Guide Book_TM BUU 2nd trip

Page 1



> Errorman’s Talk เออเร่อแมนขอคุย (โหมดเปลืองหน้า ฮ่าๆ)

“ + สวัสดีท่านผู้อ่าน สวัสดีเพื่อนๆ ชาวการจัดการการท่องเที่ยวแห่งมหาวิท ยาลัยบูรพาและที่ลืมไม่ ได้สวัสดีท่านอาจารย์ด้วยนะครับ ท่านผู้อ่านหลาย ท่านคงสงสัยเมื่อเปิดมาถึงหน้านี้ (คิดในใจอะไรของมันฟร่ะ! 555 ฮึ่ม~) ที่ จริงแล้วแล้วในฐานะผู้จัดทำไกด์บุ๊คเล่มนี้ ก็แอบดี ใจที่ ได้มาทำไกด์บุ๊ค เล่มนี้ถึงจะเหนื่อยกับการก็อปข้อมูลจากเว็บต่างๆ ก็ตามฮ่าๆ แต่ยังไงก็สนุ ก ถื อ เป็ น ประสบการณ์ ในการทำงานอย่ า งหนึ่ ง เนอะๆ + เข้าเรื่องๆ ทริปนี้ทริปที่สองกับเส้นทาง ลพบุรี นครราชสีมา - บุรีรัมย์ ตะลุยเมืองแห่งปราสาทหินและชม วิถีชีวิตของชาวอีสานบ้านเฮา ผมหวังว่าทุกๆ ท่านคงจะมี ความสุขกับทริปในครั้งนี้นะครับ แล้วเจอกันใหม่กับทริปหน้า ตะลุยวัดวัง จร้า! ^^” ปล.แต้งกิ้วสำหรับกำลังใจสุดพลังจากเพื่อนๆ ทุกคนนะจ่ะ

เออเร่อแมนส์!





จังหวัดลพบุรี • ประวัติ......................................................................................................... • แผนที่ ข้อมูลการเดินทาง............................................................................ • หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ.......................................................................... • สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ......................................................................... • เทศกาลงานประเพณี.................................................................................. • เกร็ดความรู้.................................................................................................

11 13 14 15 39 43

จังหวัดนครราชสีมา • ประวัติ......................................................................................................... • แผนที่ ข้อมูลการเดินทาง............................................................................ • หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ.......................................................................... • สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ......................................................................... • เทศกาลงานประเพณี.................................................................................. • เกร็ดความรู้.................................................................................................

47 53 56 57 79 81

จังหวัดบุรีรัมย์ • ประวัติ......................................................................................................... • แผนที่ ข้อมูลการเดินทาง............................................................................ • หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ.......................................................................... • สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ......................................................................... • เทศกาลงานประเพณี.................................................................................. • เกร็ดความรู้.................................................................................................

85 88 90 91 104 107




จังหวัดลพบุรี

“ ”

วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์

(คำขวัญประจำจังหวัดลพบุรี)

งหวัดลพบุรี 10 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์” ประวัติจังหวัดลพบุรี ลพบุรีเป็นเมืองแห่งความหลากหลายและต่อเนื่องทางวัฒนธรรมยาวนาน กว่า 3,000 ปี ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน ค้นพบหลักฐานทางประวัติ ศาสตร์มากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ ตั้งแต่สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 11 – 16) ลพบุรีอยู่ใต้อำนาจมอญและขอมจนกระทั่งในตอนต้นของพุทธศตวรรษที่ 19 คนไทยจึง เริ่มมีอำนาจขึ้นในดินแดนแถบนี้ ในรัชสมัยของพระเจ้าอู่ทองปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ลพบุรีมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวง กล่าวคือพระเจ้าอู่ทองได้โปรดให้พระราเมศวร ราช โอรสองค์ใหญ่เสด็จมาครองเมืองลพบุรี เมื่อ พ.ศ.1893 พระราเมศวรโปรดให้สร้างป้อม ขุดคู และสร้างกำแพงเมืองอย่างมั่นคง เมื่อพระเจ้าอู่ทองสวรรคตในพ.ศ. 1912 พระราเมศวรต้องถวายราชบัลลังก์ให้แก่พระปิตุลาของพระองค์ ซึ่งได้ขึ้นครองราชย์พระนามว่า พระบรมราชาธิ ร าชที่ 1 ส่ ว นพระราเมศวรครองเมื อ งลพบุ รี สื บ ต่ อ ไปจนถึ ง พ . ศ . 1 9 3 1 ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ร า ช า ธิ ร า ช ที่ 1 ส ว ร ร ค ต พระราเมศวรจึงเสด็จขึ้นครองราชย์ ณ กรุงศรีอยุธยาเป็นครั้งที่สอง หลังจากนั้นมาเมืองลพบุรีได้ลดความสำคัญลงไป จนกระทั่งมาถึงสมัยสม เด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199 - 2231) ลพบุรีได้รับการทำนุบำรุงครั้งใหญ่ เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

11

LOPBURI

จัLOPBURI งหวัPROVINCE ดลพบุรี


จังหวัดลพบุรี

สืบเนื่องมาจากการคุกคามของชนชาติฮอลันดาที่ติดต่อค้าขายกับไทย ทำให้สมเด็จพระนารายณ์ทรงเห็นว่ากรุงศรีอยุธยานั้นไม่สู้ปลอดภัยจากการปิดล้อมระดมยิงของ ข้าศึกหากเกิดสงคราม จึงได้สร้างเมืองลพบุรีเป็นราชธานีที่สองขึ้น เพราะลพบุรีมี ลักษณะทางยุทธศาสตร์เหมาะสม ในการสร้างลพบุรีขึ้นใหม่ สมเด็จพระนารายณ์มหาร า ช ท ร ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ จ า ก ช่ า ง ช า ว ฝ รั่ ง เศสและอิ ต าเลี ย น และได้ ส ร้ า งพระราชวั ง และป้ อ มปราการเป็ น แนวป้ อ ง กั น อย่ า งแข็ ง แรง สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราชได้ ป ระทั บ อยู่ ที่ ล พบุ รี เ ป็ น ส่ ว น ใหญ่ และโปรดให้ ทู ต และชาวต่ า งประเทศเข้ า เฝ้ า พระองค์ ที่ เ มื อ งนี้ ห ลายครั้ ง สิ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ฯ แล้วลพบุรีก็หมดความสำคัญลง สมเด็จพระเพทราชาได้ทรงย้ายหน่วยราชการทั้งหมดกลับกรุงศรีอยุธยา ในรัชกาลต่อๆ มา ก็ไม่ได้ เสด็จมาประทับที่เมืองนี้อีก จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ใน พ.ศ. 2406 โปรดฯ ให้บูรณะเมืองลพบุรี ซ่อมกำแพง ป้อม และประตูพระราชวังที่ชำรุดทรุดโทรม และสร้างพระที่นั่งพิมานมงกุฎขึ้นในพระราชวังเป็นที่ประทับ และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์” ลพบุรีจึงแปรสภาพเป็นเมืองสำคัญอีกวาระหนึ่ง ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ลพบุรีได้รับการทำนุบำรุงอีกครั้ง หนึ่ ง ในสมั ย รั ฐ บาลจอมพล ป. พิ บู ล สงคราม ซึ่ ง ได้ ส ร้ า งเมื อ งลพบุ รี ใ หม่ อั น เ ป็ น เ มื อ ง ท ห า ร อ ยู่ ท า ง ด้ า น ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก ข อ ง ท า ง ร ถ ไ ฟ มี อาณาเขตกว้ า งขวาง ส่ ว นเมื อ งเก่ า นั้ น อยู่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของทางรถ ไฟ เมื อ งลพบุ รี จึ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางสำคั ญ ทางยุ ท ธศาสตร์ เ มื อ งหนึ่ ง ในปั จ จุ บั น นี้ ลพบุรีอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 153 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 6,586.67 ตารางกิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

12

จังหวัดลพบุรี

LOPBURI PROVINCE

ติดต่อกับจังหวัดเพชรบูรณ์ และนครสวรรค์ ติดต่อกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และสระบุรี ติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมา และชัยภูมิ ติดต่อกับจังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง และนครสวรรค์ “วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


LOPBURI

แผนที่จังหวัดลพบุรี

ข้อมูลการเดินทาง รถยนต์ 1. จากกรุ ง เทพฯ ใช้ ท างหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิ น ) ผ่านจังหวัดสระบุรี อำเภอพระพุทธบาท เข้าสู่จังหวัดลพบุรี ระยะทาง 153 กิโลเมตร 2 . จ า ก ก รุ ง เ ท พ ฯ ใ ช้ เ ส้ น ท า ง ห ล ว ง แ ผ่ น ดิ น ห ม า ย เ ล ข 3 2 ซึ่งแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะมีแยกเข้าได้ 3 ทาง คือ - เข้าทางอำเภอบางปะหัน ผ่านอำเภอนครหลวง เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3196 ผ่านอำเภอบ้านแพรก เข้าสู่จังหวัดลพบุรี - เข้าตรงทางแยกต่างระดับจังหวัดอ่างทอง ไปยังอำเภอท่าเรือ แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3196 ผ่านอำเภอบ้านแพรก เข้าสู่จังหวัดลพบุรี - ผ่านจังหวัดอ่างทอง สิงห์บุรี แล้วใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 311 (สายสิงห์บุรี-ลพบุรี) ผ่านอำเภอท่าวุ้ง เข้าสู่จังหวัดลพบุรี เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

13


จังหวัดลพบุรี

รถโดยสาร มี ร ถโดยสารประจำทางปรั บ อากาศออกจากสถานี ข นส่ ง หมอชิ ต 2 ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 05.00 – 20.30 น. ทุ ก ครึ่ ง ชั่ ว โมง ค่ า โดยสารคนละ 80 บาท รายละเอียดสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 02936 2852- 66 หรือ บริษัท ลพบุรีสิงห์ ทรานสปอร์ต จำกัด ตั้งแต่เวลา 5.00 – 20.00 น.รถออกทุก 50 นาที ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง 40 นาที โทร. 0 2936 3603 (สำนักงานลพบุรี) โทร. 0 3661 2627 รถไฟ ก า ร เ ดิ น ท า ง โ ด ย ร ถ ไ ฟ ส า ม า ร ถ เ ดิ น ท า ง โ ด ย ร ถ ไ ฟ ส า ย เ ห นื อ ออกจากสถานีรถไฟหัวลำโพงทุกวัน วันละหลายเที่ยว รายละเอียดติดต่อสอบถามเพิ่มเ ติมได้ที่หน่วยบริการเดินทาง การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 1690, 0 2220 4334, 0 2220 4444 (สำรองตั๋วทางโทรศัพท์ 3 วันขึ้นไป แต่ไม่เกิน 60 วัน) หรือ www.railway. co.th หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ • ประชาสัมพันธ์จังหวัดลพบุรี โทร. 0 3642 0333, 0 3642 5222 • โรงพยาบาลลพบุรี โทร. 0 3662 1537 • โรงพยาบาลเบญจรมย์ โทร. 0 3641 3622, 0 3641 2160 โทร. 0 3641 3933 • สถานีตำรวจอำเภอเมืองลพบุรี โทร. 0 3641 1013, 0 3642 1189 • ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข โทร. 0 3641 1006 • สถานีตรวจอากาศวิทยาลพบุรี โทร. 0 3641 1098 • ตำรวจทางหลวง โทร. 0 3641 1622, 0 3673 1222, 1193 • ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 0 3642 4515, 1155

งหวัดลพบุรี 14 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ

ตั้งอยู่ตรงข้ามกับสถานีรถไฟลพบุรี สร้างในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด เมื่อ เข้าไปในบริเวณวัดจะพบศาลาเปลื้องเครื่อง เป็ น อั น ดั บ แรกศาลาเปลื้ อ งเครื่ อ งนี้ ใช้เป็นที่ สำหรับพระเจ้าแผ่นดินเปลื้องเครื่องทรงก่อน ที่จะเข้าพิธีทางศาสนาในพระวิหารหรือพระ อุ โ บสถ์ ปั จ จุ บั น ศาลาเปลื้ อ งเครื่ อ งคงเหลื อเพี ย งเสาเอนอยู่ เ ท่ า นั้ น ส่ ว นอื่ น ปรั ก หั ก พั ง ไปหมดแล้ ว ถั ด จากศาลาเปลื้ อ งเครื่ อ ง เป็ น วิ ห ารหลวงซึ่ ง สร้ า งในสมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ ฯ เป็ น วิ ห ารขนาดใหญ่ ม ากประตู ท ำเป็ น เหลี่ ย มแบบไทยหน้ า ต่ า ง เจาะช่ อ งแบบโกธิ ค ของฝรั่ ง เศส ภายในสร้ า งฐานชุ ก ชี ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ทางทิศใต้ของวิหารหลวงเป็นพระอุโบสถขนาดย่อมประตูหน้าต่างเป็นแบบฝรั่งเศส ทั้งหมดห่างไปทางทิศตะวันตกของวิหารหลวงเป็นพระปรางค์องค์ใหญ่ที่สูงที่สุดใน ลพบุรีสร้างเป็นพุทธเจดีย์ องค์ปรางค์ก่อด้วยศิลาแลงโบกปูน มีเครื่องประดับลวด ลายเป็นพระพุทธรูปและพุทธประวัติ ที่ลายปูนปั้นหน้าบันพระปรางค์แสดงถึงอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายาน และซุ้มโคปุระของปรางค์องค์ใหญ่เป็นศิลปะละโว้มี ลายปูนปั้นที่ถือว่างามมาก เดิมคงจะสร้างในสมัยขอมเรืองอำนาจแต่ได้รับการซ่อม แซมในสมัยสมเด็จพระราเมศวร สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ และสมเด็จพระนารายณ์ฯ ลวดลายจึงปะปนกันหลายสมัย ปรางค์องค์นี้เดิมบรรจุพระพุทธรูปไว้เป็นจำนวนมาก ที่ขึ้นชื่อคือพระเครื่องสมัยลพบุรี เช่น พระหูยาน พระร่วง ซึ่งมีการขุดพบเป็นจำนวนมาก อี ก สิ่ ง ห นึ่ ง ที่ ส ม ค ว ร จ ะ ก ล่ า ว ถึ ง คื อ ป ร า ง ค์ ร า ย ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น ตกเฉี ย งเหนื อ ที่ มุ ม กลี บ มะเฟื อ งทุ ก มุ ม ปั้ น เป็ น รู ป เทพพนมหั น ออกรอบทิ ศ พระพักตร์เป็นสี่เหลี่ยม พระขนงต่อกัน ลักษณะเป็นศิลปะแบบอู่ทอง ชฎาเป็นทรง เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

15

LOPBURI

สถานที่น่าสนใจ


จังหวัดลพบุรี

สามเหลี่ยมมีรัศมีออกไปโดยรอบ เป็นศิลปะที่มีความงามแปลกตาหาดูได้ยากในเมืองไทย ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุนี้เปิดให้เข้าชมระหว่างเวลา 07.00 – 17.00 น. เว้นวันจันทร์-อังคาร อัตราเข้าชม คนไทย 10 บาท ต่างประเทศ 30 บาท เด็กไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ สำนักงานศิลปากรที่ 4 ลพบุรี โทร. 0 3641 2510, 0 3641 3779 พระนารายณ์ราชนิเวศน์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดให้สร้าง ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2209 เพื่อใช้เป็นที่ประทับ ณ เมืองลพบุรี แ บ่ ง เ ป็ น เ ข ต พ ร ะ ร า ช ฐ า น ชั้ น น อ ก เขตพระราชฐานชั้นกลาง และเขตพระราชฐานชั้นใน กำแพงพระราชวังก่ออิฐถือปูนมีใบเสมาเรียงรายบน สั น กำแพงมี ซุ้ ม ประตู ทั้ ง หมด 11 ประตู ประตู ทางเข้ า เป็ น ทรงจตุ ร มุ ข มี ช่ อ งทางเข้ า โค้ ง แหลม ตรงจั่ ว ซุ้ ม ประตู ต กแต่ ง ลายกระจั ง ปู น ปั้ น ที่ วิ วั ฒ น าการมาจากดอกบั ว ที่ ซุ้ ม ประตู แ ละกำแพงพระราชฐานชั้ น กลางและชั้ น ในมี ช่ อ งเล็ ก ๆเจาะเป็ น รู ป โค้ ง แหลมคล้ า ยบั ว เรี ย งเป็ น แถวสำหรั บ วาง ตะเกียง ประมาณ 2,000 ช่อง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) โปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่เมื่อ พ.ศ.2399 เพื่อให้เป็นราชธานีชั้นใน และพระราชทานชื่อว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์” สิ่งก่อสร้างภายในพระราชวังแบ่งตามยุคสมัยเป็น 2 กลุ่ม คือ สิ่งก่อสร้างในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระที่ นั่ ง ดุ สิ ต สวรรค์ ธั ญ ญมหาปราสาทเป็ น พระที่ นั่ ง ศิ ล ปกรรมแบบ ไทยและฝรั่งเศสผสมกันเดิมเป็นท้องพระโรงมียอดแหลมทรงมณฑปตรงกลางท้องพระ โรงมีสีหบัญชร ซึ่งเป็นที่เสด็จออกเพื่อทรงมีพระราชปฏิสันถารกับผู้เข้าเฝ้าประตูและ หน้าต่างท้องพระโรงซึ่งอยู่ด้านหน้าทำเป็นโค้งแหลม ส่วนตัวมณฑปซึ่งอยู่ด้านหลังทำ

งหวัดลพบุรี 16 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

17

LOPBURI

ประตูหน้าต่างเป็นซุ้มแบบไทย คือ ซุ้มเรือนแก้วฐานสิงห์ ในจดหมายเหตุทูตฝรั่งเศส กล่าวพรรณนาพระที่นั่งว่า “ตามผนั ง ประดั บ ด้ ว ยกระจกเงา ซึ่ ง นำมาจากฝรั่งเศส เพดานแบ่งเป็นช่องสี่เหลี่ยมจัตุรัส 4 ช่อง ประดับด้วยลายดอกไม้ทองคำ และแก้ว ผลึกที่ได้มาจากเมืองจีนงดงามมาก” ผนังด้านนอกพระที่นั่งตรงมณฑปชั้นล่างเจาะ เป็นช่องโค้งแหลมไว้สำหรับวางตะเกียง ซึ่งจะเห็นได้อีกเป็นจำนวนมากตามซุ้มประตู และกำแพงของพระราชวัง สมเด็จพระนารายณ์ฯ เคยเสด็จออกรับคณะราชทูตฝรั่งเศส เช อ ว า เ ลี ย เ ด อ โช ม อ ง ต์ ที่ พ ร ะ ที่ นั่ ง อ ง ค์ นี้ ใ น ปี พ . ศ . 2 2 2 8 ด้ ว ย พระที่นั่งจันทรพิศาล สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2208 เป็นที่ประทับของสมเด็จพระนารายณ์ฯ ที่สร้างทับลงไปบนรากฐานเดิมของพระที่นั่งซึ่งพระราเมศวรโอรส องค์ใหญ่ของพระเจ้าอู่ทองได้ทรงสร้างเมื่อครั้งครองเมืองลพบุรี พระที่นั่งองค์นี้เป็น สถาปัตยกรรมแบบไทยแท้ ด้านหน้ามีมุขเด็จ ภายหลังเมื่อได้สร้างพระที่นั่งสุทธาสวรรค์ ขึ้น สมเด็จพระนารายณ์ฯ ทรงย้ายไปประทับที่พระที่นั่งองค์ใหม่ และโปรดให้ใช้พระที่นั่ งจันทรพิศาลเป็นที่ออกขุนนาง ซึ่งตรงกับบันทึกของชาวฝรั่งเศสว่าเป็นหอประชุมองคม น-ตรี ในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงบูรณะพระที่นั่งองค์นี้ตามแบบของเดิมปัจจุบันใช้จัดแสดง เ รื่ อ ง ร า ว พ ร ะ ร า ช ป ร ะ วั ติ ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช แ ล ะ ง า น ป ร ะ ณี ต ศิ ล ป์ ส มั ย อ ยุ ธ ย า แ ล ะ รั ต น โ ก สิ น ท ร์ พระที่ นั่ ง สุ ท ธาสวรรค์ เป็ น ที่ ป ระทั บ ส่ ว นพระองค์ ข องสมเด็ จ พระ นารายณ์ฯ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน บันทึกของชาวฝรั่งเศสกล่าวว่า “พระที่ นั่งองค์นี้ตั้งอยู่ในพระราชอุทยานที่ร่มรื่น ทรงปลูกพรรณไม้ต่างๆ ด้วยพระองค์เอง หลั ง คาพระที่ นั่ ง มุ ง ด้ ว ยกระเบื้ อ งเคลื อ บสี เ หลื อ ง ที่ มุ ม ทั้ ง สี่ มี ส ระน้ ำ ใหญ่ สี่ ส ระ เป็ น ที่ ส รงสนานของพระ-เจ้ า แผ่ น ดิ น ” สมเด็ จ พระนารายณ์ ฯ สวรรคต ณ พระที่นั่งองค์นี้ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ.2231 ตึกพระเจ้าเหา ตั้งอยู่ทางด้านใต้ของเขตพระราชฐานชั้นนอก ตึกหลังนี้ แสดงให้เห็นถึงลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้อย่างชัดเจนมาก เป็น ตึกที่สร้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ยกพื้นสูงขึ้นไปประมาณ 1 เมตร ตัวตึกเป็นรูปทรงไทย ฐานก่อด้วยศิลาแลง และจึงก่ออิฐขึ้นมาอีกชั้นหนึ่ง ปัจจุบัน เหลือแต่ผนังประตูหน้าต่าง ทำเป็นซุ้มเรือนแก้วฐานสิงห์ ปัจจุบันคงปรากฏลายให้เห็นอยู่


จังหวัดลพบุรี

18

ด้ ว ยเหตุ ว่ า ภายในตึ ก มี ฐ านชุ ก ชี ป รากฏให้ เ ห็ น อยู่ แ ละชาวฝรั่ ง เศสได้ ร ะบุ ว่ า เป็ น วัด จึงสันนิษฐานว่าเป็นหอพระประจำพระราชวัง ตึกพระเจ้าเหาหรือ “พระเจ้าหาว” (หาวเป็นภาษาไทยโบราณ หมายถึงท้องฟ้า) ในตอนปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ฯ พระเพทราชา และขุนหลวงสรศักดิ์ใช้ตึกพระเจ้าเหาเป็นที่นัดแนะประชุมขุนนางและ ทหารเพื่ อ แย่ ง ชิ ง ราชสมบั ติ ข ณะที่ ส มเด็ จ พระนารายณ์ ฯ ทรงพระประชวรหนั ก ตึ ก รั บ ร อ ง แ ข ก เ มื อ ง ตั้ ง อ ยู่ ใ น เข ต พ ร ะ ร า ช ฐ า น ชั้ น น อ ก ใ ก ล้ กั บ ห มู่ ตึ ก สิ บ ส อ ง ท้ อ ง พ ร ะ ค ลั ง เ ป็ น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม แ บ บ ฝ รั่ ง เ ศ ส บั น ทึ ก ของชาวฝรั่ ง เศสกล่ า วว่ า ตึ ก หลั ง นี้ อ ยู่ ก ลางอุ ท ยาน ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น ช่ อ งสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส รอบตึ ก มี คู น้ ำ ล้ อ มรอบ ภายในคู น้ ำ มี น้ ำ พุ เรี ย งรายเป็ น ระยะอยู่ 20 แห่ ง จากเค้าโครงที่เห็นแสดงว่าในสมัยก่อนคงจะสวยงามมาก ทางด้านหน้าตึกเลี้ยงรับ รองมี ร ากฐานเป็ น อิ ฐ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ตึ ก หลั ง เล็ ก ๆ คงจะเป็ น โรงมหรสพ ซึ่ ง มี ก าร แสดงให้ แขกเมื อ งชมภายหลั ง การเลี้ ย งอาหาร สมเด็ จ พระนารายณ์ ฯ ได้ พ ระราช ทานเลี้ยงแก่คณะทูตจากประเทศฝรั่งเศส ณ สถานที่นี้ใน พ.ศ.2228 และ พ.ศ.2230 พระคลังศุภรัตน์ (หมู่ตึกสิบสองท้องพระคลัง) เป็นหมู่ตึกตั้งอยู่ระหว่างอ่าง เก็บน้ำประปาและตึกซึ่งใช้เป็นสถานที่พระราชทานเลี้ยงชาวต่างประเทศ สร้างขึ้นอย่างมี ระเบียบด้วยอิฐเป็น 2 แถวยาวเรียงชิดติดกัน อาคารมีลักษณะค่อนข้างทึบ มีถนนผ่ากลาง จำนวนรวม 12 หลัง เข้าใจว่าเป็นคลังเพื่อเก็บสินค้า หรือเก็บสิ่งของเพื่อใช้ในราชการ อ่ า ง เ ก็ บ น้ ำ ห รื อ ถั ง เ ก็ บ น้ ำ ป ร ะ ป า ก่ อ ด้ ว ย อิ ฐ ย ก ขอบเป็ น กำแพงสู ง หนาเป็ น พิ เ ศษ ตรงพื้ น ที่ มี ท่ อ ดิ น เผาฝั ง อยู่ เ พื่ อ จ่ า ยน้ ำ ไปใช้ ต ามตึ ก และพระที่ นั่ ง ต่ า งๆ โดยท่ อ ดิ น เผาจากทะเลชุ บ ศรและอ่ า งซั บ เหล็ ก ตาม บั น ทึ ก กล่ า วว่ า ระบบการจ่ า ยทดน้ ำ เป็ น ผลงานของชาวฝรั่ ง เศสและอิ ต าเลี ย น โรงช้ า งหลวง ตั้ ง เรี ย งรายเป็ น แถวชิ ด ริ ม กำแพงเขตพระราชฐานชั้ น นอกด้ า นในสุ ด โรงช้ า งส่ ว นใหญ่ ป รั ก หั ก พั ง เหลื อ แต่ ฐ านปรากฏให้ เ ห็ น ประมาณ 10 โรง ช้ า งซึ่ ง ยื น โรงในพระราชวั ง คงเป็ น ช้ า งหลวงหรื อ ช้ า งสำคั ญ สำหรั บ ใช้ เ ป็ น พาหนะของสมเด็ จ พระนารายณ์ ฯ เจ้ า นายหรื อ ขุ น นางชั้ น ผู้ ใ หญ่ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ห มู่ พ ร ะ ที่ นั่ ง พิ ม า น ม ง กุ ฎ แ ล ะ

จังหวัดลพบุรี

LOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ.2466 แบ่ ง อาคารจั ด แสดงศิ ล ปะโบราณวั ต ถุ เ ป็ น 4 อาคาร 1. พระที่นั่งพิมานมงกุฎ จัดแสดง หลั ก ฐานโบราณวั ต ถุ ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศาสตร์ ที่ พ บจากแหล่ ง โบราณคดี ลุ่ ม แ ม่ น้ ำ เจ้ า พระยา บริ เ วณภาคกลางของ ประเทศไทยและแหล่งโบราณคดีจังหวัด ลพบุรี โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เตาดินเผา เครื่องมือเครื่องใช้ทำจากโลหะ ภ า ช น ะ ส ำ ริ ด เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

19

LOPBURI

อาคารต่ า งๆ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ใช้ เ ป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ ส มเด็ จ พระนารายณ์ หมู่ พ ระที่ นั่ ง พิ ม านมงกุ ฎ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ า ฯให้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2405 เพื่ อ เป็ น ที่ ป ระทั บ ของพระองค์ เมื่อครั้งเสด็จบูรณะเมืองลพบุรี ประกอบด้วยพระที่นั่ง 4 องค์ คือ พระที่นั่งพิมานมงกุฎ เป็นที่ประทับ พระที่นั่งวิสุทธิวินิจฉัยเป็นท้องพระโรงเสด็จออกว่าราชการแผ่นดิน พระ ที่นั่งไชยศาสตรากรเป็นที่เก็บอาวุธ พระที่นั่งอักษรศาสตราคม ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรง พระราชทานให้เป็นศาลากลางจังหวัด ต่อมาเมื่อศาลากลางจังหวัดย้ายไปอยู่ที่ใหม่ พระที่ นั่งหมู่นี้จึงรวมกับพระที่นั่งจันทรพิศาล เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ ห มู่ ตึ ก พ ร ะ ป ร ะ เ ที ย บ ตั้ ง อ ยู่ บ ริ เ ว ณ ห ลั ง พ ร ะ ที่ นั่ ง พิ ม า น ม ง กุ ฎ ซึ่ ง เ ป็ น เ ข ต พ ร ะ ร า ช ฐ า น ฝ่ า ย ใ น เ ป็ น ตึ ก ชั้ น เ ดี ย ว 2 หลั ง ก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ถื อ ปู น สู ง 2 ชั้ น เรี ย งรายอยู่ 8 หลั ง สร้ า งขึ้ น เพื่ อ เป็ น ที่ พั ก ของข้ า ราชการฝ่ า ยในที่ ต ามเสด็ จ รั ช กาลที่ 4 เมื่ อ ครั้ ง เสด็ จ ประพาสเมื อ งลพบุ รี ทิ ม ดาบหรื อ ที่ พั ก ของทหารรั ก ษาการณ์ เมื่ อ เดิ น ผ่ า นประตู ท างเข้ า เขตพระราชฐานชั้นกลาง ข้างประตูทั้งสองด้านตรงบริเวณสนามหญ้าจะเห็นศาลาโถง ข้างละหลัง นั่นคือตึกซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่พักของทหารรักษาการณ์ในเขตพระราชวัง


จังหวัดลพบุรี

ทำจากหิ น และเปลื อ กหอย เป็ น ต้ น ภายในพระที่ นั่ ง แบ่ ง เป็ น ห้ อ งต่ า งๆ ได้ แ ก่ - ห้ อ ง ภ า ค ก ล า ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย พ . ศ . 8 0 0 - 1 5 0 0 รั บ อิ ท ธิ พ ลของวั ฒ นธรรมอิ น เดี ย ที่ เ รี ย กว่ า สมั ย ทวารวดี จั ด แสดงเรื่ อ งการเมื อ ง การตั้ ง ถิ่ น ฐาน เทคโนโลยี แ ละการดำเนิ น ชี วิ ต อั ก ษร ภาษา ศาสนสถาน ศาสนาและความเชื่ อ ถื อ หลั ก ฐานที่ จั ด แสดงได้ แ ก่ พระพุ ท ธรู ป พระพิ ม พ์ ดิ น เผา เหรี ย ญตราประทั บ ดิ น เผา จารึ ก ภาษาบาลี สั น สกฤต และรู ป เคารพต่ า งๆ - ห้องอิทธิพลศิลปะเขมร-ลพบุรี จัดแสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ อายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 15 - 18 โบราณคดี ส มั ย ชนชาติ ข อมแผ่ อิ ท ธิ พ ลเข้ า ปกครองเมื อ งลพบุ รี และบริ เ วณภาคกลางของประเทศไทย ได้ แ ก่ ทั บ หลั ง พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ป า ง น า ค ป ร ก พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ป า ง ป ร ะ ท า น อ ภั ย เ ป็ น ต้ น - ห้ อ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ศิ ล ป ะ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จั ด แสดงศิ ล ปกรรมที่ พ บตามภาคต่ า ง ๆ ของประเทศไทย ตั้ ง แต่ พุ ท ธศตวรรษที่ 12 - 18 ได้ แ ก่ ศิ ล ปะแบบหริ ภุ ญ ไชย ศิ ล ปะล้ า นนา ศิ ล ปะสมั ย ลพบุ รี เช่ น พระโพธิ สั ต ว์ อ วโลกิ เ ตศวร พระพิ ม พ์ และพระพุ ท ธรู ป สำริ ด สมั ย ต่ า งๆ - ห้ อ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ศิ ล ป ก ร ร ม ส มั ย อ ยุ ธ ย า - รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ตั้ ง แต่ พุ ท ธศตวรรษที่ 18 - 24 ได้ แ ก่ พระพุ ท ธรู ป เครื่ อ งถ้ ว ย เงิ น ตรา อาวุ ธ เครื่ อ งเงิ น เครื่ อ งทอง และชิ้ น ส่ ว นสถาปั ต ยกรรมปู น ปั้ น และไม้ แ กะสลั ก ต่ า งๆ - ห้ อ ง ศิ ล ป ร่ ว ม ส มั ย จั ด แ ส ด ง ภ า พ เ ขี ย น แ ล ะ ภ า พ พิ ม พ์ ศิ ล ป ะ ร่ ว ม ส มั ย ข อ ง ศิ ล ปิ น ไ ท ย - ห้ อ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ก า ร เ มื อ ง สั ง ค ม วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ พ ร ะ ร า ช ป ร ะ วั ติ ข อ ง ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ า เจ้ า อ ยู่ หั ว (รั ช กาลที่ ๔) ซึ่ ง โปรดฯให้ ส ร้ า งพระราชวั ง ณ เมื อ งลพบุ รี เมื่ อ พ.ศ.2399 ได้ แ ก่ ภาพพระบรมสาทิ ส ลั ก ษณ์ ฉลองพระองค์ เครื่ อ งใช้ แท่ น พระบรรทม เหรียญทอง และจานชามมีรูปมงกุฎซึ่งเป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์ เป็นต้น 2. พระที่ นั่ ง จั น ทรพิ ศ าล เป็ น ลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมแบบทรงไทย จั ด แ ส ด ง เ รื่ อ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ก า ร เ มื อ ง สั ง ค ม วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ พ ร ะ ร า ช ป ร ะ วั ติ ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช แ ล ะ

งหวัดลพบุรี 20 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


บ้านหลวงรับราชทูต หรือ บ้านหลวงวิชาเยนทร์ บ้ า น ห ล ว ง รั บ ร า ช ทู ต ห รื อ บ้ า น ห ล ว ง วิ ช า เ ย น ท ร์ ตั้ ง อ ยู่ บ น ถ น น วิ ช า เ ย น ท ร์ ห่างจากปรางค์แขกประมาณ 300 เมตรทาง ทิ ศ เหนื อ ของพระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์ ส ำ ห รั บ เ ป็ น ที่ รั บ ร อ ง ร า ช ทู ต ที่ มาเฝ้ า ฯ สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช ที่ เ มื อ งลพบุ รี คณะราชทู ต จากประเทศ ฝรั่ ง เศสชุ ด แรกที่ เข้ า มาเมื่ อ ปี พ.ศ.2228 ได้พำนัก ณ ที่แห่งนี้ ต่อมา Constantine P h a u l k o n ( ค อ น ส แ ต น ติ น ฟ อ ล ค อ น ) ซึ่ ง เ ป็ น ช า ว ก รี ก ได้ เ ข้ า มารั บ ราชการได้ รั บ ความดี ความชอบ และได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น ถึ ง “เจ้ า พระยาวิ ช าเยนทร์ ” และได้ พ ระราชทานที่ พั ก อาศั ย ให้ ท างทิ ศ ตะวั น ตก เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

21

LOPBURI

ห้ อ งด้ า นหลั ง จั ด แสดงงานประณี ต ศิ ล ป์ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาและกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ 3. หมู่ ตึ ก พระประเที ย บ (อาคารชี วิ ต ไทยภาคกลาง) เป็ น อาคาร ลักษณะสถาปัตยกรรมผสมแบบตะวันตก จัดแสดงเรื่องชีวิตไทยภาคกลาง การดำรงชีวิต ที่อยู่อาศัย เครื่องมือ เครื่องใช้ประกอบอาชีพประมง การเกษตร และศิลปหัตกรรม พื้นบ้านของคนไทยในภาคกลาง โดยเฉพาะจังหวัดลพบุรีที่ใช้ในอดีตจนถึงปัจจุบัน 4 . พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ห นั ง ใ ห ญ่ จั ด แสดงหนั ง ใหญ่ เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ ซึ่ ง ไ ด้ ม า จ า ก วั ด ต ะ เ คี ย น ต ำ บ ล ท้ า ย ต ล า ด อ ำ เ ภ อ เ มื อ ง ล พ บุ รี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้รับรางวัลอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว ประจำปี 2545 รางวัลดีเด่น ประเภทแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์-อังคาร ตั้งแต่เวลา 8.30 – 16.00 น. ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท สอบถามรายละเอียด โทร. 0 3641 1458


จังหวัดลพบุรี

ของบ้านหลวงรับราชทูต พื้นที่ในบริเวณบ้านหลวงรับราชทูตแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่ ว น ทิ ศ ต ะ วั น ต ก เ ป็ น อ า ค า ร ที่ พั ก อ า ศั ย ข อ ง ค ณ ะ ทู ต ไ ด้ แ ก่ ตึ ก 2 ชั้นหลังใหญ่ก่อด้วยอิฐ และอาคารชั้นเดียว แคบยาว ซุ้มประตูเป็นรูปโค้งครึ่งวงกลม ส่ ว น ก ล า ง มี อ า ค า ร ที่ ส ำ คั ญ คื อ ฐ า น ข อ ง สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง ซึ่ ง เ ข้ า ใ จ ว่ า เป็นหอระฆังและโบสถ์คริสตศาสนา ซึ่งอยู่ทางด้านหลังซุ้มประตูทางเข้าเป็นรูปจั่ว ส่ ว นทิ ศ ตะวั น ออก ได้ แ ก่ กลุ่ ม อาคารใหญ่ 2 ชั้ น มี บั น ไดขึ้ น ทางด้ า นหน้ า เป็ น รู ป โค้ ง ครึ่ ง วงกลม ซุ้ ม ประตู ท างเข้ า มี ลั ก ษณะเช่ น เดี ย วกั บ ทางทิ ศ ตะวั น ตก ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ใ น บ้ า น ห ล ว ง รั บ ร า ช ทู ต บางหลั ง เป็ น แบบยุ โรปอย่ า งแท้ จ ริ ง โดยเฉพาะอาคารใหญ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออก ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น สู ง 2 ชั้ น ห น้ า ต่ า ง แ ล ะ ซุ้ ม ป ร ะ ตู แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ลั ก ษ ณ ะ ศิ ล ปะตะวั น ตกแบบเรอเนสซองส์ ซึ่ ง เจริ ญ แพร่ ห ลายในสมั ย นั้ น และที่ ส ำคั ญ คื อ อาคารที่เป็นโบสถ์คริสตศาสนา ผังและแบบของโบสถ์เป็นแบบยุโรป มีซุ้มประตูหน้า ต่างเป็นซุ้มเรือนแก้ว มีเสาปลายเป็นรูปกลีบบัวยาวซึ่งเป็นศิลปะไทย โบสถ์เหล่านี้ถือ กันว่าเป็นโบสถ์คริสต์หลังแรกในโลกที่ตกแต่งด้วยลักษณะของโบสถ์ทางพระพุทธศาสนา สามารถเข้าชมได้ระหว่างเวลา 07.00 – 17.00 น. เว้นวันจันทร์-อังคาร อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ สำนั ก งานศิ ล ปากรที่ 4 ลพบุ รี โทร. 0 3641 2510, 0 3641 3779

งหวัดลพบุรี 22 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


ศาลหลักเมือง หรือ ศาลลูกศร ตั้งอยู่ ถ น น ส า ย ริ ม น้ ำ ห ลั ง วั ด ปื น ใ ห ญ่ ใ ก ล้ กั บ บ้ า น วิ ช า เ ย น ท ร์ ตัวศาลาเป็นตึกเล็กๆ มีเนื้อที่ประมาณ 12 ตารางเมตร มีแท่งหินแท่งหนึ่งโผล่เหนือ ระดับพื้นดินขึ้นมา สูงประมาณ 1 เมตร เป็ น ศาลเจ้ า หลั ก เมื อ งโบราณที่ เรี ย กว่ า ศาลลู ก ศร สมเด็ จ กรมพระบรมวงศ์ เ ธอ กรมพระยาดำรงราชานุ ภ าพได้ ท รงนิ พ น ธ์เกี่ยวกับศาลลูกศรไว้ในตำนานเมืองลพบุรีว่า “หลักเมืองลพบุรี อยู่ทางตลาดข้างเหนือวัง เรียกกันว่า ศรพระราม จะมีมาแต่ ก่อนสมัยขอมฤาเมื่อครั้งขอมทราบไม่ได้แน่ ที่เรียกกันว่า ศรพระรามนั้นเกิดแต่เอาเรื่อ งรามเกียรติ์สมมติฐานเป็นตำนานของเมืองนี้ คือเมื่อเสด็จศึกทศกัณฑ์พระรามกลับไป ครองเมืองอโยธยาแล้ว จะสร้างเมืองประทานตรงนั้น ลูกศรพระรามไปตกบนภูเขาบัน ดาลให้ยอดเขานั้นราบลง หนุมานตามไปถึงจึงเอาหางกวาดดินเป็นกำแพงเมืองหมายไว้ เป็นสำคัญ แล้วพระวิษณุกรรมลงมาสร้างเมือง ครั้นเสร็จแล้วพระรามจึงประทานนาม ว่า “เมืองลพบุรี” ด้วยเหตุนี้จึงอ้างกันมาก่อนว่า หลักเมืองนั้นคือลูกศรพระรามที่กลาย เป็นหิน และเนินดินตามกำแพงเมืองที่ยังปรากฏอยู่เป็นของหนุมานที่เอาหางกวาดทำไว้

เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

23

LOPBURI

ศาลหลักเมือง


จังหวัดลพบุรี

พระปรางค์สามยอด ตั้ ง อยู่ บ นเนิ น ดิ น ด้ า นตะวั น ตกของ ท า ง ร ถ ไ ฟ ใ ก ล้ กั บ ศ า ล พ ร ะ ก า ฬ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ป ร า ง ค์ เ รี ย ง ต่ อ กั น 3 องค์ มี ฉ นวนทางเดิ น เชื่ อ มติ ด ต่ อ กั น พระปรางค์ ส ามยอดเป็ น ศิ ล ปะเขมร แบบบายน ซึ่ ง มี อ ายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 1 8 ส ร้ า ง ด้ ว ย ศิ ล า แ ล ง แ ล ะ ต ก แ ต่ ง ล ว ด ล า ย ปู น ปั้ น ที่ ส ว ย ง า ม เสาประดั บ กรอบประตู แ กะสลั ก เป็ น รู ปฤาษี นั่ ง ชั น เข่ า ในซุ้ ม เรื อ นแก้ ว ซึ่ ง เป็ น แบบเฉพาะของเสาประดับกรอบประตูศิลปะเขมรแบบบายน ปรางค์องค์กลางมีฐาน แต่เดิมเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและมีเพดานไม้เขียนลวดลายเป็นดอกจันสีแดง ด้ า น ห น้ า ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก มี วิ ห า ร ส ร้ า ง ขึ้ น ใ น รั ช ส มั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ศิ ล าขนาดใหญ่ ป าง สมาธิ ที่ ส มบู ร ณ์ ดี เป็ น ศิ ล ปะแบบสมั ย อยุ ธ ยาตอนต้ น อายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 20 ปรางค์ ส ามยอดนี้ แ ต่ เ ดิ ม คงเป็ น เทวสถานของขอมในพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ มหายาน ต่อมาได้ดัดแปลงเป็นเทวสถานโดยมีฐานศิวลึงค์ปรากฏอยู่ในองค์ปรางค์ทั้ง สามปรางค์ จนกระทั่งถึงรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ จึงได้บูรณะปฏิสังขรณ์พระปรางค์สามยอดเป็นวัดในพุทธศาสนา แล้วสร้างพระวิหารก่อด้วยอิฐ ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบอยุธยาผสมแบบยุโรปในส่วนของประตูและหน้าต่าง ภายในวิหารประดิษฐาน พุทธรูปหินทรายปางมารวิชัย ศิลปะอยุธยาตอนต้น ปัจจุบันยังคงประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง เปิ ด ให้ เ ข้ า ชม ระหว่ า งเวลา 07.00 – 17.00 น. เว้ น วั น จั น ทร์ อั ง คาร อั ต ราค่ า เข้ า ชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่ า งประเทศ 30 บาท

งหวัดลพบุรี 24 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

25

LOPBURI

ศาลพระกาฬ ตั้งอยู่ริมทางรถไฟด้านทิศตะวันออกของพระปรางค์สาม ยอด ตำบลท่าหินเป็นเทวสถานเก่าของขอม สร้างด้วยศิลาแลงเรียงซ้อนกันเป็นฐาน สูง จึงเรียกกันมาแต่ก่อนอีกชื่อหนึ่งว่า “ศาลสูง” ที่ทับหลังซึ่งทำด้วยศิลาทรายสลัก เป็นรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 วางอยู่ติดฝาผนังวิหาร หลังเล็กชั้นบน ณ ที่นี้ได้พบหลักศิลาจารึกแปดเหลี่ยมจารึกอักษรมอญโบราณด้วย ส่วนด้านหน้าเป็นศาลที่สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2494 โดยสร้างทับบนรากฐา นเดิมที่สร้างไว้ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภายในวิหารประดิษฐานพระน ารายณ์ยืน ทำด้วยศิลา 2 องค์ องค์เล็กเป็นแบบเทวรูปเก่าในประเทศไทย องค์ใหญ่ เป็นประติมากรรมแบบลพบุรี แต่พระเศียรเดิมหายไป ภายหลังมีผู้นำพระเศียรพระ พุทธรูปศิลาทรายสมัยอยุธยามาสวมต่อไว้ เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนทั่วไป ในบริเวณรอบศาลพระกาฬร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ จึงเป็นที่อยู่อาศัยของฝูง ลิงกว่า 300 ตัว ซึ่งกลายเป็นสัญลักษณ์อีกอย่างหนึ่งของจังหวัดลพบุรี กล่าวกันว่าเดิม บริเวณนี้เต็มไปด้วยต้นกร่างขนาดใหญ่ มีลิงอาศัยอยู่ เมื่อมีคนนำอาหารและผลไม้มาแ ก้บนที่ศาลพระกาฬ ลิงป่าเหล่านั้นได้เข้ามากินอาหาร จึงเชื่องและคุ้นเคยกับคนมากขึ้น


จังหวัดลพบุรี

สวนสัตว์ลพบุรี ตั้งอยู่หลัง “โรงภาพยนตร์ทหารบก” ห่างจากวงเวียนสระแก้วไปทางทิศตะ วั น อ อ ก ป ร ะ ม า ณ 1 กิ โ ล เ ม ต ร ส ว น สั ต ว์ แ ห่ ง นี้ ส ร้ า ง ขึ้ น เ มื่ อ ปี พ . ศ . 2 4 8 3 ส มั ย ที่ จ อ ม พ ล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น ไ ด้ มุ่ ง พั ฒ น า เ มื อ ง ล พ บุ รี ใ ห้ เ ป็ น เมืองสำคัญโดยได้ก่อ-สร้างสิ่งต่าง ๆ มาก ม า ย ร ว ม ทั้ ง ส ว น สั ต ว์ แ ห่ ง นี้ ด้ ว ย ต่ อ ม า เ มื่ อ สิ้ น ยุ ค ส มั ย ข อ ง จ อ ม พ ล ป . พิ บู ล ส ง ค ร า ม สวนสัตว์ก็พลอยถูกทอดทิ้งและร้างไปในที่สุด ต่อมาในปี พ.ศ.2520 ศูนย์สงครามพิเศษ ซึ่งเป็นเจ้าของสถานที่ได้ร่วมมือ กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งชมรม สโมสร พ่อค้า ประชาชน ดำเนินการปรับปรุงบูรณะสวนสัตว์ขึ้นใหม่ ให้เป็นที่สำหรับพักผ่อนหย่อนใจและเป็นแหล่งสำหรับศึกษาหาความรู้ใน เรื่องสัตว์และพืชนับเป็นสวนสัตว์ที่มีความสมบูรณ์พอสมควรแก่การบริการประชาชนใน ท้องถิ่น สวนสัตว์แห่งนี้เปิดบริการทุกวันตั้งแต่เวลา 08.00 – 18.00 น. ค่าผ่านประตูผู้ใหญ่ 10 บาท เด็ก 5 บาท รถยนต์ 10 บาท สอบถามรายละเอียดโทร. 0 3641 3551

งหวัดลพบุรี 26 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


พระที่ นั่ ง ไกรสรศี ห ราช (พระที่ นั่ ง เ ย็ น ห รื อ ต ำ ห นั ก ท ะ เ ล ชุ บ ศ ร ) ตั้ ง อ ยู่ ที่ ต ำ บ ล ท ะ เ ล ชุ บ ศ ร ห่ า งจากตั ว เมื อ งไปประมาณ 4 กิ โ ลเมตร พ ร ะ ที่ นั่ ง แ ห่ ง นี้ เ ป็ น ที่ ป ร ะ ทั บ อี ก แ ห่ ง หนึ่ ง ของสมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช องค์ พ ระที่ นั่ ง ตั้ ง อยู่ บ นเกาะกลางทะเล ชุ บ ศร ซึ่ ง ในสมั ย โบราณเป็ น อ่ า งเก็ บ น้ ำ ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ มี เ ขื่ อ น หิ น ถื อ ปู น ล้ อ ม ร อ บ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ฯ โ ป ร ด ให้ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ทรงสำราญพระราชอริ ย าบถ บั น ทึ ก ของชาวฝรั่ ง เศสกล่ า วว่ า เมื่ อ สมเด็ จ พระนารายณ์ ป ระพาสป่ า ล่ า ช้ า ง บริ เ วณภู เ ขาทางทิ ศ ตะวั น ออก แล้วจะกลับเข้าเสด็จประทับ ณ พระที่นั่งองค์นี้ พระที่นั่งเย็นสร้างขึ้นในปีใดไม่ทราบแน่ ชัด แต่จากการที่พระนารายณ์ฯได้ทรงต้อนรับพระราชอาคันตุกะจากประเทศฝรั่งเศส ณ พระที่นั่งนี้ จึงเป็นหลักฐานที่แน่ชัดว่าพระที่นั่งเย็นได้สร้างก่อน พ.ศ.2228 ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม เ ป็ น พ ร ะ ที่ นั่ ง ชั้ น เดี ย วก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น มี ผ นั ง เป็ น ทรงจตุ ร มุ ข ตรงมุ ข หน้ า เป็ น มุ ข เด็ จ ยื่ น ออกมา และมี สี ห บั ญ ชรกลางมุ ข เด็ จ สำหรั บ สมเด็ จ พระนารายณ์ ฯ เสด็ จ ออก ซุ้ ม หน้ า ต่ า ง และซุ้ ม ประตู ท ำเป็ น ซุ้ ม เรื อ นแก้ ว เป็ น แบบแผนที่ นิ ย มทำกั น มากในสมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ ฯ สภาพปั จ จุ บั น เหลื อ แต่ ผ นั ง เครื่ อ งบนหั ก พั ง หมดแล้ ว ใ น บ ริ เ ว ณ พ ร ะ ที่ นั่ ง เ ย็ น มี อ า ค า ร เ ล็ ก ๆ ก่ อ ด้ ว ย อิ ฐ ซึ่ ง ท ำ ป ร ะ ตู ห น้ า ต่ า ง เ ป็ น แ บ บ โ ค้ ง แ ห ล ม เ ข้ า ใ จ ว่ า ค ง เ ป็ น ที่ พั ก ท ห า ร ด้ า น ห น้ า แ ล ะ ด้ า น ห ลั ง พ ร ะ ที่ นั่ ง มี เ ก ย ท ร ง ม้ า ห รื อ ช้ า ง ด้ า น ล ะ แ ห่ ง พระที่ นั่ ง เย็ น มี ค วามสำคั ญ ทางดาราศาสตร์ ใ นฐานะที่ ส มเด็ จ พระ นารายณ์ ฯ ใช้ เ ป็ น สถานที่ ส ำรวจจั น ทรุ ป ราคา เมื่ อ วั น ที่ 11 ธั น วาคม พ.ศ.2228 เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

27

LOPBURI

พระที่นั่งไกรสรสีหราช


จังหวัดลพบุรี

และทอดพระเนตรสุ ริ ยุ ป ราคา เมื่ อ วั น ที่ 30 เมษายน 2231 ร่ ว มกั บ บาท หลวงเยซู อิ ต และบุ ค คลในคณะทู ต ชุ ด แรกที่ พ ระเจ้ า หลุ ย ส์ ที่ 14 แห่ ง ประเทศ ฝรั่ ง เศสส่ ง มาเจริ ญ สั ม พั น ธไมตรี เหตุ ที่ ไ ด้ ใช้ พ ระที่ นั่ ง เย็ น เป็ น ที่ ส ำรวจจั น ทรุ ป ร าคามี บั น ทึ ก ของชาวฝรั่ ง เศสกล่ า วว่ า เป็ น ที่ เ หมาะสมสามารถมองท้ อ งฟ้ า ได้ ทุ ก ด้ า น และมี พื้ น ที่ ก ว้ า งมากพอสำหรั บ ที่ จ ะติ ด ตั้ ง เครื่ อ งมื อ ยั ง มี ภ าพการสำรวจ จั น ทรุ ป ราคาที่ พ ระที่ นั่ ง เย็ น ซึ่ ง ชาวฝรั่ ง เศสวาดไว้ เป็ น รู ป สมเด็ จ พระนารายณ์ ฯ ทรงสวมลอมพอก ทรงกล้องส่องยาววางบนขาตั้ง ทอดพระเนตรดวงจันทร์จากสีหบัญชรของพระที่นั่งเย็น และตรงเฉลียงสองข้างสีหบัญชรด้านหนึ่งมีขุนนางหมอบกราบ อี กด้านหนึ่งมีนักดาราศาสตร์กำลังสังเกตการณ์โดยใช้กล้องส่อง จึงกล่าวได้ว่า การศึกษา วิชาดาราศาสตร์สมัยใหม่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ณ พระที่นั่งเย็น เมืองลพบุรีนี้เอง

งหวัดลพบุรี 28 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


ตั้งอยู่กลางวงเวียนเทพสตรีใกล้ศาลากลางจังหวัด ลพบุรีบริเวณหัวถนนนารายณ์มหาราชก่อนเข้าสู่ย่านตัวเมือง อนุสาวรีย์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นรูปปั้นในท่าประทั บ ยื น ผิ น พ ร ะ พั ก ต ร์ ไ ป ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงดาบ ก้าวพระบาทซ้ายออกมาข้าง หน้าเล็กน้อย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบ พิธีเปิดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2509 ที่ฐานอนุสาวรีย์ได้จารึก ข้อความว่า “สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระมหากษัตริย์ไทยผูย้ งิ่ ใหญ่พระองค์หนึง่ ทรงพระราชสมภพ ณ กรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2175 สวรรคต ณ เมื อ งลพบุ รี เมื่ อ พ.ศ.2231 พระองค์ ท รงมี พ ระบรมราชกฤษดาภิ นิ ห ารเป็ น อย่ า งยิ่ ง ” สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราชทรงเป็ น กษั ต ริ ย์ ใ นราชวงศ์ ป ราสาททอง องค์สุดท้าย ในรัชสมัยของพระองค์วรรณคดีและศิลปะของไทยได้เจริญถึงขีดสูงสุด มีสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศอย่างกว้างขวาง เกียรติคุณของประเทศไทยแผ่ไพศาล เป็นอย่างยิ่ง ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ประชาชนชาวไทยได้ร่วมกันสร้าง แ ล ะ ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น อ นุ ส า ว รี ย์ นี้ ไว้ เ มื่ อ วั น ที่ 1 6 กุ ม ภ า พั น ธ์ พ . ศ . 2 5 0 9

เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

29

LOPBURI

พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช


จังหวัดลพบุรี

วัดยาง ณ รังสี และ พิพิธภัณฑ์เรือพื้นบ้าน

ตั้ ง อยู่ ห มู่ 2 ตำบลตะลุ ง ริ ม ฝั่ ง แม่ น้ ำ ลพบุ รี ด้ า นตะวั น ตก เดิ ม เรี ย กว่ า วัดพญายาง เนื่องจากภายในบริเวณวัดมีต้นยางยักษ์ต้นหนึ่งตระหง่านเป็นสัญลักษณ์ท่าม กลางดงต้นยาง เดิมชื่อวัดยางศรีสุธรรมาราม แล้วเปลี่ยนเป็นวัดยาง ณ รังสี จนถึงปัจจุบัน ส่ ว น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เรื อ พื้ น บ้ า น ตั้ ง อยู่ ที่ ศ าลาการเปรี ย ญไม้ สร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2470 ตั้ ง อยู่ ริ ม แม่ น้ ำ ลพบุ รี ศาลาหลั ง นี้ ไ ด้ รั บ รางวั ล อนุ รั ก ษ์ ส ถาปั ต ยกรรมดี เ ด่ น ในปี พ.ศ.2536 ลั ก ษณะเป็ น สถาปั ต ยกรรมแบบศาลาวั ด ในชนบ ทภาคกลางในประเทศไทย ทั้ ง นี้ ผู้ ส ร้ า งจำลองแบบมาจากภาพศาลาที่ อ ยู่ ด้ า น หลั ง ธนบั ต รใบละ 1 บาท ที่ พิ ม พ์ ใ นสมั ย รั ช กาลที่ 8 ซึ่ ง นั บ วั น จะหาดู ไ ด้ ย าก ต่ อ มาได้ มี ก ารบู ร ณะซ่ อ มแซมแล้ ว เสร็ จ ในปี พ.ศ.2531 โครงการพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เรื อ พื้ น บ้ า นจึ ง ได้ เ กิ ด ขึ้ น และนั บ เป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เรื อ พื้ น บ้ า นแห่ ง แรกของประเทศไทย การเดินทาง ใช้เส้นทางสายลพบุรี – บางปะหัน (ถนนเลียบคลองชลประทาน) จนถึ ง กม.ที่ 9 วั ด จะอยู่ ด้ า นขวามื อ มี ร ถโดยสารประจำทางสายลพบุ รี – บ้ า นแพรก ออกจากสถานี ข นส่ ง ลพบุ รี ระหว่ า งเวลา 05.30 – 17.30 น.

งหวัดลพบุรี 30 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


อ ยู่ ริ ม น้ ำ บ า ง ข า ม ในเขตตำบลเขาสมอคอน สมเด็ จ กรมพระยาดำรงรา ชานุ ภ าพเคยเสด็ จ ไปวั ด นี้ และทรงกล่าวไว้ในพระนิพน ธ์ เรื่ อ งเที่ ย วตามทางรถไฟไว้ ว่า “วัดไลย์อยู่ริมน้ำบางขาม พ้นเขาสมอคอนไปทางตะวันตกไม่ห่างนัก เป็นวัดเก่าชั้นแรกตั้งกรุงศรีอยุธยา แล้ว ปฏิสังขรณ์เมื่อรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ยังมีลายภาพของเก่าปั้นเรื่องทศชาติ และเรื่องปฐมสมโพธิงามน่าดูนัก ที่วัดไลย์นี้มีรูปพระศรีอาริย์เป็นของสำคัญอีกอย่าง หนึ่งซึ่งผู้คนนับถือกันมาแต่โบราณ เมื่อรัชกาลที่ 5 ไฟป่าไหม้วิหารรูปพระศรีอาริย์ ชำรุดไป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯให้อัญเชิญลงมาปฏิสังขร ณ์ในกรุงเทพฯ แล้วคืนกลับไปประดิษฐานอย่างเดิม ถึงเทศกาลราษฎรยังเชิญออกแห่ เป็นประเพณีเมืองมาทุกปีมิได้ขาด” ปัจจุบันทางวัดได้ก่อสร้างวิหารสำหรับประดิษฐา นพระศรีอาริย์ขึ้นใหม่ ด้านหน้าเป็นรูปมณฑลจตุรมุขแลดูสง่างามมาก นอกจากนี้แล้ว ยังมีสิ่งที่น่าสนใจอีกหลายอย่าง เช่น พระวิหาร ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบอยุธยาตอนต้ น คือ มีลักษณะเจาะช่องผนังแทนหน้าต่าง ภายในมีพระประธานขนาดใหญ่ปางมารวิชั ย ลงรักปิดทอง มีซุ้มเรือนแก้วแบบพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก ด้านหน้าและด้าน หลังของพระวิหารมีภาพปูนปั้นเรื่องทศชาติ และเรื่องปฐมสมโพธิ ซึ่งนับว่าเป็นภาพประติมากรรมฝาผนังขนาดใหญ่ทมี่ คี วามสำคัญยิง่ ชิน้ หนึง่ ของชาติ นอกจากนีย้ งั มีพระอุโบสถ และวิ ห ารรู ป มณฑปยอดปรางค์ อ ยู่ ใ กล้ ๆ กั บ พระวิ ห าร และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ป ระจำวั ด ซึ่งมีของเก่ามากมายให้ชม เช่น พระพุทธรูป เครื่องหมาย เครื่องลายคราม เครื่องมือ เครื่องใช้สมัยโบราณ และอื่น ๆ อีกมากมาย สอบถามรายละเอียดโทร. 0 3648 9105 การเดิ น ทาง ใช้ เ ส้ น ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 311 (ลพบุ รี สิ ง ห์ บุ รี ) แล้ ว เลี้ ย วเข้ า สู่ ท างหลวงหมายเลข ๓๐๒๘ ตรงสี่ แ ยกไฟแดง(กม.ที่ ๑ ๘) เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

31

LOPBURI

วัดไลย์


จังหวัดลพบุรี

เข้ า ไปอี ก ระยะทางประมาณ 6 กิ โ ลเมตร มี ร ถโดยสารประจำทางผ่ า นหลายสาย คื อ สายลพบุ รี - ท่ า โขลง สายโคกสำโรง - บ้ า นหมี่ และสายสิ ง ห์ บุ รี - บ้ า นหมี่

อำเภอบ้านหมี่ อ ำ เ ภ อ บ้ า น ห มี่ เ ป็ น อ ำ เ ภ อ ที่ มี ชื่ อ เ สี ย ง ใ น ก า ร ท อ ผ้ า มั ด ห มี่ ราษฎรส่ ว นใหญ่ ข องอำเภอบ้ า นหมี่ เป็ น ไทยพวนที่ อ พยพมาจากประเทศลาว เ มื่ อ ป ร ะ ม า ณ 1 3 0 ปี ม า แ ล้ ว แ ล ะ ไ ด้ น ำ เ อ า ชื่ อ บ้ า น เ ดิ ม คื อ “ บ้ า น ห มี่ ” ม า ใ ช้ เ ป็ น ชื่ อ บ้ า น อ พ ย พ ม า ตั้ ง ห ลั ก แ ห ล่ ง ใ ห ม่ นี้ ด้ ว ย วัดธรรมิการาม หรือ วัดค้างคาว

ตั้งอยู่ริมลำน้ำบางขามฝั่งตะวันตก ตำบลบางขาม เหตุที่ชื่อวัดค้างคาวเพราะ ว่ า เ ดิ ม มี ค้ า ง ค า ว อ า ศั ย อ ยู่ ม า ก ปั จ จุ บั น ไ ม่ มี แ ล้ ว แ ล ะ ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ชื่ อ ใ ห ม่ ว่ า “ วั ด ธ ร ร มิ ก า ร า ม ” วั ด นี้ เ ป็ น วั ด เ ก่ า แ ก่ อ ยู่ ริ ม ฝั่ ง ค ล อ ง ในหมู่ ไ ม้ ร่ ม รื่ น สิ่ ง ที่ น่ า ชมของวั ด นี้ คื อ มี ภ าพเขี ย นที่ ผ นั ง โบสถ์ ซึ่ ง เป็ น ภาพ เขี ย น เรื่ อ ง พุ ท ธ ป ร ะ วั ติ ทั้ ง 4 ด้ า น ลั ก ษณะของภาพเขี ย นมี ลั ก ษณะแบบ ตะวันตกเข้ามาปนบ้างแล้ว เช่นการแรเงาต้นไม้ และอื่นๆ เป็นภาพเขียนในสมัยรัชกาลที่ ๔ ฝี มื อ ช่ า งพื้ น บ้ า นที่ ง ดงามมาก สอบถามรายละเอี ย ดโทร. 0 3648 9593 การเดินทาง ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 311 (สายลพบุรี - สิงห์บุรี) แล้วเลีย้ วขวาเข้าสูท่ างหลวงหมายเลข 3028 ตรง กม.ที่ 18 (เส้นทางเดียวกับทางเข้าวัดไลย์)

งหวัดลพบุรี 32 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


วั ด เ ข า ว ง ก ต เ ป็ น วั ด ที่ อ ยู่ ใ น ว ง ล้ อ ม ข อ ง ภู เ ข า ส า ม ด้ า น บริ เ วณกว้ า งขวางถึ ง 30 ไร่ บนไหล่ เ ขาด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกมี พ ระพุ ท ธไสยาสน์องค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่ ถัดลงมามีศาลาเก็บศพหลวงพ่อเจริญ ดิสสวัณโณ อดี ต เจ้ า อาวาส ซึ่ ง มรณภาพไปแล้ ว ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2506 แต่ ศ พไม่ เ น่ า เปื่ อ ย หน้ า วั ด มี เ จดี ย์ ส ร้ า งอยู่ บ นเรื อ สำเภา อนุ ส รณ์ ข องหลวงพ่ อ เภาผู้ ส ร้ า งวั ด นี้ สิ่ ง ที่ น่ า สนใจมากคื อ ถ้ ำ ค้ า งคาว ซึ่ ง อยู่ บ นไหล่ เขาเหนื อ พระอุ โ บสถ นับว่าเป็นถ้ำค้างคาวที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดลพบุรี ภายในถ้ำมีค้างคาวนับล้านๆ ตัว ราย ได้จากค่ามูลค้างคาวที่เข้าวัดแต่ละปีเป็นเงินหลายหมื่นบาท ทุกวันตั้งแต่เวลาประมาณ 18.30 น. ค้างคาวจะพากันบินออกจากปากถ้ำไปหากิน ยาวเป็นสายคล้ายควันไฟ การบินออกหากินนี้จะติดต่อกันไปไม่หยุดจนกระทั่งถึงเวลาประมาณ 22.00 น. และ จะเริ่มกลับเข้าถ้ำตั้งแต่เวลาประมาณ 03.00 น. จนถึงประมาณ 06.00 น. จึงจะหมด ก า ร เ ดิ น ท า ง ใ ช้ เ ส้ น ท า ง ห ม า ย เ ล ข 3 1 1 ( ล พ บุ รี – สิ ง ห์ บุ รี ) เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ วั ด ท้ อ ง คุ้ ง จ ะ ถึ ง ก่ อ น เ ข้ า ตั ว อ ำ เ ภ อ บ้ า น ห มี่ ประมาณ 4 กิ โ ลเมตร มี บ ริ ก ารรถโดยสารประจำทางสายลพบุ รี – บ้ า นหมี่ ลงรถที่สถานีขนส่งบ้านหมี่ แล้วเหมารถรับจ้างจากตลาดบ้านหมี่เข้าไปยังวัดอีกครั้ง

เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

33

LOPBURI

วั ด ท้ อ ง คุ้ ง ท่ า เ ล า อ ยู่ ริ ม ถ น น ส า ย บ า ง ง า – บ้ า น ห มี่ ตำบลบ้ า นพึ่ ง สิ่ ง ที่ น่ า สนใจ คื อ ประตู ท างเข้ า วั ด เป็ น รู ป หนุ ม านกำลั ง อ้ า ปาก ประดับกระจกสีสวยสะดุดตา เป็นความคิดริเริ่มของเจ้าอาวาสที่นำตำนานเมืองลพบุรีที่ เกี่ยวกับเรื่องรามเกียรติ์มาประยุกต์ในการสร้าง สอบถามรายละเอียดโทร. 0 3664 4270 การเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับวัดท้องคุ้ง อยู่ห่างมาอีกประมาณ 3.5 กิ โ ลเมตร และมี บ ริ ก ารรถโดยสารประจำทางสายลพบุ รี – บ้ า นหมี่ ผ่ า นหน้ า วั ด


จังหวัดลพบุรี

เขาวงพระจันทร์

บริเวณเชิงเขาจะเป็นที่ตั้งของวัดเขา วงพระจันทร์ จะมีทางบันไดขึ้นไปสู่ยอดเขา ประมาณ 3,790 ชั้น ยอดเขานี้สูงจากระดับ น้ำทะเลประมาณ 650 เมตร ถ้าวัดจากเชิง เขาถึ ง ยอดเขาโดยแนวบั น ไดจะยาว 1,680 เมตร ใช้ เ วลาเดิ น ทางจากเชิ ง เ ข า ถึ ง ย อ ด เ ข า ป ร ะ ม า ณ 2 ชั่ ว โ ม ง ส อ ง ข้ า ง ท า ง จ ะ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ยป่ า ไม้ ขึ้ น สลั บ ซั บ ซ้ อ นเต็ ม ไปหมด บางแห่งจะเป็นที่ลาด บางแห่งจะเป็นที่ชัน เมื่ อ ขึ้ น ไปถึ ง ยอดเขาวงพระจั น ทร์ จ ะมองเห็ น ทิ ว ทั ศ น์ เ บื้ อ งล่ า งได้ ไ กลสุ ด สาย ตา ในหน้ า เทศกาลเดื อ นสาม ประชาชนโดยเฉพาะชาวไทยเชื้ อ สายจี น ทั้ ง ใกล้ แ ละไกลจะหลั่ ง ไหลกั น มานมั ส การรอยพระพุ ท ธบาทและพระพุ ท ธรู ป บ นยอดเขาแห่ ง นี้ อ ย่ า งเนื อ งแน่ น เป็ น ประจำทุ ก ปี สิ่ ง ก่ อ สร้ า งและรู ป แบบของ การแสดงความเคารพที่ วั ด นี้ จึ ง ค่ อ นข้ า งจะมี อิ ท ธิ พ ลจี น หรื อ ฝ่ า ยมหายานอยู่ ม าก เ ข า ว ง พ ร ะ จั น ท ร์ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เ ป็ น เ ข า ที่ สู ง ที่ สุ ด ของจั ง หวั ด ลพบุ รี และเป็ น ภู เ ขาที่ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ ผู้ ค นรู้ จั ก เมื อ งลพบุ รี มาช้ า นานแล้ ว นอกจากนั้ น ภู เขานี้ ยั ง เป็ น ที่ ม าแห่ ง ตำนานเมื อ งเรื่ อ งท้ า วกกข นาก และเรื่ อ งพระเจ้ า กงจี น อี ก ด้ ว ย สอบถามรายละเอี ย ดโทร. 0 3665 0188 การเดินทาง มีรถโดยสารประจำทางจากสถานีขนส่งสายลพบุรี – โคกสำโรง ผ่านทางหน้าวัดและเหมารถรับจ้างจากปากทางเข้าวัดเข้าไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตร

งหวัดลพบุรี 34 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


ทุ่งทานตะวัน จังหวัดลพบุรี มีการ ปลูกทานตะวันมากที่สุดในประเทศไทย คือ ประมาณ 200,000 – 300,000 ไร่ ดอก ทานตะวั น จะบานสะพรั่ ง ในช่ ว งเดื อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น – ม ก ร า ค ม ท า น ต ะ วั น เ ป็ น พื ช ท น แ ล้ ง เ ก ษ ต ร ก ร นิ ย ม ป ลู ก แ ท น ข้ า ว โ พ ด เ ม ล็ ด ท า น ต ะ วั น มี คุ ณ ค่ า ท า ง โภชนาการ นิยมใช้สกัดทำน้ำมันปรุงอาหาร หรื อ อบแห้ ง เพื่ อ รั บ ประทาน หรื อ ใช้ เ ป็ น ส่ ว นผสมของเครื่ อ งสำอาง และยั ง สามารถเลี้ ย งผึ้ ง เป็ น อาชี พ ส่ ง เสริ ม ได้ อี ก ด้ ว ย จึ ง ทำให้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต คื อ น้ ำ ผึ้ ง จ ากดอกทานตะวั น อี ก ทางหนึ่ ง แหล่ ง ปลู ก ทานตะวั น กระจายอยู่ ทั่ ว ไปในเขต อำเภอเมืองลพบุรี อำเภอพัฒนานิคม อำเภอชัยบาดาล พื้นที่ที่ปลูกเป็นจำนวนมาก ได้ แ ก่ บริ เ วณเขาจี น แล ใกล้ วั ด เวฬุ วั น ตำบลโคกตู ม อำเภอเมื อ งลพบุ รี การเดิ น ทาง จากลพบุ รี ใช้ เ ส้ น ทางถนนพหลโยธิ น (ลพบุ รี สระบุ รี ) ถึ ง กิ โ ลเมตรที่ 4 เลี้ ย วซ้ า ยไปตามทางหลวงหมายเลข 3017 (ทางไปตำบลโคกตู ม ) ระยะทางประมาณ 8 กิ โ ลเมตร จะถึ ง ทางเข้ า วั ด เวฬุ วั น (ด้ า นซ้ า ยมื อ ) เลี้ ย วเข้ า ไปอี ก ประมาณ 2 กิ โ ลเมตร จะถึ ง ทุ่ ง ทานตะวั น สำหรั บ รถโดยสารประจำทาง มี ร ถสองแถวลพบุ รี – วั ง ม่ ว ง ผ่ า นทางเข้ า วั ด เวฬุ วั น ร ถ อ อ ก จ า ก ส ถ า นี ข น ส่ ง ล พ บุ รี ร ะ ห ว่ า ง เ ว ล า 0 6 . 0 0 – 1 7 . 3 0 น . นอกจากนี้ยังมีแหล่งปลูกทานตะวันกระจัดกระจายไปตามเส้นทางที่จะไป อำเภอพัฒนานิคม บริเวณช่องสาริกา (เข้าทางวัดมณีศรีโสภณ) ริมทางหลวงหมายเลข 21 หมายเหตุ สอบถามบริ เ วณพื้ น ที่ ป ลู ก ทานตะวั น ก่ อ นการเดิ น ทาง สำนักงานเกษตรอำเภอพัฒนานิคม โทร. 0 3649 1133, 0 3649 1258 เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

35

LOPBURI

ทุ่งทานตะวัน


จังหวัดลพบุรี

วัดพรหมรังษี วั ด พ ร ห ม รั ง ษี เดิ น ทางจากจั ง หวั ด ลพบุ รี ซอย 12 ริ ม ทางหลวงหมายเลข 21 ตำบลดี ลั ง อ ยู่ บ ริ เ ว ณ สี่ แ ย ก พ อ ดี ห่างจากตัวอำเภอพัฒนานิคมประมาณ 9 กิโลเมตร เหตุที่วัดนี้มีชื่อว่าวัดพรหมรั ง ษี สื บ เ นื่ อ ง ม า จ า ก ใ น ส มั ย ห นึ่ ง สมเด็ จ พุ ฒ าจารย์ (โต พรหมรั ง ษี ) ได้ เ ดิ น ธุ ด ง ค์ แ ล ะ ไ ด้ ห ยุ ด พั ก ปั ก ก ล ด ณ ที่ แ ห่ ง นี้ ต่ อ ม า ผู้ ที่ มี ศ รั ท ธ า ใ น พุ ท ธ ศ า ส น า จึ ง ไ ด้ ร่ ว ม ใ จ กั น ส ร้ า ง วั ด แ ล ะ ถ ว า ย น า ม นี้ เ ป็ น อ นุ ส ร ณ์ วัดนี้มีพระอุโบสถทรงจตุรมุข พระเจดีย์ทรงระฆังคล้ายพระบรมธาตุนคร ศรีธรรมราชและสิ่งก่อสร้างอื่นที่มีความสวยงาม รอบๆ บริเวณมีความร่มรื่นด้วยต้นไม้ ใหญ่น้อยและมีการดูแลรักษาความสะอาดเป็นอย่างดี ผู้ที่ผ่านไปมามักแวะชมวัดนี้เสมอ

งหวัดลพบุรี 36 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


LOPBURI

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ตั้งอยู่ที่บ้านแก่งเสือเต้น ตำบลหนองบัว เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้กับเขื่อนแห่งนี้ สร้าง ภายใต้โครงการพัฒนาลุ่มแม่น้ำป่าสัก อันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นเขื่อนแกนดิน เหนียวที่ยาวที่สุดในประเทศไทย มีความยาว 4,860 เมตร ความสูงที่จุดสูงสุด 36.50 เมตร จุดเด่นที่น่าสนใจภายในเขื่อน ได้แก่ จุดชมวิวสันเขื่อน พิพิธภัณฑ์ลุ่มน้ำป่าสัก ซึ่งแสดงความรู้ด้านธรรมชาติ และวัฒนธรรม เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ได้ทำพิธีเปิดอย่าง เป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2552 ทาเงขื่อนมีบริการบ้านพักสวัสดิการชล ประทานเขื่อนป่าสัก โทร. 0 3649 4243 สอบถามรายละเอียดโทร. 0 3649 4032-3 การเดินทาง จากตัวเมืองลพบุรีใช้เส้นทางลพบุรี - โคกตูม - พัฒนานิคม (ทางหลวงหมายเลข 3017) ระยะทาง 48 กิโลเมตร มีบริการรถสองแถวลพบุรี - วังม่วง ผ่านหน้าเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ รถออกจากสถานีขนส่งลพบุรี ระหว่างเวลา 06.00 – 17.30 น.

เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

37


จังหวัดลพบุรี

โอเอซิสฟาร์ม โอเอซิ ส ฟาร์ ม ตั้ ง อยู่ เ ลขที่ 85/2 หมู่ 13 ตำบลช่ อ งสาริ ก า เป็ น ฟาร์ ม เลี้ ย งนกกระจอกเทศครบวงจรในทุ่ ง หญ้ า ริ ม เชิ ง เขาสไตล์ ซ าฟารี สนุ ก สนา นกั บ กิ จ กรรมป้ อ นอาหารและถ่ า ยรู ป คู่ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด ท่ า มกลางทุ่ ง ทานตะวั น บาน สะพรั่งตามฤดูกาล (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ ของทุกปี) เลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากนกกระจอกเทศ เช่น กระเป๋า เข็มขัด เนื้อนกกระจอกเทศ ฯลฯ อัตราค่าเข้าชม คนละ 10 บาท หมู่ ค ณะหรื อ กรุ๊ ป ทั ว ร์ ที่ ต้ อ งการวิ ท ยากรบรรยายคนละ 20 บาท กรุณาติดต่อล่วงหน้าก่อนเข้าชม โทร. 0 3645 1261, 08 1780 8928, 08 1466 3349 การเดิ น ทาง จากตั ว เมื อ งลพบุ รี ใช้ เ ส้ น ทางสายลพบุ รี - โคกตู ม พั ฒ นานิ ค ม (ทางหลวงหมายเลข 3017) ประมาณ 25 กิ โ ลเมตร ถึ ง สี่ แ ยก ไฟแดงปั้ ม น้ ำ มั น คาร์ เ ท็ ก ซ์ เ ลี้ ย วขวาประมาณ 2 กิ โ ลเมตร อยู่ ท างด้ า นขวามื อ สวนเหรียญทอง ส ว น เ ห รี ย ญ ท อ ง เ ป็ น ส ว น เ ก ษ ต ร เ พื่ อ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว มี ชื่ อ เ สี ย ง ด้ า น ก า ร ฝ า ก กิ่ ง ม ะ ม่ ว ง เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ผ ล ผ ลิ ต ม า ก เ ป็ น พิ เ ศ ษ (กิ่ ง ละประมาณ 20 ผล) กิ จ กรรมสำหรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว คื อ ชมวิ ธี ก ารตอนกิ่ ง ทาบกิ่ ง และฝากท้ อ งมะม่ ว ง นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารจำหน่ า ยผลผลิ ต และผลิ ต ภั ณ ฑ์ แปรรู ป เกษตรของกลุ่ ม แม่ บ้ า นต่ า งๆ สอบถามรายละเอี ย ดโทร. 0 3649 1172 การเดิ น ทาง จากตั ว เมื อ งลพบุ รี ใช้ เ ส้ น ทางสายลพบุ รี - โคกตู ม - พั ฒ นานิ ค ม (ทางหลวงหมายเลข 3017) อยู่ ก่ อ นถึ ง เขื่ อ นป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ ป ร ะ ม า ณ 3 กิ โ ล เ ม ต ร มี บ ริ ก า ร ร ถ ส อ ง แ ถ ว ล พ บุ รี - วั ง ม่ ว ง ผ่ า นทางเข้ า สวนเหรี ย ญทอง และจากนั้ น ต้ อ งเดิ น เข้ า ไปอี ก ประมาณ 500 เมตร

งหวัดลพบุรี 38 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


LOPBURI

เทศกาลงานประเพณี จังหวัดลพบุรี

• งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดขึ้นในช่วงประ-มาณเดือนกุมภาพันธ์ ข องทุกปีเพื่อเป็นการรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่มีต่อ จังหวัดลพบุรี ณ.พระนารายณ์ราชนิเวศน์ • เทศกาลทุ่งทานตะวันบาน ที่ลพบุรี ช่วงเวลาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม งานเทศกาลลอยกระทง ย้อนยุคไปในสมัย จอมพล.ป พิบูลสงคราม จัด ณ.วงเวียนสระแก้ว ลพบุรี • งานเทศกาลกระท้อนหวานและของดีเมืองลพบุรี • เทศกาลโต๊ะจีนลิง เป็นหนึ่งใน 10 เทศกาลแปลกที่สุดในโลก งานเลี้ยงโต๊ะจีนลิง จัดขึ้นทุกวันอาทิตย์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือนพฤศจิกายน ณ บริเวณศาลพระกาฬ และพระปรางค์สามยอด ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ รวมไปถึงสื่อต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศอีกด้วย • เทศกาลกินเจลพบุรี • งานฤดู ห นาวลพบุ รี จั ด ระหว่ า งเดื อ นพฤศจิ ก ายน ถึ ง เดื อ นธั น วาคม ของทุ ก ปี ณ.สนามโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย • ง า น ก ร ะ ท้ อ น ห ว า น เ มื อ ง ล พ บุ รี ช่ ว ง เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น - ก ร ก ฎ า ค ม เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผลผลิตกระท้อนของอำเภอเมืองลพบุรี • เทศกาลงานแสดงไม้ดอกไม้ประดับจังหวัดลพบุรี ในเดือนตุลาคมของทุกปี • ประเพณีชักพระศรีอาริย์ 14 ค่ำ เดือน 6 ของทุกปี • ประเพณีกำฟ้า ตรงกับวันขึ้น 2 ค่ำ เดือน 3 เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

39


จังหวัดลพบุรี

เทศกาลทุ่งทานตะวันบาน เทศกาลทุ่ ง ทานตะวั น บาน เป็ น ชื่ อ เรี ย กเทศกาลรวมๆ ในการจั ดชม ดอกทานตะวั น ในบริ เ วณภาคกลางขอ งประเทศไทย จะจั ด ขึ้ น โดยจะมี ใ นช่ ว ง เดือนพฤศจิกายน - กุมพาพัน ของทุกปี โดยมี พื้ น ที่ ป ลู ก ใน อำเภอพั ฒ นานิ ค ม บ า ง ส่ ว น ข อ ง อ ำ เ ภ อ เ มื อ ง ล พ บุ รี ร ว ม ทั้ ง บ ริ เ ว ณ โ ด ย ร อ บ เ ขื่ อ น ป่ า สั ก ช ล สิ ท ธิ์ แ ล ะ ร ว ม ถึ ง พื้ น ที่ ติ ด ต่ อ กั น ใ น จั ง ห วั ด ส ร ะ บุ รี อี ก ด้ ว ยการเยี่ ย มชมทุ่ ง ทานตะวั น บาน สามารถเดิ น ทางมาได้ ห ลายเส้ น ทาง โดยทางถนนให้ เ ดิ น ทางมาตามถนนพหลโยธิ น ก่ อ นเข้ า เมื อ งลพบุ รี 5 กิ โ ลเมตร ให้ เ ลี้ ย วขวา เข้ า เส้ น ทางไป อำเภอพั ฒ นานิ ค ม (ตามทางหลวงหมายเลย 3017) มุ่ ง หน้ า เขื่ อ นป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ หรื อ เส้ น ทางที่ ส อง เดิ น ทางตามถนนพหลโยธิ น มาถึ ง สามแยกพุ แ ค ให้ ไ ปทางจั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ (ตามทางหลวงหมายเลข 21) มุ่ ง หน้ า สู่ อ ำเภอพั ฒ นานิ ค มเช่ น กั น ซึ่ ง ทั้ ง สองเส้ น ทางนี้ ใ นช่ ว งที่ มี เ ทศกาลทุ่ ง ทาน ตะวันบาน จะมีทิวทัศน์สองข้างทางที่สวยงามมาก ท่านสามารถเยี่ยมชม ถ่ายภาพ ในทุ่งทานตะวันได้ โดยอาจเสียค่าเยี่ยมชมเล็กน้อย รวมทั้งยังสามารถซื้อของฝาก เช่น น้ำผึ้ง ของฝากจากจังหวัดลพบุรี หรือผลิตภัณฑ์จากดอกทานตะวันได้อีกด้วย

งหวัดลพบุรี 40 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


เทศกาลโต๊ะจีนลิง ได้จัดว่า เป็น 1 ใน 10 ของเทศกาลที่แปลกที่สุดในโลก และเป็น เทศกาลงานประเพณีที่สำคัญของจังหวัด ลพบุรีการจัดงานเลี้ยง “โต๊ ะจีนลิง” ของ จังหวัดลพบุรี เริ่มมีขึ้นครั้งแรกตั้งแต่ปี 2532 สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดลพบุรีจนโด่งดัง ไปทั่วโลก และถูกจัดเข้าปฏิทินงานประจำปี ของจังหวัด งานดังกล่าวเริ่มขึ้นจากการลง แรงกายแรงความความคิดของ นายยงยุทธ กิจวัฒนานุสนธิ์ ประธาน บริษัท ลพบุรีอินน์กรุ๊ป และดำเนินการต่อเนื่องจนกระทั่ง ปั จ จุ บั น ขึ้ น สู่ ปี ที่ 1 4 ลิ ง บ ริ เ ว ณ ศ า ล พ ร ะ ก า ฬ พ ร ะ ป ร า ง ค์ ส า ม ย อ ด จ ะ แ ย ก พ ว ก กั น กั บ ลิ ง บ ริ เว ณ ตึ ก ส ภ า พ ข อ ง ลิ ง ศ า ล พ ร ะ ก า ฬ ค่ อ น ข้ า ง ไ ด้ รั บ ก า ร เ ลี้ ย ง ดู อ ย่ า ง อิ่ ม ห มี พ ลี มั น เ นื่ อ ง จ า ก มี ผู้ ค น ที่ ม า ก ร า บ ไ ห ว้ สั ก ก า ร ะ ศ า ล ฯ เ ลี้ ย ง ดู ข ณ ะ ที่ ลิ ง พ ร ะ ป ร า ง ค์ ส า ม ย อ ด และลิ ง ตึ ก ที่ มี อ ยู่ ป ระมาณ 3,000 ตั ว มี ค วามเป็ น อยู่ ที่ ล ำบาก บางมื้ อ ก็ กิ น ไม่ อิ่ ม

เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

41

LOPBURI

เทศกาลโต๊ะจีนลิง


จังหวัดลพบุรี

งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์

ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ใ น ช่ ว ง เ ดื อ น กุ ม ภ า พั น ธ์ ข อ ง ทุ ก ปี คื อ “งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์” ซึ่งเป็นงานที่สร้างชื่อเสียงให้กับชาวลพบุรีเป็น อย่างมาก เนื่องจากความเป็นเอกลักษณ์ของงาน คือ การแต่งกายชุดไทย และเป็นงานที่ รำลึกถึงองค์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้ทรงสร้าง ความเจริญให้กับเมืองลพบุรี ก่ อ นจะมาเป็ น งานแผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระนารายณ์ นั้ น ชาวลพบุ รี เ คยมี ง าน ประเพณี อ ยู่ อ ย่ า งหนึ่ ง คื อ “งานในวั ง ” ซึ่ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2501 โดยมี วั ต ถ-ุ ประสงค์ เ พื่ อ จั ด หารายได้ น ำไปก่ อ สร้ า งอนุ ส าวรี ย์ ส มเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช ในสมั ย จอมพล ป.พิ บู ล สงคราม แปลก พิ บู ล สงคราม ซึ่ ง มี ด ำริ ใ ห้ ส ร้ า ง อนุ ส าวรี ย์ ใ นราวปี พ.ศ. 2500 ต่ อ มาจึ ง ได้ มี ก ารวางศิ ล าฤกษ์ เมื่ อ วั น ที่ 23 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2505 และดำเนิ น การก่ อ สร้ า งจนเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยสมบู ร ณ์ โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินมาทรงประกอ บพิธีเปิด ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เกิดขึ้นจากแนวคิดของชมรมอนุรักษ์โบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลพบุรี

งหวัดลพบุรี 42 จัLOPBURI PROVINCE

“วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง


ค น เ มื อ ง ล พ บุ รี เ ชื่ อ กั น ว่ า ถ้ า น้ ำ ที่ ศ า ล ลู ก ศ ร ( ศ า ล ห ลั ก เ มื อ ง ) แ ห้ ง ไ ฟ ก็ จ ะ ไ ห ม้ เ มื อ ง ล พ บุ รี เ นื่ อ ง จ า ก ภ า ย ใ น ศ า ล จ ะ มี หิ น สี -

ด ำ ที่ เ ชื่ อ กั น ว่ า เ ป็ น ศ ร ข อ ง พ ร ะ ร า ม ที่ตกลงมาซึ่งก้อนหินนี้ เมื่อน้ำที่อยู่รอบก้อนหินนี้ แห้งไป ก็จะเกิดไฟไหม้ในลพบุรศี าลลูกศรตามตำนาน ว่ า ไ ว้ ว่ า เ มื่ อ พ ร ะ ร า ม ร บ ช น ะ ท ศ กั ณ ฑ์ ได้ ปู น บำเหน็ จ ความชอบแด่ ขุ น ทหารโดยทั่ ว กั น แ ล ะ ไ ด้ รั บ สั่ ง ว่ า ใ ห้ ห นุ ม า น ท ห า ร เ อ ก ไ ด้ ครองกรุ ง อโยธยาร่ ว มกั น แต่ ห นุ ม านขอให้ พ ร ะ ร า ม พ ร ะ ร า ช ท า น พื้ น ที่ ส ร้ า ง เ มื อ โ ด ย ให้ พ ระรามแผลงศรออกไป เมื่ อ ลู ก ศรไปตก ณ ที่ใดก็ให้หนุมานสร้างเมือง ณ ที่แห่งนั้น ตามตำนานว่ า ไว้ ว่ า เมื่ อ ลู ก ศรตกลงมาถู ก พื้ น ดิ น ก็ ไ ด้ เ กิ ด ไฟเผาผลาญ พื้ น ดิ น นั้ น จนสุ ก ขาวเป็ น ที่ ม าของดิ น สอพอง และลู ก หลานของหนุ ม านนั้ น ก็ คื อ ลิ ง ที่อาศัยอยู่ที่ศาลพระกาฬและพระปรางค์สามยอด ลูกศรของพระรามนั้นเชื่อว่ายัง มี ฤ ทธิ์ อ ยู่ เ มื่ อ ใดที่ ผู้ ดู แ ลศาลปล่ อ ยให้ น้ ำ ที่ แช่ อ ยู่ แ ห้ ง ลงไปจะเกิ ด ไฟไหม้ เ มื อ งลพบุ รี

เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์”

NOW

43

LOPBURI

เกร็ดความรู้




จังหวัดนครราชสีมา

“ ”

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน

(คำขวัญประจำจังหวัดนครราชสีมา)

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน” ประวัติจังหวัดนครราชสีมา นครราชสีมา หรือที่เรียกว่า “โคราช” เปรียบเสมือนประตูสู่ภาคอีสาน อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 259 กิโลเมตร เป็นเมืองใหญ่บนดินแดนที่ราบสูง ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ยทรั พ ยากรและสิ่ ง อำนวยความสะดวกทางการท่ อ งเที่ ย ว ผู้ ม าเยื อ นจะเพลิ ด เพลิ น กั บ กิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย วที่ ห ลากหลายทั้ ง เดิ น ป่ า ศึ ก ษา ธรรมชาติ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจริ ม อ่ า งเก็ บ น้ ำ ชื่ น ชมความยิ่ ง ใหญ่ ข องอารยธรรม ขอมโบราณ และเรี ย นรู้ วั ฒ นธรรมพื้ น บ้ า น ทั้ ง ยั ง ได้ อิ่ ม อร่ อ ยกั บ อาหารอี ส านต้ น ตำรั บ ก่ อ นกลั บ ยั ง ได้ ซื้ อ หาสิ น ค้ า เกษตรหั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นที่ มี ใ ห้ เ ลื อ กอี ก มากมาย คำว่ า “นครราชสี ม า” เกิ ด จากการรวมชื่ อ เมื อ งโบราณสองเมื อ ง คื อ เมืองโคราชและเมืองเสมา ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอโนนสูง นครราชสีมาเคยเป็นที่ตั้งของ ชุมชนโบราณหลายแห่งตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงสมัยที่มีการเผยแพร่ของ วัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมแบบขอมเข้ามาในดินแดนแถบนี้ เคยมีฐานะเป็นเมือง “เจ้าพระยามหานคร”เช่นเดียวกั บ เมื อ งนครศรี ธ รรมราชทางภาคใต้ มี อ ำนาจปกครองหั ว เมื อ งน้ อ ยใหญ่ ใ นอี ส านหลายแห่ ง จนมาถึ ง ปั จ จุ บั น ก็ ยั ง คงความสำคั ญ อย่างต่อเนื่องในฐานะที่เป็นเมืองศูนย์กลางทางด้านคมนาคม เศรษฐกิจของภาคอีสาน จากหลั ก ฐานทางโบราณคดี พ บว่ า มี ชุ ม ชนโบราณซึ่ ง เป็ น ร่ อ ง เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

47

NAKHONRATCHASIMA

จัNAKHONRATCHASIMA งหวัดนครราชสี มา PROVINCE


จังหวัดนครราชสีมา

รอยของมนุ ษ ย์ ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ตั้ ง แต่ ยุ ค หิ น ใหม่ ต่ อ เนื่ อ งมาถึ ง ยุ ค โลหะกระ จายอยู่ ทั่ ว ไปในจั ง หวั ด นครราชสี ม า ครั้ น ถึ ง สมั ย ประวั ติ ศ าสตร์ ก็ มี ค วามเจริ ญรุ่ ง เรื อ งมาตั้ ง แต่ ส มั ย ทวารวดี ซึ่ ง มี ศู น ย์ ก ลางอยู่ ที่ เมื อ งเสมา (Sema) ตั้ ง อยู่ บริ เวณอำเภอสู ง เนิ น ในปั จ จุ บั น เป็ น เมื อ งใหญ่ เชื่ อ กั น ว่ า เป็ น ที่ ตั้ ง ของรั ฐ ศรี จ นาศะ ต่ อ มาในสมั ย ขอมพระนครมี ก ารสร้ า งเมื อ งโคราช (Angkor Raj) หรือ นครราช อยู่ในบริเวณเดียวกัน และ มีเมืองพิมาย (อำเภอพิมายในปัจจุบัน) เป็นเมืองสำคัญของขอมในบริเวณนี้ มีผู้เสนอว่าอาจมีความเป็นไปได้ที่ เมืองนครราช คือเมืองเดียวกันกับ เมืองราด ของพ่อขุนผาเมือง เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ เมืองพระนครหลายประการ นอกจากนี้รูปสลักกองทัพชาวสยามบนระเบียงด้านหนึ่ง ของ นครวัด อาจเป็นชาวสยามจากลุ่มแม่น้ำมูลที่เกี่ยวข้องกับเมืองนครราช และยังมี การกล่าวถึงเมืองนครราชสีมาในพงศาวดารของกัมพูชาหลายครั้งด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีมุมมองอีกด้านหนึ่งก็ว่า นครราชสีมา นั้นเป็นคำไทยเป็นคำใหม่ แยกเป็นคำได้คือ นคร, ราช และ สี ม า หมายความว่ า “เมื อ งใหญ่ อั น เป็ น ขอบขั ณ ฑสี ม าของราชอาณาจักร” (ราช+สีมา) ส่วนคำว่าโคราช (สำเนียงถิ่น: โค-หฺราด , ไทยกลาง: โค-ราด, เขมร: โก-เรียช ) นั้น น่าจะเพี้ยนมาจาก นครราช [Angor Riaj หรือ อังกอร์เรียจ ต่อมาลดรูปเป็น กอร์เรียจ และเพี้ยนเป็นโคราช ในที่สุด] (อ่านตามสำเนียงว่า คอนหฺราด ซึ่งเป็นคำเรียกนครราชสีมาแบบย่อ ๆ ของชาวบ้าน) มากกว่าที่จะเพี้ยนมาจาก โคราฆปุ ร ะ (Gorakhpur) ที่ เ ป็ น ชื่ อ เมื อ งสมั ย ใหม่ ใ นแคว้ น เดี ย วกั บ เมื อ ง อโยธยา (Ayodhya) ในอินเดีย ตามข้อสันนิษฐานของ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เนื่อง จากตั้ ง อยู่ เ ป็ น บริ เวณที่ เ ป็ น ชายขอบระหว่ า งรั ฐ ที่ มี อ ำนาจ หรื อ ในความหมายของ รัฐกันชน ในปัจจุบัน นครราชสีมา จึงมีประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวพันกับความขัดแย้งระหว่างรัฐ อยู่เสมอ เช่น ระหว่างสยามกับกัมพูชา หรือ ระหว่างสยามกับล้านช้าง หรือ ในบางครั้งได้มี ความพยายามที่จะตั้งตัวเป็นรัฐอิสระไม่ขึ้นกับผู้ใด เฉกเช่นเดียวกับบรรดาเมืองใหญ่อื่นๆ ครั้ น ถึ ง สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาตอนปลาย สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช ทรงเห็ น ว่ า เป็ น หั ว เมื อ งใหญ่ แ ละมี ค วามสำคั ญ ทางยุ ท ธศาสตร์ เนื่ อ งจากเป็ น เมื อ ง หน้าด่านของอยุธยาติดกับพรมแดนลาว (เข้าใจว่าเลยลำสะแทด ซึ่งเป็นลำน้ำสาขา ของแม่น้ำมูลเหนือเมืองพิมายเป็นเขตแดนลาว เพราะมีบันทึกไว้ในนิราศหนองคาย

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

49

NAKHONRATCHASIMA

สอดคล้ อ งกั บ วั ฒ นธรรมและภาษาที่ เ ปลี่ ย นไปด้ ว ย) จึ ง โปรดให้ ย้ า ยเมื อ งเสมา มาสร้างเมืองใหม่ ณ ที่ตั้งปัจจุบัน โดยมีนายช่างชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ออกแบบ ขนาดกว้าง 1,000 เมตร ความยาว 1,700 เมตร มี ก ำแพงเมื อ งขนาดใหญ่ มี ป้ อ มค่ า ยหอรบ และพระราชทานนามว่า “เมืองนครราชสีมา” ทรงโปรดให้พระยายมราชเป็นเจ้าเมือง เดอ ลาลูแบร์ ชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้เขียนรายงาน และบันทึกไว้ในจดหมายเหตุ ว่า เมืองโคราชสีมา (Corazema) เป็นหัวเมืองใหญ่ 1 ใน 7 มณฑล ตั้งอยู่ติดชายแดนของราชอาณาจักรสยามกับเมืองลาว มีเมืองบริวาร 5 เมือง ในช่ ว งเริ่ ม ต้ น สองปี แ รกของแผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระเพทราชา พระย ายมราชเจ้ า เมื อ งนครราชสี ม าที่ แ ต่ ง ตั้ ง โดยสมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราชได้ แข็ ง เมื อ ง เนื่ อ งจากไม่ พ อใจสมเด็ จ พระเพทราชา ที่ ก่ อ การยึ ด อำนาจและเปลี่ ย นราชวงศ์ จึงไม่ขอขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา แต่ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยาใช้เวลาปราบปราม โดยล้อมเมืองอยู่ประมาณ 2 ปี โดยใช้อุบายและกลยุทธปราบลงได้ เจ้าเมืองนครราชสี มาได้หนีไปพึ่งเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งไม่พอใจสมเด็จพระเพทราชาเช่นกัน แต่ถูก กองทัพอยุธยาตามไปปราบปรามลงได้ นั บ แ ต่ นั้ น เ มื อ ง น ค ร ร า ช สี ม า จึ ง ไ ม่ เ ข้ ม แ ข็ ง ดั ง แ ต่ ก่ อ น ห ลั ง จ า ก ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ล่ ม ส ล า ย เ จ้ า เ มื อ ง พิ ม า ย แ ล ะ ก ร ม ห มื่ น เ ท พ พิ พิ ธ ได้ ตั้ ง ตั ง เป็ น ชุ ม นุ ม อิ ส ระที่ ส ำคั ญ ชุ ม นุ ม หนึ่ ง แต่ ถู ก ปราบลงโดยพระเจ้ า ตาก หลั ง จากนั้ น เมื อ งนครราชสี ม าได้ เ ป็ น ฐานกำลั ง ทางทหารและการปกครองที่ สำคั ญ ของไทยมาโดยตลอด โดยในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี ไ ด้ ถู ก ใช้ เ ป็ น ฐานรวบรวมกำลั ง ของพระยาอภัยรณฤทธิ์ และ พระยาอนุชิตราชา ในการสงครามกับล้านช้างและกัมพูชา ในช่ ว งปลายรั ช สมั ย พระเจ้ า ตาก เมื่ อ เกิ ด การกบฏพระยาสรรค์ ขึ้ น พระสุ ริ ย อภั ย ผู้ ส ำเร็ จ ราชการเมื อ งนครราชสี ม า ได้ น ำกำลั ง ทหารชาวนครราชสี ม าเข้ า ควบคุ ม สถานการณ์ในกรุงธนบุรีไว้ได้ก่อนที่ เจ้าพระยาจักรี และ เจ้าพระยาสุรสีห์ จะยกทัพกลับมาจากกัมพูชาและเกิดการเปลี่ยนแผ่นดิน ในครั้งนั้น พระยากำแหงสงคราม (บุญคง) เจ้าเมืองนครราชสีมา ที่นำทัพไปกัมพูชาพร้อมกับ เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ ถู ก ประหารชี วิ ต ไปพร้ อ มกั บ เชื้ อ พระวงศ์ และขุ น นางเดิ ม ของพระเจ้ า ตาก ใ น รั ช ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 1 เ มื อ ง น ค ร ร า ช สี ม า มี ฐ า น ะ เ ป็ น เ มื อ ง


จังหวัดนครราชสีมา

ชั้ น เอก กำกั บ ตรวจตราเมื อ งประเทศราช 3 เมื อ ง คื อ เวี ย งจั น ทน์ นครพนม จำปาศั ก ดิ์ ให้ ร วมทั้ ง ปกครองหั ว เมื อ งเขมร มี เ จ้ า พระยานครราชสี ม า (ปิ่ น ) เป็ น ผู้ ส ำเร็ จ ราชการคนแรก และในรั ช สมั ย รั ช กาลที่ 1นี้ ชาวเมื อ งนครราชสี ม าไ ด้ น้ อ มเกล้ า ถวายช้ า งเผื อ ก 2 เชื อ ก ต่ อ มาทองอิ น เชื้ อ สายของพระเจ้ า ตาก และ บุตรบุญธรรมของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ได้เป็นผู้สำเร็จราชการต่อจากบิดา ใ น ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 2 เ กิ ด ก บ ฏ อ้ า ย ส า เ กี ย ด โ ง้ ง ที่ จ ำ ป า ศั ก ดิ์ มี รั บ สั่ ง ใ ห้ เ จ้ า พ ร ะ ย า น ค ร ร า ช สี ม า ( ท อ ง อิ น ) น ำ ก อ ง ทั พ ไ ป ป ร า บ แ ต่ เ จ้ า อ นุ ว ง ศ์ เ จ้ า ป ร ะ เ ท ศ ร า ช เ วี ย ง จั น ท น์ ส่ ง เ จ้ า ร า ช ว ง ศ์ ไ ปปราบกบฏได้ เ สร็ จ สิ้ น ก่ อ น และเจ้ า ราชวงศ์ ไ ด้ ค รองเมื อ งจำปาศั ก ดิ์ ต่ อ มา ในสมั ย รั ช กาลที่ 3 เจ้ า อนุ ว งศ์ ฉวยโอกาสที่ เจ้ า พระยานครราชสี ม า (ทองอิน) นำกองทหารไปราชการต่างเมือง ยกทัพลาวมายึดครองเมืองนครราชสีมา และส่งกองทหารไปกวาดต้อนครอบครัวลาวถึงเขตเมืองสระบุรี ก่อนที่จะถอยทัพเมื่อ กองทัพสยามจากพระนครเริ่มรวมพลได้ทัน ก่อนถอยทัพลาวได้ทำลายกำแพงเมือง นครราชสี ม าลงด้ า นหนึ่ ง และทำการเผาเมื อ งนครราชสี ม า ต่ อ มาชาวเมื อ ง นครราชสี ม าที่ ถู ก กวาดต้ อ นไปได้ ร วมตั ว กั น ต่ อ ต้ า นกองทั พ ลาวของเจ้ า อนุ ว งศ์ โดยมีพระยาปลัดนครราชสีมา และ พระณรงค์สงคราม (มี) เป็นผู้นำในการรบ ณ ทุ่งสัมฤทธิ และผู้นำในการสนับสนุนช่วยเหลือการรบ คือ คุณหญิงโม ภริยาปลัดเมืองนครราชสีมา ต่อมากองทัพชาวนครราชสีมาได้ร่วมกับกองทัพหลวงของกรมพระราชวังบวรฯ ในการ รบครั้งต่อๆมาจนกระทั่งเข้ายึดเมืองเวียงจันทน์ได้ในที่สุด ภายหลัง คุณหญิงโมได้รับการ แต่งตั้งเป็นท้าวสุรนารี และ พระณรงค์สงครามได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระยาณรงค์สงคราม ในการสงครามเจ้าพระยานครราชสีมา และ พระยาณรงค์สงคราม ได้เป็น ทัพหน้าของกองทัพที่นำโดยเจ้าพระยาบดินทรเดชานำพลชาวนครราชสีมาทำการรบ อย่างกล้าหาญในสงครามกับเวียดนาม และสามารถรุกไปถึงเขตแดนเมืองไซ่ง่อน ก่อนที่ จะต้ อ งถอยทั พ เนื่ อ งจากกองทั พ ไทยพ่ า ยแพ้ ใ นแนวรบด้ า นอื่ น ต่ อ มาพระยาณรงค์ สงคราม ได้เป็นนายทัพสำคัญในกองทัพของเจ้าพระยาบดินทรเดชา จนสิ้นสุดสงคราม เมื่ อ ว่ า งเว้ น จากสงคราม เมื อ งโคราชได้ ฟื้ น ตั ว ขึ้ น ใหม่ ก ลายเป็ น ชุ ม ทางการค้ า ที่ ส ำคั ญ ในการติ ด ต่ อ ระหว่ า งภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ กั บ ภาค

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

51

NAKHONRATCHASIMA

กลาง มี ก องเกวี ย นกองคาราวานการค้ า ขนาดใหญ่ ผ่ า น และ หยุ ด พั ก อยู่ เ สมอ ในสมัยรัชกาลที่ 4 บาทหลวงปาลเลกั ว ซ์ ได้ เขี ย นว่ า ตั ว เมื อ งโคราชล้ อ มรอบด้วย กำแพงตั้งอยู่บนที่ราบสูง เดินทางจากบางกอกใช้ เวลา 6 วั น โดยไต่ ร ะดั บ สู งขึ้นไป ตามเส้นทาง ดงพญาไฟ ประชากรโคราชมีประมาณ 60,000 คน ครึ่งหนึ่งเป็นคนสยาม อีกครึ่งหนึ่งเป็นคนเขมร ในตัวเมืองมีประชากร 7,000 คน มีคนจีนประมาณ 700 คน มีเหมืองแร่ทองแดง มีโรงหีบอ้อย สินค้า คือ ข้าว งาช้าง หนังสัตว์ เขาสัตว์ ไม้เต็ง อบเชย ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการจัดตั้งมณฑลนครราชสีมาเพื่อควบคุมดูแลหัวเมือง ในบริเวณใกล้เคียง เป็นมณฑลแรกของประเทศ มีการจัดตั้งกองทหารประจำมณฑลตาม ห ลั ก ส า ก ล มี ก า ร ตั้ ง โ ร ง เ รี ย น น า ย ร้ อ ย ต ำ ร ว จ ที่ น ค ร ราชสี ม า มี ก ารสร้ า งทางรถไฟจากกรุ ง เทพฯ ผ่ า นอยุ ธ ยา สระบุ รี ดงพญาไฟ ไปสู่ น ครราชสี ม า จนเปิ ด การเดิ น รถไฟหลวง สายกรุ ง เทพ - นครราชสี ม า ได้ ส ำเร็ จ การคมนาคมติ ด ต่ อ สะดวกขึ้ น เป็ น อย่ า งมาก ในช่ ว งเดี ย วกั น ฝรั่ ง เศสได้ เข้ า มามี อ ำนาจเหนื อ คาบสมุ ท รอิ น โดจี น ทำให้ ส ยามจำต้ อ งเร่ ง การ ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาราชอาณาจั ก รโดยเฉพาะในบริ เ วณภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ใ น ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 6 มี ก า ร จั ด ตั้ ง ก า ร ข น ส่ ง ไปรษณี ย์ ภั ณ ฑ์ ท างอากาศและ สายการบิ น ระหว่ า ง กรุ ง เทพ - นครราชสี ม า มี ก า ร ข ย า ย เ ส้ น ท า ง ร ถ ไ ฟ ส า ย อี ส า น จ น ส า ม า ร ถ ข ย า ย เ ส้ น ท า ง ก า ร เ ดิ นรถไฟจาก นครราชสี ม า ถึ ง ขอนแก่ น และ นครราชสี ม า ถึ ง อุ บ ลราชธานี ใ น ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 7 ใ น ช่ ว ง ห ลั ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก า ร ป ก ค ร อ ง พระองค์ เจ้ า บวรเดช ได้ ร วบรวมกองกำลั ง ทหารจากมณฑลนครราชสี ม าเป็ น หลั ก ร่วมกับ พันเอกพระยาศรีสิทธิ์สงคราม เพื่อทำการต่อสู้กับคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะผู้ก่อการได้ยกกองกำลังเข้ามาล้อมกรุงเทพฯ แต่เมื่อการต่อสู้ยืดเยื้อในที่สุดก็ ต้องถอยทัพและประสบความพ่ายแพ้เนื่องจากมีกำลังที่น้อยกว่า เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ พันโทหลวงพิบูลสงครามผู้บัญชาการกองกำลังผสมฝ่ายรัฐบาล มีอำนาจในการควบคุม กำลังทหารมากขึ้นส่งผลให้ได้อำนาจทางการเมืองและจัดตั้งรัฐบาลทหารได้ในเวลาต่อ มา ในช่วงสงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง กองทหารในสั ง กั ด มณฑลทหารบกที่ 3


จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา ได้ทำการร่วมรบในกรณีพิพาทอินโดจีนกองทัพไทยสามารถยึดดินแดน กลับคืนมาบางส่วน เป็นการชั่วคราว หลังสงครามโลกครั้งที่สอง สหรัฐอเมริกาได้ให้ ความช่วยเหลือสร้างถนนมิตรภาพ จาก สระบุรี ถึง นครราชสีมา ซึ่งเป็นทางหลวงที่ได้ มาตรฐานดีที่สุดของประเทศในขณะนั้น ในช่วงสงครามเวียดนาม สหรัฐอเมริกาได้ขอใช้ โคราช เป็นฐานบัญชาการการรบและเป็นต้นกำเนิดของกองบิน 1 ฐานทัพหลักของ กองทัพอากาศในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2523 มีความพยายามรัฐประหารโดยกลุ่มทหารของ พลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา แต่ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์นายกรัฐมนตรี ได้กราบบังคมทูล เชิญเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระราชวงศ์ทรงแปรพระราชฐานไปประทับ ที่นครราชสีมา กองกำลังทหารจากกองทัพภาคที่ 2 นำโดยพลตรี อาทิตย์ กำลังเอกได้เป็น กองกำลังหลักในการปราบกบฏลงได้ในที่สุด หลังจากนั้น อดีตผู้บัญชาการกองทัพภาคที่ 2 ห ล า ย ท่ า น ไ ด้ ก้ า ว เข้ า สู่ ต ำ แ ห น่ ง ผู้ บั ญ ช า ก า ร ท ห า ร บ ก ใ น เว ล า ต่ อ ม า มีอดีตนายกรัฐมนตรีสามท่านที่มีถิ่นฐานเติบโตในตำแหน่งหน้าที่การงาน จากนครราชสี ม า คื อ พลเอกเปรม ติ ณ สู ล านนท์ พลเอกชาติ ช าย ชุ ณ หะวั ณ แ ล ะ พ ล เ อ ก สุ ร ยุ ท ธ์ จุ ล า น น ท์ เ นื่ อ ง จ า ก ค ว า ม ส ำ คั ญ ท า ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ นครราชสี ม า ได้ ก ลายเป็ น เมื อ งศู น ย์ ร าชการที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด รองจากกรุ ง เทพม หานคร เป็ น ศู น ย์ ก ลางทางเศรษฐกิ จ การค้ า การลงทุ น การเงิ น การศึ ก ษา การสาธารณสุ ข การวิ จั ย การคมนาคม และ การอุ ต สาหกรรม ของภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ รวมทั้ ง เป็ น ที่ ตั้ ง ของกองฐานกำลั ง รบหลั ก ของกองทั พ บก และ กองทัพอากาศ ในปัจจุบัน เปรียบได้ว่าเป็นเมืองหลวงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับจังหวัดชัยภูมิ และขอนแก่น ติดต่อกับจังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว ติดต่อกับจังหวัดบุรีรัมย์ ติดต่อกับจังหวัดชัยภูมิ สระบุรี และลพบุรี

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


NAKHONRATCHASIMA

แผนที่จังหวัดนครราชสีมา

ข้อมูลการเดินทาง รถยนต์ จ า ก ก รุ ง เ ท พ ฯ เ ดิ น ท า ง ไ ป น ค ร ร า ช สี ม า ไ ด้ หลายเส้ น ทาง เส้ น ทางที่ นิ ย มที่ สุ ด คื อ จากกรุ ง เทพฯ ใช้ ท างหลวงหมายเลข 1 ( พ ห ล โ ย ธิ น ) แ ย ก เข้ า ท า ง ห ล ว ง ห ม า ย เ ล ข 2 ( มิ ต ร ภ า พ ) ที่ ส ร ะ บุ รี ไ ป จ น ถึ ง น ค ร ร า ช สี ม า ร ว ม ร ะ ย ะ ท า ง ป ร ะ ม า ณ 2 5 9 กิ โ ล เ ม ต ร อี ก เส้ น ทางคื อ จากกรุ ง เทพฯ ผ่ า นมี น บุ รี ฉะเชิ ง เทรา พนมสารคาม กบิ น ทร์ บุ รี ปั ก ธงชั ย ถึ ง นครราชสี ม า รวมระยะทางประมาณ 273 กิ โ ลเมตร ห รื อ อ า จ เ ลื อ ก ใ ช้ เ ส้ น ท า ง รั ง สิ ต - น ค ร น า ย ก ต่ อ ทางหลวงหมายเลข 33 ไปกบิ น ทร์ บุ รี แล้ ว แยกเข้ า ทางหลวงหมายเลข 3 0 4 ผ่ า น วั ง น้ ำ เ ขี ย ว ปั ก ธ ง ชั ย เ ข้ า น ค ร ร า ช สี ม า เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

53


จังหวัดนครราชสีมา

รถไฟ มีรถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) ไปนครราชสีมาทุกวัน รายละเอี ย ดสอบถามที่ ห น่ ว ยบริ ก ารเดิ น ทาง การรถไฟแห่ ง ประเทศไทย โทร. 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 www.railway.co.th รถโดยสารประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศออกจาก สถานีขนส่งหมอชิต 2 ไปนครราชสีมาทุกวันและตลอดทั้งวัน รายละเอียดสอบถาม โทร. 0 2936 1880, 0 2936 0657 , 0 2936 2852-66 เว็บไซต์ www.transport.co.th บริษัทรถโดยสารเอกชนที่เปิดบริการ มีดังนี้ - บริษัท ราชสีมาทัวร์ โทร. 0 44 24 5443 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 1615 - บริษัทแอร์โคราชพัฒนา โทร. 0 44 25 2999 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 2252 - บริษัทสุรนารีทัวร์ โทร. 0 4425 4567 สถานีขนส่งที่นครราชสีมามีสองแห่งคือ สถานีขนส่งแห่งที่ 1 ถนนบุรินทร์ โทร. 0 44 24 2899, 0 4426 8899 แ ล ะ ส ถ า นี ข น ส่ ง แ ห่ ง ที่ 2 ถ น น มิ ต ร ภ า พ - ข อ น แ ก่ น โทร. 0 44 25 6006-9 ต่ อ 175, 176 (รถปรั บ อากาศ) , 178 (รถธรรมดา) การคมนาคมภายในตัวจังหวัด จ.นครราชสีมา มี ร ถสองแถวและรถเมล์ ส ายต่ า งๆ วิ่ ง บริ ก ารภายในตั ว เมื อ งและบริ เว ณใกล้เคียง โดยแบ่งออกเป็นหลายสายด้วยกัน หากต้องการความสะดวกยิ่งขึ้นอา จใช้บริการรถสามล้อถีบ รถตุ๊กตุ๊กหรือรถแท็กซี่มิเตอร์ ซึ่งจอดให้บริการที่สถานีขน ส่งแห่งที่ 2 ที่วิ่งให้บริการผู้โดยสารในเขตตัวเมือง โดยตกลงราคาก่อนการเดินทาง หากต้ อ งการเดิ น ทางไปต่ า งอำเภอ สามารถขึ้ น รถได้ ที่ ส ถานี ข น ส่ ง แห่ ง ที่ 1 ถนนบุ ริ น ทร์ มี ทั้ ง รถสองแถวและรถโดยสารประจำทางให้ บ ริ ก าร

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


การเดินทางจากนครราชสีมาไปยังจังหวัดใกล้เคียง ร ถ โ ด ย ส า ร วิ่ ง บ ริ ก า ร ร ะ ห ว่ า ง จั ง ห วั ด จ ะ อ อ ก จ า ก ส ถ านี ข นส่ ง แห่ ง ที่ 2 (ถนนมิ ต รภาพ-ขอนแก่ น ) โดยมี ร ถจากนครราชสี ม าไปยั ง จั ง หวั ด ต่ า ง ๆ ในภาคอี ส านได้ แ ก่ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ ขอนแก่ น อุ ด รธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร กาฬสิ น ธุ์ อุ บ ลราชธานี บุ รี รั ม ย์ (สายเก่ า ผ่ า นนางรอง แ ล ะ ส า ย ใ ห ม่ ผ่ า น ห้ ว ย แ ถ ล ง ) สุ ริ น ท ร์ ( ผ่ า น น า ง ร อ ง - บ้ า น ต ะ โ ก ) น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ร ถ โ ด ย ส า ร ไ ป ยั ง จั ง ห วั ด ใ น ภ า ค อื่ น ไ ด้ แ ก่ ก รุ ง เ ท พ ฯ ช ล บุ รี พั ท ย า ร ะ ย อ ง จั น ท บุ รี ล พ บุ รี สิ ง ห์ บุ รี นครสวรรค์ พิ ษ ณุ โ ลก เชี ย งใหม่ และเชี ย งราย (ไปจนถึ ง แม่ ส าย)

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

55

NAKHONRATCHASIMA

ส่วนสถานีขนส่งแห่งที่ ๒ นั้นมีรถโดยสารไปเฉพาะอำเภอพิมายและไปด่านเกวียน-โชคชัย


จังหวัดนครราชสีมา

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ • ททท. สำนักงานนครราชสีมา (นครราชสีมา ชัยภูมิ) อ.เมือง นครราชสีมา โทร. 0 4421 3666, 0 4421 3030 • ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. 0 4425 1818 • ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155, 0 4434 1777-9 • ท่าอากาศยานนครราชสีมา โทร. 0 4425 9524 • บมจ. การบินไทย (สนามบิน) โทร. 0 4425 5425 • โรงพยาบาลมหาราช โทร. 0 4425 4990-1 • สถานีขนส่งแห่งที่ 1 โทร. 0 4424 2889 • สถานีขนส่งแห่งที่ 2 โทร. 0 4425 6006-9 • สถานีตำรวจภูธร โทร. 0 4424 2010 • สถานีรถไฟ โทร. 0 4424 2044 • สำนักงานจังหวัด โทร. 0 4424 3798

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี เป็นอนุสรณ์แด่วีรกรรมอัน กล้าหาญของวีรสตรีไทย หรือย่าโม ซึ่งเป็นชื่อที่เรียกกัน ติ ด ป า ก โ ด ย ทั่ ว ไ ป ส ร้ า ง ขึ้ น เ มื่ อ พ . ศ . 2 4 7 7 ตั้งอยู่กลางเมือง ชาวต่างถิ่นที่แวะมาเยือนและชาวเมือง โคราชนิ ย มมาสั ก การะและขอพรจากย่ า โมอยู่ เ สมอ อนุสาวรีย์หล่อด้วยทองแดงรมดำ สูง 1.85 เมตร หนัก 325 กิ โ ลกรั ม แต่ ง กายด้ ว ยเครื่ อ งยศพระราชทาน ใ น ท่ า ยื น มื อ ข ว า กุ ม ด า บ ป ล า ย ด า บ จ ร ด พื้ น มือซ้ายท้าวสะเอว หันหน้าไปทางทิศตะวันตกซึ่งเป็นที่ ตั้ ง ข อ ง ก รุ ง เ ท พ ฯ ตั้ ง อ ยู่ บ น ฐ า น ไ พ ที สี่ เ ห ลี่ ย ม ย่ อ มุ ม ไ ม้ สิ บ ส อ ง ซึ่ ง บ ร ร จุ อั ฐิ ข อ ง ท่ า น ท้ า ว สุ ร น า รี มี น า ม เ ดิ ม ว่ า คุ ณ ห ญิ ง โ ม เ ป็ น ภ ร ร ย า ป ลั ด เ มื อ ง น ค ร ร า ช สี ม า เ มื่ อ ปี พ.ศ.2329 เจ้ า อนุ ว งศ์ แ ห่ ง เวี ย งจั น ทน์ ไ ด้ ย กทั พ เข้ า ยึ ด เมื อ งโคราช คุ ณ หญิ งโมได้ ร วบรวมชาวบ้ า นเข้ า สู้ ร บและต่ อ ต้ า นกองทั พ ของเจ้ า อนุ ว งศ์ แ ห่ ง เวี ย งจั น ทน์ ไ ม่ ใ ห้ ย กมาตี ก รุ ง เทพฯได้ เ ป็ น ผลสำเร็ จ พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อ ยู่ หั ว จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ สถาปนาคุ ณ หญิ ง โมเป็ น ท้ า วสุ ร นารี ประชา ชนพร้ อ มใจกั น จั ด งานเฉลิ ม ฉลองวั น แห่ ง ชั ย ชนะของท้ า วสุ ร นารี ขึ้ น ระหว่ า งวั น ที่ 23 มีนาคม ถึงวันที่ 3 เมษายน เป็นประจำทุกปีเพื่อเป็นการระลึกถึงคุณความดีของท่าน

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

57

NAKHONRATCHASIMA

สถานที่น่าสนใจ


จังหวัดนครราชสีมา

ประตูชุมพล ประตูชุมพล ตั้งอยู่ด้านหลังอนุสาวรีย์ ท้ า วสุ ร นารี สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเมื อ งนครราชสี ม าเป็ น เมืองหน้าด่านเมื่อ พ.ศ.2199 อันเป็นปีที่พระ องค์เสด็จขึ้นครองกรุงศรีอยุธยและสร้างกำแพ งประตูเมืองอย่างแข็งแรง โดยมีช่างชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นมิตรประเทศกับกรุงศรีอยุธยาในขณะ นั้นเป็นผู้ออกแบบผังเมือง เมื อ งนครราชสี ม าในขณะนั้ น มี ลั ก ษณะเป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ขนาด 1,000 x 1,700 เมตร เดิมมีประตูเมืองทั้งหมด 4 ประตู ได้แก่ ประตูพลแสนด้านทิศเหนือ ป ร ะ ตู พ ล ล้ า น ด้ า น ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก ป ร ะ ตู ไ ช ย ณ ร ง ค์ ด้ า น ทิ ศ ใ ต้ และประตู ชุ ม พลด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก ปั จ จุ บั น เหลื อ เพี ย งประตู ชุ ม พลเท่ า นั้ น ที่ เป็ น ประตู เ มื อ งเก่ า ส่ ว นอี ก สามประตู ไ ด้ ส ร้ า งขึ้ น ใหม่ ลั ก ษณะประตู ชุ ม พล เป็ น ประตู เชิ ง เทิ น ก่ อ ด้ ว ยหิ น ก้ อ นใหญ่ แ ละอิ ฐ ฉาบด้ ว ยปู น ส่ ว นบนเป็ น หอรบ สร้ า งด้ ว ยไม้ แ ก่ น หลั ง คามุ ง กระเบื้ อ ง ประดั บ ด้ ว ยช่ อ ฟ้ า กระจั ง และนาคสะดุ้ ง กำแพงต่ อ จากประตู ทั้ ง สองข้ า งก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ส่ ว นบนสุ ด ทำเป็ น รู ป ใบเสมา

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


ศาลหลั ก เมื อ ง ตั้ ง อยู่ ถ นนจอมพล มุ ม วั ด พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ศ า ล เ จ้ า แ บ บ จี น ประดิษฐานเสาหลักเมืองนครราชสีมา เป็นที่สัก การะบูชาของชาวไทยและจีน สร้างขึ้นในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ระหว่าง พ.ศ.2199 – 2231 ตัวศาลและเสาหลักเมืองทำด้วยไม้ ผ นั ง ศ า ล ด้ า น ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก เ ป็ น กระเบื้ อ งดิ น เผาปั้ น ลวดลายนู น ต่ ำ เป็ น เรื่ อ ง ราวการสู้ ร บของท้ า วสุ ร นารี แ ละวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข องคนไทยในสมั ย โบราณ ศาลเจ้าพ่อช้างเผือก

ศาลเจ้ า พ่ อ ช้ า งเผื อ ก เป็ น ศาลเจ้ า เล็ ก ๆ ตั้ ง อ ยู่ ริ ม คู เ มื อ ง ด้ า น ทิ ศ เ ห นื อ ตรงมุมถนนมนัสตัดกับถนน พลแสน สร้างครอบ หลักตะเคียนหินซึ่งเดิมเป็นหลักที่ชาวเมืองภูเขียวนำ ช้างเผือกมาผูกไว้เพื่อให้พนักงานกรม คชบาลตรวจ ดู ลั ก ษ ณ ะ ช้ า ง ก่ อ น ก ร า บ ทู ล ถ ว า ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ ย อ ด ฟ้ า จุ ฬ า โ ล ก เพื่อทรงรับไว้เป็นพระราชพาหนะ

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

59

NAKHONRATCHASIMA

ศาลหลักเมือง


จังหวัดนครราชสีมา

ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ศู น ย์ ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ร า ช สี ม า ตั้ ง อยู่ ที่ ถ นนสุ ร นารายณ์ เมื่ อ ผ่ า นเข้ า มาในบริ เวณสถาบั น ราชภั ฏ ให้ แ ยกซ้ า ยตาม ป้ายจะพบเรือนไม้สองชั้นและเรือนโคราช อันเป็นสถานที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมู ล สิ่งของเครื่องมือเครื่องใช้ รวมทั้งวัตถุโบราณ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาข้อมูล ชีวิต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง ช า ว โ ค ร า ช แ ล ะ ช า ว อี ส า น ทั่ ว ไ ป ใ น อ ดี ต การจัดแสดงแบ่งเป็นห้องตามหัวข้อ อาทิเมืองโคราช เอกสารโบราณ อาชีพพื้นบ้าน ผ้าอีสาน ของดีโคราช ดนตรี คนดีศรีโคราช เป็นต้น เปิดให้เข้าชมในวันและเวลาราชการ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0 4425 3097 โทรสาร 04428 4739 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์

พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ มหาวี ร วงศ์ ตั้ ง อ ยู่ ใ น บ ริ เ ว ณ วั ด สุ ท ธ จิ น ด า ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด จัดแสดงศิลปวัตถุทั้ง ที่สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธ จิ น ด า ร ว บ ร ว ม ไ ว้ โ บ ร า ณ วั ต ถุ ที่ ก ร ม ศิ ล ป า ก ร ไ ด้ ส ำ ร ว จ ขุ ด พ บ ใ น เ ข ต จั ง หวั ด นครราชสี ม า ตลอดจนจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง และที่ มี ผู้ บ ริ จ าค ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น พระพุ ท ธรู ป มีทั้งพระศิลาสมัยขอม พระพุทธรูปสมัยอยุธยา พระพุ ท ธรู ป สั ม ฤทธิ์ เครื่ อ งเคลื อ บดิ น เผา เครื่ อ งใช้ ส มั ย โบราณ ภาพไม้ แ กะสลั ก เปิดให้เข้าชมระหว่างเวลา 09.00 – 16.00 น. ในวันพุธถึงวันอาทิตย์ ปิดวันจันทร์ วันอังคารและวันหยุดนักขัตฤกษ์ อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย และชาวต่างประเทศคนละ 10 บาท ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.0 4424 2958

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

61

NAKHONRATCHASIMA

วัดศาลาลอย วั ด ศ า ล า ล อ ย ด้ า น ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ ข อ ง ตั ว เ มื อ ง โ ด ย แ ย ก จ า ก ถ น น ร อ บ เ มื อ ง ไ ป ป ร ะ ม า ณ 5 0 0 เ ม ต ร วั ด นี้ ตั้ ง อ ยู่ ติ ด กั บ ล ำ ต ะ ค อ ง ซึ่ ง ไ ห ล พ า ด ผ่ า น ต อ น เ ห นื อ ข อ ง ตั ว เมื อ งไปลงสู่ แ ม่ น้ ำ มู ล ท้ า วสุ ร นารี กั บ ท่ า นปลั ด สามี ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2370 จุ ด เ ด่ น ข อ ง วั ด อ ยู่ ที่ พ ร ะ อุ โ บ ส ถ ซึ่ ง ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล ดี เ ด่ น แ น ว บุ ก เบิ ก อาคารทางศาสนา จากสมาคมสถาปนิ ก สยาม ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ แ ล ะ ร า ง วั ลจากมู ล นิ ธิ เ สฐี ย รโกเศศและนาคะประที ป ในปี พ.ศ.2 5 1 6 เป็ น อุ โ บสถที่ ส ร้ า งแบบศิ ล ปไทยประยุ ก ต์ เป็ น รู ป สำเภาโต้ ค ลื่ น ใช้ วั ส ดุ พื้ น เมื อ งคื อ กระเบื้ อ งดิ น เผาด่ า นเกวี ย นนำมาประดั บ ตกแต่ ง เช่ น ผนั ง ด้ า นหน้ า อุ โ บสถเป็ น ภาพพุ ท ธประวั ติ ต อนมารผจญ ผนั ง ด้ า นหลั ง เป็ น ภาพตอนพระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ ลงมาจากดาวดึ ง ส์ ส่ ว นบานประตู เ ป็ น โลหะลายนู น ภาพเล่ า เรื่ อ งเวชสั น ดรชาดก (13 กั ณ ฑ์ ) ภายในมี พ ระประธานปู น ปั้ น สี ข าว ปางห้ามสมุทร เป็นพระพุทธรูปยื น ประทั บ ณ ประตู เ มื อ งสั ง กั ส นคร สมเด็ จพระสังฆราชได้ทรงถวายพระนามว่า “พระพุทธประพัฒน์สุนทรธรรมพิศาล ศาลาลอย พิมาลวรสันติสุขมุนินทร์” หน้าประตูอุโบสถมีปูนปั้นรูปท้าวสุรนารีนั่งพนมมือกลาง สระน้ ำ ตั ว อุ โ บสถล้ อ มรอบด้ ว ยกำแพงแก้ ว รู ป เสมา สั ญ ลั ก ษณ์ ข องเมื อ งเสมาเดิ ม ด้านข้างมีสถูปขนาดเล็กซึ่งเคยใช้เป็นที่บรรจุอัฐิท้าวสุรนารี


จังหวัดนครราชสีมา

วัดป่าสาละวัน

วั ด ป่ า ส า ล ะ วั น ตั้ ง อ ยู่ ใ น ตั ว เ มื อ ง หลังสถานีรถไฟนครราชสีมา เป็นวัดหนึ่งที่ได้ เก็ บ รั ก ษาพระบรมสารี ริ ก ธาตุ อั ฐิ ธ าตุ ข อง เกจิ อ าจารย์ ที่ เ ป็ น ที่ เ คารพบู ช าของศาสนิ ก ชนโดยทั่ ว ไป คื อ อาจารย์ เ สา อาจารย์ มั่ น รวมทั้ ง อั ฐิ ข องอาจารย์ ทิ ม อดี ต เจ้ า อาวาส ที่ได้บุกเบิกสร้างวัดแห่งนี้

อนุสรณ์สถานนางสาวบุญเหลือ อนุสรณ์สถานนางสาวบุญเหลือ ตั้งอยู่ในบริเวณ โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ ตำบลโคกสูง อำเภอเมือง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 12.5 กิโลเมตร อยู่ทางด้านซ้าย มื อ ต า ม เ ส้ น ท า ง ส า ย น ค ร ร า ช สี ม า - ชั ย ภู มิ ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2529 อนุสาวรีย์หล่อด้ว ยทองสัมฤทธิ์สูง 175 เซนติเมตร สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึง วีรกรรมของนางสาวบุญเหลือและเหล่าบรรพบุรุษของ ชาวนครราชสีมาที่ได้พลีชีพเพื่อปกป้องชาติเมื่อครั้งสงค ร า ม เจ้ า อ นุ ว ง ศ์ ปี พ . ศ . 2 3 2 9 ที่ ทุ่ ง สั ม ฤ ท ธิ์ ด้ ว ย ก า ร ใ ช้ ดุ้ น ฟื น ติ ด ไ ฟ โ ย น เ ข้ า ใ ส่ ก อ ง เกวี ย นดิ น ดำของกองทั พ ลาวจนระเบิ ด เสี ย หาย หมดสิ้ น และตั ว นางได้ สิ้ น ชี วิ ต ในการสู้ ร บในครั้ ง นั้ น

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


ป ร า ส า ท หิ น พ น ม วั น ตั้ ง อ ยู่ ที่ บ้ า น ม ะ ค่ า ต ำ บ ล โ พ ธิ์ จากตั ว เมื อ งไปตามทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสี ม า-ขอนแก่ น ) ประมาณ 15 กิ โ ลเมตร จะมี ป้ า ยบอกทางด้ า นขวามื อ แยกเข้าไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นปราสาทขอมที่ น่ า ชมอี ก แห่ ง หนึ่ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า เ ดิมก่อสร้างด้วยอิฐในราวพุทธศตวรรษที่ 15 ต่อมาในราวพุทธศตวรรษที่ 18 – 19 จึงได้สร้างอาคารหินซ้อนทับลงไป จากจารึกที่ค้นพบ เรียกปราสาทแห่งนี้ว่า “เทวาศรม” เป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ต่อมาจึงได้เปลี่ยน แปลงให้เป็นพุทธสถาน ปัจจุบันแม้จะหักพังไปมาก แต่ยังคงเห็นซากโบราณสถานหลงเห ลือเป็นเค้าโครงค่อนข้างชัดเจนเช่น ปรางค์จตุรมุของค์ประธานหลักซึ่งหันหน้าไปทางทิศ ตะวันออกโดยมีมณฑปอยู่เบื้องหน้าและมีฉนวน (ทางเดิน) เชื่อมต่อระหว่างอาคารทั้งสอง ท า ง ด้ า น ทิ ศ ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต้ ข อ ง ป ร า ง ค์ มี อ า ค า ร ก่ อ ด้ ว ย หิ น ท ร า ย สี แ ด ง เ รี ย ก ว่ า “ ป ร า ง ค์ น้ อ ย ” ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปหินขนาดใหญ่ บริเวณโดยรอบปราสาทมีระเบียงคต สร้างด้วยหินทรายและศิลาแลงล้อมเป็นกำแพงอยู่ มีโคปุระ (ประตูทางเข้าเทวสถาน) ก่อสร้างเป็นรูปหอสูงทั้งสี่ทิศ บริเวณรอบนอกปราสาททางด้านทิศตะวันออกห่าง จากโบราณสถานเกือบ 300 เมตร มีร่องรอยของคูน้ำและเนินดินเรียกว่า “เนินอรพิม” นอกจากนี้ ยั ง พบศิ ล าแลงจั ด เรี ย งเป็ น แนวคล้ า ยซากฐานอาคารบนเนิ น แห่ ง นี้ ด้ ว ย

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

63

NAKHONRATCHASIMA

ปราสาทหินพนมวัน


จังหวัดนครราชสีมา

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 2,168 ตารางกิโลเมตรในเทือกเขาพนมดงรัก ครอบคลุมพื้นที่ 4 จังหวัด คือ นครราชสีมา นครนายก สระบุรี และปราจีนบุรี อุทยานแห่ง ชาติ เ ขาใหญ่ ขึ้ น ชื่ อ เป็ น อุ ท ยานมรดกของ อาเซียน ป่าเขาใหญ่สมัยก่อนได้รับสมญานา มว่า ดงพญาไฟ ที่ทั้งโหดทั้งดิบสำหรับผู้ที่ต้อง เดินทางผ่านป่าผืนใหญ่ที่กั้นแบ่งเขตภาคกลาง และภาคอีสาน จนกระทั่งเมื่อประมาณ พ.ศ.2465 ได้มีชาวบ้านประมาณ 30 ครัวเรือนไปตั้งหลักแหล่ง ถางป่าทำนาทำไร่ สันนิษฐานว่าเป็น พวกที่หลบหนีคดีมา ต่อมาพื้นที่เขาใหญ่ได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรก ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.2505 และได้รับสมญาว่าเป็นอุทยานมรดก ของอาเซียนอีกทั้งได้รับการประกาศเป็นมรดกโลกจาก Unesco ในปี 2548 สภาพทั่วไปของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณ และป่าดิบชื้น บางส่วนของพื้นที่เป็นทุ่งกว้างสลับกั บ ป่ า ไม้ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ มี พั น ธุ์ ไ ม้ ที่ มี คุ ณ ค่ ามาก มายทั้ ง ไม้ เ ศรษฐกิ จ ไม้ ห อม และสมุ น ไพรต่ า ง ๆ ภู มิ ป ระเทศเป็ น ภู เขาสลั บ ซั บ ซ้ อ นประกอบด้ ว ย เขาร่ ม ซึ่ ง เป็ น ยอดเขาที่ สู ง ที่ สุ ด 1,351 เมตร และยอดเขาอื่ น ๆ ที่สำคัญมีระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 800 - 1,300 เมตร ได้แก่ เขาแหลม เขาเขียว เขาสามยอด เขาฟ้าผ่าสูง เขากำแพง เขาสมอปูนและเขาแก้ว ด้ า นทิ ศ ใต้ แ ละทิ ศ ตะวั น ตกเป็ น ที่ สู ง ชั น ส่ ว นทางด้ า นทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ตะวั น ออ กพื้ น ที่ ล าดลง จากระดั บ ความสู ง ของพื้ น ที่ แ ละความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องผื น ป่ า ดิ บ ทำให้เขาใหญ่มีอากาศเย็นสบายแม้ในฤดูร้อน โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 23 องศาเซลเซี ย ส ฤดู ห นาวราวเดื อ นตุ ล าคมถึ ง กุ ม ภาพั น ธ์ เ ป็ น ช่ ว งที่ นั ก ท่ อ งเที่ยวนิยมไปเขาใหญ่มากที่สุด ส่วนในช่วงฤดูฝน สภาพธรรมชาติบนเขาใหญ่ชุ่มช่ำ ป่าไม้และทุ่งหญ้าเขียวขจีสดใส น้ำตกทุกแห่งไหลแรงเสียงดังก้องป่าให้ชีวิตชีวาแก่ผู้ไป

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

65

NAKHONRATCHASIMA

เยือนแม้การเดินทางจะค่อนข้างลำบาก แต่จำนวนนักท่องเที่ยวก็ไม่ได้ลดน้อยลงไปเลย ป่ า เขาใหญ่ มี ไ ม้ มี ค่ า และพื ช สมุ น ไพรนานาชนิ ด ที่ ส มควรได้ รั บ การดู แลอนุ รั ก ษ์ ไว้ พั น ธุ์ ไ ม้ ที่ น่ า สนใจ เช่ น ไทร ซึ่ ง ได้ รั บ สมญานามว่ า “นั ก บุ ญ แห่ ง ป่ า นักฆ่าแห่งพงไพร” ผลของไทรเป็นอาหารให้สัตว์ป่าหลายชนิดรวมทั้งนกเงือก แต่ใน ขณะเดียวกันไทรก็เป็นต้นไม้ที่ต้องอิงอาศัยต้นไม้อื่นในการเจริญเติบโต จึงไปแย่งน้ำและ อาหารทำให้ต้นไม้นั้นค่อยๆ ตายไปในที่สุด เตยน้ำ เป็นไม้เลื้อยที่มีกลิ่นคล้ายตะไคร้ภาย ใ น มี ท่ อ ล ำ เ ลี ย ง น้ ำ ข น า ด ใ ห ญ่ ส า ม า ร ถ น ำ ม า ดื่ ม ไ ด้ สุ ร า ม ริ ด ใ ช้ ด อ ง เ ห ล้ า แ ก้ ป ว ด ห ลั ง ป ว ด เ อ ว ก ะ เ พ ร า ต้ น เป็ น ไม้ ใ หญ่ ยื น ต้ น แก้ เ จ็ บ ท้ อ งขั บ ลมเงาะป่ า ผลมี ข นแข็ ง สี เ หลื อ งแต่ รั บ ประทานไม่ ไ ด้ และ กฤษณา ไม้ ซึ่ ง สามารถสกั ด เปลื อ กไปทำเครื่ อ งหอมได้ เป็ น ต้ น สั ต ว์ ป่ า ที่ ส ามารถพบเห็ น บ่ อ ยได้ แ ก่ เก้ ง กวาง ตามทุ่ ง หญ้ า นอกจากนี้ยังอาจพบช้างป่า หมีควาย หมูป่า ชะนี เม่น พญากระรอก หมาใน ชะมด อีเห็น กระต่ายป่า รวมทั้งเสือโคร่ง กระทิงและเลียงผาซึ่งก็มีถิ่นอาศัยอยู่ที่เขาใหญ่เช่น กัน อุทยานฯได้สร้างหอสูงสำหรับส่องดูสัตว์อยู่สองจุด คือ บริเวณมอสิงโตและหนองผักชี อนุญาตให้ขึ้นไประหว่างเวลา 08.00 – 18.00 น. บริเวณที่ตั้งหอดูสัตว์เป็นทุ่งหญ้าซึ่ง เจ้ า หน้ า ที่ อุ ท ยานฯจะเผาทุ ก ปี เ พื่ อ ให้ เ กิ ด หญ้ า อ่ อ น หรื อ หญ้ า ระบั ด ขึ้ น สำหรั บ เป็ น อาหารสัตว์ และยังมีโป่งดินเค็มที่เป็นแหล่งเกลือแร่ของสัตว์ต่างๆ อยู่ด้วย นักท่องเที่ยวที่ ต้องการนั่งรถส่องสัตว์ในเวลากลางคืนสามารถติดต่อที่ทำการอุทยานก่อนเวลา 18.00 น. ก า ร เ ดิ น ท า ง อุ ท ย า น แ ห่ ง ช า ติ เข า ใ ห ญ่ อ ยู่ ห่ า ง จ า ก ก รุ ง เ ท พ ฯ ประมาณ 205 กิโลเมตร สามารถไปได้ 2 เส้นทางคือ แยกจากถนนมิตรภาพตรง กิ โ ลเมตรที่ 56 ไปตามถนนธนะรั ช ต์ ป ระมาณ 23 กิ โ ลเมตร อี ก เส้ น ทางหนึ่ ง คื อ จากกรุ ง เทพฯ-แยกหิ น กอง แล้ ว ไปตามทางหลวงหมายเลข 33 (นครนายกปราจีนบุรี) ถึงสี่แยกเนินหอมใช้ทางหลวง 3077 ไปถึงเขาใหญ่ เส้นทางที่สองค่อน ข้างชันเหมาะที่จะใช้เป็นทางลงมากกว่ า หากโดยสารรถประจำทางจากกรุ งเทพฯ ให้ ล งที่ อ ำเภอปากช่ อ งแล้ ว ต่ อ รถสองแถวขึ้ น เขาใหญ่ บริ เ วณหน้ า ตลาดปาก ช่องรถจะไปถึงตรงแค่ด่านเก็บเงิน ค่ารถ 15 บาท มีบริการระหว่างเวลา 06.00 – 17.00 น. จากนั้นต้องโบกรถขึ้นไปยังที่ทำการฯ หรือจะเช่ารถจากปากช่องเลยก็ได้


จังหวัดนครราชสีมา

ค่ า ธรรมเนี ย มเข้ า ชมอุ ท ยานฯ ชาวไทย เด็ ก คนละ 10 บาท ผู้ ใ หญ่ 20 บาท ชาวต่างประเทศเด็ก 100 บาท ผู้ใหญ่ 200 บาท รถ 50 บาท ส อ บ ถ า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด ที่ ก ร ม อุ ท ย า น แ ห่ ง ช า ติ สั ต ว์ ป่ า และพั น ธุ์ พื ช โทร. 0 2562 0760 หรื อ ที่ ท ำการอุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ขาใหญ่ ปณ.9 อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130 หรือที่ www.dnp.go.th ล่องแก่งลำตะคอง ล่ อ งแก่ ง ลำตะคอง ตลอดลำน้ ำ จะผ่ า นบ้ า นเรื อ น เรื อ กสวน และป่าไม้เขียวขจี มีความยากในการล่องแก่งที่ระดับ 1-2 ซึ่งไม่ยากเกินไปนัก เหมา ะสำหรับมือใหม่ที่เพิ่งจะลองกิจกรรมประเภทนี้และยังเหมาะแก่การมาท่องเที่ยวกัน เป็นครอบครัว เวลาที่เหมาะสมคือ ระหว่างเดือนพฤษภาคม-กันยายน เนื่องจากมีน้ำมาก ความแรงของกระแสน้ ำ พอที่ จ ะทำให้ เ กิ ด ความตื่ น เต้ น แต่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตราย ส่วนในฤดูแล้งน้ำจะน้อยเกินไป การล่องแก่งใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 45 นาที และ อาจเพิ่มรสชาติการผจญภัยด้วยการนั่งช้างชมป่าหลังจากล่องแก่งก็ได้

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


ฟาร์ ม โชคชั ย ตั้ ง อยู่ บ นถนนมิ ต รภาพปากช่อง กิโลเมตรที่ 159 - 160 เป็นฟาร์มโคน มที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น หนึ่ ง ในฟาร์ ม ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในทวี ป เอเชี ย เปิ ด กิ จ การการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรจนได้รับรางวัลแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรดี เด่น รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ครั้งที่ 4 ปี 2545 มี มั ค คุ เ ท ศ ก์ น ำ ช ม ภ า ย ใ น ฟ า ร์ ม นั บ แ ต่ การผลิตน้ำนมดิบ การเลี้ยงโคนม การรีดนม การขี่ม้า ชมฟาร์ ม ม้ า ฟาร์ ม สุ นั ข และการแสดงของสั ต ว์ ค่ า เข้ า ชม ชาวไทย ผู้ ใ หญ่ 200 บาท เด็ ก 100 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 300 บาท เด็ก 150 บาท หยุดทุกวันจันทร์ นอกจากนี้ยังมีบูติกแคมป์ เต็ น ท์ ติ ด แอร์ ส ำหรั บ ผู้ ที่ ต้ อ งการพั ก ผ่ อ นแบบเน้ น สร้ า งสมาธิ กลั บ สู่ วิ ถี ธ รรม ชาติสร้างความแตกต่างจากรีสอร์ทอื่นๆ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร.0 2532 2846 ต่อ 150-157 www.farmchokchai.com ไร่ทองสมบูรณ์ ไร่ ท อ ง ส ม บู ร ณ์ ตั้ ง อ ยู่ เ ล ข ที่ 1 1 9 ห มู่ 1 0 ถ . ป า ก ช่ อ ง หั ว ลำ ตำบลปากช่ อ ง เป็ น สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ผจญภั ย ที่ เ หมาะกั บ ครอบครั ว และผู้ที่ชอบความตื่นเต้นท้าทาย นักท่องเที่ยวจะได้สนุกสนานกับการขี่ม้าสไตล์ ตะวันตก และเครื่องเล่นชนิดต่าง ๆ เช่น รอกลอยฟ้า กิจกรรมโรยตัว ขับรถชมวิว รถเอทีวี โกคาร์ท คาร์ทครอส ลูจ และกระเช้าลอยฟ้า เปิดบริการทุกวันตั้งแต่เวลา 08.00 – 18.00 น.นอกจากนี้ ยั ง มี ที่ พั ก แบบกระโจมอิ น เดี ย แดง คาราวานเกวี ย น บั ง กะโล และเรื อ นนอน ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ เ ลื อ กตามความพอใจ ผู้ ส นใจสอบ ถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0 4431 2316, 0 4431 4998 และ 0 4431 2248 เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

67

NAKHONRATCHASIMA

ฟาร์มโชคชัย


จังหวัดนครราชสีมา

เขื่อนลำตะคอง

เขื่อนลำตะคอง ตั้งอยู่ตำบลลาดบัวขาว ห่ า งจากตั ว เมื อ งประมาณ 62 กิ โ ลเมตร มี ท า ง แ ย ก จ า ก ท า ง ห ล ว ง ห ม า ย เ ล ข 2 (นครราชสีมา-สระบุรี) บริเวณกิโลเมตรที่ 193194 ประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นเขื่อนดินสร้างกั้น ลำตะคองที่ช่องเขาเขื่อนลั่นและช่องเขาถ่านเสีย ดในปี พ.ศ.2507 เพื่อนำน้ำเหนือเขื่อนมาใช้ ประโยชน์ ใ นด้ า นชลประทาน นั ก ท่ อ งเที่ ย ว สามารถเดิ น เที่ ย วบนสั น เขื่ อ นเพื่ อ ชมทิ ว ทั ศ น์ ข องอ่ า งเก็ บ น้ ำ ซึ่ ง มี ฉ ากหลั ง เป็ น ภู เขาสวยงามเหมาะสำหรั บ พั ก ผ่ อ นในยาม แดดร่มลมตก เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 06.00 – 18.00 น. โรงไฟฟ้าลำตะคอง โรงไฟฟ้าลำตะคอง ตั้งอยู่ระหว่างเส้นแบ่งเ ข ต อ ำ เ ภ อ สี คิ้ ว แ ล ะ อ ำ เ ภ อ ป า ก ช่ อ ง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 70 กิโลเมตร ลักษณะของ โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ใ ต้ ดิ น อ่างพักเก็บน้ำบนเขา อ่างพักเก็บน้ำตอนล่าง (อ่างเก็ บ น้ ำ เขื่ อ นลำตะคองของกรมชลประทานที่ มี อ ยู่ เดิม อุดมงค์ใต้ดิน โรงไฟฟ้าลำตะคองเป็นโรงไฟฟ้า พลั ง น้ ำ ที่ เ อื้ อ งประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ จั ง หวั ด นครราชสี ม า และจังหวัดอื่น ๆ ในภาคอีสาน เพราะนอกจากจะเป็น การเพิ่มความมั่นคงในระบบการผลิตและจ่ายไฟฟ้าแล้ว ยังเป็นการพัฒนาแหล่งน้ำที่มี อยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งใช้หลักการทำงานผลิตไฟฟ้าแบบสะสมพลังงาน

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


มูลนิธิหลวงพ่อโต (วัดบ้านโนนกุ่ม) มู ล นิ ธิ ห ลวงพ่ อ โต (วั ด บ้ า นโนนกุ่ ม ) ตั้ ง อยู่ ริ ม ถนนมิ ต รภาพ โดยจะ มองเห็ น องค์ พ ระขนาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น รู ป หล่ อ สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ (โต พรหมรั ง ษี ) แห่งวัดระฆังโฆษิตารามองค์ใหญ่ที่สดุในประเทศไทย โดยคุณสรพงษ์ ชาตรี ที่สร้าง ขึ้นด้วยความศรัทธาต่อองค์ท่าน ที่นี่มีโรงทานไว้สำหรับผู้มาทำบุญและสถานที่พัก ผ่อนที่สวยงามไว้รองรับนักท่องเที่ยว สอลถามข้อมูลเพิ่มเติมโทร. 08 1640 1281 เมืองโบราณที่ตำบลโคราช เมื อ งโบราณที่ ต ำบลโคราช หรื อ เมื อ งโคราชเก่ า ถื อ เป็ น จุ ด เริ่ มต้ น ของอารยธรรมขอมในอดี ต ที่ พ บในเขตนครราชสี ม า มี ร่ อ งรอยโบราณ สถานหลงเหลื อ ให้ เ ห็ น 3 แห่ ง ด้ ว ยกั น คื อ ปราสาทโนนกู่ ปราสาทเมื อ งแขก ปราสาทเมืองเก่า การเดินทางจากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมาสระบุรี) ไปจนถึงกิโลเมตรที่ 221-222 เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2161 (เข้าสู่อำเภอสูงเนิน)ไปประมาณ ๓ กิโลเมตร ให้สังเกตทางแยกขวามือข้างวัดญาณ โศภิตวนาราม(วัดป่าสูงเนิน) ซึ่งเป็นเส้นทางเข้าสู่โบราณสถานเหล่านี้ คือ ปราสาทโนนกู่ ตั้งอยู่ที่บ้านกกกอก หมู่ที่ 7 ตำบลโคราช ห่างจากแยกวัดญาณโศภิตวนาราม 3 กิโลเมตร เป็นโบราณสถานขนาดเล็กก่อด้วยอิฐและหินทราย มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ประกอบด้วยปรางค์หลังเดี่ยวบนฐานสูง ด้านหน้ามีวิห ารหันเข้าหาปรางค์ประธานอยู่ 2 หลัง ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว มีซุ้มประตูทิศตะวัน เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

69

NAKHONRATCHASIMA

โดยในช่วงเวลาที่มีการใช้ไฟฟ้าน้อย คือหลังเที่ยงคืนจนถึงเช้าจะมีพลังงานไฟฟ้าจากการ ผลิตของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนเหลือเกินความต้องการอยู่จำนวนหนึ่ง โรงงานไฟฟ้าฯ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต เป็นโรงไฟฟ้าที่นำพลังงานไฟฟ้าส่วนที่เกินอยู่นั้น มาสูบน้ำจาก เขื่อนลำตะคองที่มีอยู่เดิมไปพักไว้ในอ่างพักน้ำที่ก่องสร้างขึ้นใหม่บนเขา แล้วจึงปล่อย น้ำลงมาผ่านเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าซึ่งจะส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจ ในภูมิภาคนี้เจริญเติบโตสูงขึ้นในอนาคต สำหรับผู้ที่สนใจเข้าชมโครงการต้องหนังสือติดต่อล่วงหน้า สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0 4422 2570 ต่อ 5130 โทรสาร ต่อ 5108


จังหวัดนครราชสีมา

ออกและทิศตะวันตกเป็นทางเข้า-ออก และที่ลานระหว่างวิหารทั้งสองนั้นพบโคนนทิห มอบในอาการเคารพปราสาทประธานอันเป็นที่สถิตของพระศิวะมหาเทพตามคติความ เชื่อของศาสนาฮินดู จากการขุดแต่งปราสาทแห่งนี้ในปี พ.ศ.2534 – 2535 ได้พบหลั กฐานทางโบราณคดีเป็นจำนวนมาก สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ที่สร้างขึ้นตามแบบศิลปะเขมรโบราณ ราวปลายพุทธศตวรรษที่15 ปราสาทเมืองเก่า

ป ร า ส า ท เ มื อ ง เ ก่ า ตั้ ง อ ยู่ ใ น วั ด ป ร า ง ค์ เ มื อ ง เ ก่ า ตำบลโคราช อยู่เลยปราสาทเมืองแขก ไปอีกประมาณ 3 กิโลเมตร สังเกต บริ เ วณทางเข้ า ด้ า นหน้ า วั ด สร้ า ง เ ป็ น รู ป ป ร ะ ตู เ มื อ ง เ ก่ า โ ค ร า ช แ ละอนุ ส าวรี ย์ ย่ า โม ปราสาทเมื อ ง เก่ า เป็ น โบราณสถานขนาดเล็ ก ก่ อ ด้ ว ยศิ ล าแลง หิ น ทราย มี แ ผนผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า หั น หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก เป็ น โบราณสถานในศาสน าพุ ท ธลั ท ธิ ม หายานประเภทอโรคยาศาล(โรงพยาบาล) ที่ พ ระเจ้ า ชั ย วรมั น ที่ 7 มหาราชองค์ สุ ด ท้ า ยแห่ ง ราชอาณาจั ก รขอม ทรงสร้ า งขึ้ น ระหว่ า ง พ.ศ. 1724 – 1763 แผนผั ง ประกอบด้ ว ยปรางค์ ป ระธานรู ป สี่ เ หลี่ ย มย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สอง มีบรรณาลัยอยู่ทางมุมขวาด้านหน้า ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วซึ่งมีซุ้มประตูทางเข้าอยู่ ด้านหน้า นอกกำแพงมีสระน้ำรูปสี่เหลี่ยมกรุด้วยศิลาแลง แต่ปัจจุบันเหลือเพียงเนิน ดินเป็นแนวยาวคล้ายกำแพง ผู้ที่สนใจศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับทับหลังและโบราณวัตถุ ต่าง ๆ ที่ค้นพบที่ปราสาททั้งสามแห่ง สามารถไปชมได้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


วั ด บ้ า นไร่ ตั้ ง อยู่ ที่ ต ำบลกุ ด พิ ม าน จ า กตั ว เมื อ ง เ ดิ น ท า ง ตา ม ถ น นมิ ต ร ภ า พ ถึ ง กิ โ ลเมตรที่ ๒๓๗ แยกขวาผ่ า นอำเภอขาม ทะเลสอและบ้ า นหนองสรวงไปจนถึ ง อำเภอ ด่านขุนทด ระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร จากโรงพยาบาลด่ า นขุ น ทดใช้ ท างหลวง หมายเลข 2217 เป็ น ระยะทางอี ก ประมาณ 11 กิ โ ลเมตร วั ด บ้ า นไร่ เ ป็ น วั ด ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ของจั ง หวั ด เป็ น สถานที่ จ ำพรรษาของหลวงพ่ อ คู ณ ปริ ส ทฺ โ ธ เกจิ อ าจารย์ ชื่ อ ดั ง ในแต่ ล ะวั น มี ผู้ ค นจากทุ ก สารทิ ศ เดิ น ทางมานมั ส การหลวงพ่ อ คู ณ กั น เป็ น จำนวน มาก อำเภอปักธงชัย วัดหน้าพระธาตุ (วัดตะคุ) ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลตะคุ การเดิน ทางจากตัวเมืองนครราชสีมาใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 304 ประมาณ 30 กิโลเมตร (ผ่านสี่แยกปักธงชัย) มีทางแยกด้านขวามือเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 2236 ไปบ้านตะคุ ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร วัดตั้งอยู่ทางซ้ายมือ วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐาน ว่าสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ได้แก่ เจดีย์ อุโบสถ และหอไตรกลางน้ำที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้อย่างดี มีศิลปะแบบท้องถิ่นปะปนอยู่มาก อุ โ บสถหลั ง เก่ า มี จิ ต รกรรมฝาผนั ง สมั ย ต้ น รั ต นโกสิ น ทร์ ป รากฏให้ เ ห็ น อยู่ เ กื อ บสม บู ร ณ์ ทั้ ง บริ เวณผนั ง ด้ า นหน้ า ข้ า งนอกและผนั ง ด้ า นในทั้ ง สี่ ด้ า น เป็ น เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ทศชาติ ช าดก และเป็ น ภาพการสั ก การะพระพุ ท ธบาท นอกจากนั้ น ยั ง แทรก ภาพชีวิตประจำวันของชาวบ้านในสมัยนั้นด้วยเช่น การทำนา การหาปลา เป็นต้น ทางด้ า นหน้ า อุ โ บสถหลั ง เก่ า มี ส ระน้ ำ รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ที่ ก ลางสระมี ห อไตร 1 หลัง ทรงเตี้ยแบบหอไตรพื้นเมืองอีสานซึ่งมีภาพลายรดน้ำที่บานประตูเป็นลวดลาย วิจิตรสวยงามมาก ระหว่างหอไตรและอุโบสถหลังเก่า ยังมีเจดีย์ศิลปะแบบลาวเก่าอีก 1 องค์ สร้างโดยชุมชนที่อพยพมาจากนครเวียงจันทน์ เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

71

NAKHONRATCHASIMA

วัดบ้านไร่


จังหวัดนครราชสีมา

หมู่บ้านทำเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน หมู่ บ้ า นทำเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผาด่ า นเกวี ย น อยู่ ห่ า งจากตั ว เมื อ ง 15กิโลเมตร ตามทางหลวงสาย 224 (นครราชสีมา-โชคชัย) ในสมัยโบราณตำบล นี้เป็นที่พักกองเกวียนที่ค้าขายระหว่างโคราช-เขมร มีแม่น้ำมูลไหลผ่าน ชาวบ้านใ ช้ ดิ น ริ ม ฝั่ ง แม่ น้ ำ มาปั้ น ภาชนะใช้ ส อย และได้ ท ำสื บ ต่ อ กั น มานั บ เป็ น เวลาหลายชั่ ว อายุ ค น ปั จ จุ บั น ด่ า นเกวี ย นมี ชื่ อ เสี ย งมากในฐานะที่ เ ป็ น แหล่ ง ผลิ ต เครื่ อ งปั้ น ดิ น เผาได้สวยงาม มีรูปแบบที่แปลกและหลากหลาย แต่ ยั ง คงลั ก ษณะดั้ ง เดิ ม ของกรร มวิ ธี ใ นการปั้ น และใช้ ดิ น ดำสั ม ฤทธิ์ ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ ข องสี แ บบดิ น เผาด่ า นเกวี ย นโดย เฉพาะ นักท่องเที่ยวนิยมไปชมวิธีการผลิต ซื้อเครื่องปั้นดินเผา และสินค้าตกแต่งบ้าน หาดชมตะวัน

หาดชมตะวัน อยู่ในความรับผิดชอบ ของที่ทำการเขตจัดการอุทยานแห่งชาติ ทั บ ลานที่ 4 (ลำปลายมาศ) ซึ่ ง ดู แ ล รั ก ษาพื้ น ที่ ป่ า ในอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ทั บ ลานด้ า นอำเภอเลิ ง สาง อำเภอครบุ รี และอำเภอวังน้ำเขียว พื้นที่ริมอ่างเก็บ น้ ำ ได้ รั บ การพั ฒ นาให้ เ ป็ น ที่ พั ก ผ่ อ น ห ย่ อ น ใ จ ส ำ ห รั บ ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ เ ป็ น ที่ ป ร ะ ก อ บ อาชี พ ของชาวบ้ า นลดปั ญ หาการตั ด ไม้ ท ำลายป่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มมาเล่ น น้ ำ และรั บ ประทานอาหาร รวมทั้ ง ยั ง ชมทิ ว ทั ศ น์ อั น สวยงาม หรื อ พั ก แค้ ม ปิ้ ง ได้ อาจเช่าเรือหางยาวล่องไปตามลำน้ำ เดินป่าชมแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่น วังผีเสื้อ (มี เ ฉพาะในฤดู ห นาว) ถ้ ำ พระ ถ้ ำ คอมมิ ว นิ ส ต์ ที่ มี ตั ว อั ก ษรเขี ย นที่ ผ นั ง ถ้ ำ ว่ า “พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แ ห่ ง ประเทศไทย” และ ต้ น ตะเคี ย นทองยั ก ษ์ ซึ่ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า มี อ ายุ ป ระมาณพั น ปี ติ ด ต่ อ ขอข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม โทร. 0 4443 8092

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้ า น ป ร า ส า ท ใ ต้ ต ำ บ ล ธ า ร ป ร า ส า ท จ า ก ตั ว เ มื อ ง ใช้ ท า ง ห ล ว ง ห ม า ย เ ล ข 2 (นครราชสี ม า-ขอนแก่ น ) ถึ ง กิ โ ลเมตรที่ 44 มีทางแยกซ้ายเข้าไปอีก 1 กิโลเมตร หากเดินทาง โดยรถประจำทางจากกรุงเทพฯหรือนครราชสีมา ให้ นั่ ง รถสายที่ จ ะไป ขอนแก่ น อุ ด รธานี หนองคาย หรื อ กาฬสิ น ธุ์ ลงรถที่ กิ โ ลเมตร 44 แล้ ว ต่ อ รถจั ก รยานยนต์ รั บ จ้ า งจากปากทางเข้ า หมู่ บ้ า น บ้ า นปราสาทนั บ เป็ น แหล่งโบราณคดีแห่งที่สองต่อจากบ้านเชียง ที่ได้จัดทำในลักษณะพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง จากหลักฐานที่ค้นพบสันนิษฐานว่า มีชุมชนอาศัยอยู่ในบริเวณนี้มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยประวัติศาสตร์ มีหลักฐานของกลุ่มวัฒนธรรมแบบทวารวดีและแบบ เขมรโบราณ ช่วงระหว่าง 1,500 - 3,000 ปีมาแล้ว หลุมขุดค้นที่ตกแต่งและเปิดให้ชม มีทั้งหมด 3 แห่ง คือ หลุมขุดค้นที่ 1 มีโครงกระดูกฝังอยู่ในชั้นดินแต่ละสมัย แต่ละยุค มีลักษณะการฝังที่ต่างกันไป ยุค 3,000 ปี อยู่ในชั้นดินระดับล่างสุดลึก 5.5 เมตร โครง กระดูกจะหันหัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ยุค 2,500 ปี หันหัวไปทางทิศตะวันออก ยุ ค 2,000 ปี หั น หั ว ไปทางทิ ศ ใต้ แต่ ค ติ ใ นการฝั ง จะคล้ า ยกั น คื อ จะนำเครื่ อ งประ ดับ เช่น กำไลเปลือกหอย ลูกปัด แหวนสำริด กำไลสำริด เครื่องประดับศีรษะทำ ด้วยสำริดและภาชนะของผู้ตายฝังร่วมไปด้วยกับผู้ตาย ในช่วงสามระยะแรกนี้เป็น ภาชนะดินเผาเคลือบน้ำดินสีแดง แบบลายเชือกทาบ ลักษณะหลักของภาชนะเป็น เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

73

NAKHONRATCHASIMA

ก า ร เ ดิ น ท า ง จ า ก น ค ร ร า ช สี ม า ไ ป อ ำ เ ภ อ เ สิ ง ส า ง ใช้ ท างหลวงหมายเลข 224 ต่ อ ด้ ว ยทางหลวง 2071 และ 2119 ตามลำดั บ ร ะ ย ะ ท า ง 8 9 กิ โ ล เ ม ต ร เ มื่ อ ถึ ง สี่ แ ย ก อ ำ เ ภ อ เ สิ ง ส า ง เ ลี้ ย ว ข ว า ไ ป ตามทางหลวง 2317 อีกประมาณ 15 กิโลเมตร อำเภอโนนสูง


จังหวัดนครราชสีมา

แบบคอแคบปากบาน แต่บางใบมีทรงสูงเหมือนคนโท บางชิ้นมีลักษณะเป็นทรงกลมสั้น ต่อมาในยุค 1,5000 ปี นั้นลักษณะภาชนะจะเปลี่ยนเป็นแบบพิมายดำ คือ มีสีดำ ผิวขัดมัน เนื้อหยาบบาง หลุมขุดค้นที่ 2 ในดินชั้นบนพบร่องรอยของศาสนสถานใน พุทธศตวรรษที่ 13 - 16 เรียกกันว่า “กู่ธารปราสาท” และพบเศียรพระพุทธรูปใน สมัยเดียวกัน ศิลปะทวารวดีแบบท้องถิ่น นอกจากนี้ยังพบรูปปั้นดินเผาผู้หญิงครึ่งตัวเอา มือกุมท้องลักษณะคล้ายตั้งครรภ์ และชิ้นส่วนลายปูนปั้นประดับปราสาท หลุมขุดค้นที่ 3 พบโครงกระดูกในชั้นดินที่ 5.5 เมตร เป็นผู้หญิงทั้งหมด เป็นที่น่าสังเกตว่ากระดูก ทุกโครงในหลุมนี้ไม่มีศีรษะ และภาชนะนั้นถูกทุบให้แตกก่อนที่จะนำลงไปฝังด้วยกัน นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าเป็นโครงกระดูกของผู้หญิงที่ถูกประหารชีวิตและนำศีรษะไป แห่ประจาน และได้พบส่วนกะโหลกอยู่รวมกันในอีกที่หนึ่ง ซึ่งห่างจากจุดเดิมเพียง 500 เมตร ชาวบ้านปราสาทจะร่วมกันทำบุญอุทิศส่วนกุศลในวันที่ 21 เมษายน ของทุกปี อนุสรณ์สถานวีรกรรมทุ่งสัมฤทธิ์ อนุสรณ์สถานวีรกรรมทุ่งสัมฤทธิ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านสัมฤทธิ์ตะวันออก ต.สั ม ฤทธิ์ ห่ า งจากตั ว เมื อ ง 46 กิ โ ลเมตร การเดิ น ทางใช้ ท างหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ถึงหลักกิโ ลเมตรที่ 43 - 44 แยกขวาเข้ า ไปประมาณ 3 กิโลเมตร บริเวณที่โล่งกว้างนี้เคยเป็นสนามรบระหว่างชาวโคราชและทหารลาวเมื่อครั้ง สงครามเจ้าอนุวงศ์ในสมัยรัชกาลที่ 3 ปัจจุบันมีการสร้างศาลสถิตย์ดวงวิญญาณนางสาวบุญเหลือและวีรชน ซึ่งชาวบ้านสัมฤทธิ์ร่วมกันสร้างขึ้นเมื่อพ.ศ. 2531 เพื่อเป็นอนุส รณ์แก่ดวงวิญญาณของนาวสาวบุญเหลือและวีรชนชาวโคราชที่ได้ทำการต่อสู้กับกองทัพ ลาวจนได้ชัยชนะ มีการจัดงานฉลองและรำลึกถึงวีรกรรมทุกปี ระหว่างวันที่ 3 - 5 มีนาคม

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พิ ม าย ตั้ ง อ ยู่ ใ น ตั ว อ ำ เ ภ อ พิ ม า ย บ ริ เ ว ณ เ ชิ ง ส ะ พ า น ท่ า ส ง ก ร า น ต์ ก่ อ นถึ ง ปราสาทหิ น พิ ม ายเล็ ก น้ อ ย จากตั ว เมื อ งนครราชสี ม าเดิ น ทางมาตามทาง หลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ระยะทาง 50 กิโลเมตรถึงทางแยกตลาดแค เลีย้ วขวาไปตามทางหลวง 206 อีก 10 กิโลเมตร หากใช้บริการรถโดยสารสามารถขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งแห่งที่ 2 ในตัวเมืองนครราชสีมา พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น สถานที่ ร วบรวมหลั ก ฐานทางโบราณคดี แ ละจั ด แสดงเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งของวั ฒ นธรรมอี ส านในอดี ต โดยเฉพาะ โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ ที่ ค้ น พบในเขตอี ส านตอนล่ า ง แบ่ ง การจั ด แสดงออกเป็ น 3 ส่ ว น ส่ ว นที่ 1 อาคารจั ด แสดงชั้ น บน จั ด แสดงเรื่ อ งพั ฒ นาการของสั ง คมในดิ น แดนอี ส านตอนล่ า ง แสดงถึ ง รากฐานการกำเนิ ด อารยธรรมซึ่ ง มี ม าจากความ เชื่ อ ต่ า ง ๆ ตลอดจนอิ ท ธิ พ ลวั ฒ นธรรมภายนอกที่ เ ข้ า มามี บ ทบาทตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ จ นถึ ง ปั จ จุ บั น ส่ ว นที่ 2 อาคารชั้ น ล่ า ง จั ด แสดงโบราณวั ต ถุ ศิลปะเขมรในอีสานตอนล่าง ส่วนที่ 3 อาคารโถง จัดแสดงโบราณวัตถุซึ่งเป็นส่วน ประกอบสถาปั ต ยกรรมหิ น ทราย เช่ น ทั บ หลั ง เสาประดั บ กรอบประตู กลี บ ขนุ น บั ว ยอดปราสาท และปราสาทจำลอง นอกจากนี้ บ ริ เวณรอบอาคารพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พิ ม าย ยั ง ได้ จั ด แสดงใบเสมาและทั บ หลั ง ที่ ส วยงามอี ก ด้ ว ย พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 – 16.00 น. ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0 4447 1167

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

75

NAKHONRATCHASIMA

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย


จังหวัดนครราชสีมา

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย

อุ ท ย า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ พิ ม า ย ตั้งอยู่ในตัวอำเภอพิมาย ประกอบด้วยโบราณ สถานสมัยขอมที่ใหญ่โตและงดงามอลังการ นั่ น คื อ “ ป ร า ส า ท หิ น พิ ม า ย ” แ ห ล่ ง โบราณคดี ที่ ท รงคุ ณ ค่ า ทางประวั ติ ศ าสต ร์ บนพื้ น ที่ 115 ไร่ วางแผนผั ง เป็ น รู ป สี่ เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 565 เมตร ยาว 1,030 เมตร ชื่ อ “พิ ม าย” น่ า จะมาจากคำว่ า “วิ ม าย” หรื อ “วิ ม ายปุ ร ะ” ที่ ป รากฏในจารึ ก ภาษาเขมรบนแผ่ น หิ น ตรงกรอบ ประตู ร ะเบี ย งคดด้ า นหน้ า ของปราสาทหิ น พิ ม าย และยั ง ปรากฏชื่ อ ในจารึ ก อื่ น อี ก หลายแห่ง อาจจะเป็นคำที่ใช้เรียกรูปเคารพหรือศาสนสถาน สิ่งที่เป็นลักษณะพิเศ ษของปราสาทหิ น พิ ม าย คื อ ปราสาทหิ น แห่ ง นี้ ส ร้ า งหั น หน้ า ไปทางทิ ศ ใต้ ต่ า งจาก ปราสาทหินอื่นที่มักหันหน้าไปทางทิศตะวันออก สันนิษฐานว่าเพื่อให้หันรับกับเส้นท างที่ตัดมาจากเมืองยโศธรปุระเมืองหลวงของอาณาจักรเขมรซึ่งเข้าสู่เมืองพิมายทาง ด้ า นทิ ศ ใต้ จากหลั ก ฐานศิ ล าจารึ ก และศิ ล ปะการก่ อ สร้ า ง บ่ ง บอกว่ า ปราสาทหิ น พิมายคงจะเริ่มสร้างขึ้นในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 รูปแบบทางศิลปกรรมของตัวปราสาทเป็นแบบปาปวนซึ่งเป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในสมัย นั้น โดยมีลักษณะของศิลปะแบบนครวัดซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยต่อมาปนอยู่บ้าง และม าต่อเติมอีกครั้งในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 18 สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งครั้งนั้นเมือ งพิมายเป็นเมืองซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอาณาจักรเขมร ปราสาทหินแห่งนี้สร้าง เป็นศาสนสถานในพุทธศาสนาลัทธิมหายานมาโดยตลอด เนื่องจากพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 และพระเจ้ า ชั ย วรมั น ที่ 7 ทรงนั บ ถื อ พุ ท ธศาสนาลั ท ธิ ม หายาน ปราสาทหิ น พิ ม ายมี สิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่ น่ า สนใจดั ง นี้ สะพานนาคราช เมื่ อ เข้ า ไปเยี่ ย มชมปราสาทหิ นพิ ม ายจะผ่ า นส่ ว นนี้ เ ป็ น ส่ ว นแรก จะเห็ น สะพานนาคราชและประติ ม ากรรมรู ป สิงห์ ตั้งอยู่ด้านหน้าของซุ้มประตูด้านทิศใต้ของปรางค์ประธานซึ่งเป็นส่วนหน้าขอ

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

77

NAKHONRATCHASIMA

งปราสาท ทั้งนี้อาจมีจุดมุ่งหมายในการสร้างให้เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการเชื่อมต่อ ระหว่างโลกมนุษย์กับโลกสวรรค์ ตามคติความเชื่อในเรื่องจักรวาลทั้งในศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ มีลักษณะเป็นรูปกากบาท ยกพื้นขึ้นสูงจากพื้นดินประมาณ 2.50 เมตร ราวสะพานโดยรอบทำเป็นลำตัวพญานาค ชูคอแผ่พังพานเป็นนาคเจ็ดเศียร มี ล ำ ตั ว ติ ด กั น เ ป็ น แ ผ่ น หั น ห น้ า อ อ ก ไ ป ยั ง เ ชิ ง บั น ไ ด ทั้ ง สี่ ทิ ศ ซุ้ ม ประตู แ ละกำแพงชั้ น นอกของปราสาท ถั ด จากสะพานนาคร าชเข้ า มาเป็ น ซุ้ ม ประตู ห รื อ ที่ เ รี ย กว่ า โคปุ ร ะ ของกำแพงปราสาทด้ า นทิ ศ ใต้ ก่ อ ด้ ว ยหิ น ทราย มี ผั ง เป็ น รู ป กากบาทและมี ซุ้ ม ประตู ลั ก ษณะเดี ย วกั น นี้ อี ก 3 ทิ ศ คื อ ทิ ศ เหนื อ ทิ ศ ตะวั น ออก และทิ ศ ตะวั น ตก โดยมี แ นวกำแพงสร้ า งเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งกั น เป็ น ผั ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ยาวจากเหนื อ ถึ ง ใต้ 277.50 เมตร และกว้ า งจากตะวั น ออกไปตะวั น ตก 220 เมตร ซุ้ ม ประตู ด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกมี ทั บ หลังชิ้นหนึ่งสลักเป็นรูปขบวนแห่พระพุทธรูปนาคปรกที่ประดิษฐานอยู่เหนือคานหาม ซุ้มประตูและกำแพงชั้นใน (ระเบียงคด) เมื่อผ่านจากซุ้มประตูและกำ แพงชั้นนอกไปแล้ว ก็จะถึงซุ้มประตูและกำแพงชั้นใน ซึ่งล้อมรอบปรางค์ประธาน กำ แพงชั้นในของปราสาทแตกต่างจากกำแพงชั้นนอก คือ ก่อเป็นห้องยาวต่อเนื่องกันคล้าย เป็นทางเดินมีหลังคาคลุม อันเป็นลักษณะที่เรียกว่า ระเบียงคด มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความยาวจากเหนือถึงใต้ 80 เมตร และความกว้างจากตะวันออกถึงตะวันตก 72 เมตร มีทางเดินกว้าง 2.35 เมตร เดินทะลุกันได้ตลอดทั้งสี่ด้าน หลังคามุงด้วยแผ่นหิน การบู ร ณะระเบี ย งคดเมื่ อ ปี พ .ศ.2532 ได้ พ บแผ่ น ทองดุ น ลายรู ป ดอกบั ว 8 กลี บ บรรจุ ไ ว้ ใ นช่ อ งบนพื้ น หิ น ของซุ้ ม ประตู ร ะเบี ย งคดเกื อ บจะทุ ก ด้ า นแผ่ น ทองเหล่ า นี้ ค งไว้ เ พื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคลเหมื อ นที่ พ บในปราสาทอื่ น อี ก หลายแห่ ง ป ร า ง ค์ ป ร ะ ธ า น ตั้ ง อ ยู่ ก ล า ง ล า น ภ า ย ใ น ร ะ เ บี ย ง ค ด เป็ น ศู น ย์ ก ลางของศาสนสถานแห่ ง นี้ ปรางค์ ป ระธานสร้ า งด้ ว ยหิ น ทรายสี ข าว ทั้ ง องค์ ต่ า งจากซุ้ ม ประตู (โคปุ ร ะ) และกำแพงชั้ น ในและชั้ น นอกที่ ส ร้ า งด้ ว ย หิ น ทรายสี แ ดงเป็ น หลั ก มี หิ น ทรายสี ข าวเป็ น ส่ ว นประกอบบางส่ ว น เนื่ อ งจาก หิ น ทรายสี ข าวมี คุ ณ สมบั ติ ค งทนดี ก ว่ า หิ น ทรายสี แ ดง องค์ ป รางค์ สู ง 28 เมตร ฐานสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สองยาวด้ า นละ 22 เมตร ด้ า นหน้ า มี ม ณฑปเชื่ อ


จังหวัดนครราชสีมา

มต่ อ กั บ องค์ ป รางค์ โ ดยมี ฉ นวนกั้ น องค์ ป รางค์ แ ละมณฑปตั้ ง อยู่ บ นฐานเดี ย วกั น ส่วนด้านอื่น ๆ อีกสามด้านมีมุขยื่นออกไปมีบันไดและประตูขึ้นลงสู่องค์ปรางค์ทั้งสี่ด้าน ปรางค์ พ รหมทั ต ตั้ ง อยู่ ด้ า นหน้ า ปรางค์ ป ระธานเยื้ อ งไปทางซ้ า ย สร้างด้วยศิลาแลง มีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมย่อมุม กว้าง 14.50 สูงประมาณ 15 เมตร สร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ภายในปรางค์พบประติมากรรมหินทรายจำหลักเป็นรู ปประติมากรรมฉลององค์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (จำลอง) ที่เรียกว่า ปรางค์พรหมทัต ก็เพื่อให้เข้ากับตำนานพื้นเมืองเรื่องท้าวพรหมทัตพระเจ้าแผ่นดิน ปัจจุบันกรมศิลปากร ได้เก็บรักษาองค์จริงไว้ทพี่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติพมิ าย ปรางค์หนิ แดง ตัง้ อยูท่ างด้านขวา สร้างด้วยหินทรายสีแดง กว้าง 11.40 เมตร สูง 15 เมตร มีมุขยื่นออกไปเป็นทางเข้าทั้ง 4 ทิ ศ เหนื อ กรอบประตู ท างเข้ า ด้ า นทิ ศ เหนื อ มี ทั บ หลั ง สลั ก เป็ น ภาพเล่ า เรื่ อ ง ในมหากาพย์ ภ ารตะตอนกรรณะล่ า หมู ป่ า ออกจากระเบี ย งคด (กำแพงชั้ น ใน) มาบริเวณลานชั้นนอกทางด้านทิศตะวันตก ล้อมรอบด้วยกำแพงชั้นนอกอีกชั้นหนึ่ง ประกอบด้วยอาคารที่เรียกว่า บรรณาลัย มีสองหลังตั้งอยู่คู่กันและมีสระน้ำอยู่ทั้งสี่มุม อุ ท ย า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ พิ ม า ย เ ปิ ด ใ ห้ เ ข้ า ช ม ทุ ก วั น เ ว ล า 07.00 - 18.00 น. ค่ า เข้ า ชม ชาวไทยคนละ 10 บาท ชาวต่ า งประเทศคนละ 4 0 บ า ท มี บ ริ ก า ร ยุ ว มั ค คุ เ ท ศ ก์ ซึ่ ง เ ป็ น นั ก เรี ย น จ า ก โร ง เรี ย น พิ ม า ย วิ ท ยานำชมสถานที่ ฟ รี สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ โ ทร. 0 4447 1568

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


NAKHONRATCHASIMA

เทศกาลงานประเพณี จังหวัดลพบุรี งานเทศกาลเที่ยวพิมาย

จั ด ในวั น เสาร์ - อาทิ ต ย์ สั ป ดาห์ ที่ 2 ของเดื อ นพฤศจิ ก ายน จั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น การสร้ า งสรรค์ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วหลั ก ของจั ง หวั ด นครราชสี ม า คื อ อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พิ ม าย ซึ่ ง จะจั ด ขึ้ น ในช่ ว งเดี ย วกั บ งานประ เพณีแข่งเรือพิมาย ภายในงานมีกิจกรรมหลายอย่าง เช่น การแข่งเรือยาวประเพณี ก า ร แ ส ด ง ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ข บ ว น แ ห่ พุ ท ธ ร า ช า แ ล ะ พุ ท ธ ป ร ะ วั ติ ขบวนแห่พุทธประทีปและการแสดงประกอบแสง เสียง งานฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม) จัดระหว่างวันที่ 23 มีนาคม - 3 เมษายน ของทุ ก ปี เ ป็ น งานประจำปี ข องจั ง หวั ด กำหนดจั ด ระหว่ า งวั น ที่ 23 มี น าคม - 3 เมษายน ของทุกปี ซึ่งถือเป็นวันที่คุณหญิงโม ได้รับชัยชนะจากข้าศึก ในงานมีการแสดง ศิลปวัฒนธรรมการออกร้านจัดนิทรรศการ ต่างๆ ของหน่วยงานราชการและภาคเอกชน มี ก ารวางพวงมาลาและบวงสรวงดวงวิ ญ เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

79


จังหวัดนครราชสีมา

ญาณของท้ า วสุ ร นารี ใ นวั น แรก มี ข บวนแห่ ข องกลุ่ ม มวลชนโดยเฉพาะกลุ่ ม ไท ยอาสาป้ อ งกั น ชาติ (ทส.ปช.) เพราะได้ ก ำหนดให้ วั น ที่ 23 มี น าคมนี้ เป็ น วั น ทส.ปช.ด้ ว ย นอกจากนั้ น มี ก ารออกร้ า น จำหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละการประกว ดผลิ ต ผลการเกษตร การประกวดธิ ด าท้ า วสุ ร นารี การแสดงละครกลางแจ้ ง เกี่ยวกับประวัติวีรกรรมของท้าวสุรนารี ตลอดจนมหรสพต่าง ๆ อย่างมากมายตลอดงาน งานประเพณีแข่งเรือพิมาย

จั ด ในวั น เสาร์ - อาทิ ต ย์ สั ป ด า ห์ ที่ 2 ของเดื อ นพฤศจิ ก ายน เป็ น งานประเพณี ที่ ช าวอำเภอ พิม ายร่ว มกัน จัด ขึ้นเป็นประ จำทุกปี โดยจะจัดในวันเสาร์อ า ทิ ต ย์ สั ป ด า ห์ ที่ 2 ของเดื อ นพฤศจิ ก ายน งาน นี้ น อกจากจะมี ก ารแข่ ง เรื อ ขอ งชาวบ้านจากหมู่บ้านต่างๆ ในอำเภอพิมายและอำเภอใกล้เคียงแล้ว ยังมีการตกแต่ง เรือตามแบบเรือพระราชพิธี พร้อมประกวดการแห่เรือด้วย ซึ่งนับว่าเป็นงานที่น่าชมมาก

จัจังงหวั ดดนครราชสี หวั นครราชสีมมาา NAKHONRATCHASIMA NAKHONRATCHASIMA

“เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน


ถ้ า ใครได้ แวะเวี ย นมายั ง จั ง หวั ด นครราชสี ม าแ ห่งนี้ นอกจากจะไปเคารพสักการะกับอนุสาวรีย์ท้าวสุรนา รีย์ วีรสตรีแห่งราชสีมาแล้ว อีกสถานที่หนึ่งที่คงจะพลาดไ ม่ได้ก็คือวัดบ้านไร่ ที่หลายคนคงจะแวะเวียนไปกราบนมัส การหลวงพ่อคูณพระเกจิอาจารย์ แห่งจังหวัดนครราชสีมา หลวงพ่ อ คู ณ ปริ ส ทฺ โ ธหรื อ พระเทพวิ ท ยาคม อุ ป สมบท ณ พั ท ธสี ม าวั ด ถนนหั ก ใหญ่ ตำบลกุ ด พิ ม าน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา หลังจากที่หลวงพ่อคูณ อุปสมบทเป็นพระภิกษุเรียบร้อยแล้ว ท่านได้ฝากตัวเป็นศิษย์ห ลวงพ่อแดง วัดบ้านหนองโพธิ์ ตำบลสำนักตะคร้อ อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา หลวงพ่ อ คู ณ ได้ อ ยู่ ป รนนิ บั ติ รั บ ใช้ ห ลวงพ่ อ แดงมานานพอสมควร หลวงพ่ อ แดงจึ งพาหลวงพ่ อ คู ณ ไปฝากตั ว เป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ ห ลวงพ่ อ คง พุ ท ธสโร หลวงพ่ อ คู ณ ก็ ธุ ด งค์ จาริกอยู่ในเขตจังหวัดนครราชสีมา จากนั้นจึงจาริกออกไปไกล ๆ กระทั่งถึงประเทศลาว และประเทศกั ม พู ช า มุ่ ง เข้ า สู่ ป่ า ลึ ก เพื่ อ ทำความเพี ย รให้ เ กิ ด สติ ปั ญ ญา เ พื่ อ ก า ร ห ลุ ด พ้ น จ า ก กิ เ ล ส ตั ณ ห า แ ล ะ อุ ป ท า น ทั้ ง ป ว ง พิ จ า ร ณ า ว่ า ความแก่เป็นเรื่องธรรมดา หาล่วงความแก่ได้ไม่ หลวงพ่อคูณ คือหนึ่งในเกจิชื่อดังของเ มืองไทยมีคนนับถือเป็นจำนวนมากเลื่อมใสศรัทธาและมีลูกศิษย์ลูกหาเต็มบ้านเต็มเมือง ค ำ ส อ น ข อ ง ห ล ว ง พ่ อ คู ณ ที่ ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป ป รั บใช้ ใ นชี วิ ต ประจำวั น ได้ ก็ คื อ “คนเรา เมื่ อ มี เ มตตาให้ กั บ ผู้ อื่ น ผู้ อื่ น เขาก็ จ ะ ให้ ค วามเมตตาตอบสนองต่ อ เรา ถ้ า เราโกรธเขา เขาก็ จ ะโกรธเราตอบเช่ น กั น ความเมตตานี่ แ หละ คื อ อาวุ ธ ที่ จ ะปกป้ อ งตั ว เราเอง ให้ ไ ปได้ ต ลอดรอดฝั่ ง เ ป็ น อ า วุ ธ ที่ ใ ค ร ๆ จ ะ น ำ เ อ า ไ ป ใ ช้ ก็ ไ ด้ จั ด ว่ า เ ป็ น ข อ ง ดี นั ก แ ล ”

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน”

NOW

81

NAKHONRATCHASIMA

เกร็ดความรู้




จังหวัดบุรีรัมย์

“ ”

เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม

(คำขวัญประจำจังหวัดบุรีรัมย์)

84

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” ประวัติจังหวัดลพบรี บุ รี รั ม ย์ เ ป็ น เมื อ งแห่ ง ความรื่ น รมย์ ต ามความหมายของชื่ อ เมื อ งที่ น่ า อยู่ สำหรั บ คนในท้ อ งถิ่ น และเป็ น เมื อ งที่ น่ า มาเยื อ นสำหรั บ คนต่ า งถิ่ น เมื อ งปราสาทหินในเขตจังหวัดบุรีรัมย์มากมีไปด้วย ปราสาทหินใหญ่น้อย อันหมายถึงความรุ่ง เรืองมาแต่อดีต จากการศึกษาของนักโบราณคดีพบหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์ มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร ์สมัยทราวดี และที่สำคัญที่สุดพบกระจายอยู่ทั่วไป ในจังหวัดบุรีรัมย์มากคือ หลักฐานทางวัฒนธรรมของเขมรโบราณ ซึ่งมีทั้งปราสาทอิฐ และปราสาทหินเป็นจำนวนมากกว่า 60 แห่ง รวมทั้งได้พบแหล่งโบราณคดีที่สำคัญคือ เตาเผา ภาชนะดินเผา และภาชนะดินเผาแบบที่เรียกว่าเครื่องถ้วยเขมร ซึ่งกำหนด อายุได้ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ถึง 18 อยู่ทั่วไปหลังจากสมัยของวัฒนธรรมขอ มหรือเขมรโบราณ แล้วหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มมีขึ้นอีกค รั้งตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏชื่อว่าเป็นเมืองขึ้นของเมืองนครราชสีมา และปรากฏชื่อต่อมาในสมัยกรุงธนบุรีถึงสมัยกรุงรัตน โกสินทร์ว่าบุรีรัมย์มีฐานะเป็น เมืองๆ หนึ่ง จนถึง พ.ศ.2476 ได้มีการจัดระเบียบราชการบริหารส่วนภูมิภาคใหม่ จึงได้ชื่อเป็นจังหวัดบุรีรัมย์มาจนถึงปัจจุบันนี้ชื่อเมืองบุรีรัมย์ ไม่ปรากฎในเอกสาร ประวัติศาสตร์สมัยอยุธยาและธนบุรีเฉพาะชื่อเมืองอื่น ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอในจังหวั “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

85

BURIRAM

จัBURIRAM งหวัPROVINCE ดบุรีรัมย์


จังหวัดบุรีรัมย์

ดบุรีรัมย์ ได้แก่ เมืองนางรองเมืองพุทไธสง และเมืองประโคนชัย พ.ศ. 2319 รัชสมัยส มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กรุงธนบุรี กรมการเมืองนครราชสีมา มีใบยอกเข้ามาว่า พระยานางรองคบคิ ด เป็ น กบฏร่ ว มกั บ เจ้ า โอ เจ้ า อิ น และอุ ป ฮาดเมื อ งจำปาศั ก ดิ์ จึงโปรดให้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อยังดำรงคำแหน่ง เจ้าพระยาจักรี เป็นแม่ทัพไปปราบจับตัวพระยานางรองประหารชีวิตและสมทบเจ้า พระยาสุรสีห์ (สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท) คุมกองทัพหัวเมืองฝ่ายเหนือ ยกไปตีเมือง จำปาศักดิ์ เมืองโขง และเมืองอัตปือ ได้ทั้ง 3 เมือง ประหารชีวิต เจ้าโอ เจ้าอิน อุปฮาด เมืองจำปาศักดิ์ แล้วเกลี้ยกล่อมเมืองต่าง ๆใกล้เคียงให้สวามิภักดิ์ ได้แก่ เขมรป่าดง ตะลุบ สุรินทร์ สั ง ขะ และเมื อ งขุ ขั น ธ์ รวบรวมผู้ ค นตั้ ง เมื องขึ้น ในเขตขอมร้ า เรี ย กว่ า เมื อ งแปะ แต่ ง ตั้ ง บุ รี รั ม ย์ บุ ต รเจ้ า เมื อ งผไทสมั น (พุ ท ไธสง) ให้เป็นเจ้าเมือง ซึ่งต่อมาได้เป็นพระยานครภักดี ประมาณปลายรัชกาลพระบาทสม เด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือต้นราชการ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวได้เปลี่ยนชื่อเมืองแปะเป็นบุรีรัมย์ ด้วยปรากฎว่า ได้มีการแต่งตั้ง พระสำแดงฤทธิ รงค์เป็นพระนครภักดีศรีนครา ผู้สำเร็จราชการเมืองบุรีรัมย์ ขึ้นเมืองนครราชสีมาใน พ.ศ. 2411 เมืองบุรีรัมย์และเมืองนางรองผลัดกันมีความสำคัญเรื่อยมา พ.ศ. 2433 เมื อ งบุ รี รั ม ย์ โ อนขึ้ น ไปขึ้ น กั บ หั ว เมื อ งลาวฝ่ า ยเหนื อ มี ห นองคายเป็ น ศู น ย์ ก ลาง และเมืองบุรีรัมย์มีเมืองในสังกัด 1 แห่ง คือเมืองนางรอง ต่อมาประมาณ พ.ศ. 24402441 เมื อ งบุ รี รั ม ย์ ไ ด้ ก ลั บ ไปขึ้ น กั บ มณฑลนครราชสี ม าเรี ย กว่ า ”บริ เวณนางรอง” ประกอบด้วย เมืองบุรีรัมย์ นางรองรัตนบุรี ประโคนชัย และพุทไธสง พ.ศ. 2442 มีประกาศเปลี่ยนชื่อ มณฑลลาวเฉียงเป็น มณฑลฝ่ายตะวันตกเฉียงเหนือมณฑลลาว พวนเป็นมณฑลฝ่ายเหนือ มณฑลลาวเป็นมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ มณฑลเขมร เป็นมณฑลตะวันออกและในคราวนี้เปลี่ยนชื่อ บริเวณนางรองเป็น “เมืองนางรอง” มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ตั้งที่ว่าการอยู่ที่เมืองบุรีรัมย์ แต่ตราตำแหน่งเป็นตราผู้ว่าการ นางรอง กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น “บุรีรัมย์” และเปลี่ยน ตราตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการเมืองบุรีรัมย์ ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคมพ.ศ. 2444 เป็นต้นมา พ.ศ. 2450 กระทรวงมหาดไทยปรั บ ปรุ ง หั ว เมื อ งในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ให้มณฑลนครราชสีมาประกอบด้วย 3 เมือง 17 อำเภอ คือเมืองนครราชสีมา 10 อำเภอ

86

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับจังหวัดขอนแก่น และจังหวัดมหาสารคาม ติดต่อกับจังหวัดสระแก้วและเทือกเขาพนมมาลัย ซึ่งกั้น เขตแดนระหว่างไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ ติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมา

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

87

BURIRAM

เมืองชัยภูมิ 3 อำเภอ และเมืองบุรรี มั ย์ 4 อำเภอ คือ นางรอง พุทไธสง ประโคนชัย และรัตนบุรี ต่ อ มาได้ มี ก ารตราพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารแห่ ง ราชอาณาจั ก รสยาม พ.ศ. 2476 ขึ้น ยุบมณฑลนครราชสีมา จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคออก เป็นจังหวัดและอำเภอ เมืองบุรีรัมย์จึงมีฐานะเป็น “จังหวัดบุรีรัมย์” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา


จังหวัดบุรีรัมย์

แผนที่จังหวัดบุรีรัมย์

88

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


รถโดยสารประจำทาง บ ริ ษั ท ข น ส่ ง จ ำ กั ด เ ดิ น ร ถ ร ะ ห ว่ า ง ก รุ ง เ ท พ ฯ - บุ รี รั ม ย์ ทุ ก วั น มี ทั้ ง ร ถ ธ ร ร ม ด า แ ล ะ ร ถ ป รั บ อ า ก า ศ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ติ ด ต่ อ ไ ด้ ที่ โทร.0 2936 1880, 0 2936 0657, 0 2936 0667,0 2936 2852 ส ถ า นี ข น ส่ ง บุ รี รั ม ย์ โ ท ร . 0 4 4 6 1 2 5 3 4 w w w . t r a n s p o r t . c o . t h เครื่องบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ไม่มีเที่ยวบินไปจังหวัดบุรีรัมย์โดย ตรง ต้องไปลงที่ขอนแก่น จากนั้นต่อรถเข้าตัวเมืองบุรีรัมย์เป็นระยะทางอีกประมาณ 200 กิโลเมตร ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) โทร. 1566, 0 2356 1111, 0 2280 0060, 02628 2000 หรือที่เว็บไซท์www.thaiairways. com นอกจากนี้ยังมีสายการบินพีบี แอร์ ไปลงที่บุรีรัมย์ในวันจันทร์ วันพุธ และวันเสาร์ “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

89

BURIRAM

ข้อมูลการเดินทาง รถยนต์ จ า ก ก รุ ง เ ท พ ฯ เ ดิ น ท า ง ไ ป ต า ม ท า ง ห ล ว ง ห ม า ย เ ล ข 1 (พหลโยธิ น ) ถึ ง สระบุ รี เลี้ ย วขวาเข้ า ทางหลวงหมายเลข 2 (มิ ต รภาพ) จากนั้นแยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 24 (โชคชัย-เดชอุดม) ผ่านอำเภอหนองกี่ อำเภอนางรอง แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าสู่ตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ตามทางหลวงหมายเลข 218 รวมระยะทาง 410 กิ โ ลเมตร หรื อ จากนครราชสี ม า ตามทางหลวงหมายเลข 226 ผ่ า นอำเภอจั ก ราช-ห้ ว ยแถลง-ลำปลายมาศ รวมระยะทาง 384 กิ โ ลเมตร รถไฟ มี ร ถ ไ ฟ ส า ย ก รุ ง เ ท พ ฯ - อุ บ ล ร า ช ธ า นี ก รุ ง เ ท พ ฯ - สุ ริ น ท ร์ และนครราชสี ม า-อุ บ ลราชธานี ทั้ ง ที่ เ ป็ น ขบวนรถด่ ว น รถเร็ ว รถธรรมดา และรถดี เซลราง ผ่ า นสถานี บุ รี รั ม ย์ ทุ ก ขบวน รายละเอี ย ดติ ด ต่ อ สอบถามได้ ที่ 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 www.railway.co.th


จังหวัดบุรีรัมย์

สอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0 2261 0220-5 หรือที่เว็บไซท์ www.pbair.com หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ • ททท.สำนักงานสุรินทร์ (สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ) อ.เมือง สุรินทร์ โทร. 0 4451 8152 • ประชาสัมพันธ์จังหวัดบุรีรัมย์ โทร.0 4461 1957 • ท่าอากาศยานจังหวัดบุรีรัมย์ โทร.0 4461 4123 • บมจ.การบินไทย โทร. 0 4462 5066-7 • ไปรษณีย์บุรีรัมย์ โทร.0 4461 1142 • โรงพยาบาลบุรีรัมย์ โทร. 0 4461 1262 • ตำรวจทางหลวง โทร.0 4461 1992, 1193 • สำนักงานจังหวัดบุรีรัมย์ โทร. 0 4461 1449 • สถานีตำรวจจังหวัดบุรีรัมย์ โทร. 0 4461 1234 • สถานีขนส่งจังหวัดบุรีรัมย์ โทร. 0 4461 253

90

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้

ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ถนนจิระ เป็นสถานที่รวบรวมจัดแสดง โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ อั น มี ค่ า ทางประวั ติ ศ าสตร์ โบราณคดีและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใ จและเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย นิทรรศการที่ จัดแสดงมีหลากหลายหัวข้อ อาทิ นิทรรศการเกี่ยวกับช้าง ช า ว ส่ ว ย ผ้ า พื้ น เ มื อ ง จิ ต ร ก ร ร ม ฝ า ผ นั ง เครื่ อ งถ้ ว ยและเตาเผาโบราณ วิ ถี ชี วิ ต ชาวอี ส าน สภาพภูมิศาสตร์ ชุมชนโบราณของบุรีรัมย์ เปิดทุกวัน ยกเว้ น วั น หยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ เวลา 08.30 – 16.00 น. สอบถามรายละเอี ย ด โทร. 0 4461 1221 ต่ อ 159

พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระ พุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก ตั้ ง อยู่ ใ นตั ว เมื อ งทางไป อำเภอประโคนชั ย สร้ า งในปี พ.ศ.2539 เ พื่ อ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ รั ช ก า ล ที่ 1 ป ฐ ม ก ษั ต ริ ย์ แ ห่ ง ร า ช ว ง ศ์ จั ก รี ผู้ ท ร ง ก่ อ ตั้ ง เ มื อ ง บุ รี รั ม ย์ เ มื่ อ ค รั้ ง ยั ง ท ร ง เ ป็ น ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ย า ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ศึ ก พ ร ะ บ ร ม ร า ช า นุ ส า ว รี ย์ มี ข น า ด เ ท่ า ครึ่ ง ของพระองค์ จ ริ ง หล่ อ ด้ ว ยโลหะสั ม ฤทธิ์ ฉลองพระองค์ แ บบนั ก รบตามขั ต ติ ย รา ช “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

91

BURIRAM

สถานที่น่าสนใจ


จังหวัดบุรีรัมย์

ประเพณี โ บราณ ประทั บ บนช้ า งศึ ก จากจดหมายเหตุ ป ระชุ ม พงศาวดาร ภาคที่ 7 กล่ า วว่ า ใน พ.ศ.2321 สมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง ธนบุ รี โปรดให้ ส มเด็ จ พระยามหาก ษั ต ริ ย์ ศึ ก ยกทั พ ไปปราบพระยานางรองซึ่ ง คบคิ ด กั บ เจ้ า โอ เจ้ า อิ น แห่ ง จำปาศั ก ดิ์ ขณะเดิ น ทั พ พบเมื อ งร้ า งอยู่ ที่ ลุ่ ม น้ ำ ห้ ว ยจระเข้ ม าก มี ชั ย ภู มิ ดี แ ต่ ไ ข้ ป่ า ชุ ก ชุ ม ช า ว เ ข ม ร ป่ า ด ง ไ ม่ ก ล้ า เข้ า ม า อ ยู่ อ า ศั ย แ ต่ ตั้ ง บ้ า น เ รื อ น อ ยู่ โ ด ย ร อ บ จึงรวบรวมผู้คนตั้งเป็นเมืองแปะ และให้บุตรเจ้าเมืองพุทไธสมันซึ่งติดตามมาด้วยเป็น เจ้าเมือง ได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระยานครภักดี ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น “เมืองบุรีรัมย์” วนอุทยานเขากระโดง วนอุทยานเขากระโดง เป็นสถานที่พัก ผ่ อ นหย่ อ นใจและเป็ น ที่ ตั้ ง ของภู เขาไฟ โบราณซึ่ ง ยั ง คงปรากฏร่ อ งรอยปาก ป ล่ อ ง ใ ห้ เ ห็ น ไ ด้ ชั ด เ จ น ป า ก ป ล่ อ ง ภู เข า ไ ฟ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น แ อ่ ง น้ ำ ลึ ก มี น้ ำ ขั ง ตลอดปี ยอดสู ง สุ ด ประมาณ 2 6 5 เ ม ต ร จ า ก ร ะ ดั บ น้ ำ ท ะ เ ล เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน “พระสุ ภั ท รบพิ ต ร” พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ คู่ เ มื อ งบุ รี รั ม ย์ และมี ปรางค์กู่โบราณ ภายในประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง วนอุทยานนี้มีพันธุ์ไม้พื้นเมือง น่าศึกษาหลายชนิด การขึ้นไปยังเขากระโดงสามารถทำได้สองวิธี คือ เดินขึ้นบันได หรือ ขับรถขึ้นไปถึงยอดเขา ระหว่างทางจะพบพระพุทธรูปปางต่าง ๆ เรียงรายอยู่เป็นระยะ

92

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


อุ ท ย า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ พ น ม รุ้ ง ตั้ ง อ ยู่ บ้ า น ต า เ ป็ ก ต ำ บ ล ต า เ ป็ ก ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย โ บ ร า ณ ส ถ า น ส ำ คั ญ คื อ ปราสาทหินพนมรุ้ง ตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตร (คำว่า“พนมรุ้ง” หรือ “วนํรุง” เป็นภาษาเขมรแปลว่า “ภู เ ขาใหญ่ ” ) ปราสาทหิ น พนมรุ้ ง เป็ น เทวสถานในศาสนาฮิ น ดู ลั ท ธิ ไ ศวนิ ก าย มี ก ารบู ร ณะก่ อ สร้ า งต่ อ เนื่ อ งกั น มาหลาย สมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงพุทธศตวรรษที่ 17 และในพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมได้หันมานับถือพุทธศาสนาลัทธิมหาย าน เทวสถานแห่ ง นี้ จึ ง ได้ รั บ การดั ด แปลงเป็ น ศาสนสถานในพุ ท ธศาสนาในช่ ว งนั้ น ปราสาทพนมรุ้ ง หั น หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก ประกอบด้ ว ยอาคารและสิ่ ง ก่ อสร้ า งต่ า งๆ ที่ ตั้ ง เรี ย งรายขึ้ น ไปจากลาด เขาทางขึ้นจนถึงปรางค์ประธานบนยอดอัน เปรี ย บเสมื อ นวิ ม านที่ ป ระทั บ ของพระศิ ว ะ บันไดทางขึ้นช่วงแรกทำเป็นตระพัง (สระน้ำ) สามชั้ น ผ่ า นขึ้ น มาสู่ พ ลั บ พลาชั้ น แรก จาก นั้นเป็นทางเดินซึ่งมีเสานางเรียงปักอยู่ที่ขอ บทางทั้งสองข้างเป็นระยะ ๆ ถนนทางเดินนี้ ทอดไปสู่สะพานนาคราช ซึ่งเปรียบเสมือนจุดเชื่อมต่อระหว่างดินแดนแห่งมนุษย์และ สรวงสวรรค์ ด้ า นข้ า งของทางเดิ น ทางทิ ศ เหนื อ มี พ ลั บ พลาสร้ า งด้ ว ยศิ ล าแลง 1 หลั ง เรี ย กกั น ว่ า โรงช้ า งเผื อ ก สุ ด สะพานนาคราชเป็ น บั น ไดทางขึ้ น สู่ ป ราสาท ซึ่งทำเป็นชานพักเป็นระยะ ๆ รวม 5 ชั้น สุดบันไดเป็นชานชลาโล่งกว้าง ซึ่งมีทางนำไปสู่ “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

93

BURIRAM

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง


จังหวัดบุรีรัมย์

ส ะ พ า น น า ค ร า ช ห น้ า ป ร ะ ตู ก ล า ง ข อ ง ร ะ เ บี ย ง ค ด อั น เ ป็ น เ ส้ น ท า ง ห ลั ก ที่ จ ะ ผ่ า น เ ข้ า สู่ ล า น ชั้ น ใ น ข อ ง ป ร า ส า ท และจากประตู นี้ ยั ง มี ส ะพานนาคราชรั บ อยู่ อี ก ช่ ว งหนึ่ ง ก่ อ นถึ ง ปรางค์ ป ระธาน ปรางค์ ป ระธาน ตั้ ง อยู่ ต รงศู น ย์ ก ลางของลานปราสาทชั้ น ใน มี แ ผนผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม มณฑป คื อ ห้ อ งโถงรู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า เชื่ อ มอยู่ ท างด้ า นหน้ า ที่ ส่ ว นประกอบของปรางค์ ป ระธานตั้ ง แต่ ฐ านผนั ง ด้ า นบน และด้ า นล่ า ง เสากรอบประตู เสาติ ด ผนั ง ทั บ หลั ง หน้ า บั น ซุ้ ม ชั้ น ต่ า งๆ ตลอด จนกลี บ ขนุ น ปรางค์ ล้ ว นสลั ก ลวดลายประดั บ ทั้ ง ลวดลายดอกไม้ ใบไม้ ภาพฤาษี เทพประจำทิ ศ ศิ ว นาฏราช ที่ ทั บ หลั ง และหน้ า บั น ด้ า นหน้ า ปรางค์ ป ระธาน ลั ก ษณะของลวดลายและรายละเอี ย ดอื่ น ๆ ช่ ว ยให้ ก ำหนดได้ ว่ า ปรางค์ ป ระธาน พร้ อ มด้ ว ยบั น ไดทางขึ้ น และสะพานนาคราชสร้ า งขึ้ น เมื่ อ ราวพุ ท ธศตวรรษที่ 17 ภายในลานชั้นในด้านตะวันตกเฉียงใต้ มีปรางค์ขนาดเล็ก 1 องค์ ไม่มีหลังคา จากหลักฐานทางศิลปกรรมที่ปรากฏ เช่น ภาพสลักที่หน้าบัน ทับหลัง บอก ให้ทราบได้ว่าปรางค์องค์นี้สร้างขึ้นก่อนปรางค์ประธาน มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 16 นอกจากนี้ ยั ง มี ฐ านปรางค์ ก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ซึ่ ง มี อ ายุ เ ก่ า ลงไปอี ก คื อ ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ 15 อยู่ ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ขององค์ ป ระธาน และที่มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ก่ อ ด้ ว ย ศิ ล า แ ล ง มี อ า ยุ ร า ว พุ ท ธ ศ ต ว ร ร ษ ที่ 1 8 ร่ ว มสมั ย กั บ พลั บ พลาที่ ส ร้ า งด้ ว ยศิ ล าแลงข้ า งทางเดิ น ที่ เรี ย กว่ า “โรงช้ า งเผื อ ก” ก ร ม ศิ ล ป า ก ร ไ ด้ ท ำ ก า ร ซ่ อ ม แซ ม แ ล ะ บู ร ณ ะ ป ร า ส า ท หิ น พนมรุ้ ง โดยวิ ธี อ นั ส ติ โ ลซิ ส (ANASTYLOSIS) คื อ รื้ อ ของเดิ ม ลงมาโดยทำรหั ส ไว้ จากนั้ น ทำฐานใหม่ ใ ห้ แ ข็ ง แรง แล้ ว นำชิ้ น ส่ ว นที่ รื้ อ รวมทั้ ง ที่ พั ง ลงมากลั บ ไป ก่ อ ใหม่ ที่ เ ดิ ม โดยใช้ วิ ธี ก ารสมั ย ใหม่ ช่ ว ย และเนื่ อ งในวั น อนุ รั ก ษ์ ม รดกไทย ปี พ.ศ.2531 ได้ มี พิ ธี เ ปิ ด อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ นมรุ้ ง อย่ า งเป็ น ทางการ เมื่ อ วั น ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2531 โดยสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ ม า รี เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ด ำ เ นิ น เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ธ า น อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ นมรุ้ ง เปิ ด ให้ เ ข้ า ชมทุ ก วั น เวลา

94

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


การเดินทางไปอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง รถส่วนบุคคล จากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ สามารถเดินทางไป พนมรุ้งได้ 2 เส้นทาง คือ 1. ใช้ เ ส้ น ทางสายบุ รี รั ม ย์ - นางรอง (ทางหลวง 218) ระยะทาง 50 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 24 ไป 14 กิโลเมตร ถึงบ้านตะโก เลี้ยวเข้าบ้านตาเป็ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติไปพนมรุ้งเป็นระยะทางอีก 12 กิโลเมตร 2. ใช้ เ ส้ น ทางสายบุ รี รั ม ย์ - ประโคนชั ย ทางหลวงหมายเลข 219 เป็ น ระยะทาง 44 กิ โ ลเมตร จากตั ว อำเภอประโคนชั ย มี ท างแยกไปพนมรุ้ ง ระยะทางอี ก 21 กิ โ ลเมตร (เส้ น ทางนี้ ผ่ า นทางแยกเข้ า ปราสาทเมื อ งต่ ำ ด้ ว ย) ร ถ โ ด ย ส า ร จ า ก ส ถ า นี ข น ส่ ง บุ รี รั ม ย์ ขึ้ น ร ถ ส า ย บุ รี รั ม ย์ จั น ท บุ รี ล ง ร ถ ที่ บ้ า น ต ะ โ ก แ ล้ ว ต่ อ ร ถ ส อ ง แ ถ ว ห รื อ ร ถ จั ก ร ยานยนต์รับจ้างไปพนมรุ้ง ควรตกลงราคาค่าโดยสารก่อนเดินทาง วัดเขาอังคาร วัดเขาอังคาร ตั้งอยู่บนเขาอังคารซึ่งเป็นภูเขา ไฟที่ดับสนิทแล้ว อยู่ห่างจากปราสาทหินพนมรุ้งไป อี ก ประมาณ 20 กิ โ ลเมตร จากบุ รี รั ม ย์ ใช้ เ ส้ น ท า ง ส า ย บุ รี รั ม ย์ - น า ง ร อ ง - บ้ า น ต ะ โ ก บ้ า นตาเป็ ก (ทางเดี ย วกั บ ไปปราสาทหิ น พนมรุ้ ง ) เมื่ อ เดิ น ทางถึ ง บ้ า นตาเป็ ก เลี้ ย วขวาตามทาง ไปอำเภอละหานทรายประมาณ 13 กิ โ ลเมตร จะพบทางแยกขวาไปวัดเขาอังคาร อีก 7 กิโลเมตร ภายในบริเวณวัดเคยมีการค้นพบโบราณสถานเก่าแก่และใบเสมาหินทรายสมัยทวาร วดีหลายชิ้น ปัจจุบันเป็นวัดที่สวยงามใหญ่โตแห่งหนึ่งของบุรีรัมย์ มีการก่อสร้างโบสถ์ “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

95

BURIRAM

06.00 – 18.00 น. ค่ า เข้ า ชมชาวไทย 10 บาท ชาวต่ า งชาติ 40 บาท สอบถามรายละเอี ย ดได้ ที่ ส ำนั ก งานอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ นมรุ้ ง โทร.0 4478 2715


จังหวัดบุรีรัมย์

ศาลาและอาคารต่ า งๆ เลี ย นแบบสถาปั ต ยกรรมสมั ย ต่ า งๆ หลายรู ป แบบ ภายในโบสถ์ มี ภ าพจิ ต รกรรมฝาผนั ง เรื่ อ งราวพุ ท ธชาดกเป็ น ภาษาอั ง กฤษด้ ว ย ปราสาทหินเมืองต่ำ ปราสาทหินเมืองต่ำ ตั้งอยู่ที่ตำบลจระเข้มาก เป็นปราสาทขอมที่มีสถาปัตยกรรมสวยงาม โดดเด่ น น่ า ชมอี ก แห่ ง หนึ่ ง ของบุ รี รั ม ย์ ประวั ติ ค วามเป็ น มาของปราสาทหิ น เมื อ ง ต่ำยังไม่ทราบชัดเพราะไม่พบหลักฐานที่แน่ นอนว่าสร้างขึ้นเมื่อใด หรือใครเป็นผู้สร้าง มี ลั ก ษณะของศิ ล ปะขอมแบบบาปวน ซึ่ ง มี อ า ยุ อ ยู่ ใ น ร า ว พ . ศ . 1 5 5 0 - 1 6 2 5 แ ล ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ศิ ล ปะขอมแบบคลั ง ซึ่ ง มี อ ายุ ร าว พ.ศ.1508 - 1555 ปะปนอยู่ ด้ ว ย ภาพสลั ก ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ภาพเทพในศาสนาฮิ น ดู จึ ง อาจกล่ า วได้ ว่ า ปราสาทแห่ ง นี้ สร้ า งขึ้ น ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ 15 - 17 เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ศาสนสถานในศาสนาฮิ น ดู ตั ว ปราสาท ประกอบด้ ว ยสิ่ ง ก่ อ สร้ า งหลั ก คื อ ปรางค์ อิ ฐ 5 องค์ สร้างอยู่บนฐานเดียวกัน ก่อด้วยศิลาแลง องค์ปรางค์ทั้ง 5 ตั้งเรียงกันเป็น 2 แถว แถวหน้า 3 องค์ แถวหลัง 2 องค์ ปรางค์ประธานซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดตั้งอยู่ตรงกลางแถ วหน้า ปัจจุบันคงเหลืออยู่เพียงส่วนฐาน ส่วนองค์อื่น ๆ ที่เหลืออยู่ก็มีสภาพที่ไม่สมบูรณ์ ปรางค์ ทุ ก องค์ มี ป ระตู เข้ า สู่ ภ ายในปรางค์ ไ ด้ ด้ า นเดี ย ว คื อ ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก ด้านอื่นทำเป็นประตูหลอก แต่ปรางค์ประธานมีมุขหน้าอีกชั้นหนึ่ง การขุดแต่งบริเวณ ปรางค์ประธานได้พบทับหลังประตูมุขปรางค์ สลักเป็นภาพเทพถือดอกบัวขาบประทับ นั่งเหนือหน้ากาล แวดล้อมด้วยสตรีเป็นบริวาร หน้าบันสลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอรา วัณ ส่วนทับหลังประตูปรางค์สลักเป็นเทพนั่งชันเข่าเหนือหน้ากาล และยังได้พบชิ้นส่วน ลวดลายปูนปั้นประดับฐานอีกด้วย แสดงว่าปรางค์เหล่านี้ได้เคยมีปูนฉาบและปั้นปูนเป็

96

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

97

BURIRAM

นลวดลายประดับตกแต่งอย่างงดงาม สำหรับปรางค์บริวารอีก 4 องค์นั้นยังคงมีทับหลัง ติ ด อ ยู่ เ ห นื อ ประตู ท างเข้ า 2 องค์ คื อ องค์ ที่ อ ยู่ ท างทิ ศ เหนื อ ของ แ ถ ว หน้ า และองค์ ทิ ศ ใต้ ข องแถวหลั ง สลั ก ภาพพระศิ ว ะอุ้ ม นางอุ ม าบนพระเพลา ประทับนั่งอยู่บนหลัง โคนนทิ และภาพพระวรุณทรงหงส์ ตามลำดับ จากการขุดแต่งได้ พ บ ย อ ด ป ร า ง ค์ ท ำ ด้ ว ย หิ น ท ร า ย ส ลั ก เ ป็ น รู ป ด อ ก บั ว ต ก อยู่ในบริเวณฐานปรางค์ หน้ากลุ่มปรางค์ยังมีวิ ห า ร เ ป็ น อ า ค า ร ก่ อ อิ ฐ 2 ห ลั ง ตั้ ง หั น หน้ า ตรงกั บ ปรางค์ ที่ อ ยู่ ด้ า นข้ า งทั้ ง สององค์ สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง ดั ง ก ล่ า ว ล้ อ มรอบด้ ว ยกำแพงสองชั้ น กำแพงชั้ น ใน ก่ อ ด้ ว ยหิ น ทรายเป็ น ห้ อ งแคบ ๆ ยาวต่ อ เนื่องกันเป็นรูปสี่เหลี่ยม ที่เรียกว่า ระเบียงคด กำแพงชั้ น นอกเป็ น กำแพงศิ ล าแลง กำแพง ทั้ ง สองชั้ น มี ซุ้ ม ประตู อ ยู่ ใ นแนวตั้ ง ตรงกั น ทั้ ง 4 ด้ า น ซุ้ ม ประตู ทั้ ง หมดยกเว้ น ซุ้ ม ประตู ข องประตู ชั้ น ในด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกก่ อ ด้ ว ยหิ น ทราย สลั ก ลวดลายในส่ ว นต่ า ง ๆ อย่ า งงดงาม ตั้ ง แต่ ห น้ า บั น ทั บ หลั ง เสาติ ด ผนั ง ฯลฯ เป็ น ภาพเล่ า เรื่ อ งใน ศาสนาฮินดูและลวดลายที่ผูกขึ้นจากใบไม้ ดอกไม้ที่มักเรียกรวม ๆ ว่า ลายพันธุ์พฤกษา ร ะ ห ว่ า ง ก ำ แ พ ง ชั้ น ใ น แ ล ะ ก ำ แ พ ง ชั้ น นอก เป็ น ลานกว้ า งปู ด้ ว ยศิ ล าแลง มี ส ระน้ ำ ขุ ด เป็ น รู ป หั ก มุ ม ตามแนวกำแพง อยู่ ทั้ ง 4 มุ ม กรุ ข อบสระด้ ว ยแท่ ง หิ น แลงก่ อ เรี ย งเป็ น ขั้ น บั น ไดลงไปยั ง ก้ น สระ ขอบบนสุ ด ทำด้ ว ยหิ น ทรายเป็ น ลำตั ว นาคซึ่ ง ชู ค อแผ่ พั ง พานอยู่ ที่ มุ ม สระ เป็ น นาค 5 เศี ย รเกลี้ ย ง ๆ ไม่ มี เ ครื่ อ งประดั บ ศี ร ษะ ปราสาทหิ น เมื อ งต่ ำ เปิ ด ให้ เข้ า ชม ทุ ก วั น ร ะ ห ว่ า ง เ ว ล า 0 6 . 0 0 – 1 8 . 0 0 น . ค่ า เ ข้ า ช ม ค น ไ ท ย 1 0 บาท ชาวต่ า งประเทศ 30 บาท สอบถามรายละเอี ย ด โทร.0 4463 1746 การเดิ น ทาง จากบุ รี รั ม ย์ ใ ช้ ท างหลวงหมายเลข 2 1 9 จากนั้ น ใช้ ท างหลวงหมายเลข 24 และเลี้ ย วซ้ า ยเข้ า ทางหมายเลข 2117 ก็จะสังเกตเห็นปราสาทเมืองต่ำ (อยู่ห่างจากปราสาทพนมรุ้งประมาณ 8 กิโลเมตร)


จังหวัดบุรีรัมย์

แหล่งหินตัด

ยมอยู่ทั่วไป

แหล่งหินตัด ตั้งอยู่ในหมู่บ้านสายตรี 3 และสายตรี 4 ติดแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ห่างจากตัวอำเภอบ้านกรวด 7 กิ โ ล เ ม ต ร บ น เ ส้ น ท า ง บ้ า น ก ร ว ด - ต า พ ร ะ ย า แ ล ะ แ ย ก จ า ก ถ น น ใ ห ญ่ ไ ป อี ก 3 กิ โ ล เ ม ต ร ทางลาดยางตลอดสาย แ ห ล่ ง หิ น ตั ด เ ป็ น แ ห ล่ ง หิ น ท ร า ย ที่ ค น ส มั ย ข อ ม ตั ด หิ น เอาไปสร้ า งปราสาทต่ า ง ๆ ในเขตอี ส านใต้ อยู่บริเวณเขากลอยและเขากระเจียว มีเนื้อที่กว่า 4, 600 ไร่ ที่น่าสนใจคือ หินบางก้อนปรากฏรอยตอกเนื้อหินให้เป็น รูเรียงกันเป็นแนวยาว หินบางก้อนถูกเซาะสกัดเป็นร่อง ขาดจากกัน และยังมีหินที่ถูกตัดและงัดขึ้นมาเป็นแท่งสี่เหลี่

แหล่งเตาโบราณ แหล่งเตาโบราณ นักโบราณคดีได้สำรวจพบเตาเผา และเครื่องปั้น ดินเผาโบราณจำนวนมาก เตาโบราณเหล่านี้มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 - 18 เป็นแหล่งผลิตเครื่องถ้วยขอม เพื่อเป็นสินค้าป้อนให้กับเมืองต่างๆ โดยมีการทำเป็นอุตสา หกรรมขนาดใหญ่ และขยายขอบเขตการผลิตไปยังพื้นที่ใกล้เคียงอีกด้วย กรมศิลปากรได้ ทำการขุดแต่งเตาโบราณ 2 แห่ง คือ เตาสวายและเตานายเจียน ซึ่งอยู่ห่างจากอำเภอบ้านก รวดเป็นระยะทาง 5 และ 10 กิโลเมตร ตามลำดับ ส่วนเครื่องปั้นดินเผาที่ขุดพบสามารถชม ได้ที่ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ หรือที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย จังหวัดนครราชสีมา

98

จังBURIRAM หวัดบุรPROVINCE ีรัมย์

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


ปราสาทวัดโคกงิ้ว อยู่บนทางสายนางรอง-ปะคำ (ทางหลวงหมายเลข 348) ก่ อ นถึ ง อำเภอปะคำ 3 กิโลเมตร เป็นโบราณสถานสมัยขอม ด้านหลังวัดโคกงิ้ว เป็ น อโรคยาศาลหรื อ โรงพยาบาลที่ ส ร้ า งขึ้ น ตามพระราชดำริของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 1 8 ต า ม ค ติ ใ น พุ ท ธ ศ า ส น า ลั ท ธิ ม ห า ย า น

อนุสาวรีย์เราสู้ อ นุ ส า ว รี ย์ เ ร า สู้ ตั้งอยู่ริมทางสายละหานทราย-ตาพระยา (ทางหลวงหมายเลข 348) สร้างขึ้นเมื่อปี พ . ศ . 2 5 2 2 เ พื่ อ ร ำ ลึ ก ถึ ง วี ร ก ร ร ม ของประชาชน ตำรวจ ทหาร ที่เสียชีวิต จ า ก ก า ร ต่ อ สู้ ผู้ ก่ อ ก า ร ร้ า ย ที่ ขั ด ข ว า ง ก า ร ส ร้ า ง เ ส้ น ท า ง ยุ ท ธ ศาสตร์ ส ายนี้ จ นสามารถสร้ า งได้ ส ำเร็ จ

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

99

BURIRAM

ปราสาทวัดโคกงิ้ว


จังหวัดบุรีรัมย์

เขื่อนลำนางรอง เขื่อนลำนางรอง อยู่ห่างจากอนุสาวรีย์เราสู้ไป 200 เมตร เป็นพื้นที่โครงการพัฒนาเพื่อความ มั่ น ค ง ต า ม พ ร ะ ร า ช ด ำ ริ เขื่อนลำนางรองเป็นเขื่อนดิน มีถนนลาดยาง บ น สั น เ ขื่ อ น ส ำ ห รั บ ช ม ทั ศ นี ย ภ า พ แ ล ะ มี ร้ า น อ า ห า ร ที่ ตั้ ง อ ยู่ ริ ม อ่ า ง เก็ บ น้ ำ นอกจากเขื่ อ นนี้ จ ะเก็ บ น้ ำ ไว้ ใช้ ใ นด้ า นการเกษตรแล้ ว ยั ง ได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง เป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ มี บ้ า นพั ก รั บ รอง ห้ อ งประชุ ม และค่ า ยพั ก แรม ติ ด ต่ อ สำนั ก งานโครงการส่ ง น้ ำ และบำรุ ง รั ก ษาลำนางรองซึ่ ง อยู่ ก่ อ นถึ ง สั น เขื่ อ นใน เวลาราชการ โทร. 0 4460 6336 ต่อ 159 ในบริเวณเดียวกันยังมีโรงงานหลวงอาหาร สำเร็จรูป (ดอยคำ) ผลิตผักผลไม้กระป๋อง อาทิ ข้าวโพดอ่อน หน่อไม้ และน้ำมะเขือเทศ ปราสาทหนองหงส์ ปราสาทหนองหงส์ ตั้งอยู่บ้านโนนดินแดง เ ป็ น โ บ ร า ณ ส ถ า น ข น า ด เ ล็ ก ป ร ะ กอบด้ ว ยปรางค์ 3 องค์ ก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ตั้ ง บน ฐานก่ อ ด้ ว ยศิ ล าแลงต่ อ เนื่ อ งเป็ น ฐานเดี ย ว กั น หั น หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกมี ป ระตู เข้ า ออกทางด้านหน้าอีก 3 ด้าน เป็นประตูหลอก ปรางค์ ทั้ ง สามมี ผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม ไม้ สิ บ สอง องค์ ก ลางขนาดใหญ่ ก ว่ า สอง องค์ที่ขนาบข้าง แต่เดิมเคยมีทับหลังประดับจำหลักลายอย่างสวยงาม คือ องค์ทิศ เหนือสลักเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑเหนือหน้ากาล ซึ่งมือยึดท่อนพวงมาลัยแวด

จังหวัดบุรีรัมย์

100 BURIRAM PROVINCE

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


พระเจ้าใหญ่วัดหงษ์

พระเจ้าใหญ่วัดหงษ์ เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ ป า ง ม า ร วิ ชั ย ศิ ล ป ะ ล า ว สร้ า งขึ้ น ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย พุ ท ธศตวรรษที่ 24 - 25 ขนาดหน้ า ตั ก 1.6 เมตร สู ง 2 เมตร สร้ า งด้ ว ยศิ ล าแลง มี ลั ก ษณะของศิ ล ปะพื้ น เมื อ ง ประดิ ษ ฐานอยู่ ที่ วั ด หงษ์ หรื อ วั ด ศี ร ษะแรต เป็ น ที่ เคารพสั ก การะของประชาชนจำนวนมากที่ เ รี ย ก ว่ า “พระเจ้ า ใหญ่ ” ในภาษาไทยอี ส าน มิ ใช่ เ พราะ เป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่ แต่หมายถึงความยิ่งใหญ่ ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ โดยเฉพาะการสาบานและอธิ ษ ฐาน เล่ า กั น ว่ า ผู้ ที่ ผิ ด คำสาบานมั ก ได้ รั บ ภั ย พิ บั ติ ต่ า งๆ จึ ง มี ผู้ ไ ปสาบานงดเว้ น อบายมุ ข เลิ ก ดื่ ม สุ ร าและสั ก การะกราบไว้ขอให้คุ้มครองรักษาอยู่มิได้ขาด นอกจากนี้ยังพบพระพิมพ์รูปใบขนุน “รวมปาง” สำริ ด และพระพุ ท ธรู ป แกะสลั ก จากนอแรดที่ ใ ต้ ฐ านพระเจ้ า ใหญ่ ด้ ว ย ในวันขึ้น 14 ค่ำ หรือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี จะจัดงานเฉลิมฉลองขึ้น โดยมีชาวอำเภอพุทไธสง และจังหวัดต่าง ๆ ไปนมัสการกราบไหว้เป็นจำนวนมาก “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

101

BURIRAM

ล้อมด้วยลายพันธุ์พฤกษา อีก 2 องค์ที่เหลือ คือ องค์กลางและองค์ด้านทิศใต้ก็มี ลักษณะคล้ายกันต่างกันที่ภาพตรงกลาง คือ ทับหลังปรางค์องค์กลางสลักเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ องค์ทิศใต้เป็นรูปพระอิศวรทรงโค ด้านหน้าของปรางค์องค์กลาง มีทางเดินยื่นยาวออกไป มีบันไดทางด้านหน้าและด้านข้างทั้งสอง นอกจากนี้ยังมีวิหา รหรือบรรณาลัยอีก 1 หลัง ก่อด้วยศิลาแลงหันหน้าเข้าหาปรางค์องค์ทิศใต้ อาคารทั้ง ห ม ด ล้ อ ม ร อ บ ด้ ว ย ก ำ แ พ ง ศิ ล า แ ล ง มี ซุ้ ม ป ร ะ ตู ด้ า น ห น้ า แ ล ะ ด้ า น ห ลั ง มี คู น้ ำ รู ป ตั ว ยู ล้ อ ม ร อ บ ก า ร ก ำ ห น ด อ า ยุ ส มั ย ข อ ง ป ร า ส า ท นั้ น ก ำ ห น ด จ า ก ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง แ ล ะ ศิ ล ป กรรมที่ พ บซึ่ ง ตรงกั บ ศิ ล ปะเขมรแบบบาปวน ซึ่ ง มี อ ายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 16


จังหวัดบุรีรัมย์

การเดินทาง จากตลาดพุทไธสง ถึงทางแยกเลี้ยวขวา ใช้เส้นทางที่จะ ไปพยัคฆภูมิพิสัย ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร และมีทางแยกเข้าวัดอีก 2 กิโลเมตร หมู่บ้านทอผ้าไหมอำเภอนาโพธิ์

หมู่บ้านทอผ้าไหมอำเภอนาโพธิ์ ตั้งอยู่เลขที่ 119 หมู่ 1 ตำบลนาโพธิ์ เป็นแหล่งทอผ้าไหมโดยเฉพาะผ้าไหมมัด หมี่ ได้รับความสนับสนุนช่วยเหลือในด้านการพัฒนาฝี มือให้ได้มาตรฐานทั้งรูปแบบ วิธีการผลิต ลวดลาย การให้สี จากศู น ย์ ศิ ล ปาชี พ พิ เ ศษ ในสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ สอบถามรายละเอียดได้ที่ศูนย์หัตถกร รมผ้าไหมสี่แยกนาโพธิ์ โทร.0 4468 6157, 0 4468 6044 ก า ร เ ดิ น ท า ง ใช้ เ ส้ น ท า ง ส า ย บุ รี รั ม ย์ พุ ท ไ ธ ส ง ท า ง ห ล ว ง ห ม า ย เ ล ข 2 0 7 4 ไ ป บ ร ร จ บ กั บ ท า ง ห ล ว ง ห ม า ย เ ล ข 2 0 2 บ ริ เ ว ณ กิ โ ล เ ม ต ร ที่ 2 1 มี ท า ง แ ย ก เ ข้ า ตั ว อ ำ เ ภ อ น า โ พ ธิ์ เ ป็ น ร ะ ย ะ ท า ง 1 0 กิ โ ล เ ม ต ร ปรางค์กู่สวนแตง

จังหวัดบุรีรัมย์

102 BURIRAM PROVINCE

ปรางค์กู่สวนแตง ตั้งอยู่บ้านดอนหวาย ตำบลดอนหวาย ตรงข้ามโรงเรียนกู่สวนแตงวิทยาคม กู่สวนแตงเป็นโบราณสถานแบบ ขอมอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยปรางค์อิฐ 3 อ ง ค์ ตั้ ง เ รี ย ง ใ น แ น ว เ ห นื อ ใ ต้ บ น ฐ า น ศิ ล า แ ล ง เ ดี ย ว กั น อาคารทั้ ง หมดหั น หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก มี ป ระตู ห น้ า เพี ย งประตู เ ดี ย วอี ก 3 ด้ า น ส ลั ก เ ป็ น ป ร ะ ตู ห ล อ ก “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

103

BURIRAM

ปรางค์ อ งค์ ก ลางมี ข นาดใหญ่ แ ละมี ส ภาพที่ ค่ อ นข้ า งสมบู ร ณ์ เ ป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย ม จั ตุ รั ส ด้ า นหน้ า ที่ มุ ข ยื่ น ออกมาเล็ ก น้ อ ย ตรงหน้ า บั น เหนื อ ประตู ห ลอกทั้ ง 3 ด้ า น มี ลั ก ษณะยื่ น ออกมาและมี แ ผ่ น ศิ ล าทรายรองรั บ ส่ ว นปรางค์ อี ก 2 องค์ มีขนาดเล็กกว่า ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีประตูเดียวทางด้านหน้าเช่นกัน ส่วนผนังอีก 3 ด้าน ก่อเรียบทึบสำหรับบนพื้นหน้าปรางค์มีส่วนประกอบสถาปัตยกรรมหินทรา ยอื่นๆ ตกหล่นอยู่ เช่น ฐานบัวยอดปรางค์ กลีบขนุนรูปนาค 6 เศียร อายุของกู่สวน แตงสามารถกำหนดได้จากทับหลังของปรางค์ ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครและที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17 เนื่ อ งจากภาพสลั ก บนทั บ หลั ง ทั้ ง หมดมี ลั ก ษณะตรงกั บ ศิ ล ปะขอมแบบนคร วั ด ที่ มี อ ายุ อ ยู่ ใ นช่ ว งเวลาดั ง กล่ า ว อาทิ ทั บ หลั ง สลั ก ภาพพระนารายณ์ ต รี วิ ก รม (ตอนหนึ่งในวามนาวตาร แสดงภาพพระนารายณ์ย่างพระบาท 3 ก้าว เหยียบโลกบาดาล โลกมนุษย์ และโลกสวรรค์) ทับหลังภาพศิวนาฏราช ทับหลังภาพการกวนเกษียรสมุทร ทั บ หลั ง ภาพนารายณ์ บ รรทมสิ น ธุ์ ฯลฯ แต่ ล ะชิ้ น มี ข นาดใหญ่ ส วยงามน่ า สนใจยิ่ ง การเดินทาง ใช้เส้นทางบุรีรัมย์-พยัคฆภูมิพิสัย ทางหลวงหมายเลข 2 1 9 ร ะ ย ะ ท า ง 7 0 กิ โ ล เ ม ต ร แ ย ก ซ้ า ย เข้ า ท า ง ห ล ว ง ห ม า ย เ ล ข 2 0 2 ทางไปอำเภอประทายอี ก ประมาณ 40 กิ โ ลเมตร จะพบทางแยกเข้ า สู่ กู่ ส วนแต งด้ า นซ้ า ยมื อ เลี้ ย วเข้ า ไปอี ก 1.5 กิ โ ลเมตร หรื อ จากบุ รี รั ม ย์ ใช้ ท างหลวงหมาย เลข 2074 ผ่านอำเภอคูเมือง ไปอำเภอพุ ท ไธสง แยกซ้ า ยเข้ า ทางหลวงหมายเลข 2 0 2 ไ ป อี ก 2 0 กิ โ ล เ ม ต ร เ ลี้ ย ว ซ้ า ย เข้ า กู่ ส ว น แ ต ง อี ก 1 . 5 กิ โ ล เ ม ต ร


จังหวัดบุรีรัมย์

เทศกาลงานประเพณี นอกจากวันสำคัญทางศาสนา วันสงกรานต์ และวันขึ้นปีใหม่ ชาวบุรีรัมย์ยัง มีขนบธรรมเนียมประเพณีหลายอย่าง เช่น เทศกาลเดือน 5 มีการทำบุญตักบาตร สรงน้ ำ พระ รดน้ ำ ให้ ผู้ สู ง อายุ มี ก ารละเล่ น พื้ น บ้ า น เช่ น สะบ้ า ชั ก เย่ อ ฯลฯ บางท้ อ งถิ่ น เช่ น อำเภอพุ ท ไธสงจะมี ก ารเซิ้ ง บั้ ง ไฟ เทศกาลเข้ า พรรษามี ก าร ประกวดเที ย นเข้ า พรรษา เทศกาลเดื อ น 12 มี ป ระเพณี ล อยกระทง แล้ ว ยั ง มี งานประเพณีของชาวจังหวัดบุรีรัมย์ที่สืบต่อกันมาอีกหลายงาน เช่น งานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

งานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นศาสนสถานใน ลั ท ธิ พ ร า ห ม ณ์ แ ล ะ ไ ด้ รั บ ก า ร แ ป ล ง เ ป็ น พุ ท ธ ส ถ า น ใ น ส มั ย ห ลั ง ช่ ว ง ที่ ถู ก ทิ้ ง ร้ า งอยู่ มี ผู้ น ำพระพุ ท ธบาทจำลองไปประดิ ษ ฐานไว้ ที่ ป รางค์ น้ อ ยบนเขา กลายเป็นประเพณีของชาวบ้านรอบ ๆ บริเวณนั้นพากันขึ้นไปนมัสการปิดทองรอย พระพุทธบาทนี้รวมทั้งไหว้พระทำบุญในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 ของทุกปี เนื่องจาก ปราสาทหิ น พนมรุ้ ง เป็ น โบราณสถานที่ ยิ่ ง ใหญ่ ส วยงามและเป็ น ประเพณี แ ต่ เ ดิ ม อยู่ แล้ว จังหวัดจึงได้ส่งเสริมให้มีงานประเพณีในวันเสาร์-อาทิตย์แรกของเดือนเมษายน โ ด ย จั ด กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ อั น เ ป็ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ วั ฒ น ธ ร ร ม โ บ ร า ณ ไ ด้ แ ก่ ขบวนแห่ ร าชประเพณี ข อมโบราณ การแสดงแสงเสี ย งย้ อ นรอยอดี ต พนมรุ้ ง

จังหวัดบุรีรัมย์

104 BURIRAM PROVINCE

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


ประเพณีแข่งเรือยาวจังหวัดบุรีรัมย์ กำหนดจั ด ในวั น เสาร์ - อาทิ ต ย์ แรกของ เ ดื อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น ข อ ง ทุ ก ปี ซึ่ ง เป็ น ฤดู น้ ำ หลากในลำน้ ำ มู ล ชาวเรือ บุ รี รั ม ย์ แ ละจากจั ง หวั ด ต่ า ง ๆ มาร่ ว ม ชุมนุมประลองฝีพายที่สนามแข่งเรือหน้า ที่ว่าการอำเภอสตึก เพื่อแข่งขันความเป็ นเจ้ายุทธจักรแห่งลำน้ำมูล ในแต่ละปีมี จำนวนเรือเข้าแข่งไม่น้อยกว่า 40 – 50 ลำ และยังมีขบวนเรือตกแต่งแฟนซีงดงามด้วย ประเพณีแข่งเรือยาวที่สนามแห่งนี้ เดิมเป็น ป ร ะ เ พ ณี ท้ อ ง ถิ่ น สั ง ส ร ร ค์ กั น ใ น ห มู่ ญ า ติ มิ ต ร แ ล ะ สั ก ก า ร ะ เ จ้ า พ่ อ วั ง ก รุ ด ซึ่ ง เ ป็ น ชื่ อ วั ง น้ ำ ว น ช่ ว ง ห นึ่ ง ข อ ง แม่ น้ ำ มู ล ต่ อ มาได้ จั ด เป็ น งานประเพณี ข องจั ง หวั ด ตั้ ง แต่ ปี 2529 เป็ น ต้ น มางาน มหกรรมว่าวอีสานบุรีรัมย์

มหกรรมว่ า วอี ส านบุ รี รั ม ย์ จั ด ขึ้ น ที่ สนามกี ฬ าอำเภอห้ ว ยราชในวั น เสาร์ อาทิ ต ย์ แ รกของเดื อ นธั น วาคมของทุ ก ปี ในช่ ว งฤดู เ ก็ บ เกี่ ย วหรื อ ย่ า งเข้ า สู่ ฤ ดู หนาวมี ล มมรสุ ม ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ พั ด แรง คนชนบทก็พากันทำว่าวแอก ซึ่งมีรูปแบบ เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นเล่นกันทุกหมู่บ้าน เป็นประเพณีการละเล่นของท้องถิ่นอีสานแต่ นานมา จังหวัดบุรีรัมย์จัดมหกรรมว่าวอีสาน ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2529 เพื่ออนุรักษ์เอกลักษณ์ของอีสานใต้ให้คงอยู่และเผยแพร่ให้ “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

105

BURIRAM

ประเพณีแข่งเรือยาวจังหวัดบุรีรัมย์


จังหวัดบุรีรัมย์

เป็นที่รู้จักกว้างขวาง เปิดโอกาสให้คนทุกตำบล ทุกหมู่บ้านทำว่าวแอกมาแข่งขันชิงรางวัล กัน ว่าวที่นำมาเข้าแข่งขันต้องมีขนาดปีกกว้าง 2 เมตรครึ่งขึ้นไป ตัดสินกันที่ความสวยงาม เสียงแอก และลีลาของว่าวบนท้องฟ้า นอกจากนี้มีการประกวดขบวนแห่ว่าวที่ยิ่งใหญ่ สวยงาม ตอนค่ำมีมหรสพ การละเล่น และการแสดงสินค้าพื้นบ้าน งานนมัสการพระเจ้าใหญ่วัดหงษ์ ง า น น มั ส ก า ร พ ร ะ เ จ้ า ใ ห ญ่ วั ด ห ง ษ์ ( วั ด ศี ร ษ ะ แ ร ต ) จั ด ขึ้ น ที่ อ ำเภอพุ ท ไธสง ในวั น ขึ้ น 14 ค่ ำ ถึ ง วั น แรม 1 ค่ ำ เดื อ น 3 ทุ ก ปี เป็ น เท ศกาลนมั ส การปิ ด ทองพระเจ้ า ใหญ่ วั ด หงษ์ ซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องบุ รี รัมย์ มีการทำบุญไหว้พระและมีมหรสพต่าง ๆ มากมาย รวม 3 วัน งานนมัสการรอยพระพุทธบาทจำลอง ง า น น มั ส ก า ร ร อ ย พ ร ะ พุ ท ธ บ า ท จ ำ ล อ ง ที่ เข า ก ร ะ โ ด ง อำเภอเมื อ ง จั ด งานในวั น เพ็ ญ เดื อ น 3 เช่ น กั น ประชาชนจะไปนมั ส การรอย พระพุ ท ธบาทจำลองและพระสุ ภั ท รบพิ ต ร ตลอดจนเที่ ย วงานกั น อย่ า งคั บ คั่ ง

จังหวัดบุรีรัมย์

106 BURIRAM PROVINCE

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


หลายคนคงจะเข้ า ใจว่ า จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เ ป็ น จั ง หวั ด ในภาคอี ส าน (ซึ่งเข้าใจถูกต้องแล้ว) ซึ่งสิ่งหนึ่งที่น้อยคนจะรู้ว่าภาษาที่ใช้ในจังหวัดบุรีรัมย์ส่วนใหญ่จะ เป็นภาษาเขมร ไม่ใช่ภาษาอีสานอย่างที่เข้าใจกันส่วนใหญ่ เนื่องมาจากจังหวัดบุรีรัมย์อยู่ ใกล้กับประเทศเขมร จึงมีผู้คนชาวเขมรเข้ามาใช้ชีวิต และได้เผยแพร่วัฒนธรรมอย่าง ภ า ษ า เ ข ม ร เ ข้ า ม า เ ก ร็ ด ค ว า ม รู้ ใ น จั ง ห วั ด บุ รี รั ม ย์ จึ ง ข อ เ ส น อ “มาเรียนภาษาเขมรก่อนออกเดินทาง” รู้เขารู้เรา จะได้ใช้ชีวิตในการเดินทางอย่างมี อรรถรส คำทักทาย/พูดคุย ภาษาไทย ภาษาเขมร สวัสดี ซัวสะเดย / จูม สวัสดียามบ่าย อรุณ ซัวสะเดย อรุณสวัสดิ์ ทิเวียห์ ซัวสะเดย สวัสดียามเย็น สายอนห์ซัวสะเดย ราตรีสวัสดิ์ เรียห์ตรี ซัวสะเดย สบายดีไหม ซู๊กสะบายเจียเต ขอบใจ ออกุนเจริญ ขอบคุณมาก ออกุนเจริญ ขอโทษ ซมโตส ลาก่อน เลียซินเฮย ครับ บาด ค่ะ จ๊ะ ใช่ เมน ไม่ใช่ มินเมน ดี ลออ ไม่ดี มินลออ ไม่เป็นไร มินอินเต ดีใจ ซ๊อบบายจิต

อาหารการกิน ภาษาไทย ภาษาเขมร ราคาเท่าไหร่ ทรัยป่นหม้าน แพงไป ทรัยเปก ลดได้ไหม จ๊กทรัยบานเต๊ ไม่มีเงิน อ๊อดเมียนโร้ย ข้าว (กินข้าว) บาย (ซีบาย) ข้าวผัดไก่ ทอดบายมวน ข้าวผัดหมูทอด บายจรู๊ก ข้าวผัดทะเล บายช้าปซัด ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้น กุยเตียวประฮัดซัสโก เกาเหลาลูกชิ้น ประฮัดซัสโก อร่อยมาก ชงัลเต๊ อร่อย ชงัลๆ จานข้าว จานบาย ร้อน กะเดา ย่าง อัง ไก่ มอญ

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

107

BURIRAM

เกร็ดความรู้


จังหวัดบุรีรัมย์

พี่ชาย ตัวผม พี่สาว น้องสาว ขอให้สุขภาพดี ไม่ มี การนับเลข 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บอง ขญม (ขะ-หยม) บองสะเลย์ โอนสะเลย์ สุขะเพียบลออ อ๊อด เมียน โซม มวย / มูย ปี เบ็ย บวย ปรำ ปรำมูล ปรำปี ปรำเบย ปรำบวน ด็อบ

จังหวัดบุรีรัมย์

108 BURIRAM PROVINCE

20 30 40 50 60 70 80 90 100 1,000 คิดเงิน

มวยไพ สามเสิบ สี่เสิบ หาเสิบ หกเสิบ เจ็ดเสิบ แปดเสิบ เก้าเสิบ มวยร้อย มวยพัน กึ๊ดโรย

“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม”


BURIRAM “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม” NOW

109



http://thai.tourismthailand.org/destination-guide/







Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.