วันสิ้นงวด

4.1

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

122 สารบัญ


บริษัทปิโก(ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อย และกิจกำรที่ควบคุมร่วมกัน หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลำคม 2556 1. กำรดำเนินงำนของบริษัทและบริษัทย่อย บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทย ธุรกิจของบริษัทและบริษัท ย่อย และที่ตั้งของบริษัทและบริษัทย่อย มีดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

วันที่จัดตั้งบริษัท

ธุรกิจ

ที่ตั้ง

บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน)

วันที่ 27 มีนาคม 2535

ออกแบบและตกแต่งคูหาแสดงสินค้า ร้านแสดงสินค้าและชั้นวางแสดง สินค้าตลอดจนตกแต่งภายใน พิพิธภัณฑ์สวนสนุกและสวนรับรอง ลูกค้า

10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2538

ให้เช่าอุปกรณ์และจัดสร้างคูหา มาตรฐานในการแสดงสินค้า

บริษัท นอกซ์ บางกอก จากัด

วันที่ 12 มีนาคม 2539

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด

วันที่ 19 เมษายน 2538

บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด* (เดิมชื่อ บริษัท ไทยทีชเชอร์.ทีวี จากัด)

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553

บริษัท เอฟซีจี จากัด

วันที่ 10 มิถุนายน 2553

Andrew Bethell Associates Limited

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554

บริษัทย่อย

12 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร จัดกิจกรรมทางการตลาดให้บริการใน 10 ซอยลาซาล 56 กิจกรรมทางการตลาด ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา สาหรับลูกค้า กรุงเทพมหานคร ออกแบบและตกแต่งคูหาแสดง 10 ซอยลาซาล 56 ถนนสุขุมวิท สินค้าและงานออกแบบภายใน แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ผลิต รับจ้างผลิตและเผยแพร่ 10 ซอยลาซาล 56 รายการโทรทัศน์ รายการเคเบิ้ลทีวี ถนนสุขุมวิท รายการทีวีผ่านดาวเทียมรายการทีวี แขวงบางนา เขตบางนา ผ่านอินเตอร์เน็ตทางด้านการศึกษา กรุงเทพมหานคร ผลิต รับจ้างผลิตและเผยแพร่ 10 ซอยลาซาล 56 รายการโทรทัศน์ รายการเคเบิ้ลทีวี ถนนสุขุมวิท รายการทีวีผ่านดาวเทียมรายการทีวี แขวงบางนา เขตบางนา ผ่านอินเตอร์เน็ตทางด้านการศึกษา กรุงเทพมหานคร เผยแพร่สื่อการศึกษา 1stFloor Bristol & West House, 100 Crossbrook Street, Cheshunt, Herts EN8 8JJ

* ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2555 บริษัท ไทยทีชเชอร์.ทีวี จากัด ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) คือ Pico Art International Pte Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทที่ จัดตั้งในประเทศสิงคโปร์ บริษัทได้เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2547

123 สารบัญ


2. เกณฑ์ในกำรจัดทำและนำเสนองบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2.1 งบการเงินนี้จัดทาขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่กาหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 แสดงรายการในงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 เรื่อง กาหนด รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 และตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่า ด้วยการจัดทาและนาเสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัท ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยดังกล่าว งบการเงินนี้ได้จัดทาขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิม ในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของรายการในงบการเงิน เว้นแต่จะได้ เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมได้จัดทาขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) บริษัทย่อย และกิจการที่ ควบคุมร่วมกันดังต่อไปนี้ ประเทศ ที่จดทะเบียน

สกุลเงิน

ทุนที่เรียกชำระแล้ว 2556 2555

อัตรำร้อยละของ กำรถือหุน้ โดยกลุ่มบริษัท 2556 2555

(หน่วย:พัน)

ร้อยละ

ร้อยละ

11,000,000 10,000,000 4,000,000 5,000,000 3,000,000 100

90.00 99.99 59.99 99.99 99.99 75.00

90.00 99.99 59.99 99.99 99.99 75.00

บริษัทย่อย

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท นอกซ์ บางกอก จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท เอฟซีจี จากัด Andrew Bethell Associates Limited

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย อังกฤษ

บาท บาท บาท บาท บาท ปอนด์สเตอร์ลิง

11,000,000 10,000,000 4,000,000 10,000,000 3,000,000 100

อัตรำส่วนแบ่งกำรลงทุนร้อยละ กิจกำรร่วมค้ำ

บจก. เอกค้าไทย บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) และบจก. บิวคอน กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาโครงการ เอ – เซเว่น ปิโก

40.00 40.00

บริษัทย่อย หมายถึง บริษัทที่กลุ่มบริษัทถือหุ้นทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมและมีการควบคุมอย่างเป็นสาระสาคัญต่อการ ดาเนินงานของกิจการ บริษัทลงทุนในอัตราร้อยละ 40 งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 และสาหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของ แต่ละปี บริษัทได้นาสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่ายของกิจการที่ควบคุมร่วมกันดังกล่าว แสดงแยกเป็นแต่ละบรรทัด ในงบการเงินรวม โดยใช้วิธีรวมตามสัดส่วน

124 สารบัญ


เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2553 บริษัทได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงให้ยกเลิกกิจการร่วมค้ า บจก. เอกค้าไทย บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) และบจก. บิวคอน ต่อมาเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2553 กิจการร่วมค้าดังกล่าวได้ยื่นคาร้องขอเลิกกิจการร่วมค้า ต่อกรมสรรพากรแล้วปัจจุบันอยู่ในระหว่างการดาเนินการเลิกกิจการ (ดูหมายเหตุข้อ 30.1) เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2553 บริษัทได้ลงนามในสัญญาก่อตั้งกิจการร่วมค้ากับบริษัท เอ-เซเว่น คอร์ปอเรชั่น จากัด โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อดาเนินงานเป็นที่ปรึกษาการออกแบบพิพิธภัณฑ์ งบการเงินรวมได้รวมงบการเงินของกิจการร่วมค้าสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 ซึ่งยังไม่ได้ตรวจสอบ โดยสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ของกิจการร่วมค้าภายหลังการตัดรายการระหว่างกันซึ่งแสดงรวมอยู่ในงบ การเงินรวม มีดังนี้ กิจการร่วมค้า บจก.เอกค้าไทย บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) และบจก. บิวคอน

หนี้สิน

ยอดคงเหลือ (ล้ำนบำท)

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556 ร้อยละของสินทรัพย์รวม

ยอดคงเหลือ (ล้ำนบำท)

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555 ร้อยละของสินทรัพย์รวม

0.48

0.06

0.48

0.06

กิจการร่วมค้า กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาโครงการ เอ-เซเว่น ปิโก

สินทรัพย์ หนี้สิน

ยอดคงเหลือ (ล้ำนบำท)

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556 ร้อยละของสินทรัพย์รวม

ยอดคงเหลือ (ล้ำนบำท)

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555 ร้อยละของสินทรัพย์รวม

3.29 1.17

0.45 0.16

4.45 2.27

0.55 0.28

สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ตุลำคม 2556 ร้อยละของ จำนวน (ล้ำนบำท) รำยได้และค่ำใช้จ่ำยรวม

ค่าใช้จ่าย

-

-

สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ตุลำคม 2555 ร้อยละของ จำนวน (ล้ำนบำท) รำยได้และค่ำใช้จ่ำยรวม

0.01

0.01

ข) บริษัทนางบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทางบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ได้มา (วันที่บริษัทมีอานาจในการ ควบคุมบริษัทย่อย) จนถึงวันที่บริษัทสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกันได้จัดทาขึ้นโดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใช้นโยบายการบัญชีที่ สาคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัท ง) งบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงิ นบาทโดยใช้อัตราปิด ณ วันที่ในงบแสดงฐานะ การเงินสาหรับรายการที่เป็นสินทรัพย์และหนี้สิน และใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยสาหรับปีสาหรับรายการที่เป็นรายได้และ ค่ า ใช้ จ่ า ย ผลต่ า งซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น จากการแปลงค่ า ดั ง กล่ า วได้ แ สดงไว้ เ ป็ น รายการ “ผลต่ า งจากการแปลงค่ า งบการเงิ น ” กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษัท บริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสาคัญ และเงินลงทุน ในบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกันในบัญชีของบริษัท ทุนเรือนหุ้นของบริษัทย่อยและทุนของกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว

125 สารบัญ


2.3 บริษัทได้จัดทางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุม ร่วมกันและบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน 2.4 งบการเงินสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 ของบริษัทย่อยในต่างประเทศที่รวมอยู่ในงบการเงินรวมนี้ เป็น งบการเงินที่จัดทาขึ้นโดยฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยและยังไม่ได้ผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทย่อยนั้น โดยมี ยอดสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 ประมาณ 0.92 ล้านบาทหรือร้อยละ 0.13 ของสินทรัพย์รวม 2.5 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ที่ออกและปรับปรุงใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และปรับปรุงใหม่ ซึ่งยังไม่มีผลบังคับใช้ บริษัทและบริษัทย่อยยังไม่ได้นามาถือปฏิบัติ มีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน

เรื่อง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8

ภาษีเงินได้

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล – กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ดาเนินงาน

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 แนวปฏิบัติทางบัญชี

ภาษีเงินได้ – การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสือ่ มราคาที่ตีราคาใหม่ ภาษีเงินได้ – การเปลี่ยนแปลงสถานะภาพทางภาษีของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น การโอนและการรับโอนสินทรัพย์ทางการเงิน

การบัญชีสาหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการช่วยเหลือจากรัฐบาล

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนในเงินตราต่างประเทศ ส่วนงานดาเนินงาน

ผู้บริหารของบริษัทและบริษัทย่อย ได้ประเมินและเห็นว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กล่าวข้างต้นจะไม่มีผลกระทบที่ เป็นสาระสาคัญต่องบการเงินที่นาเสนอ ยกเว้นผลกระทบของแนวปฏิบัติทางบัญชีเรื่อง การโอนและการรับโอนสินทรัพย์ ทางการเงิน ตามที่ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่ อวันที่ 17 มกราคม 2556 ซึ่งอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบต่อ งบการเงินโดยฝ่ายบริหารของบริษัทและบริษัทย่อยที่จะอธิบายในวรรคถัดไป มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 กาหนดให้กิจการเปิดเผยข้อมูลส่วนงานตามเกณฑ์การเสนอรายงานโดยใช้ หลักเกณฑ์เดียวกับที่ผู้มีอานาจในการตัดสินใจสูงสุดด้านการดาเนินงานใช้ในการเสนอรายงานภายใน การเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีดังกล่าว ผลกระทบเพียงการเปิดเผยข้อมูลเท่านั้นไม่มีผลกระทบต่อตัวเลขในงบการเงินของบริษัทฯ

126 สารบัญ


มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ ซึ่งรวมถึงภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบัน และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ของงวดคานวณจากจานวนที่ต้องเสียภาษีและจานวนที่สามารถหักภาษีได้ซึ่งแสดงอยู่ในแบบการ คานวณภาษีเงินได้ในงวดปัจจุบัน สินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคานวณจากจานวนที่คาดว่าจะต้องจ่ายแก่ หรือได้รับคืนจากหน่วยงานจัดเก็บภาษี โดยใช้อัตราภาษีและกฎหมายภาษีอากรที่บังคับใช้อยู่หรือที่คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ ภายในวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน การบัญชีสาหรับภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคานวณจากผลแตกต่างชั่วคราวของฐานภาษี ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน และมูลค่าตามบัญชีของสิน ทรัพย์หรือหนี้สินในงบการเงิน ผลแตกต่างชั่วคราวหลักอาจเกิดจาก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน และยอดยกมาของขาดทุนทางภาษี เป็นต้น บริษัทและบริษัทย่อย จะเริ่มนามาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน2556 โดยการปรับปรุงย้อนหลังซึ่งคาดว่าน่าจะทาให้ เกิดรายการภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และมีผลกระทบต่อกาไรสะสมและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ฝ่ายบริหารของบริษัทและ บริษัทย่อยคาดว่าการนามาตรฐานการบัญชีดังกล่าวมาใช้ จะมีผลทาให้กาไรสะสมที่ยกมาต้นปี 31 ตุลาคม 2557ของบริษัท และบริษัทย่อยมีจานวนเพิ่มขึ้นรวมประมาณ 5.60 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท: เพิ่มขึ้นประมาณ 4.42 ล้านบาท) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน

เรื่อง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1

ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอนการบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดล้อม การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทาง การเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีเงินเฟ้อรุนแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ข้อตกลงสัมปทานบริการ โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า สิ่งจูงใจสัญญาเช่าดาเนินงาน การประเมินเนื้อหาของรายการที่เกี่ยวกับรูปแบบของกฎหมายตามสัญญาเช่า การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน – ต้นทุนเว็บไซต์

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 7 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32

10 12 13 17 18

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน

เรื่อง

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4

สัญญาประกันภัย

บริษัทและบริษัทย่อยอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบต่องบการเงินในปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าว ยกเว้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ภาษีเงินได้ ไม่มีผลกระทบที่แตกต่างจากผลกระทบตามมาตรฐาน ฉบับเดิมที่มีผลบังคับใช้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556

127 สารบัญ


3. นโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญ สรุปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ มีดังนี้ 3.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย บริ ษัทรับรู้ รายได้จากการให้บริการ ตามวิธี อัต ราส่วนของงานที่ทาเสร็ จ อัต ราส่วนของงานที่ทาเสร็ จค านวณโดยการ เปรียบเทียบต้นทุนงานที่เกิดขึ้นแล้วจนถึงวันสิ้นปีกับต้นทุนงานทั้งหมดที่คาดว่าจะใช้ในการทางานตามสัญญา บริษัทรับรู้รายได้จากการจัด งานแสดงสินค้างานนิทรรศการและงานบันเทิงต่างๆ ณ วันที่เปิดงานแสดง รายได้จากการให้บริการด้านการสื่อสารองค์ความรู้ รับรู้รายได้ตามงานที่ส่งมอบให้กับลูกค้า และแสดงยอดสุทธิกับรายการที่ เกี่ยวข้องโดยตรงจากบริษัทย่อย รายได้เงินปันผลรับรู้เมื่อประกาศจ่าย รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง 3.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึง กาหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจากัดในการเบิกใช้ 3.3 เงินลงทุน เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด แสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนตัดจาหน่าย ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมากับ มูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่ายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ 3.4 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ ก าหนดขึ้ น โดยประมาณจากจ านวนหนี้ ที่ ค าดว่ า จะเก็ บ เงิ น ไม่ ไ ด้ ก ารประมาณดั ง กล่ า วอาศั ย ประสบการณ์ของบริษัทในการเก็บเงินจากลูกหนี้ประกอบกับการพิจารณาฐานะการเงินของลูกหนี้แต่ละรายด้วย 3.5 ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชี ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชีประกอบด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ แสดงมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชีสาหรับบริการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่บริการด้านงานแสดงสินค้างานนิทรรศการและงานบันเทิง ต่างๆ จะรับรู้เป็นต้นทุนการให้บริการเมื่อได้ให้บริการตามสัญญาที่ทาไว้กับลูกค้า ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชีสาหรับการจัดงานแสดงสินค้า งานนิทรรศการและงานบันเทิงต่างๆ จะรับรู้เป็นต้นทุนการ บริการ ณ วันที่เปิดงานแสดง

128 สารบัญ


3.6 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการร่วมค้าและบริษัทอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการร่วมค้าและบริษัทอื่นที่รวมในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงโดยใช้วิธีราคาทุน หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่รวมในงบการเงินรวมแสดงโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในบริษัทอื่นเป็นหลักทรัพย์เพื่อการลงทุนทั่วไปแสดงตามราคาทุน 3.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินแสดงในราคาที่ตีใหม่ อาคารและอุปกรณ์ แสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า(ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาคานวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ ดังต่อไปนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์ดาเนินงาน อื่นๆ

6 - 20 ปี 3 - 5 ปี 3 - 5 ปี

บริษัทและบริษัทย่อยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ซึ่งกาหนดให้ 3.7.1 ต้นทุนการรื้อถอน การขนย้ายและการบูรณะสภาพของสินทรัพย์ ต้องถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ และมีการคิด ค่าเสื่อมราคาประจาปี 3.7.2 การกาหนดค่าเสื่อมราคาต้องพิจารณาแต่ละส่วนแยกต่างหากจากกันเมื่อแต่ละส่วนประกอบนั้นสาระสาคัญ 3.7.3 มูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ต้องมีการประมาณด้วยมูลค่าที่กิจการคาดว่าจะได้รับในปัจจุบันจากสินทรัพย์นั้น หากมี อายุและสภาพที่คาดว่าจะได้รับในปัจจุบันเมื่อสิ้นสุดอายุการใช้ประโยชน์นอกจากนี้ต้องมีการสอบทานมูลค่าคงเหลือ และอายุการให้ประโยชน์อย่างน้อยทุ กสิ้นปีมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) อนุญาตให้กิจการเลือก ปรับไปข้างหน้าสาหรับปีที่เริ่มนามาถือปฏิบัติบริษัทและบริษัทย่อยเลือกที่จะใช้ทางเลือกดังกล่าวซึ่งผู้บริ หารพิจารณา แล้วไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสาคัญต่องบการเงิน ในกรณีที่ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่า จะได้รับคืน ซึ่งมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนคานวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาด ว่าจะเกิดในอนาคตจากการใช้ สินทรั พ ย์อย่างต่อเนื่อง หรือจานวนที่จะได้รั บจากการขายสินทรั พ ย์หักด้วยต้นทุนจากการจาหน่ายสินทรั พ ย์ แล้วแต่ จานวนใดจะสูงกว่า หากการตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ทาให้มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้นเพิ่มขึ้น บริษัทและบริษัทย่อยจะรับรู้มูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่ไปยัง กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและรับรู้จานวนสะสมไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นภายใต้บัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” อย่างไรก็ตาม บริษัทและบริษัทย่อยจะรับรู้ส่วนเพิ่มจากการตีราคาใหม่นี้ในกาไรหรือ ขาดทุนไม่เกินจานวนที่ตีราคาสินทรัพย์ดังกล่าวลดลงในอดีตและเคยรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน บริษัทมีนโยบายที่จะประเมินมูลค่าของที่ดินที่ใช้ในการดาเนินงานทุกๆ 3 ปี โดยใช้ผู้ประเมินราคาอิสระ

129 สารบัญ


3.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประกอบด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และลิขสิทธิ์ แสดงในราคาทุนหักด้วยค่าตัดจาหน่ายสะสมและ ค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจาหน่ายคานวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ 3-10 ปี 3.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอานาจควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดยบริษัทไม่ ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัท นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสาคัญกับบริษัท ผู้บริหารสาคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัท ที่มีอานาจในการวางแผนและควบคุมการดาเนินงานของบริษัท 3.10 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าสินทรัพย์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุน ด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของ จานวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ากว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึก เป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบกาไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรั พย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่า การเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะต่ากว่า สัญญาเช่าดาเนินงาน สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์โดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ยังคงอยู่กับผู้ให้เช่ าจะ จัดเป็นสัญญาเช่าดาเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดาเนินงานสุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่าจะ บันทึกในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเช่า ดาเนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เบี้ยปรับที่ต้องจ่ายให้แก่ผู้ให้เช่าจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การ ยกเลิกนั้นเกิดขึ้น 3.11 รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัทแปลงค่ารายการบัญชีในสกุลเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นระหว่างปีเป็นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิ ด รายการ และแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินในสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ตามงบแสดงฐานะการเงินเป็นเงิน บาทตามอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ ประกาศโดยธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ณ วัน นั้ น บริ ษั ท รั บรู้ ก าไรหรื อ ขาดทุ น จากอั ต รา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเมื่อมีการชาระเงินหรื อที่เกิดจากการแปลงค่าเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเมื่อกาไรหรือขาดทุนนั้นเกิดขึ้น

130 สารบัญ


3.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน บริษัทและบริษัทย่อยจะทาการประเมินการด้อยค่าของอาคารและอุปกรณ์หากมีข้อบ่งชี้ว่า สินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มี มูลค่าต่ากว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้ วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทและ บริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่บริษัทและบริษัทย่อยคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และคานวณคิดลดเป็น มูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบั นของเงินสดตามระยะเวลา และความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กาลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทและบริษัทย่อยใช้แบบจาลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจานวนเงินที่กิจการ สามารถจะได้มาจากการจาหน่ายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจาหน่าย โดยการจาหน่ายนั้นผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรั พย์ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ยกเว้นในกรณีที่อาคาร ซึ่งใช้วิธีการตีราคาใหม่และได้บันทึกส่วนเกินทุนจากการตีราคาใหม่ไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้ใน ส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกินไปกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว้และส่วนที่เกินจะรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ 3.13 กองทุนสารองเลี้ยงชีพและผลประโยชน์พนักงาน บริษัทและบริษัทย่อยจัดให้มีเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับพนักงานของบริษัทที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนโดยพนักงาน จ่ายสะสมเป็นรายเดือนตามอัตราร้อยละของเงินเดือนประจา และบริษัทและบริ ษัทย่อยจ่ายสมทบเป็นรายเดือนตามอัตรา เงินเดือนประจาของพนักงาน บริษัทและบริษัทย่อยได้แต่งตั้งผู้จัดการกองทุนเพื่อบริหารกองทุนดังกล่าว ตามกฎเกณฑ์และ ข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษัทและบริษัทย่อยจัดให้มีผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงานและผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงานเพื่อจ่าย ให้แก่พนักงานตามกฎหมายแรงงานของประเทศไทย หนี้สินผลประโยชน์พนักงานคานวณโดยใช้เทคนิคการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial Technique) โดยผู้ประเมินอิสระ อันเป็นประมาณการจากมู ลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตและคานวณคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลที่มีกาหนดเวลา ใกล้เคียงกับระยะเวลาของหนี้สินดังกล่าว โดยประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตนั้นประมาณการจาก เงินเดือนพนักงาน อัตราการลาออก อายุงาน และปัจจัยอื่น นอกจากนั้น บริษัทและบริษัทย่อยจัดให้มีโครงการผลประโยชน์ พนักงานอื่นของพนักงาน ได้แก่ โครงการเงินรางวัลการปฏิบัติงานครบกาหนดระยะเวลา กาไรหรือขาดทุนจากการ เปลี่ยนแปลงประมาณการจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์พนักงานจะบันทึกในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเพื่อกระจายต้นทุนดังกล่าวตลอดระยะเวลา ของการจ้างงาน บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสารองเลี้ยงชีพ เป็น ค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 3.14 ประมาณการหนี้สิน บริษัทและบริษัทย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทและบริษัทย่อยจะสูญสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพัน นั้น และบริษัทและบริษัทย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ

131 สารบัญ


3.15 ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทางบการเงินให้เป็นไปตามมาตราฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารของบริษัทและบริษัทย่อย ต้องอาศัย ดุลยพินิจในการกาหนดนโยบายการบัญชี การประมาณการและการตั้งข้อสมมติฐานหลายประการซึ่งมีผลกระทบต่อการ แสดงจานวนสินทรัพย์ หนี้สินและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันสิ้นปี รวมทั้งการแสดง รายได้และค่าใช้จ่ายของปีบัญชี ถึงแม้ว่าการประมาณการของผู้บริหาร ได้พิจารณาอย่างสมเหตุสมผลภายใต้เหตุการณ์ ณขณะนั้น ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจมีความแตกต่างไปจากประมาณการดังกล่าว 3.16 ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัท และบริษัทย่อย บันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลตามจานวนภาษีเงินได้ที่จะต้ องจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมดในแต่ละปีบัญชี ตามเกณฑ์ประมวลรัษฎากร 3.17 กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคานวณโดยการหารกาไรสาหรับปีที่เป็นส่วนของบริษัทใหญ่หลังจากหักเงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิเฉพาะ เงินปันผลที่จ่ายหรือประกาศจ่ายแล้ว ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักของหุ้นสามัญที่มีอยู่ในระหว่างปี 4. ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระแสเงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด 4.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย เงินสดในมือ เงินฝากสถาบันการเงินทุกประเภทที่มีระยะเวลาครบ กาหนด 3 เดือนหรือน้อยกว่า และเงินลงทุนชั่วคราวที่มีระยะเวลาครบกาหนด 3 เดือนหรือน้อยกว่า แต่ไม่รวมเงินฝาก สถาบันการเงินที่ใช้เป็นหลักประกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดมีดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

60,279,942 3,161,145 150,000,000 213,441,087

87,285,169 90,740 213,000,000 300,375,909

หน่วย : บำท

เงินสด และเงินฝากสถาบันการเงิน เงินสด และเงินฝากสถาบันการเงิน- กิจการร่วมค้า ตั๋วแลกเงิน รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

31,273,215 150,000,000 181,273,215

54,619,609 200,000,000 254,619,609

4.2 รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับเงินสด 4.2.1 เจ้าหนี้ค่าสินทรัพย์ถาวรและเจ้าหนี้ค่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตน มีดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

484,124 46,763,391 (41,988,144) (2,887,636) 2,371,735

1,114,020 10,533,408 (7,101,517) (4,061,787) 484,124

2556

งบกำรเงินรวม 2555

29,217,379 2,500,000 31,717,379

29,217,379 29,217,379

หน่วย : บำท

เจ้าหนี้ค่าสินทรัพย์ถาวรและเจ้าหนี้ค่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตนยกมา ค่าซื้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน หัก ส่วนที่จ่ายเป็นเงินสดเพื่อซื้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

การซื้อสินทรัพย์ถาวรโดยการเช่าซื้อ เจ้าหนี้ค่าสินทรัพย์ถาวรและเจ้าหนี้ค่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตนยกไป

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

24,124 31,264,904 (26,788,220) (2,887,636) 1,613,172

780,530 7,056,389 (3,751,008) (4,061,787) 24,124

4.2.2 ส่วนเกินทุนจากการตีมูลค่าที่ดิน หน่วย : บำท

ส่วนเกินทุนจากการตีมูลค่าที่ดินยกมา มูลค่าที่ดินเพิ่มขึ้นในระหว่างปี ส่วนเกินทุนจากการตีมูลค่าที่ดินยกไป

132 สารบัญ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

29,217,379 2,500,000 31,717,379

29,217,379 29,217,379


4.2.3 เงินปันผลค้างจ่าย 2556

งบกำรเงินรวม 2555

69,879,325 (26,354,334) (400,252) (43,124,739) -

81,708,048 (23,639,045) (57,499,840) 569,163

หน่วย : บำท

เงินปันผลจ่ายและเงินปันผลประกาศจ่าย หัก เงินสดจ่ายปันผล– ผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ เงินสดจ่ายปันผล – ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม หุ้นจ่ายปันผล เงินปันผลค้างจ่าย

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

69,479,073 (26,354,334) (43,124,739) -

81,138,885 (23,639,045) (57,499,840) -

5. เงินลงทุนชั่วครำว ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ2555บริษัทย่อยมีเงินฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

8,306,534

-

2556

งบกำรเงินรวม 2555

17,689,115 125,381,523 143,070,638 (19,531,627) 123,539,011

11,346,944 178,056,170 189,403,114 (19,211,650) 170,191,464

15,055,432 98,867,714 113,923,146 (19,531,627) 94,391,519

5,733,130 174,661,547 180,394,677 (18,910,124) 161,484,553

-

-

574,237 574,237

-

937,654 4,268,899 4,568,741 34,999,293 4,697,278 8,107,777 57,579,642 181,118,653

750,633 3,706,869 5,694,181 37,947,413 8,878,028 16,545,586 73,522,710 243,714,174

8,321,682 3,489,002 3,322,272 24,840,867 3,460,068 3,735,906 47,169,797 142,135,553

2,669,903 3,090,385 4,752,257 12,114,687 25,335,441 7,567,043 9,937,899 65,467,615 226,952,168

หน่วย : บำท

เงินฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา

6.

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

-

-

ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อื่น

หน่วย : บำท ลูกหนีก้ ำรค้ำ

- กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 22) - บริษัทอื่น รวมลูกหนี้การค้า หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้า

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

ลูกหนี้สนิ ทรัพย์

- กิจการที่เกี่ยวข้องกัน(หมายเหตุข้อ 22) รวมลูกหนี้สินทรัพย์ ลูกหนี้อนื่

- ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน(หมายเหตุข้อ 22) - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - เงินทดรองรับ - เงินปันผลค้างรับ ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงกาหนดชาระ อื่นๆ รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

133 สารบัญ


บริษัทมีลูกหนี้การค้าแยกตามอายุหนี้ดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

14,325,328

7,355,313

8,722,395

1,755,094

3,363,787 17,689,115

2,908,444 1,027,377 55,810 11,346,944

3,363,787 2,969,250 15,055,432

2,908,444 1,013,782 55,810 5,733,130

81,922,209

120,072,181

63,727,201

118,164,882

22,580,678 224,108 324,048 20,330,480 125,381,523 (19,531,627) 105,849,895 123,539,011

34,837,799 2,280,351 180,308 20,685,531 178,056,170 (19,211,650) 158,844,520 170,191,464

14,338,664 147,321 324,048 20,330,480 98,867,714 (19,531,627) 79,336,087 94,391,519

34,167,768 2,280,351 180,308 19,868,238 174,661,547 (18,910,124) 155,751,423 161,484,553

2556

งบกำรเงินรวม 2555

7,542,969 122,134,101 129,677,070

3,522,822 114,827,718 118,350,540

2556

งบกำรเงินรวม 2555

15,500 37,648,750 37,664,250

22,000 19,580,180 19,602,180

หน่วย : บำท กิจกำรที่เกีย่ วข้องกัน

ยังไม่ถึงกาหนดชาระ เกินกาหนดชาระ ภายใน 3 เดือน ระหว่าง 3 เดือน ถึง 6 เดือน ระหว่าง 6 เดือน ถึง 12 เดือน รวมลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

บริษัทอืน่

ยังไม่ถึงกาหนดชาระ เกินกาหนดชาระ ภายใน 3 เดือน ระหว่าง 3 เดือน ถึง 6 เดือน ระหว่าง 6 เดือน ถึง 12 เดือน 12 เดือนขึ้นไป หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้าบริษัทอื่น รวมลูกหนี้การค้า

7. เงินที่กิจกำรมีสิทธิเรียกร้องจำกลูกค้ำ เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้ามีดังนี้ หน่วย : บำท

เงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า -บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 22) -บริษัทอื่น รวม

8.

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

6,717,906 101,778,795 108,496,701

4,590,532 113,933,336 118,523,868

ต้นทุนกำรให้บริกำรรอกำรตัดบัญชี

หน่วย : บำท

ต้นทุนการให้บริการรอการตัดบัญชี -บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 22) -บริษัทอื่น รวม

134 สารบัญ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

2,723,257 33,138,261 35,861,518

1,722,000 19,369,647 21,091,647


135

สารบัญ

Andrew Bethell Associates Limited

บริษัท เอฟซีจี จากัด

บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด *

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด

บริษัท นอกซ์ บางกอก จากัด

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด

บริษัทย่อย

ชื่อบริษัท

ให้เช่าอุปกรณ์และจัดสร้างคูหามาตรฐานใน การแสดงสินค้า จัดกิจกรรมทางการตลาด ให้บริการใน กิจกรรมทางการตลาดสาหรับลูกค้า ออกแบบตกแต่งคูหาแสดงสินค้าและงาน ออกแบบภายใน ผลิต รับจ้างผลิตและเผยแพร่รายการ โทรทัศน์ รายการเคเบิ้ลทีวี รายการทีวีผ่าน ดาวเทียมรายการทีวีผ่านอินเตอร์เน็ต ทางด้านการศึกษา ผลิต รับจ้างผลิตและเผยแพร่รายการ โทรทัศน์ รายการเคเบิ้ลทีวี รายการทีวีผ่าน ดาวเทียมรายการทีวีผ่านอินเตอร์เน็ต ทางด้านการศึกษา เผยแพร่สื่อการศึกษา

ประเภทกิจกำร

ปอนด์สเตอร์ลิง

บาท

บาท

บาท

บาท

บาท

สกุลเงิน

100

3,000,000

10,000,000

4,000,000

10,000,000

11,000,000

2556

100

3,000,000

5,000,000

4,000,000

10,000,000

11,000,000

ทุนชำระแล้ว 2555

75.00

99.99

99.99

59.99

99.99

90.00

75.00

99.99

99.99

59.99

99.99

90.00

ร้อยละ 2556 2555

สัดส่วนกำรถือหุ้น

-

-

-

-

-

-

2556

-

-

-

-

-

-

วิธีส่วนได้เสีย 2555

งบกำรเงินรวม

971,000

2,999,700

9,999,700

2,520,000

10,298,600

12,750,714

2556

971,000

2,999,700

4,999,850

2,520,000

10,298,600

12,750,714

วิธีรำคำทุน 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

หน่วย : บำท

9. เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจกำรร่วมค้ำ เงินลงทุนในบริษัทร่วมซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสียตามงบการเงินรวม และเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุนตามงบการเงินเฉพาะกิจการ(หมายเหตุข้อ 22) มีดังนี้


136

สารบัญ 2,300,000

40.00

40.00

40.00

40.00

20.25

-

22.22 40.00

17,351,291

20,180,781

-

5,837,941

-

5,933,963 5,579,387

-

-

6,975,434

1,630,071

6,519,740 5,055,536

48,228,972

920,000

160,000

-

1,687,425

3,922,033 1,999,800

41,541,697

920,000

160,000

-

-

3,922,033 1,999,800

วิธีรำคำทุน 2555

เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2556 บริษัทได้ลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จากัด จานวน 1.69 ล้านบาท บริษัทดังกล่าวจดทะเบียนเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2556 โดยมีทุนจดทะเบียนจานวน 15 ล้านบาท และมีทุนที่ออกและชาระแล้วจานวน 3.75 ล้านบาท บริษัทมีสัดส่วนการลงทุนร้อยละ 45 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกล่าว

2,300,000

400,000

20.25

45.00

22.22 40.00

2556

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

**

บาท

ออกแบบพิพิธภัณฑ์

400,000

2,000,000

-

6,000,000 5,000,000

2556

วิธีส่วนได้เสีย 2555

งบกำรเงินรวม

เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด (บริษัทย่อย) มีมติให้เรียกชาระค่าหุ้นเพิ่มเติมอีกหุ้นละ 50 บาท จากหุ้นสามัญจานวน 100,000 หุ้น โดยบริษัทได้ชาระค่าหุ้นเพิ่มเติม จานวน 5 ล้านบาท เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2556

บาท

2,000,000

3,750,000

บาท

บาท

6,000,000 5,000,000

2556

บาท บาท

สกุลเงิน

ออกแบบและก่อสร้างพิพิธภัณฑ์

ให้เช่าเครื่องตกแต่งและอุปกรณ์

รับจ้างออกแบบและพิมพ์ป้ายโฆษณา รับจัดงานแสดงสินค้า ออกแบบและโฆษณา รับจัดงานแสดงสินค้า การจัดกิจกรรม ทางการตลาด ออแกไนเซอร์ สิ่งพิมพ์ สื่อ และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง

ประเภทกิจกำร

ร้อยละ 2556 2555

สัดส่วนกำรถือหุ้น

*

กิจการร่วมค้า - บจก.เอกค้าไทย บมจ.ปิโก (ไทยแลนด์) และบจก.บิวคอน กิจการร่วมค้า- กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาโครงการ เอ-เซเว่น ปิโก รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วม ค้า

กิจกำรร่วมค้ำ

บริษัท ยู - เร้นท์ จากัด

บริษัทร่วมทำงอ้อม (ถือหุ้นโดย บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด)

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไอบริก จากัด บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จากัด**

บริษัทร่วมทำงตรง

ชื่อบริษัท

ทุนชำระแล้ว 2555

หน่วย : บำท


137

สารบัญ

บริษัท ยูเท็กซ์ เหนือ จากัด รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น

บริษัท ลานนา เอ็กซิบิท แอนด์ อีเวนท์ เอเจนซี่ จากัด

บริษัท ยูเท็กซ์ เซอร์วิสเซส จากัด บริษัท เอ พลัส ยูทิลิตี้ แมเนจเมนท์ จากัด

บริษัทร่วมทำงอ้อม (ถือหุ้นโดย บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด)

บริษัท เอเซีย เอ็กซิบิชั่น เซอร์วิส เซส จากัด

บริษัทอืน่

ชื่อบริษัท

10. เงินลงทุนระยะยำวอื่น เงินลงทุนระยะยาวอื่น มีดังนี้

ติดตั้งระบบไฟฟ้า ติดตั้งระบบไฟฟ้า ออกแบบ และตกแต่งคูหาแสดงสินค้า ร้านแสดงสินค้าและชั้นวางแสดงสินค้า ติดตั้งระบบไฟฟ้า

บริการและประสานงาน

ประเภทกิจกำร

บาท

บาท บาท บาท

บาท

สกุลเงิน

1,000,000

10,000,000 5,000,000 1,000,000

12,000,000

2556

1,000,000

10,000,000 5,000,000 1,000,000

12,000,000

ทุนชำระแล้ว 2555

14.00

18.35 19.04 16.00

19.99

14.00

18.35 19.04 16.00

19.99

ร้อยละ 2556 2555

สัดส่วนกำรถือหุ้น

140,000 6,473,825

2,742,363 1,032,662 160,000

2,398,800

2556

140,000 6,473,825

2,742,363 1,032,662 160,000

2,398,800

วิธีรำคำทุน 2555

งบกำรเงินรวม

หน่วย : บำท

2,398,800

-

2,398,800

2556

2,398,800

-

2,398,800

วิธีรำคำทุน 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร


11. ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ประกอบด้วย

หน่วย : บำท รำคำทุนและรำคำที่ตีใหม่

ที่ดิน - ราคาทุน ที่ดิน - มูลค่าเพิม่ จากการตีราคา ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมราคาทุนและราคาที่ตีใหม่

งบกำรเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2555

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

โอนเข้ำ (ออก)

15,782,621 29,217,379 445,025 727,602 63,774,401 19,534,457 15,122,217 28,206,553 3,008,407 10,984,518 33,825,556 220,628,736

2,500,000 3,859,285 785,498 3,541,800 30,937 550,661 13,740,182 25,008,363

(3,066,000) (105,960) (428,740) (1,057,004) (4,657,704)

20,113,917 20,113,917

15,782,621 31,717,379 445,025 727,602 63,774,401 20,327,742 15,801,755 31,319,613 3,039,344 10,478,175 67,679,655 261,093,312

(445,024) (282,297) (43,913,007) (10,297,049) (9,417,733) (21,430,171) (2,907,615) (9,666,141) (25,668,217) (124,027,255) 1,276,000 97,877,481

(145,520) (5,628,446) (3,010,155) (2,132,851) (5,014,773) (41,363) (695,745) (6,320,947) (22,989,800) 20,433,917

3,065,998 75,148 280,605 615,298 293 4,037,342 -

(20,113,917)

(445,024) (427,817) (49,541,453) (10,241,206) (11,475,436) (26,164,339) (2,948,978) (9,746,588) (31,988,871) (142,979,712) 1,596,000 119,709,600

ค่ำเสื่อมรำคำสะสม

ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์

ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี 2556 2555

22,989,800 20,396,902

138 สารบัญ


หน่วย : บำท รำคำทุนและรำคำที่ตีใหม่

ที่ดิน - ราคาทุน ที่ดิน - มูลค่าเพิม่ จากการตีราคา ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมราคาทุนและราคาที่ตีใหม่

งบกำรเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2554

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

โอนเข้ำ (ออก)

15,782,621 29,217,379 445,025 727,602 63,448,882 13,806,131 15,770,854 28,523,087 3,043,260 11,018,515 31,300,134 213,083,490

5,728,326 453,996 1,330,117 3,000 73,542 2,557,700 10,146,681

(1,102,633) (1,646,651) (37,853) (107,539) (32,278) (2,926,954)

325,519 325,519

15,782,621 29,217,379 445,025 727,602 63,774,401 19,534,457 15,122,217 28,206,553 3,008,407 10,984,518 33,825,556 220,628,736

(445,024) (136,378) (37,982,809) (7,959,605) (8,157,980) (17,744,511) (2,909,144) (8,939,006) (22,272,912) (106,547,369) 1,210,000 107,746,121

(145,919) (5,930,198) (2,337,444) (2,352,562) (5,332,215) (36,316) (834,664) (3,427,583) (20,396,902) 391,519

1,092,809 1,646,555 37,845 107,529 32,278 2,917,016 -

(325,519)

(445,024) (282,297) (43,913,007) (10,297,049) (9,417,733) (21,430,171) (2,907,615) (9,666,141) (25,668,217) (124,027,255) 1,276,000 97,877,481

ค่ำเสื่อมรำคำสะสม

ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์

ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี 2555 2554

20,396,902 20,769,077

ต้นทุนของสินทรัพย์ทหี่ ักค่ำเสื่อมรำคำสะสมทั้งจำนวนแต่ยังใช้งำนอยู่

2556 ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม 2555 ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม

62,993,655 46,620,384

139 สารบัญ


หน่วย : บำท รำคำทุนและรำคำที่ตีใหม่

ที่ดิน - ราคาทุน ที่ดิน - มูลค่าเพิม่ จากการตีราคา ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมราคาทุนและราคาที่ตีใหม่

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร โอนเข้ำ (ออก) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2555

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

15,782,621 29,217,379 445,025 727,602 60,099,930 18,945,457 12,433,342 21,230,384 207,436 10,315,721 1,318,545 170,723,442

2,500,000 3,825,286 738,320 2,923,934 10,500 129,963 812,016 10,940,019

(3,066,000) (58,852) (373,803) (1,048,754) (4,547,409)

20,113,917 20,113,917

15,782,621 31,717,379 445,025 727,602 60,099,930 19,704,743 13,112,810 23,780,515 217,936 9,396,930 22,244,478 197,229,969

(445,024) (282,297) (40,490,627) (10,000,176) (7,218,791) (16,475,331) (106,663) (9,028,651) (1,318,533) (85,366,093) 1,276,000 86,633,349

(145,520) (5,376,369) (2,925,328) (1,945,834) (4,071,835) (36,865) (674,483) (943,707) (16,119,941) 20,433,917

3,065,998 35,004 225,931 611,646 3,938,579 -

-

(445,024) (427,817) (45,866,996) (9,859,506) (9,129,621) (20,321,235) (143,528) (9,091,488) (2,262,240) (97,547,455) 1,596,000 101,278,514

ค่ำเสื่อมรำคำสะสม

ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์

ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี 2556 2555

16,119,941 15,339,530

140 สารบัญ


หน่วย : บำท รำคำทุนและรำคำที่ตีใหม่

ที่ดิน - ราคาทุน ที่ดิน - มูลค่าเพิม่ จากการตีราคา ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมราคาทุนและราคาที่ตีใหม่

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร โอนเข้ำ (ออก) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2554

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

15,782,621 29,217,379 445,025 727,602 59,774,411 13,217,131 13,049,379 21,814,331 242,289 10,349,718 1,318,545 165,938,431

5,728,326 430,764 1,042,454 3,000 73,542 7,278,086

(1,046,801) (1,626,401) (37,853) (107,539) (2,818,594)

325,519 325,519

15,782,621 29,217,379 445,025 727,602 60,099,930 18,945,457 12,433,342 21,230,384 207,436 10,315,721 1,318,545 170,723,442

(445,024) (136,378) (34,942,114) (7,740,946) (6,203,226) (13,634,936) (108,192) (8,315,314) (1,318,533) (72,844,663) 1,210,000 94,303,768

(145,919) (5,548,513) (2,259,230) (2,061,983) (4,466,703) (36,316) (820,866) (15,339,530) 391,519

1,046,418 1,626,308 37,845 107,529 2,818,100 -

(325,519)

(445,024) (282,297) (40,490,627) (10,000,176) (7,218,791) (16,475,331) (106,663) (9,028,651) (1,318,533) (85,366,093) 1,276,000 86,633,349

ค่ำเสื่อมรำคำสะสม

ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงจากการเช่าที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและเครื่องจักร เครื่องตกแต่งสานักงาน อุปกรณ์ดาเนินงาน รวมค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์

ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี 2555 2554

15,339,530 15,318,220

ต้นทุนของสินทรัพย์ทหี่ ักค่ำเสื่อมรำคำสะสมทั้งจำนวนแต่ยังใช้งำนอยู่

2556 ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม 2555 ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม

37,757,153 23,563,498

141 สารบัญ


ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2537 บริษัทได้มีการตีราคาที่ดินใหม่โดยผู้ประเมินราคาอิสระ บริษัทได้บันทึกส่วนเพิ่ม จากการตีราคาที่ดินไว้ในบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน ซึ่งแสดงเป็นรายการในส่วนของผู้ถือหุ้น ต่อมาที่ดินดังกล่าว ได้ตีราคาใหม่ โดยผู้ประเมินราคาอิสระเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2543 โดยบริษัทได้บันทึกมูลค่าส่วนที่ลดลงจากการตีราคา ใหม่ จานวน 5.3 ล้านบาท หักออกจากบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินดังกล่าว เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2548 ที่ดินดังกล่าวได้มีการตีราคาใหม่อีกครั้งโดยผู้ประเมินราคาอิสระ บริษัทได้บันทึกส่วนเพิ่มจาก การตีราคาที่ดินอีกจานวน 18.7 ล้านบาท รวมไว้ในบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินดังกล่าว เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2553 ที่ดินดังกล่าวได้มีการตีราคาใหม่อีกครั้งโดยผู้ประเมินราคาอิสระ บริษัทได้บันทึกส่วนเพิ่มจาก การตีราคาที่ดินอีกจานวน 1.3 ล้านบาท รวมไว้ในบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินดังกล่าว เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2556 ที่ดินดังกล่าวได้มีการตีราคาใหม่อีกครั้งโดยผู้ประเมินราคาอิสระ โดยวิธีต้นทุนเปลี่ยนแทน บริษัทได้บันทึกส่วนเพิ่มจากการตีราคาที่ดินอีกจานวน 2.5ล้านบาท รวมไว้ในบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินดังกล่าว 12. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประกอบด้วย

หน่วย : บำท รำคำทุน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมราคาทุน

งบกำรเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2555

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

โอนเข้ำ (ออก)

14,243,669 14,243,669

1,045,705 1,045,705

-

2,727,500 2,727,500

18,016,874 18,016,874

(6,256,279) (6,256,279) 2,087,500 10,074,890

(1,663,878) (1,663,878) 887,500

-

(2,727,500)

(7,920,157) (7,920,157) 247,500 10,344,217

ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมค่าตัดจาหน่ายสะสม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนระหว่างโอน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี 2556 2555

1,663,878 1,670,081

142 สารบัญ


หน่วย : บำท รำคำทุน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ค่าลิขสิทธิ์ รวมราคาทุน

งบกำรเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2554

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

โอนเข้ำ (ออก)

14,077,979 532,814 14,610,793

165,690 165,690

(532,814) (532,814)

-

14,243,669 14,243,669

(4,749,205) (305,091) (5,054,296) 1,627,500 11,183,997

(1,507,074) (163,007) (1,670,081) 460,000

468,098 468,098 -

-

(6,256,279) (6,256,279) 2,087,500 10,074,890

ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ค่าลิขสิทธิ์ รวมค่าตัดจาหน่ายสะสม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนระหว่างโอน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี 2555 2554

หน่วย : บำท รำคำทุน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมราคาทุน

1,670,081 1,645,183 งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร โอนเข้ำ (ออก) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2555

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

12,164,730 12,164,730

801,920 801,920

-

-

12,966,650 12,966,650

(5,051,431) (5,051,431) 247,500 7,360,799

(1,229,274) (1,229,274)

-

-

(6,280,705) (6,280,705) 247,500 6,933,445

ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมค่าตัดจาหน่ายสะสม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนระหว่างโอน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี 2556 2555

1,229,274 1,371,838

143 สารบัญ


หน่วย : บำท รำคำทุน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ค่าลิขสิทธิ์ รวมราคาทุน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร โอนเข้ำ (ออก) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2554

เพิ่มขึน้

จำหน่ำย

12,021,540 532,814 12,554,354

143,190 143,190

(532,814) (532,814)

-

12,164,730 12,164,730

(3,842,600) (305,091) (4,147,691) 247,500 8,654,163

(1,208,831) (163,007) (1,371,838)

468,098 468,098

-

(5,051,431) (5,051,431) 247,500 7,360,799

ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ค่าลิขสิทธิ์ รวมค่าตัดจาหน่ายสะสม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนระหว่างโอน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี 2555 2554

1,371,838 1,314,324

13. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

8,500,000 8,500,000

23,000,000 23,000,000

หน่วย : บำท

เงินกู้ยืมระยะสั้น –ตั๋วสัญญาใช้เงิน รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

-

23,000,000 23,000,000

บริษัทและบริษัทย่อยมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ ดังนี้ วงเงิน

งบกำรเงินรวม วงเงินที่ยังไม่ได้ใช้

300.00 288.00

291.50 265.00

หน่วย : ล้ำนบำท

2556 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร วงเงิน วงเงินที่ยังไม่ได้ใช้

272.00 275.00

272.00 252.00

ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 วงเงินดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยลู กหนี้ชั้นดีประเภทเงิน เบิกเกินบัญชี (MOR) บวกร้อยละ 0.00 ถึงลบร้อยละ 1.50 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยลูกหนี้ชั้นดีประเภทเงินกู้ยืมแบบมี ระยะเวลา (MLR) ลบร้อยละ 0.00 ถึง 1.75 ต่อปี ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556และ 2555 บริษัทมีสัญญาค้าประกันการกู้ยืมเงินของบริษัทย่อ ยสาหรับวงเงินเบิกเกินบัญชี ธนาคารในประเทศ รวมจานวน 28 ล้านบาท และ13 ล้านบาท ตามลาดับ

144 สารบัญ


14. เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น มีดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

5,594,115 78,225,717

8,642,139 128,436,351

12,021,875 59,949,656

28,552,040 115,575,700

1,807,661 47,872,033 133,499,526

1,787,407 33,251,333 172,117,230

3,285,587 36,257,248 111,514,366

2,241,517 31,027,389 177,396,646

21,976,784 33,346,743 537,391 16,656,036 9,894,516 15,845,942 98,257,412 231,756,938

27,861,517 41,601,105 10,128,467 12,058,482 14,488,162 51,232,553 157,370,286 329,487,516

21,994,974 26,040,108 537,391 15,145,642 6,887,766 12,594,013 83,199,894 194,714,260

28,037,746 34,517,814 10,128,467 9,927,833 11,330,877 42,958,126 136,900,863 314,297,509

หน่วย : บำท เจ้ำหนี้กำรค้ำ

- เจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 22) - อื่นๆ ต้นทุนค้างจ่าย - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 22) - อื่นๆ รวมเจ้าหนี้การค้า

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

เจ้ำหนี้อื่น

- เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุข้อ 22) - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - เงินมัดจารับจากลูกค้า - เงินที่ลูกค้ามีสิทธิเรียกร้องจากกิจการ - ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกาหนดชาระ - อื่นๆ รวมเจ้าหนี้อื่น รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

15. หนี้สินตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน รายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพย์ที่เช่าตามสัญญาเช่าการเงินมีดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

15,111,491 (5,346,375) 9,765,116

11,286,206 (2,986,427) 8,299,779

15,111,491 (5,346,375) 9,765,116

11,286,206 (2,986,427) 8,299,779

3,001,373 3,812,181 1,695,870 8,509,424 (990,892) 7,518,532

2,161,523 3,751,853 1,365,672 7,279,048 (734,144) 6,544,904

3,001,373 3,812,181 1,695,870 8,509,424 (990,892) 7,518,532

2,161,523 3,751,853 1,365,672 7,279,048 (734,144) 6,544,904

7,518,532 (2,597,817) 4,920,715

6,544,904 (1,846,086) 4,698,818

7,518,532 (2,597,817) 4,920,715

6,544,904 (1,846,086) 4,698,818

หน่วย : บำท

ยานพาหนะ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

จานวนเงินขั้นต่าที่ต้องจ่ายสาหรับสัญญาเช่าการเงินข้างต้นมีดังนี้

ภายใน 1 ปี เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี เกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ดอกเบี้ยจ่ายในอนาคตของสัญญาเช่าการเงิน มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินไม่รวมดอกเบี้ยจ่ายในอนาคตมีดังนี้

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หักหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี

บริษัทได้ทาสัญญาเช่าการเงินกับสถาบันการงินและบริษัทลิสซิ่งเพื่อเช่าซื้อยานพาหนะใช้ในการดาเนินงานของกิจการ โดยมี กาหนดการชาระค่าเช่าเป็นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 4-5 ปี

145 สารบัญ


16. ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 แสดง ได้ดังนี้ งบกำรเงินรวม หน่วย : บำท

ยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวด ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด

ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน 2556 2555

31,389,223 3,340,639 1,174,550 35,904,412

27,237,362 3,125,961 1,025,900 31,389,223

ผลประโยชน์ ระยะยำวอื่น 2556 2555

1,113,740 174,708 38,188 1,326,636

911,208 168,761 33,771 1,113,740

รวม 2556

2555

32,502,963 3,515,347 1,212,738 37,231,048

28,148,570 3,294,722 1,059,671 32,502,963

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หน่วย : บำท

ยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวด ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด

ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน 2556 2555

26,439,838 2,506,919 1,004,714 29,951,471

23,221,467 2,335,956 882,415 26,439,838

ผลประโยชน์ ระยะยำวอื่น 2556 2555

801,900 108,824 26,594 937,318

670,414 106,865 24,621 801,900

รวม 2556

2555

27,241,738 2,615,743 1,031,308 30,888,789

23,891,881 2,442,821 907,036 27,241,738

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยู่ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม2556 และ 2555 ในงบการเงินรวมจานวน 4.73 ล้านบาทและ 4.35 ล้านบาท ตามลาดับ (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 3.65 ล้าน บาท และ 3.35 ล้านบาท ตามลาดับ) ข้อสมมุติฐานจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial technique) มีดังนี้ อัตราคิดลด ร้อยละ 3.8 อัตราการขึ้นเงินเดือน ร้อยละ 8.0 เกษียณอายุ 60 ปี ค่ำตอบแทนกรรมกำรและผู้บริหำร สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายสาหรับผลประโยชน์พนักงานของ กรรมการและผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

1,733,486 14,134 1,747,620

1,631,451 16,670 1,648,121

หน่วย : ล้ำนบำท

ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวม

146 สารบัญ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

1,288,951 3,337 1,292,288

1,214,895 5,080 1,219,975


17. ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนของบริษัทประกอบด้วยหุ้น 2 ชนิด คือ หุ้นสามัญ และหุ้นบุริมสิทธิ หุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิได้รับเงินปันผลร่วมกับหุ้นสามัญในอัตราเท่ากัน โดยคานวณจากส่วนของผลกาไรภายหลังจากออก หุ้นบุริมสิทธิแล้ว เว้นผลกาไรจากการประเมินราคาที่ดิน อาคาร หรือสินทรัพย์อื่นซึ่งได้มาอยู่ก่อนออกหุ้นบุริมสิทธิ ซึ่งให้ แบ่งแก่หุ้นสามัญ ผู้ถือหุ้นบุริ มสิทธิ มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยหนึ่งหมื่นหุ้นบุริ มสิทธิ มีสิทธิออกเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นสามัญ นอกจากนี้หุ้นบุริมสิทธิมีสภาพและสิทธิในการรับส่วนแบ่งคืนทุนเมื่อชาระบัญชี โดยให้มีสิท ธิได้รับส่วนแบ่งเฉลี่ยร่วมกับ หุ้นสามัญในอัตราเท่ากัน เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ มีมติอนุมัติเกี่ยวกับหุ้นสามัญจดทะเบียนดังนี้ - ลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจากทุนจดทะเบียนเดิม 172,499,970 บาท เป็น 172,499,820 บาท โดยวิธีตัดหุ้น จดทะเบียนที่ยังมิได้ออกจาหน่ายจานวน 150 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท - เพิ่มทุนจดทะเบียนจานวน 43,124,955บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจานวน 172,499,820 บาทเป็น 215,624,775 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จานวน 43,124,955หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผล บริษัทฯได้ดาเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เป็นทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้วจานวน 215,624,775 บาท และ จานวน 215,624,559 บาทตามลาดับ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ มีมติอนุมัติเกี่ยวกับหุ้นสามัญจดทะเบียนดังนี้ - ลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจากทุนจดทะเบียนเดิม 115,000,000 บาท เป็น 114,999,980 บาท โดยยกเลิกการ จัดสรรหุ้นปันผลตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2548 คงเหลือจานวน 20 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท - เพิ่มทุนจดทะเบียนจานวน 57,499,990 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจานวน 114,999,980 บาทเป็น172,499,970 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จานวน 57,499,990 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผล บริษัทได้ดาเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เป็นทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้วจานวน172,499,970 บาท และ จานวน 172,499,820 บาทตามลาดับ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2555

147 สารบัญ


18. ทุนสำรองตำมกฎหมำย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจากัด บริษัทต้องจัดสรรกาไรสุทธิประจาปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสารองไม่น้อยกว่าร้อยละห้า ของกาไรสุทธิสาหรับปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสารองนี้จะมีจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของ ทุนจดทะเบียน ทุนสารองนี้จะนาไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้จนกว่าบริษัทจะเลิกกิจการ 19. กำรจัดกำรส่วนทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารทุนของบริษัทเป็นไปเพื่อการดารงไว้ซึ่งความสามารถในการดาเนินงานอย่างต่ อเนื่องของบริษัท เพื่อสร้างผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนได้เสียอื่น 20. เงินปันผลจ่ำย และเงินปันผลประกำศจ่ำย 20.1 เงินปันผลจ่ายของบริษัท เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทมีมติให้ดาเนินการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลในอั ตราหุ้นละ 0.10 บาท สาหรับหุ้นจานวน 215,624,559 หุ้น เป็นจานวนเงิน 21,562,456บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียน ผู้ถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 24 กันยายน 2556 โดยบริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทได้มีมติอนุมัติการจ่ายปันผลดังนี้ จ่ายปันผลจากผลการดาเนินงานประจาปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2555 โดยมีรายละเอียดดังนี้ - จ่ายปันผลเป็นหุ้นสามัญ ในอัตรา 4 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปันผล โดยหุ้นปันผลมีมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ในกรณีที่ ผู้ถือหุ้นมีเศษของหุ้นเดิมหลังจากจัดสรรหุ้นปันผลแล้วให้จ่ายปันผลเป็นเงินสดแทนในอัตราหุ้นละ 0.25 บาทและ - จ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.027777778 บาท รวมคิดเป็นการจ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 0.277777778 บาท โดยบริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทมีมติให้ดาเนินการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท สาหรับหุ้นจานวน 172,499,820 หุ้น เป็นจานวนเงิน 17,249,982 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียน ผู้ถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2555 โดยบริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2555 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทได้มีมติอนุมัติการจ่ายปันผลดังนี้ จ่ายปันผลจากผลการดาเนินงานประจาปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2554 โดยมีรายละเอียดดังนี้ - จ่ายปันผลเป็นหุ้นสามัญของบริษัทจานวน 57.50 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท รวมมูลค่าทั้งสิ้น 57.50 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ในอัตรา 2 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปันผล หรือคิดเป็นอัตราการจ่ายปันผลหุ้นละ 0.50 บาท ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นรายใด มีเศษของหุ้นเดิมหลังการจัดสรรหุ้นปันผลแล้วให้จ่ายปันผลเป็นเงินสดแทนในอัตราหุ้นละ 0.50 บาท - จ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.0555 บาท รวมคิดเป็นการจ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 0.55555555748 บาท โดย บริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2555

148 สารบัญ


20.2 เงินปันผลจ่าย และเงินปันผลประกาศจ่ายของบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด (บริษัทย่อย) มีมติให้ดาเนินการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 36.37 บาท สาหรับหุ้นสามัญจานวน 110,000 หุ้น เป็นจานวนเงินรวม 4.00 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2556โดยบริษัทย่อยได้จ่าย เงินปันผลดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2556 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด (บริษัทย่อย) มีมติให้ดาเนินการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 51.67 บาท สาหรับหุ้นสามัญจานวน 110,000 หุ้น เป็นจานวนเงินรวม 5.68 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 โดยบริษัทย่อยจะจ่ายเงิน ปันผลดังกล่าวภายในวันที่ 10 มกราคม 2556 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด (บริษัทย่อย) มีมติให้ดาเนินการจ่าย เงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 45 บาท สาหรับหุ้นสามัญจานวน 100,000 หุ้น เป็นจานวนเงินรวม 4.50 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 โดยบริษัทย่อยจะจ่ายเงินปันผล ดังกล่าวภายในวันที่ 10 มกราคม 2556 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท เอฟซีจี จากัด (บริษัทย่อย) มีมติให้ดาเนินการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 83.33 บาท สาหรับหุ้นสามัญจานวน 30,000 หุ้น เป็นจานวนเงินรวม 2.50 ล้านบาทให้แก่ ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 โดยบริษัทย่อยจะจ่ายเงินปันผลดังกล่าว ภายในวันที่ 10 มกราคม 2556 21. กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 คานวณตามข้อมูลดังต่อไปนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

37,452,971 (33,000) 37,419,971 215,294,559 0.174

64,918,993 (33,000) 64,885,993 215,294,559 0.302

หน่วย : บำท

กาไรสาหรับปี หัก เงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิ กาไรสุทธิที่ใช้ในการคานวณกาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก (หุ้น) กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

29,301,685 (33,000) 29,268,684 215,294,559 0.136

60,292,727 (33,000) 60,259,727 215,294,559 0.280

กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค านวณโดยหารกาไรสาหรับ ปี ที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักของ หุ้น สามั ญ ที่ อ อกอยู่ ใ นระหว่า งปี และได้ป รั บ ปรุ ง จ านวนหุ้ น สามั ญที่ ใ ช้ ใ นการค านวณก าไรต่ อ หุ้ น ส าหรั บปี ก่ อ นที่ น ามา เปรียบเที ยบ (ปรับจานวนหุ้นตามสัดส่วนที่เปลี่ยนไปของจานวนหุ้นสามัญที่เกิดจากการเพิ่มทุนโดยการออกหุ้นปันผล ณ วันที่ 15 มีนาคม 2556 จานวน 43.12 ล้านหุ้น โดยถือเสมือนว่าการออกหุ้นปันผลได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่เริ่มต้นของ งวดแรกที่เสนอรายงาน)

149 สารบัญ


22. รำยกำรกับกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินดังกล่าวได้รวมรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งเกี่ยวข้องกันโดยการถือหุ้นและ/หรือมีกรรมการ ร่วมกัน ดังนั้นงบการเงินนี้จะแสดงรวมถึงผลของรายการดังกล่าวตามมูลฐานที่ได้ต กลงกันระหว่างบริษัทกับกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน ยอดคงเหลือที่สาคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วย ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ควำมสัมพันธ์

หน่วย : บำท งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

2556

งบกำรเงินรวม 2555

3,283,339 6,172,900 1,522,380 5,676,874 971,600 62,022 17,689,115

652,436 5,016,283 3,344,942 129,163 1,123,500 59,970 256,050 170,600 594,000 11,346,944

3,283,339 569,967 1,522,380 5,676,874 971,600 62,022 2,969,250 15,055,432

652,436 330,481 3,010,930 129,163 1,123,500 59,970 256,050 170,600 5,733,130

-

-

391,619 182,618 574,237

-

ลูกหนี้กำรค้ำ (ดูหมำยเหตุข้อ 6)

Pico Art International Pte Ltd. Pico International (HK) Ltd. Pico International (M) SdnBhd Pico International Ltd. Pico IES Group Limited Pico In-Creative (UK) Ltd. Pico TBA Consulting Group Limited Pico International (LA) Inc. Shanghai Pico Exhibition Management Co., Ltd. Pico North Asia Ltd. Pico International (DUBAI) Ltd. บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด

ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทย่อย

ลูกหนี้สินทรัพย์กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน(ดูหมำยเหตุข้อ 6) บริษัท ทีซีบีเอ็น จำกัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย)จำกัด

บริษัทย่อย บริษัทร่วม

ลูกหนี้อื่นกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน(ดูหมำยเหตุข้อ 6)

Pico Art International Pte Ltd. บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท เอฟซีจี จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย)จากัด บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเซียจากัด

ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม

914,371 21,302 1,981 937,654

ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษทั ร่วม

2,893,417 12,355 2,360,631 337,500

กิจการร่วมค้า

1,939,066 7,542,969

697,2699 53,364 750,633

914,3711 153,517 232,257 5,516,733 1,481,521 21,302 1,981 8,321,682

697,269 154,553 209,297 1,340,062 215,358 53,364 2,669,903

1,357,150 1,606 225,000

1,113,144 12,355 2,360,631 -

1,357,150 1,606 -

1,939,066 3,522,822

3,231,776 6,717,906

3,231,776 4,590,532

เงินที่กิจกำรมีสิทธิเรียกร้องจำกลูกค้ำ(ดูหมำยเหตุข้อ 7)

Pico Art International Pte Ltd. Pico International (LA) Inc. Pico International Ltd. บริษัท ยู-เร้นท์ จากัด กิจการร่วมค้า - กลุ่มบริษัทที่ปรึกษา โครงการเอ-เซเว่น ปิโก

150 สารบัญ


ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ควำมสัมพันธ์

2556

งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม

15,500 15,500

22,000 22,000

1,530,000 1,177,757 15,500 2,723,257

1,700,000 22,000 1,722,000

บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม บริษัทร่วม บริษัทร่วม

6,519,740 5,055,536 6,975,434 1,630,071

5,933,963 5,579,387 5,837,941 -

12,750,714 10,298,600 2,520,000 9,999,700 2,999,700 971,000 3,922,033 1,999,800 1,687,425

12,750,714 10,298,600 2,520,000 4,999,850 2,999,700 971,000 3,922,033 1,999,800 -

กิจการร่วมค้า

-

-

160,000

160,000

กิจการร่วมค้า

20,180,781

17,351,291

920,000 48,228,972

920,000 41,541,697

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม

1,718,045 58,562 2,083,456 1,734,052 5,594,115

468,689 205,903 -

1,718,045 58,562 3,498,472 2,600,100 1,645,400 767,244 1,734,052 12,021,875

468,689 205,903 3,022,140 2,156,050 15,320,144 2,351,223 5,027,891 28,552,040

บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม

877,494 930,167 1,807,661

776,537 1,010,870 1,787,407

968,000 1,188,000 199,420 930,167 3,285,587

32,000 440,000 758,647 1,010,870 2,241,517

ต้นทุนกำรให้บริกำรรอกำรตัดบัญชี(ดูหมำยเหตุข้อ 8)

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย)จากัด เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจกำรร่วมค้ำ (ดูหมำยเหตุข้อ 9)

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท นอกซ์ บางกอก จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท เอฟซีจี จากัด Andrew Bethell Associates Limited บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไอบริก จากัด บริษัท ยู - เร้นท์ จากัด บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จากัด กิจการร่วมค้า - บจก.เอกค้าไทย บมจ.ปิโก (ไทยแลนด์) และบจก.บิวคอน กิจการร่วมค้า - กลุ่มบริษัท ที่ปรึกษา โครงการเอ - เซเว่น ปิโก เจ้ำหนี้กำรค้ำ (ดูหมำยเหตุข้อ 14)

Intertrade Service Pte Ltd. Pico IES Group (CHINA) Co., Ltd. Pico International (HK) Ltd. บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท ยู - เร้นท์ จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด

2,939,656 5,027,891 8,642,139

ต้นทุนค้ำงจ่ำย(ดูหมำยเหตุข้อ 14)

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ยู - เร้นท์ จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด

151 สารบัญ


ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ควำมสัมพันธ์

2556

งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

21,909,410 43,941 23,433 21,976,784

27,352,036 496,829 12,652 27,861,517

21,909,410 43,941 16,050 2,140 23,433 21,994,974

27,352,036 496,829 3,210 173,019 12,652 28,037,746

-

-

120,000 120,000

-

เจ้ำหนี้อื่นกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน(ดูหมำยเหตุข้อ 14)

Pico Art International Pte Ltd. Pico Global Services Limited บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท นอกซ์ บางกอก จากัด บริษัท เอฟซีจี จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด

ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม

ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย

บริษัทมัลติ ดีไซน์ จากัด

บริษัทย่อย

รายการค้าที่สาคัญระหว่างบริษัทกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้

ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ควำมสัมพันธ์

2556

งบกำรเงินรวม 2555

13,155,484 4,953,028 9,107,308 2,358,028 556,589 6,022,577 58,036 928,617 37,139,667

2,876,034 5,423,115 5,943,208 116,822 1,605,000 56,047 537,383 5,118,410 134,271 445,374 159,439 1,850,467 2,368,319 26,633,889

หน่วย : บำท งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

รำยได้จำกกำรให้บริกำร

Pico Art International Pte Ltd. Pico International Ltd. Pico International (M) SdnBhd Pico In-Creative (UK) Ltd. Pico International (Bahrain) S.P.C. Pico IES Group Limited Pico TBA Consulting Group Limited Pico Australia Pty Ltd. Pico International (HK) Ltd. Pico International (DUBAI) Ltd. Pico Indian Exhibit Contractor Pte Ltd. Pico International (LA) Inc. Shanghai Pico Exhibition Management Co.,Ltd. Pico North Asia Ltd. บริษัท นอกซ์ บางกอก จากัด บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ยู - เร้นท์ จากัด

ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม

152 สารบัญ

7,491,730 4,953,028 9,107,308 1,629,000 556,589 786,192 58,036 928,617 25,510,500

2,876,034 5,423,115 2,813,953 116,822 1,605,000 56,047 537,383 327,591 134,271 445,374 159,439 17,650,031 93,100 88,350 59,560 32,386,070


ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

หน่วย : บำท งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

2556

งบกำรเงินรวม 2555

บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม

333,333 732,459 1,065,792

933,331 587,099 1,520,430

3,600,448 333,333 732,459 4,666,240

5,115,071 4,499,865 2,499,750 933,331 587,099 13,635,116

บริษัทย่อย บริษัทย่อย

-

-

388,800 338,400 727,200

388,800 338,400 727,200

บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม

129,400 129,400

209,400 198,259 407,659

32,200 627,600 4,254,893 1,891,773 129,400 6,935,866

32,400 627,600 1,486,740 2,021,640 209,400 198,259 4,576,039

บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม

80,868 494,644 12,590 1,444,540 1,723,085 13,721,555 11,276,895 28,754,177

218,025 470,675 208,783 4,065,575 470,953 14,233,431 13,877,452 33,544,894

80,868 494,644 12,590 1,444,540 1,723,085 18,003,357 7,201,000 360,000 9,855,097 11,276,895 50,452,076

218,025 470,675 208,783 4,065,575 470,953 12,756,250 5,218,000 122,987,042 11,724,032 13,877,452 171,996,787

ผู้ถือหุ้นใหญ่

21,132,440

26,682,072

21,132,440

26,682,072

กรรมการ

6,000,000

5,000,000

6,000,000

5,000,000

ผู้ถือหุ้นใหญ่ กรรมการ

27,791,726 17,760,712 45,552,438

32,455,627 20,313,553 52,769,180

27,791,726 17,760,712 45,552,438

32,455,627 20,313,553 52,769,180

ควำมสัมพันธ์

รำยได้เงินปันผล

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท เอฟซีจี จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไอบริก จากัด รำยได้อื่น - รำยได้ค่ำธรรมเนียมกำรจัดกำร

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด รำยได้อื่น

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท เอฟซีจี จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ดีไซน์แลป เอ็มไอเอสซี จากัด ต้นทุนกำรให้บริกำร

Pico International (M) SdnBhd Intertrade Service Pte Ltd. Pico International (HK) Ltd. Pico IES Group Limited Pico International (DUBAI) Ltd. Pico Indian Exhibit Contractor Pte Ltd. Pico IES Group (CHINA) Limited Beijing Pico Exhibition Management Co., Ltd. บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ทีซีบีเอ็น จากัด บริษัท ยู - เร้นท์ จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด ต้นทุนกำรให้บริกำร - ค่ำธรรมเนียมกำรจัดกำร

Pico Art International Pte Ltd. ค่าตอบแทนกรรมการ เงินปันผลจ่าย Pico Art International Pte Ltd. กรรมการ

153 สารบัญ


ชื่อบัญชี/ชื่อบริษัท

ควำมสัมพันธ์

หน่วย : บำท งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

2556

งบกำรเงินรวม 2555

-

-

648,511 187,060 61,449 897,020

540,984 136,660 53,446 731,090

648,511 187,060 54,000 127,000 61,449 1,078,020

540,984 136,660 84,000 161,700 34,824 958,168

36,093,344 1,747,620 37,840,964

36,630,351 1,648,121 38,278,472

22,239,498 1,292,288 23,531,786

22,063,527 1,219,975 23,283,502

ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย

บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท ดีไซน์แลป เอ็มไอเอสซี จากัด

บริษัทย่อย บริษัทร่วม

693,000 360,000 1,053,000

1,500,000 1,500,000

ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร

Pico Art International Pte Ltd. Pico Global Services Limited บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด บริษัท เอฟซีจี จากัด บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด

ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่เดียวกัน บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม

ค่ำตอบแทนที่จ่ำยให้ผู้บริหำรสำคัญ

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์เมื่อถูกเลิกจ้าง

ก) รายได้จากการให้บริการและต้นทุนการให้บริการกาหนดขึ้นตามข้อตกลงระหว่างบริษัทกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าว โดยวิธีต้นทุนบวกส่วนเพิ่ม ซึ่งเป็นเงื่อนไขการค้าทั่วไปตามปกติธุรกิจ ข) เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2552 บริษัทได้ทาสัญญาว่าจ้างที่ปรึกษาบริหารงานกับบริ ษัทย่อย 2 แห่ง สัญญามีผลบังคับใช้ เป็นเวลา 3 ปี นับจากวันที่ในสัญญา และทั้งสองฝ่ายสามารถต่ออายุสัญญาได้อีก 3 ปีโดยมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมกับ บริษัทย่อยดังกล่าว ดังนี้ ชื่อบริษัท

บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จากัด บริษัท มัลติ ดีไซน์ จากัด

ค่ำธรรมเนียมต่อเดือน (บำท)

32,400 28,200

ค) เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2535 บริษัทได้ทาสัญญารับบริการและสัญญาสิทธิทางปัญญารวมทั้งได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมใน ภายหลังกับผู้ถือหุ้นใหญ่คือPico Art International Pte Ltd. บริษัทมีภาระผูกพันต้องจ่ายค่าธรรมเนียมภายใต้สัญญา ดังกล่าวในอัตราร้อยละ 2.53 ของรายได้ขั้นต้นโดยสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ต่อเนื่อง จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะบอกเลิก สัญญา 23. กำรคำนวณภำษีเงินได้ บริษัทและบริษัทย่อย บันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลที่จะต้องจ่ายสาหรับแต่ละปีบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมด โดยคานวณจากยอด กาไรก่อนภาษีหลังจากบวกกลับด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ไม่อนุญาตให้ถือเป็นรายจ่ายในการคานวณภาษีตามประมวลรัษฎากร

154 สารบัญ


24. ส่วนแบ่งกำไร (ขำดทุน) จำกเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสีย สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556และ 2555 ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียที่นามารวมใน งบการเงินรวมคานวณจากกาไร (ขาดทุน) สุทธิในงบการเงินของบริษัทร่วมสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 ส่วนแบ่งผลกาไร (ขาดทุน) ดังกล่าวซึ่งเมื่อคิดเป็นร้อยละของกาไรสุทธิรวมของบริษัทแล้วมีดังต่อไปนี้ อัตรำกำรถือหุน้ ร้อยละ ชื่อบริษัท งบกำรเงินรวม

ร้อยละของกำไรสุทธิรวม

2556

2555

2556

2555

22.22 40.00 45.00

22.22 40.00 -

1.56 (1.40) (0.15)

(2.26) 1.83 -

20.25

20.25

3.04

2.09

บริษัทร่วมทำงตรง

บริษัท อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไอบริก จากัด บริษัท ฟิฟตี้พลัส เอเชีย จากัด บริษัทร่วมทำงอ้อม (ถือหุ้นโดย บริษัท พีเอ็กซ์ ซิสเต็ม จำกัด)

บริษัท ยู - เร้นท์ จากัด

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556และ 2555 ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทร่วม คานวณจากงบการเงินสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556และ 2555 ซึง่ ยังมิได้ผ่านการตรวจสอบ 25. เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556และ 2555 เงินสมทบของบริษัทและบริษัทย่อยซึ่งได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหาร ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดังนี้ หน่วย : บำท

2556 2555

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

3,952,461 3,983,365

2,541,788 2,893,576

26. กำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทำงกำรเงิน บริษัทและบริษัทย่อยแสดงรายการและเปิดเผยข้อมูลสาหรับเครื่องมือทางการเงินตามมาตรฐานการบัญชีของไทยฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสาหรับเครื่องมือทางการเงิน” 26.1 นโยบายการบัญชี รายละเอียดของนโยบายการบัญชีที่สาคัญ ได้เปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุข้อ 3 26.2 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อเกิดจากการที่คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดในสัญญา ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่บริษัท และบริษัทย่อย บริษัทและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงเกี่ยวกับการกระจุกตัวของสินเชื่อไม่มาก เนื่องจากลูกหนี้ของบริษัทและ บริษัทย่อยมีความหลากหลาย สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่บันทึกในงบแสดงฐานะการเงิน ถือเป็นมูลค่าสูงสุดของความเสี่ยงที่เกิดจากการไม่ปฏิบัติตามสัญญา

155 สารบัญ


26.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหาย แก่บริษัทและบริษัทย่อยในปีปัจจุบันและในปีต่อๆ ไป ซึ่งบริษัทและบริษัทย่อยคาดว่าผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศที่จะเปลี่ยนแปลงจะไม่มีสาระสาคัญต่อฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย เนื่องจาก รายการค้าส่วนใหญ่ของบริษัทและบริษัทย่อยทาในสกุลเงินบาท 26.4 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัต ราดอกเบี้ยเกิด ขึ้นจากการที่อัต ราดอกเบี้ยจะเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งก่อให้เกิด ผลเสียหายต่อบริษัทและ บริษัทย่อยในปีปัจจุบันและในปีต่อๆ ไป ซึ่งบริษัทและบริษัทย่อยคาดว่าผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยที่จะเปลี่ยนแปลงสูงขึ้น จะไม่มีสาระสาคัญต่อฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย เนื่องจากเงินกู้ยืมคงเหลือของบริษัทและ บริษัทย่อยเป็นเงินกู้ยืมระยะสั้นประเภทตั๋วสัญญาใช้เงินและเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร 26.5 ประมาณการมูลค่ายุติธรรมสาหรับเครื่องมือทางการเงิน ราคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน บริษัทฯ ใช้วิธีการและข้อสมมติฐานดังต่อไปนี้ ในการประมาณราคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น และเงินที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากลูกค้า แสดงราคา ตามบัญชี ซึ่งเท่ากับราคายุติธรรมโดยประมาณ - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น และเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน แสดงราคาตามบัญชี ซึ่งเท่ากับราคายุติธรรมโดยประมาณ - ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี และหนี้สินระยะยาว แสดงราคาตามบัญชี ซึ่งเท่ากับราคา ยุติธรรมโดยประมาณ

156 สารบัญ


157

สารบัญ

รายได้จากการให้บริการ รายได้อื่น รายได้อื่น - กิจการร่วมค้า ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย รวมรายได้ กาไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี ขาดทุนของส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรของสาวนที่เป็นของบริษัทใหญ่ สินทรัพย์ถาวรที่ใช้ในส่วนงาน สินทรัพย์ถาวรส่วนกลาง สินทรัพย์ถาวรรวม ค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์ส่วนกลาง สินทรัพย์รวม

ประเภทรำยได้

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 มีดังนี้

งบกำรเงินรวม

48,165,087

546,691,659 546,691,659

งำนแสดงสินค้ำ และนิทรรศกำร

ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย จาแนกตามส่วนงานทางธุรกิจ แสดงดังนี้

27. ข้อมูลเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนจำแนกตำมส่วนงำน

-

339,943,551 339,943,551

กิจกรรม ทำงกำรตลำด

-

23,289,342 23,289,342

นิทรรศกำรถำวรและ พิพิธภัณฑ์

-

58,367,849 58,367,849

ธุรกิจด้ำนกำร สื่อสำรองค์ควำมรู้

-

27,873,456 27,873,456

ธุรกิจรับจัดงำน

-

47,164,940 10,259,364 16,844 2,657,858 60,099,006

อื่นๆ

1,043,330,797 10,259,364 16,844 2,657,858 1,056,264,863 56,630,214 (16,837,205) 39,793,009 (2,340,038) 37,452,971 48,165,087 210,000,621 258,165,708 (138,211,108) 119,954,600 610,245,068 730,199,668

รวม

หน่วย : บำท


158

สารบัญ

รายได้จากการให้บริการ รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รายได้อื่น - กิจการร่วมค้า ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย รวมรายได้ กาไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี ขาดทุนของส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรของส่วนที่เป็นบริษัทใหญ่ สินทรัพย์ถาวรที่ใช้ในส่วนงาน สินทรัพย์ถาวรส่วนกลาง สินทรัพย์ถาวรรวม ค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์ส่วนกลาง สินทรัพย์รวม

ประเภทรำยได้

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2555 มีดังนี้

งบกำรเงินรวม

34,801,536

632,502,373 632,502,373

งำนแสดงสินค้ำ และนิทรรศกำร

-

326,522,302 326,522,302

กิจกรรม ทำงกำรตลำด

-

23,387,816 23,387,816

นิทรรศกำรถำวรและ พิพิธภัณฑ์

-

237,466,679 237,466,679

ธุรกิจด้ำนกำร สื่อสำรองค์ควำมรู้

-

30,930,115 30,930,115

ธุรกิจรับจัดงำน

-

37.197,983 1,520,430 11,992,719 1,358 2,598,754 53,311,244

อื่นๆ

1,288,007,268 1,520,430 11,992,719 1,358 2,598,754 1,304,120,529 99,284,383 (33,435,216) 65,849,167 (930,174) 64,918,993 34,801,536 187,103,200 221,904,736 (124,027,255) 97,877,481 722,075,627 819,953,108

รวม

หน่วย : บำท


159

สารบัญ

รายได้จากการให้บริการ รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รวมรายได้ กาไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี สินทรัพย์ถาวรที่ใช้ในส่วนงาน สินทรัพย์ถาวรส่วนกลาง สินทรัพย์ถาวรรวม ค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์ส่วนกลาง สินทรัพย์รวม

ประเภทรำยได้

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 มีดังนี้

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

-

436,833,497 436,833,497

งำนแสดงสินค้ำ และนิทรรศกำร

-

337,609,891 337,609,891

กิจกรรม ทำงกำรตลำด

-

23,289,342 23,289,342

นิทรรศกำรถำวรและ พิพิธภัณฑ์

-

-

ธุรกิจด้ำนกำร สื่อสำรองค์ควำมรู้

-

27,873,456 27,873,456

ธุรกิจรับจัดงำน

-

39,274,357 4,666,240 14,168,390 58,108,987

อื่นๆ

198,825,969 198,825,969 (97,547,455) 101,278,514 526,056,104 627,334,618

864,880,543 4,666,240 14,168,390 883,715,173 40,947,075 (11,645,390) 29,301,685

รวม

หน่วย : บำท


160

สารบัญ

รายได้จากการให้บริการ รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รวมรายได้ กาไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี สินทรัพย์ถาวรที่ใช้ในส่วนงาน สินทรัพย์ถาวรส่วนกลาง สินทรัพย์ถาวรรวม ค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์ส่วนกลาง สินทรัพย์รวม

ประเภทรำยได้

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2555 มีดังนี้

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

-

551,892,779 551,892,779

งำนแสดงสินค้ำ และนิทรรศกำร

-

324,952,120 324,952,120

กิจกรรม ทำงกำรตลำด

-

23,387,816 23,387,816

นิทรรศกำรถำวรและ พิพิธภัณฑ์

-

237,304,979 237,304,979

ธุรกิจด้ำนกำร สื่อสำรองค์ควำมรู้

-

30,930,115 30,930,115

ธุรกิจรับจัดงำน

-

35,311,701 13,635,116 10,221,394 59,168,211

อื่นๆ

171,999,442 171,999,442 (85,366,093) 86,633,349 673,216,488 759,849,837

1,203,779,509 13,635,116 10,221,394 1,227,636,019 86,325,126 (26,032,399) 60,292,727

รวม

หน่วย : บำท


161

สารบัญ

30 - 90 30 - 90

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น

30 - 90

30 - 90

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า

เจ้าหนี้การค้า

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555

30 - 90

เงื่อนไข กำรรับ/จ่ำยชำระ(วัน)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556

สินทรัพย์และหนี้สิน

104,460 104,460 29,678 29,678

7,465 181,050 188,515 56,894 56,894

ดอลลำร์สหรัฐ

3,398 3,398 1,431 1,431

979 979 126 126 -

17 270 287 30,665 30,665 6,998 6,998 -

3,480 3,480 2,752 2,752 484,421 484,421

2,750 2,750 -

ดีแรห์ สหรัฐ ปอนด์สเตอร์ลิง อังกฤษ ดอลลำร์สิงคโปร์ ดอลลำร์ฮ่องกง อำหรับ เอมิเรตส์

รายการสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทและบริษัทย่อยที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่มีสาระสาคัญ มีดังนี้

2,780 2,780 15,000 15,000

8,577 134,380 142,957 27,000 27,000

ยูโร

6,264 6,264 93,967 93,967

15,878 15,878 8,491 8,491

หยวน

593,030 593,030 -

220,000 220,000 -

เยน

586,880 3,181,362 3,768,242 6,123,889 6,123,889

829,399 11,269,497 12,098,896 1,776,607 1,981,134 3,757,741

งบกำรเงินรวม รวม บำท

บริษัทและบริษัทย่อยไม่มีนโยบายบริหารความเสี่ยงสาหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่อยู่ในรูปเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากบริษัทเห็นว่าผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่จะเปลี่ยนแปลงจะไม่มีสาระสาคัญต่อฐานะ การเงินและผลการดาเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย เนื่องจากรายการค้าส่วนใหญ่ของบริษัทและบริษัทย่อยทาในสกุลเงินบาท ทั้งนี้การทารายการเงินตราต่างประเทศจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารของบริษัท

28. นโยบำยกำรบริหำรควำมเสี่ยงสำหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่อยู่ในรูปเงินตรำต่ำงประเทศ


162

สารบัญ

30 - 90 30 - 90

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น

30 - 90

30 - 90

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า

เจ้าหนี้การค้า

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2555

30 - 90

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า

ณ วันที่ 31 ตุลำคม 2556

สินทรัพย์และหนี้สิน

เงื่อนไข กำรรับ/จ่ำยชำระ(วัน)

104,460 104,460 25,715 25,715

7,465 181,050 188,515 56,894 56,894 3,398 3,398 1,431 1,431

979 979 126 126 -

17 270 287 30,665 30,665 6,998 6,998 -

3,480 3,480 2,752 2,752 484,421 484,421

2,750 2,750 -

ดีแรห์ สหรัฐ ปอนด์สเตอร์ลิง ดอลลำร์สหรัฐ อังกฤษ ดอลลำร์สิงคโปร์ ดอลลำร์ฮ่องกง อำหรับ เอมิเรตส์

2,780 2,780 15,000 15,000

8,577 134,380 142,957 27,000 27,000

ยูโร

6,264 6,264 93,967 93,967

15,878 15,878 8,491 8,491

หยวน

593,030 593,030 -

220,000 220,000 -

586,880 3,181,362 3,768,242 5,400,417 5,400,417

829,399 11,269,497 12,098,896 1,776,607 1,981,134 3,757,741

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รวม เยน บำท


29. กำรค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 บริษัทและบริษัทย่อยให้ธนาคารออกหนังสือค้าประกันการปฏิบัติตามสัญญาต่อ ผู้ว่าจ้างเป็นจานวน 17.79 ล้านบาท และ 28.97 ล้านบาท ตามลาดับ 30. สัญญำที่สำคัญ 30.1 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2547 บริษัทได้ลงนามในสัญญาก่อตั้งกิจการร่วมค้าระหว่างบริษัท เอกค้าไทย จากัด และ บริษัท บิวคอน จากัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดาเนินกิจการรับเหมางานก่อสร้างอาคารและออกแบบนิทรรศการ โดยมีการ ร่วมทุนระหว่างบริษัท เอกค้าไทย จากัด บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) และบริษัท บิวคอน จากัด ในอัตราส่วน 4 : 4 : 2 ส่วน ผลกาไรขาดทุนจากกิจการร่วมค้าจะถูกแบ่งในอัตราส่วนเดียวกัน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2553 บริษัทได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงให้ยกเลิกกิจการร่วมค้า บจก. เอกค้าไทย บมจ. ปิโก (ไทยเลนด์) และบจก. บิวคอน และต่อมาเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2553 กิจการร่วมค้าดังกล่าวได้ยื่นคาร้องขอเลิกกิจการร่วม ค้าต่อกรมสรรพากรแล้วปัจจุบันอยู่ในระหว่างการดาเนินการเลิกกิจการ 30.2 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2553 บริษัทได้ลงนามในสัญญาก่อตั้ งกิจการร่วมค้ากับบริษัท เอ-เซเว่น คอร์ปอเรชั่น จากัด โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ด าเนิ น งานเป็ น ที่ ป รึ ก ษาการออกแบบพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ โดยมี ก ารร่ ว มทุ น ระหว่ า งบริ ษั ท เอ -เซเว่ น คอร์ปอเรชั่น จากัด และบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) ในอัตราส่วน 6 : 4 ผลกาไรขาดทุนจากกิจการร่วมค้าจะ ถูกแบ่งในอัตราส่วนเดียวกัน 30.3 ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 กิจการร่วมค้า กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาโครงการเอ-เซเว่น ปิโก ได้วางหนังสือ ค้าประกันที่ออกโดยธนาคารแห่งหนึ่งเป็นจานวนเงิน 1.70 ล้านบาทในการปฏิบัติตามสัญญาต่อผู้ว่าจ้าง หนังสือค้าประกัน ดังกล่าวมีเงินฝากธนาคารของกิจการร่วมค้า จานวน 1.70 ล้านบาท เป็นหลักประกัน 31. ภำระผูกพันและหนี้สินที่อำจจะเกิดขึ้น 31.1 ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 บริษัทฯ มีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าซื้อ สินทรัพย์ตามสัญญาจานวน 655,500 บาท 31.2 บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าและค่าบริการตามสัญญาดังนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

6,492,087 5,701,533 12,193,620

2,612,503 117,800 2,730,303

หน่วย : บำท

ภายใน 1 ปี เกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

2,192,879 2,114,637 4,307,516

918,115 84,000 1,002,115

31.3 ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2553 บริษัทมีคดีความเป็นจาเลยในศาลแรงงาน คดีความดังกล่าวยังไม่ยุติ บริษัทไม่ได้บันทึก ประมาณการหนี้สินในงบการเงินสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2553 ต่อมาเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2554 ศาลแรงงาน พิพากษาให้บริษัทชาระเงินจานวน 2.62 ล้านบาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วันที่ 27 มีนาคม 2551 ซึ่งบริษัทได้บันทึกหนี้สินดังกล่าวในงบการเงินสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2554 แล้วอย่างไรก็ตามบริษัทและโจทก์ ต่างได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาล ซึ่งปัจจุบันคดีความดังกล่าวอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา

163 สารบัญ


32. ค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 เกิดจากค่าใช้จ่ายที่สาคัญดังต่อไปนี้ 2556

งบกำรเงินรวม 2555

750,414,632 140,388,820 24,653,386 6,000,000 77,572,912

923,825,307 138,385,665 22,131,698 5,000,000 105,885,471

หน่วย : บำท

ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายอื่น

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2556 2555

654,423,766 98,932,104 17,349,215 6,000,000 65,608,411

910,360,130 107,563,620 16,776,084 5,000,000 92,003,052

33. ค่ำตอบแทนผู้บริหำร ค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นให้แก่กรรมการเฉพาะในฐานะผู้บริหาร และให้แก่ผู้บริหารตามนิยามในประกาศของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ อันได้แก่ผู้จัดการ หรือ ผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกต่อจากผู้จัดการลงมา และผู้ซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่าระดับบริหารรายที่สี่ทุก รายและให้หมายรวมถึงผู้ด ารงต าแหน่งระดับบริ หารในสายงานบัญชี หรื อการเงินที่เป็นระดับผู้จัด การฝ่ายขึ้นไปหรื อ เทียบเท่าสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 2555 ค่าตอบแทนผู้บริหารในงบการเงินรวมจานวน 36.09 ล้านบาท และ 36.63 ล้านบาทตามลาดับ (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 22.24 ล้านบาท และ 22.06 ล้านบาท ตามลาดับ) 34. กำรอนุมัติให้ออกงบกำรเงิน คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติให้ออกงบการเงินนี้ เมื่อวันที่6ธันวาคม 2556

164 สารบัญ


A Global Event Marketing Company

165



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.