บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ

Page 4

บทที่ 2 หลักการเขียนแบบ 2.1.2 พืน้ ทีใ่ นการเขียนแบบ แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนใหญ่ๆคือ 1) โมเดลสเปส เป็ นพื้นที่ที่ใช้เขียนแบบ เช่น บ้าน เครื่ องจักร วงจรไฟฟ้ า เป็ นต้น เมื่อเข้าสู่ โปรแกรจะพบ UCS Icon (อยูใ่ นวงกลม) ดังรู ปที่ 2.1 ที่มุมล่างด้านซ้ายของพื้นที่วาดภาพ ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายบอกให้ทราบว่ากาลังอยูใ่ น พื้นที่วาดภาพ ในโหมดโมเดลสเปส พร้อมที่ จะเริ่ มเขียนชิ้นงาน ตัวอักษร คาอธิ บายและ เส้นบอกขนาด แต่ความสู งของตัวอักษรจะต้อง มีการคานวณและแก้ไขความสู งของตัวอักษร และความสู งของเส้นบอกขนาด หลังจากที่ รู ปที่ 2.1 Model space กาหนดสเกลให้กบั วิวพอร์ ทได้แน่นอนแล้วอีกครั้งหนึ่ง 2) เปเปอร์ สเปส เป็ นพื้นที่ที่ใช้สาหรับการจัดกระดาษ(Layout) เลือกขนาดกระดาษ เลือกไฟล์ตน้ แบบบรรจุตารางรายการแบบ (Title block) สร้างวิวพอร์ ทเพื่อกาหนดมาตราส่ วนระหว่าง ชิ้นงานในโมเดลสเปสกับกระดาษในเปเปอร์ สเปส ตั้งค่าพารามิเตอร์ ควบคุมการพิมพ์อื่นๆ เป็ นต้นเพื่อ เตรี ยมไว้สาหรับพิมพ์แบบลงบนกระดาษจริ ง เมื่ออยูใ่ น เลเอาท์ใด ๆในเปเปอร์สเปส UCS Iconจะปรากฏ เป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มุมซ้ายล่างของพื้นที่ วาดภาพ ดังรู ปที่ 2.2 โดยที่โปรแกรมกาหนด กระดาษเลเอาท์มาให้แล้ว คือ และ แต่เราสามารถสร้างเลเอาท์เพิ่ม เข้าไปอีกได้ นอกจากนี้ยงั สามารถจะเขียนวัตถุ คาอธิบายแบบแปลนและเขียนเส้นบอกขนาด เข้าไปในแต่ละเลเอาท์ได้โดยตรงโดยที่ไม่จาเป็ น ต้องทราบมาตราส่ วนของวิวพอร์ ท สามารถกาหนด ความสู งจริ งให้กบั ตัวอักษรและให้กบั เส้นบอกขนาดได้โดยตรง รู ปที่ 2.2 Paper Space

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ........สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 33


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.