ASA_CAD_std

Page 251

บทที่ 15 นิยามค�ำศัพท์

มาตราฐานการเขี มาตรฐานการเขียยนแบบก่ นแบบก่ออสร้ สร้าางง ฉบั ฉบับบปีทีพ.ศ. ่ 2 2553 2554

15-1

นิยามศัพท์ ค�ำศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ที่ใช้ในรายงานฉบับนี้พยายามที่จะใช้ค�ำและความหมายของค�ำที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การเขียนแบบก่อสร้าง (มอก. เล่ม 1-2541) โดยมีค�ำศัพท์เพิ่มเติมในส่วนที่ไม่ได้มีการระบุไว้ใน มอก. ตารางต่อไป นี้แสดงรายละเอียดค�ำศัพท์ที่ใช้ ภาษาอังกฤษ

อาษา

ภาษาไทย

คำ�อธิบาย

bench mark

หมุดระดับ

วัตถุถาวรตามธรรมชาติ หรือที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นระดับ ก�ำหนดจ�ำแนกประเภทเป็นหมุดระดับถาวร (permanent bench mark, P.B.M.) และหมุดระดับชั่วคราว (temporary bench mark, T.B.M.)

break line

เส้นตัดตอน

เส้นแสดงแนวตัดย่อระหว่างสองส่วน เช่น ส่วนของผนังที่ถูก ตัดย่อให้สั้นลง เพื่อให้พอดีกับขนาดของแผ่นงาน

construction drawing

แบบก่อสร้าง

datum level

ระดับกำ�หนด

แบบที่ใช้ในการก่อสร้าง ได้แก่ แบบสถาปัตยกรรม แบบ วิศวกรรมโยธา แบบวิศวกรรมเครื่องกล แบบวิศวกรรม สุขาภิบาล แบบวิศวกรรมไฟฟ้า แบบวิศวกรรมเครื่องปรับ อากาศ และแบบงานระบบต่างๆ ภายในอาคาร ระดับที่แน่นอนซึ่งใช้อ้างอิงในการก�ำหนดระดับต่างๆ ที่ ต้องการ

detail drawing

แบบรายละเอียด

แบบซึ่งแสดงส่วนต่างๆ ของการก่อสร้างหรือชิ้นส่วนต่างๆ โดยทั่วไปจะใช้มาตราส่วนขยาย พร้อมกันนี้จะก�ำหนดราย ละเอียดต่างๆ เพิ่มเติมในแบบนี้ด้วย

diagram

แผนภาพ

dimension line

เส้นมิติ

แบบซึ่งช่วยแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ในด้านประโยชน์ใช้สอย ของส่วนต่างๆ ของอาคาร แบบชนิดนี้จะมีมาตราส่วนหรือไม่ ก็ได้ เส้นที่แสดงความยาวของมิติต่างๆ

drawing block

แบบ

elevation

รูปด้าน

คือส่วนที่แสดงข้อมูลทั้งในลักษณะกราฟิกและข้อความ โดย ทั่วไปจะมีชื่อรูปและมาตราส่วนก�ำกับ (ถ้าเขียนโดยตาม มาตราส่วน) รูปในระนาบดิ่งของอาคาร

extension line

เส้นฉาย

เส้นตั้งฉากที่ลากจากส่วนที่จะแสดงมิติ

grid

กริด

ตารางของเส้นอ้างอิง

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ www.asa.or.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.