คู่มือการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ

Page 1

โรงเรือน วัสดุปลูก การใหน้ำ การใหปุย การกำจัดศัตรูพืช เทคนิคการตัดแตง www.aga-agro.com ANNIVERSARY และเทคนิคการปลูก ไมดอกไมประดับ การดูแล การผลิตตนกลา
วัสดุและอุกรณ วิธีการเพาะเมล็ด การดูแล และการผลิตตนกลา การดูแล และการผลิตตนกลา ตนกลาแตละชนิดมีลักษณะที่แตกตางกัน จึงมีการดูแลที่แตกตางกันออกไป ตองอาศัยทักษะและความชำนาญในทุกขั้นตอน ของการผลิต การดูแล แสง การระบายอากาศ ความชื้น ปุย โรคพืชและแมลง ดังนั้นคุณภาพของตนกลาสำคัญเปนอยางยิ่ง การไดตนกลาที่คุณภาพดี เปนสวนหนึ่งที่จะทำใหผลผลิตออกมาไดด เมล็ดพันธุ ผสมวัสดุเพาะกับน้ำและสารปองกัน และกำจัดเชื้อราเขาดวยกัน โดยผสม โพรพาโมคารบ 4 ซีซี/น้ำ 10 ลิตร หรือ เมทาแลกซิล 10 กรัม/น้ำ 10 ลิตร นำวัสดุเพาะ(พีทมอส) ใสลงในถาดเพาะ โดยใสวัสดุเพาะใหเต็มและปาดใหเรียบ โดยนำถาดเปลามาวางทับดานบน แลวกดถาดลงเพื่อใหเกิดหลุม ทำหลุม เพื่อหยอดเมล็ด ถาดเพาะ วัสดุเพาะ (พีสมอส) คีมคีบเมล็ด สารปองกันและกำจัดเชื้อรา (โพรพาโมคารบ หรือเมทาแลกซิล) ตระกลา ถังพนยา ปายแท็ก สำหรับเขียนชื่อดอกไม และวันเพาะเมล็ด 1. ผสมวัสดุเพาะกับน้ำ 2. นำวัสดุเพาะใสถาด 3. การทำหลุม
ถาเมล็ดเปนเมล็ดเคลือบ ระวังอยาใหมือชื้น นำวัสดุเพาะมารอนเพื่อกลบเมล็ด เมล็ดที่ไมตองทำการกลบ โดยใชวัสดุเพาะที่ยังไมไดผสมน้ำมารอนกลบ ถาเปนเมล็ดขนาดใหญและขนาดกลาง ทำการกลบใหมิดเมล็ด และตองกลบใหสม่ำเสมอกันทั่วทั้งถาด
ถาเปนเมล็ดเคลือบไมตองทำการกลบเมล็ด หรือเมล็ดที่มีขนาดเล็กบางชนิด เชน พิทูเนีย บีโกเนีย แววมยุรา พนน้ำ หรือสารเคมี เพื่อปองกันโรคเนาคอดินอีกครั้ง โดยผสม โพรพาโมคารบ 4 ซีซี/น้ำ 10 ลิตร หรือ เมทาแลกซิล 10 กรัม/น้ำ 10 ลิตร การพนจะใชถังพนหรือกระบอกฉีดน้ำที่มีแรงดันในการพน โดยปรับหัวพน ใหเปนละอองฝอยฉีดพนใชชุมทั่วทั้งถาด 4. ทำการหยอดเมล็ด หลุมลึก สำหรับเมล็ดขนาดใหญ เชน ทานตะวัน โดยหลุมที่ทำการกดควรใหมีขนาดพอดีกับเมล็ด หลุมตื้น สำหรับเมล็ดขนาดกลาง เชน ดาวเรือง ดาวกระจาย ผีเสื้อ หลุมตื้นมาก สำหรับเมล็ดขนาดเล็ก เชน พิทูเนีย บีโกเนีย แววมยุรา 3.1 หลักการทำหลุม เพื่อหยอดเมล็ด สามารถนำแปงเด็กมาคลุกกับเมล็ดได เพื่อใหงายตอการมองเห็น 5. กลบเมล็ด 6. พนน้ำ นำถาดเพาะไปไวในที่พรางแสง 80 - 90 % เมล็ดที่พึ่งทำการเพาะเสร็จ สถานที่เก็บควรจะเปนสถานที่มืด และมีอากาศถายเทไดสะดวก ควรใหน้ำแบบพน อยาใหเมล็ดแหง อาจจะทำใหเมล็ดไมงอกได ใหนำตนกลาออกมาไวในที่ที่อากาศถายเทไดดีเมื่อตนกลางอกโผลพนขึ้นมาเหนือวัสดุเพาะ และไมชื้น พรางแสงประมาณ 50% เพื่อปองกันไมใหตนกลายืด พักตนกลาไวประมาณ 2-3 วัน หรือตนเริ่มมีใบจริงจึงจะนำมาไวในที่แดด 7. พรางแสง เพราะอาจทำใหแปงที่เคลือบตัวเมล็ด ละลายออกมากอนการหยอดเมล็ด
ถาเปนเมล็ดเล็กไมตองกลบหนา แคพอใหไมเห็นเมล็ด
วิธีการดูแลตนกลา ควรจะใหความชื้นสูงในชวงระยะแรกเมื่อเมล็ดเริ่มงอกแลวควร ลดระดับความชื้น บางชนิดตองการแสงในการงอก บางชนิดไมตองการแสงในการงอก แสงบางชนิดจะชวยกระตุนในการงอก และแสงบางชนิดจะยับยั้งการงอกของเมล็ด ระยะที่ 1 ระยะตนกลาเริ่มงอก ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะหลังจากเพาะเมล็ด 3-5 วัน พรางแสง 80 - 90 % รักษาความชื้นโดยการพนน้ำ ระยะใบเลี้ยงเริ่มแผล ระยะหลังจากเพาะเมล็ด 6-7 วัน พรางแสง 50 % ยังคงรักษาความชื้นไวอยู แตควรปลอยใหวัสดุเพาะแหงบาง ระยะนี้ยังไมควรใหปุย ระยะเริ่มมีใบจริง 1 คู วางใหไดรับแสงเต็มที่เพื่อสงเสริมการเจริญเติบโตของตนและใบ เริ่มใหปุยทางน้ำ 2-3 ครั้ง/สัปดาห ความชื้นควรปลอยใหผิวหนา ของวัสดุเพาะแหง แตตนยังไมเหี่ยว
ระยะมีใบจริง 2 คูขึ้นไป วางใหไดรับแสงเต็มที่เพื่อสงเสริมการเจริญเติบโตของตนและใบ เพิ่มอัตราการใหปุยทางน้ำ ความชื้นควรปลอยใหผิวหนา ของวัสดุเพาะแหง แตตนยังไมเหี่ยว จึงทำการรดน้ำ
จึงทำการรดน้ำ

สำหรับการใหน้ำสามารถใชฝกบัวชนิดละเอียดในการใหน้ำได

เพราะกลางถาดอากาศถายเทไดชากวาดานขางถาดและตองใหน้ำอยางเบามืออยาแรงเพราะจะทำใหตนกลาลมเอน

การใหปุยตนกลา เริ่มใหปุยเมื่อใบเลี้ยงแผเต็มที่โดยใหปุยจำพวกไนเตรท และควรหลีกเลี่ยงการใหปุยกลุมแอมโมเนียม 46-0-0 หรือยูเรีย เพราะจะทำใหตนยืด ใบอวบน้ำ โรคเขาทำลายตนกลาไดงาย ควรเพิ่มการฉีดพนธาตุอาหารเสริมทางใบดวย
การรดน้ำควรเนนรดที่ขอบถาดอยาใหแหง เพราะจะทำใหตนโตชากวาบริเวณอื่น สวนบริเวณกลางถาด ไมควรใหน้ำมากเพราะจะทำใหเกิดโรคโคนเนา
และไมควรรดนาหลังจากเวลา 15.00 นาิกา เพราะจะทาใหเกิดปญหาเรื่องโรคโคนเนาได ปุยสูตร (N:P:K) ระยะตนกลา ปริมาณการให ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ความถี่ 15-0-0 หรือ 20-20-20 ระยะที่ 3 ปุย 3 กรัม / น้ำ 10 ลิตร อาทิตยละ 2-3 ครั้ง 15-0-0 หรือ 20-20-20 ระยะที่ 4 ปุย 6 กรัม / น้ำ 10 ลิตร อาทิตยละ 2-3 ครั้ง ระยะนี้ยังไมควรใหปุย ระยะนี้ยังไมควรใหปุย การใหน้ำตนกลา

โดยทั่วไปเรามักนิยมทำโรงเรือนสำหรับปลูกตนไมที่ตองการสภาพแวดลอมแบบเฉพาะตัว ไมวาจะเปนโรงเรือนโปรงพรางแสงดวยซาแรนหรือตาขายกรองแสง

การผลิตไมดอกไมประดับ ขอดีของการปลูกไมดอกในโรงเรือน ใชเปนสถานที่เพาะเมล็ด
และเหลาศัตรูพืช ชวยควบคุมและสรางสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ตอการเจริญเติบโตของพืช และเสี่ยงนอยกวาการปลูกในพื้นที่โลง ทำใหสามารถปลูกพืชไดหลายรุนในรอบป และยืดอายุการปลูกพืชบางชนิดใหยาวนานกวาปกติ แมวาในความเปนจริงไมดอกบางชนิดสามารถปลูกเลี้ยงภายนอกได โดยเฉพาะหากพื้นที่นั้นมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับพืชชนิดนั้นๆอยูแลวโดยไมจำเปนตองทำโรงเรือนแตการปลูกเลี้ยงในโรงเรือน
โรงเรือน
ขยายพันธุ อนุบาลตนกลา และพักฟนพันธุไมที่นำมาใหม เปนสถานที่สำหรับเลี้ยงพันธุไมที่ตองการความชื้นสูง แตตองการแสงแดดแตพอควร เปนที่เก็บรักษาพันธุไมใหปลอดภัยจากสัตว
จะชวยควบคุมสภาพแวดลอมที่เหมาะสมไดดีกวาทำใหตนไมเจริญเติบโตดีและสวยงามมากขึ้น
ทั้งนี้สามารถดัดแปลงสูตรไดตามความเหมาะสม หรือตามประสบการณความชำนานของผูปลูก วัสดุปลูก การใหน้ำ สูตรที่ 1 สูตรที่ 2 สำหรับการปลูกลงกระถาง ขุยมะพราว 3 สวน ทรายหยาบ 1 สวน โดโลไมท 1/4 สวน เฟอรัสซัลเฟต 1/4 สวน ดินรวน 1 สวน ปุยหมักหรือปุยคอก 1 สวน แกลบเผา 2 สวน แกลบดิบ 2 สวน ขุยมะพราว 2 สวน ควรใหน้ำทุกตอนเชา หากจำเปนตองใหน้ำชวงบาย ควรใหน้ำกอนบาย 3 โมง เวลา

ปุยจะตองละลายในน้ำกอนพืชจึงจะดูดขึ้นไปใชได ดังนั้น การใหปุยในระบบน้ำจะเปนการใหทั้งน้ำและปุยไปพรอมกันในเวลาและบริเวณที่พืชตองการ

เปนวิธีที่นิยมสวนใหญใชกับปุยที่ละลายน้ำไดไมดี การใหปุยวิธีนี้สวนใหญจะใหเพียงสัปดาหละ 1-2 ครั้ง เนื่องจากปุยจะคอย ๆ ละลายใหกับตนพืชและตองระวังอยาใหชิดโคนหรือใหในปริมาณที่มากเกินไป เพราะจะทำใหตนหรือใบไหมได เทคนิคแนะนำ : การใหปุยแบบเม็ดหลังยายปลูก 1 อาทิตย ควรทำหลุมแลวหยอดปุยเมื่อหยอดเสร็จควรกลบดวย เพื่อปองกันการระเหยของปุย อาจทำใหพืชไมไดรับธาตุอาหารได เปนการใหปุยโดยผสมปุยที่สามารถละลายน้ำไดหมดลงไปในระบบใหน้ำ เมื่อพืชดูดใชน้ำก็จะมีการดูดธาตุอาหาร ไปพรอมกับน้ำ เนื่องจากพืชไมสามารถดูดปุยในรูปของแข็งได
ปุยสูตร (N:P:K) ชวงเวลาการให ปริมาณการให / ตน 15-15-15 ใหชวงหลังจากยายปลูก 1 อาทิตย 2 ครั้ง / อาทิตย ใหปริมาณครึ่งชอน 2 ครั้ง / อาทิตย จนตนโตชนขอบกระถาง เพิ่มปริมาณเปน 1 ชอนชา 13-13-21 ใหชวงระยะตุมดอก ใหปริมาณ 1 ชอนชา 1 ครั้ง / อาทิตย การใหปุย สูตรปุยเม็ด ปุยสูตร (N:P:K) ชวงเวลาการให ปริมาณการให 15-0-0 หรือ 25-7-7 หรือ 15-15-15 การเจริญเติบโต ทางลำตนและใบ 1 กก. / น้ำ 200 ลิตร ความถี่ อาทิตยละ 1 ครั้ง 15-15-15 + 8-24-24 ชวงตุมดอก 15-15-15 ปริมาณ 0.5 กก. 8-24-24 ปริมาณ 1 กก. ผสมกับน้ำ 200 ลิตร อาทิตยละ 1 ครั้ง 14-14-21 ชวงดอกเริ่มบาน 1.5-2.0 กก. / น้ำ 200 ลิตร อาทิตยละ 1 ครั้ง สูตรปุยน้ำ
ศัตรูพืชนับวาเปนปญหาทางการกสิกรรมเปนอยางมาก กวา 30 เปอรเซ็นของพืชที่ตองสูญเสียและถูกทำลายโดยศัตรูพืช ดวยสาเหตุเหลานี้ เพื่อลดความสูญเสียตอผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจึงควรศึกษาและทำความเขาใจในวงจรชีวิตของแมลงศัตรูพืชเหลานี้เพื่อหาทางปองกันและกำจัด การปองกัน การปองกัน กำจัดศัตรูพืช กำจัดศัตรูพืช หนอนใยผัก การปองกันกำจัด มักจะกัดกินใบดานลางหรือใบที่อยูกลางลาตน เมื่อแสงแดดตกกระทบ ตัวหนอนจะหนีไปอยูบริเวณวัสดุปลูก หนอนจะกัดกินใหเหลือเยื่อใบหรือใบเปนรู และมักจะทิ้งมูลไว พนดวย อะบาเม็กติน, คลอไพริฟอส หรือ ไซเปอรเมทริน สารชีวภาพ ไดแก BT (Bacillus thuringiensis) เพลี้ยไฟ การปองกันกำจัด ใบและดอกจะเปนแผลสีขาว และเพลี้ยไฟยังเปนพาหนะโรคไวรัสอีกดวยซึ่งเกิดจากการดูดน้ำเลี้ยง พนดวย อิมิดาคลอพริด, ฟโพรนิล, อะบาเม็กตินเปนตน หนอนชอนใบ การปองกันกำจัด มักจะเขาทำลายใบโดยจะกัดกินเนื้อใบทำใหเปนเสนสีขาว พนดวย อะบาเม็กติน, คลอไพริฟอส หรือ ไซเปอรเมทริน สารชีวภาพ ไดแก BT (Bacillus thuringiensis) การปองกันกำจัด มักจะอยูใตใบเขาทำลายที่ใบโดยการดูดน้ำเลี้ยง ทำใหใบมวนลงและใบลีบ พนดวย อะมีทราซ,ซัลเฟอร, เฟนไพโรซิเมตหรือ เฮกซีไธอะซอก แมลง

ใบหรือเกิดอาการเนาที่ดอกและจะลามลงสูบริเวณโคนตน จัดวางใหมีการถายเทอากาศอยาใหอับชื้น พนสารเคมีสัปดาหละครั้งเพื่อเปนการปอง หากเจอตนที่เปนโรคใหทำการตัดแตงบริเวณที่เปนโรคทิ้งและพนสารเคมี

การปองกัน การปองกัน กำจัดโรคพืช กำจัดโรคพืช โรคโคนเนา การปองกันกำจัด สารเคมี ตนเหี่ยวเฉา บริเวณโคนตนเกิดอาการเนารวมถึงบริเวณรากดวย เชื้อสาเหตุ : Phytophthoraspp.Sclerotiniaspp. เชื้อสาเหตุ : Botrytis spp. เชื้อสาเหตุ : TMV, CMV เชื้อสาเหตุ : Podosphaeraxanthii, Oidiumlongipes ระวังการใหน้ำอยาใหวัสดุชื้นตลอดเวลา จัดวางใหมีการถายเทอากาศอยาใหอับชื้น หากพบเจอตนที่เปนโรคใหทาการถอนทิ้งทันที โรคราขนแมว การปองกันกำจัด
ฉีดพนสัปดาหละครั้งเพื่อเปนการปองกัน หรือสัปดาหละ 2 ครั้งในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง สารเคมี พนสาร อิมิดาคลอพริด, ไบเฟนทริน, อะบาเม็กติน เปนตน สารเคมี พนสาร คารเบนดาซิม, เบนโนมิลหรือ ซัลเฟอร โรคไวรัส การปองกันกำจัด ใบหรือดอกมีลักษณะผิดรูป บิดเบี้ยว บางตนเมื่อเปนแลวจะไมออกดอก กำจัดแมลงปากดูดที่เปนพาหนะเชนเพลี้ยไฟ, ทำความสะอาดเครื่องมือที่ใชตัดแตง หากพบเจอตนที่เปนโรคใหกำจัดทันที โรคราแปง การปองกันกำจัด มักจะเกิดเมื่อสภาพอากาศเย็นและชื้น(น้ำคางแรงในตอนเชา) โดยใบลางจะเหลือง และมีจุดดำๆกระจายอยู หลังจากนั้นใบแหงเหี่ยวเปนสีน้ำตาล จัดวางใหมีการถายเทอากาศอยาใหอับชื้น พนสาเคมีสัปดาหละครั้งเพื่อเปนการปองกัน หากเจอตนที่เปนโรคใหทาการตัดแตงบริเวณที่เปนโรคทิ้งและพนสารเคมี โรคพืช
เกิดอาการฉ่ำน้ำที่บริเวรกิ่ง
ฉีดพน ฟอสอีทิล-อะลูมินัม หรือ ไธโอฟาเมต เมทธิล สารเคมี แมนโคเซบหรือคลอโรธาโลนิล
1.ตองใหน้ำสม่ำเสมอ 2.ตองใหปุยตอเนื่อง 3.ไมควรรดน้ำโดนบริเวณดอก 4.ตัดแตงกิ่ง คำแนะนำในการปลูก การผลิต ในคูมือเลมนี้ ตั้งแตการเพาะเมล็ด การใหน้ำ ใหปุย การดูแล ตลอดจนการใชสารเคมี ปองกัน/กำจัดโรคพืชและศัตรูพืช เปนคำแนะนำที่เกิดจากการทดลองใน เอกะ แฮปปฟารม จ.เชียงใหม ผูปลูกอาจจะมีวิธีการที่แตกตางไป ตามสภาพภูมิอากาศ , สภาพดินและทักษะประสบการณของผูปลูก ทั้งนี้ผูปลูกอาจจะใชคูมือเลมนี้มาดัดแปลงปรับแตงเพื่อใหไดไมดอกไมประดับที่มีคุณภาพ เทคนิคการตัดแตง การดูแลเพื่อใหตนไมมีอายุการใชงานไดนานขึ้น อายุ 30-40 วัน ใหทำการตัดยอด อายุ 76 วัน ทำการตัดยอด เด็ดยอด 1 ครั้ง เด็ดยอด 2 ครั้ง เด็ดยอด 1 ครั้ง เด็ดยอด 2 ครั้ง อายุ 82 วัน ทำการตัดยอด การตัดแตงไมดอกไมประดับหลังจากปลูกประดับ สวนยอด
จำเปนตองมีการตัดแตงกิ่งออกบาง
หากมีกิ่งหักเสียหายที่เกิดจากการเคลื่อนยาย มีโรคแมลงเขาทำลาย หรือกิ่งแหง ควรตัดออกใหดูสวยงามและยังเปนการรักษาสุขภาพของตนไมใหดีขึ้นดวย
กิ่งกาน หรือใบที่ยืดยาวเจริญไมเปนระเบียบ
เพื่อรักษาทรงพุมใหสวยงามยิ่งขึ้น

วันช็อต ปุยพอเพียง

1. การใสพรอมกับการเตรียมแปลง 2. การใสรองกนหลุม 3. การใสพรอมการยายปลูก

www.aga-agro.com ชองทางการติดตอ (สั่งซื้อและแจงชำระเงิน) เวลาทำการ จันทร-เสาร เวลา 08.30-17.30 น. ติดตอเจาหนาที่ฝายขาย 097-9200321 คุณภูมิ ผูจัดการฝายขาย 092-2538772 คุณอั๋น ฝายขายภาคเหนือ 098-7953669 คุณนัท ฝายขายภาคกลาง, ตะวันตก 083-5770488 คุณป ฝายขายภาคตะวันออก, อีสานใต 088-2678956 คุณแนนซ ฝายขายภาคอีสานตอนบน 053-142565 ตอ 101 , 088-4050456 ฝายขายสำนักงาน 1. หนาราน บจก. เอกะ อะโกร 2. โทรศัพท หมายเลข 053-142565 ตอ 101 หรือ 088-4050456 แฟกซ 053-142560 3. อีเมล : sales@aga-agro.com 4. ออนไลน : www.aga-agro.com Facebook : AGA Flowers, ดาวเรือง เอกะ Line : @aga-agro “ ใชปุยตามใจพืช ไมใชปุยตามใจเรา ” ใสครั้งเดียว ตลอดฤดูปลูก สะดวก ประหยัด ลดการชะลาง
วิธีการใชปุยวันช็อต
4. หากปลูกลงในกระถาง ใสรอบๆโคนตนโดยไมตองกลบ 2. 3. หากปลูกลงในกระถาง โดยจะใหปุยไปพรอมกับการเตรียมดิน หรือใสพรอมการยายปลูก เมื่อใสปุย One Shot แลวควรทำการกลบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปลดปลอยธาตุอาหารที่สูงขึ้น กลบ กลบ กลบ

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.