รายงานประจำป ข นweb

Page 1


คํานํา รายงานประจําป 2555 ของสํ านั กงานป อ งกัน ควบคุม โรคที่ 9 จังหวั ด พิษ ณุ โลก ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรผลการดําเนินงานตามบทบาทหนาที่ของหนวยงานภายใตสงั กัด สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเปนผลการดําเนินงานตามคํารับรอง การปฏิบัติราชการหนวยงาน และผลการปฏิบัติราชการที่สําคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 1-6 ของกรมควบคุมโรค คณะผูจัด ทําหวั งว า รายงานฉบั บ นี้ จะเป น ประโยชน ตอ ผูบ ริหาร นั กวิ ชาการและ ผูป ฏิ บั ติงาน ตลอดจนหน ว ยงานที่เกี่ยวข อ ง สํ านั กงานปอ งกัน ควบคุม โรคที่ 9 จังหวั ด พิษณุโลกขอขอบคุณหนวยงานภายในและนอกสังกัดทุกแหง ที่มีสวนรวมในการดําเนินงาน พัฒนางานสาธารณสุ ขในพื้นที่ใหมีความเข มแข็ง และยั่งยืน หากมี ขออ อนดอ ยหรือ คาด เคลื่อนในสวนใด คณะผูจัดทําขอนอมรับไวและขอขอบพระคุณลวงหนาหากทานผูอานจะได กรุณาแนะนํา ทั้งนี้เพื่อจะไดนําไปปรับปรุงใหสมบูรณยิ่งขึ้นในการจัดทําครั้งตอไป

คณะผูจ ัดทํา สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก


บทสรุปผูบริหาร สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก ในฐานะเปนหนวยงานในสังกัด กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ไดดําเนินการวิเคราะหองคกร เพื่อกําหนดยุทธศาสตรการ ดําเนิน งานใหต อบสนองบทบาทและพันธกิจ ของหนวยงาน โดยจัดทําแผนยุท ธศาสตรและ แผนปฏิบัติราชการ 4 ป เพื่อเปนกรอบแนวทางดําเนินงานปองกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยมีวิ สัยทัศน “เปนองคกรชั้ นนําที่มี มาตรฐาน ในการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรค และภัย สุขภาพเพื่อสนับสนุนเครือขายและประชาชน” นําสูการปฏิบัติโดยการจัดทําแผนงานโครงการที่ มุงเนนตามมาตรการตอโรคและภัยสุขภาพ และสนับสนุนใหเครือขายในพื้นที่สามารถดําเนินงาน ไดตามมาตรฐานโรคและภัยสุขภาพที่กรมควบคุมโรคกําหนด โดยใชยุทธศาสตร 6 ยุทธศาสตร ขับเคลื่อนการดําเนินงาน ผลการประเมินความสําเร็จของการบรรลุเปาหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ป 2555 เทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑที่กําหนด พบวาสํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัด พิษณุโลก มีผลการดําเนินงานที่แสดงถึงผลการปฏิบัติราชการในภาพรวมระดับ “ดีมาก” ได คะแนน 4.880 หรือ รอยละ 97.60 ผลการดําเนินงานโดยใชยุทธศาสตรขับเคลื่อน ดําเนินการไดรอยละ 84.7 มีผลการ ดําเนินงานแยกตามยุทธศาสตรดังนี้ o ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาจังหวัดใหมีระบบและกลไกการบริหารจัดการใหเกิดการ พัฒนาอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ผานเกณฑการประเมิน จํานวน 3 จังหวัด (รอยละ 60) ไดแก จังหวัดสุโขทัย อุตรดิตถและพิษณุโลก อําเภอผานเกณฑการประเมินอําเภอควบคุม โรคเขมแข็งแบบยั่งยืนตามคุณลักษณะที่กําหนด จํานวน 45 อําเภอ (รอยละ 95.74) o ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาผลิตภัณฑของหนวยงาน โดยมีผลงานวิจัยที่ดําเนินการตาม มาตรฐานสากล (ผานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย กรมควบคุมโรค) จํานวน 2 เรื่องและ ผลงานวิชาการดานการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จํานวน 13 เรื่อง o ยุทธศาสตรที่ 3 เครือขายกลุมเปาหมายเห็นวาภาพลักษณของหนวยงานอยูในเกณฑ ดี รอยละ 92.4 สวนผลการประเมินประชาชนกลุมเปาหมายรับทราบและมีความรูของเรื่องโรค และภัยสุขภาพที่สําคัญของกรมฯ และประชาชนกลุมเปาหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ตามเกณฑที่กรมควบคุมโรคกําหนดยังไมผานเกณฑ o ยุทธศาสตรที่ 4 จัดทําแผนปฏิบัติงาน (Incident Action plan) การตอบโตภาวะ ฉุกเฉินดานการแพทยแ ละสาธารณสุขของหนว ยงานพัฒนามาตรฐานการปฏิบั ติงาน (SOP) การตอบโตภาวะฉุกเฉินพัฒนาฐานขอมูลดานโรคและการเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉิน ดานสาธารณสุข และสนับสนุนการปฏิบัติงาน และวัสดุอุปกรณ สารเคมี ใหกับจังหวัดในเขต รับผิดชอบเพื่อรับมือกับสถานการณอุทกภัย o ยุทธศาสตรที่ 5 จัดทํารายงานการพยากรณโรคไขเลือดออกพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 และรายงานการประเมิ นผลการบริหารจัดการโครงการอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ระดับอําเภอ ป 2555 ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 o ยุทธศาสตรที่ 6 พัฒนาและยกระดับการบริหารจัดการองคกรตามมาตรฐานสากล โดยวิ เคราะหอ งคกรตามเกณฑ Fundamental Level และจัด ทําแผนปรับ ปรุงองคกร และ พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในหนวยงานดานจริยธรรมดานการคิดวิเคราะห การมองภาพองครวม การตรวจสอบความถูกตองตามกระบวนงาน


o ภารกิจพื้นฐาน มีการใหบ ริการประชาชนและหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช น การบริการควบคุ ม พาหะนํ าโรคมาลาเรีย การบริการและตรวจและรักษาโรค การตรวจทาง หองปฏิบัติการ การตรวจสภาพแวดลอม การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง ผลการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ.2555 สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก สามารถดําเนินการไดในระดับดี แตอยางไรก็ตามหนวยงานยังคงตองพัฒนา มาตรฐานการทํางานใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น สุดทายนี้สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัด พิษณุโลกขอขอบคุณหนวยงานภายในและนอกสังกัดทุกแหงในพื้นที่สาธารณสุขเขต 17 ที่มีสวน รวมในการดําเนินงานพัฒนางานสาธารณสุขในพื้นที่ใหมีความเขมแข็ง และยั่งยืนตลอดไป

(นายแพทยศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ) ผูอํานวยการสํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก


สารบัญ บทสรุปผูบ้ ริหาร ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปของหน่วยงาน 1.1 ข้อมูลทัวไปของหน่วยงาน 1.2 แผนยุทธศาสตร์ 1.3 โครงสร้างองค์กร 1.4 เขตพืนทีรับผิดชอบ 1.5 อัตรากําลังบุคลากร ส่วนที 2 สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพและสถานการณ์การดําเนินงาน ประจําปี งบประมาณ 2554 2.1 สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพในพืนที ปี 2554 2.2 ผลการดําเนิ นงานของหน่วยงานในปี ทีผ่านมา ส่วนที 3 ภาพรวมโครงการหลักและงบประมาณดําเนินโครงการประจําปี งบประมาณ 2555 3.1 โครงการหลักประจําปี งบประมาณ 2555 ส่วนที 4 ผลการดําเนินงานของหน่วยงาน 4.1 ผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ (Bureau Scorecard) 4.2 ผลการดําเนิ นงานตามยุทธศาสตร์ 4.3 สรุปผลการให้บริการต่างๆ ของหน่วยงาน 4.4 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ 4.5 การใช้พลังงาน

หน้า ก 2 2 2 3 5 5 8 9 17 20 21 25 26 30 44 46 46


สารบัญตาราง ตารางที 1 แสดงลักษณะโดยรวมของข้าราชการในหน่วยงาน ตารางที 2 แสดงลักษณะโดยรวมของลูกจ้างประจําและพนักงานราชการในหน่วยงาน ตารางที 3 จํานวนป่ วย อัตราป่ วย จํานวนตาย อัตราตาย และอัตราป่ วยตายด้วยโรคทีเฝ้ าระวัง ทางระบาดวิทยาในเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที 17 ปี 2554 ตารางที 4 โครงการหลัก/สําคัญของหน่วยงานปี งบประมาณ 2555 ตารางที 5 งบดําเนิ นงานตามโครงการในแผนปฏิบตั ิราชการ แยกตามยุทธศาสตร์ ตารางที 6 งบดําเนิ นงานตามแผนปฏิบตั ิราชการ แยกตามผลผลิตและกิจกรรมหลัก ตารางที 7 ผลการดําเนิ นงานตามตัวชีวดั จําแนกรายมิติ ตารางที 8 สรุปรายงานการประเมินตนเองผลการปฏิบตั ิราชการประจําปี งบประมาณ 2555 ตารางที 9 ผลิตภัณฑ์วิชาการของหน่วยงานประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2555 ตารางที 11 สรุปผลการให้บริการของหน่วยงาน ประจําปี งบประมาณ 2555 ตารางที 12 การใช้จ่ายงบประมาณประจําปี 2555 จําแนกตามประเภทงบประมาณ ตารางที 13 การใช้พลังงานไฟฟ้าและนํามันปี งบประมาณ 2555 เทียบกับค่ามาตรฐาน จําแนกรายเดือน

หน้า 6 7 14 21 23 24 26 28 31 44 46 47

สารบัญภาพ ภาพที 1 พืนทีรับผิดชอบเขตสาธารณสุขเขต 17

หน้า 5


ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปของหน่วยงาน

1


ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปของหน่วยงาน 1.1 ข้อมูลทัวไปของหน่วยงาน สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก เป็ นหน่วยงานวิชาการระดับเขต ทีขึนกับส่วนกลาง คือ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข มีทีตังสํานักงานอยูใ่ นส่วนภูมิภาค ทีตังสํานักงาน  สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก 306 หมู่ 5 ถนนพิษณุโลก – วัดโบสถ์ ตําบลหัวรอ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000  โทร. 0-5521-4615-7 โทรสาร. 0-5532-1238  E-mail Address : dpc9mail@gmail.com  Website :http://dpc9.org/dpc9/ 1.2 แผนยุทธศาสตร์ วิสยั ทัศน์ : เป็ นองค์กรชันนําทีมีมาตรฐาน ในการเฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ เพือสนับสนุ นเครือข่ายและประชาชน พันธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุ น วิจยั พัฒนา ถ่ายทอดแลกเปลียนความรู ้ และเทคโนโลยีเพือ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ให้เครือข่ายและประชาชนตามมาตรฐานทีกําหนด 2. ประสานงานและปฏิบตั ิงานร่วมกับเครือข่ายภายในประเทศเพือการเฝ้ าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. เตรียมความพร้อมในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและภัยพิบตั ิ 4. พัฒนาระบบการติดตามประเมินผล เครือข่ายการดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เพือสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่าย 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรให้กา้ วไปสูอ่ งค์กรคุณภาพ เป้าประสงค์ 1. เพือให้เครือข่าย ดําเนิ นการเฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพีอให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพทีดี ลดอัตราป่ วยด้วยโรคตามนโยบายและโรคที เป็ นปั ญหาในพืนที

2


ยุทธศาสตร์ 1. การพัฒ นา และร่ว มมื อ กับ เครื อ ข่า ยภาคี ภ ายในประเทศ รวมทังสนั บ สนุ น พื น ที ในการ ดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและยังยืน 2. การพัฒนาเป็ นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการ เฝ้ าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพของชาติทีได้มาตรฐานสากลและเป็ นทียอมรับ 3. การสือสารสาธารณะและประชาสัม พันธ์อ ย่างทัวถึ งและได้ผล เพือป้องกัน ควบคุ ม โรคและ ภัยสุขภาพ 4. การเตรีย มความพร้อ ม และดําเนิ น การป้องกัน ควบคุ ม โรคและภัย สุ ขภาพในสถานการณ์ ฉุกเฉิน และภัยพิบตั ิ อย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพืนที และได้มาตรฐานสากล 5. การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้ าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของ ประเทศตามมาตรฐานสากล 6. การพัฒ นาคุ ณ ภาพระบบการบริ ห ารจัด การองค์ก รและบุ ค ลากรให้มี ขีด สมรรถนะสูง ได้ มาตรฐานสากล 1.3 โครงสร้างองค์กร สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก ได้ปรับปรุงโครงสร้างภายใน หน่วยงานตามคําสังที 868/2553 ลงวันที 27 กันยายน พ.ศ.2553 เรืองการปรับโครงสร้างสํานักงาน ป้องกันควบคุมโรคที 1-12 เป็ นการภายใน 8 กลุม่ ตังแต่วนั ที 1 ตุลาคม 2553 เป็ นต้นไป ประกอบด้วย 1. กลุม่ พัฒนาภาคีเครือข่าย 2. กลุม่ พัฒนาวิชาการ 3. กลุม่ สือสารความเสียงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 4. กลุม่ ระบาดวิทยาและข่าวกรอง 5. กลุม่ แผนงานและประเมินผล 6. กลุม่ พัฒนาองค์กร 7. กลุม่ ปฏิบตั ิการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข 8. กลุม่ บริหารทัวไป รายละเอียดปรากฏตามผังโครงสร้างองค์กรและสายการบังคับบัญชาในการกํากับดูแลตนเองทีดี ดังต่อไปนี

3


ผังโครงสร้างสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยพรเทพ ศิริวนารังสรรค ผูอํานวยการสํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก นพ.ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ

รองผูอํานวยการฯ

รองผูอํานวยการฯ

พญ.หรรษา รักษาคม

นายกิตติ พุฒิกานนท

กลุมสื่อสารและพัฒนา พฤติกรรมเสี่ยง นายเชิดเกียรติ แกลวกสิกจิ

กลุมพัฒนาองคกร นางสาวเยาวเรศ วิสูตรโยยิน

กลุมแผนงานและประเมินผล

นายวิรัช ประวันเตา

นางอัมพาพรรณ นวาวัตน

กลุมพัฒนาวิชาการ ดร.นิรมล พิมน้ําเย็น

กลุมปฏิบตั ิการควบคุมโรคและตอบโต ภาวะฉุกเฉินทางดานสาธารณสุข

นางพรสุข เกิดทอง

กลุมบริหารทั่วไป นางจารุวรรณ ศิริรตั นกุลชัย

นิคมบานกราง พิษณุโลก นายสมนึก ดอนหัวรอ

ดานควบคุมโรคติดตอระหวาง ประเทศ(แมสอด)

ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง 9.1พิษณุโลก

ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง 9.2 เพชรบูรณ

นายสวัสดิ์ จันทรคํา

กลุมระบาดวิทยา และขาวกรอง นางสาวพัชรา ศรีดรุ งคธรรม

กลุมพัฒนาภาคีเครือขาย

-

คณะกรรมการบริหาร สํานักงาน คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล

นายนที ประสิทธิ์เขตกิจ

นายไทยบุญยงค พวงพีอภิชยั

ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง 9.3 แมสอด

นายสัมฤทธิ์ บุญเพ็ง

คณะกรรมการดานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - คณะกรรมการพิจารณาการจัดซื้อจัดจาง คณะกรรมการการกํากับองคกรทีด่ ี คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบตั ิงาน คณะกรรมการพัฒนาการจัดการความรู คณะกรรมการดําเนินงานและติดตามประเมินผลจัดทําระบบควบคุมภายในและบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหารการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพ ISO9001:2008 คณะกรรมการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางดานสาธารณสุข คณะกรรมการพัฒนาพยากรณโรค/ภัยสุขภาพและการสื่อสารความเสี่ยง คณะกรรมการติดตามประเมินผลภาพรวมของหนวยงานและคณะทํางานติดตามประเมินผล

4


1.4 เขตพืนทีรับผิดชอบ พืนทีรับผิดชอบประกอบไปด้วย 5 จังหวัด คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดตาก จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก และจังหวัดเพชรบูรณ์

ภาพ 1 พืนทีรับผิดชอบเขตสาธารณสุขเขต 17 1.5 อัตรากําลังบุคลากร จากข้อ มูลงานบุค ลากร ณ เดือ นมี น าคม ปี พ.ศ.2555 สํานั ก งานป้องกันควบคุ ม โรคที 9 จัง หวัด พิษณุ โลก มี อัต รากําลัง จํานวนทังสิน 357 คน ประกอบด้ว ยข้าราชการ จํานวน 110 คน ลูกจ้างประจํา จํานวน 202 คน และพนักงานราชการ 45 คน ระดับการศึกษาเป็ นระดับปริญญาตรีขึน ไปเป็ นส่วนใหญ่ สายงานและหน้าทีแบ่งได้เป็ น 2 สายงานหลัก ประกอบด้วย 1. สายงานเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิ ค นักสังคม สงเคราะห์ นักเทคนิ คการแพทย์ นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ เจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าหน้าทีรังสีการแพทย์ 2. สายงานสนับสนุ น ประกอบด้วย นักจัดการทัวไป นักวิชาการการเงินและบัญชี เจ้าพนักงาน การเงินและบัญชี เจ้าพนักงานพัสดุ เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้างประจํา และลูกจ้างชัวคราว

5


ตารางที 1 แสดงลักษณะโดยรวมของข้าราชการในหน่วยงาน ระดับตําแหน่ง/จํานวน สายงาน/อายุ/ รวม % ชํานาญการ วุฒิการศึกษา ปฏิบตั ิการ ชํานาญการ เชียวชาญ (คน) พิเศษ ข้าราชการ 1. สายงานเชิงกลยุทธ์ อายุ อายุเฉลียโดยรวม 1. อายุตวั เฉลีย 32.5 47.2 47.1 53.4 44.8 ปี 2. อายุราชการ 7.9 21.2 25.3 30.3 19.6 ปี เฉลีย วุฒิการศึกษา 1. ตํากว่าตรี 2 22 0 0 24 25.5 % 2. ป.ตรี 10 14 2 0 26 27.7 % 3. ป.โท 4 28 8 1 41 43.6 % 4. ป.เอก 0 1 1 1 3 3.2 % 16 65 11 2 94 85.5 % รวม 2. สายงานสนับสนุน อายุ อายุเฉลียโดยรวม 1. อายุตวั เฉลีย 30.9 49.0 0 0 43.3 ปี 2. อายุราชการ 5.4 26.0 0 0 19.6 ปี เฉลีย วุฒิการศึกษา 1. ตํากว่าตรี 2 4 0 0 6 37.5 % 2. ป.ตรี 3 6 0 0 9 56.3 % 3. ป.โท 0 1 0 0 1 6.2 % 4. ป.เอก 0 0 0 0 0 0% 5 11 0 0 16 14.5 % รวม 21 76 11 2 110 100 % รวมข้าราชการ

6


ตารางที 2 แสดงลักษณะโดยรวมของลูกจ้างประจําและพนักงานราชการในหน่วยงาน

สายงาน/อายุ/วุฒิการศึกษา 1. ลูกจ้างประจํา อายุ 1. อายุตวั เฉลีย 2. อายุราชการเฉลีย วุฒิการศึกษา 1. ตํากว่าตรี 2. ป.ตรี 3. ป.โท 4. ป.เอก รวม 2. พนักงานราชการ รวมลูกจ้างฯ/พนักงานราชการ

ลูกจ้างประจําและพนักงานราชการ จํานวน(คน)

%

อายุเฉลียโดยรวม 48.5 ปี 23.1 ปี 186 16 0 0 202 45 247

รวมเจ้าหน้าทีทังหมด (ข้าราชการ/ลูกจ้างฯ/พนักงานฯ)

92.1 % 7.9 % 0% 0% 81.78 % 18.2 % 100 % 357 คน

7


ส่วนที 2 สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ และ ผลการดําเนินงานทีผ่านมา

8


ส่วนที 2 สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพและสถานการณ์การดําเนินงานประจําปี 2554 2.1 สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพในพืนที ปี 2554 จากข้อมูลรายงานในระบบเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา ในเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที 17 ปี 2554 พบโรคทีเป็ นปั ญหาสําคัญในพืนที สรุปได้ดงั นี 1. กลุ่มโรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและนํา โรคระบบทางเดิน อาหารและนํ า เป็ นกลุ่มโรคที มีก ารรายงานผูป้ ่ วยสูงที สุ ด โดยเฉพาะโรค อุจจาระร่วงและโรคอาหารเป็ นพิษ ซึงมักติดอยู่ใน 10 อันดับแรกของโรคทีต้องเฝ้ าระวังโดย รง.506 ทุกปี โรคอุจจาระร่วง ในช่วง 12 ปี (2543 - 2554) พบว่า อัตราป่ วยมีแนวโน้มเพิมขึน สําหรับในปี 2554 มีจํานวนผูป้ ่ วย 64,508 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 1880.17 ต่อประชากรแสนคน มีรายงาน ผูเ้ สียชีวิต 11 ราย อัตราป่ วยตายร้อยละ 0.02 พบมากทีสุดในกลุ่มเด็กอายุ 0 - 4 ปี อัตราป่ วย 9943.98 ต่อประชากรแสนคน จังหวัดทีมีอัตราป่ วยสูงสุด คือ จังหวัดตาก อัตราป่ วย 2935.49 ต่อ ประชากรแสนคน โรคอาหารเป็ นพิษ ในช่วง 12 ปี (2543 - 2554) พบว่า อัตราป่ วยมีแนวโน้มคงที ไม่ค่อยมี การเปลียนแปลงมากนัก มักพบการระบาดเป็ นกลุม่ ก้อน (outbreak) สําหรับในปี 2554 ได้รบั รายงาน การระบาดของโรคอาหารเป็ นพิ ษ จํานวน 10 เหตุ ก ารณ์ ส่ว นใหญ่เ กิ ด ในสถานศึ ก ษา สถาน ประกอบการ และงานเลียงต่างๆ สาเหตุการระบาด มักเกิดจากการปนเปื อนของเชือโรคในอาหาร นํา นมโรงเรียน และพืชพิษ เช่น เมล็ดสบู่ดาํ เป็ นต้น อหิวาตกโรค เป็ นอีกโรคหนึ งทีเป็ นปั ญหาในพืนทีมาตลอด พืนทีทีมีการระบาดของโรค คือ พืนที บริเวณชายแดน ไทย-พม่า ใน 5 อําเภอของจังหวัดตาก ทีมักจะเกิดการระบาดของโรคเกือบทุก ปี สําหรับในปี 2554 มีการระบาดใน 3 อําเภอ ของจังหวัดตาก คือ อําเภอแม่ระมาด อําเภอพบพระ และ อําเภอแม่สอด มีจํานวนผูป้ ่ วยรวม 6 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 0.17 ต่อประชากรแสนคน ผูป้ ่ วยส่วน ใหญ่เป็ นแรงงานต่างชาติ ทีอพยพมาอาศัยอยูใ่ นพืนทีบริเวณชายแดนไทย-พม่า สาเหตุการระบาด มัก เริมจากการติดเชือจากประเทศเพือนบ้าน แล้วนํามาแพร่ระบาดต่อในประเทศ เชืออหิวาตกโรคส่วน ใหญ่ทีพบเป็ นเชือ Vibrio cholerae El Tor Inaba และคาดว่าการระบาดของอหิวาตกโรคบริเวณชายแดน ไทย-พม่ า ของจังหวัด ตากจะยังคงมี อย่างต่ อเนื อง เนื องจากเป็ นพืนทีที สามารถเดินทางเข้าออกได้ โดยง่าย ยากต่อการควบคุม 2. กลุ่มโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) มีแนวโน้มสูงขึนตังแต่ปี 2552 ต่อเนื องจนถึงปี 2554 ทังนี เป็ น ผลสืบเนื องจากการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (Flu A H1N1) โดยพบการระบาดอยู่ 2 ช่ว ง คื อช่วงต้นปี (มกราคม-มีน าคม 2554) และช่ว งปลายฝนต้นหนาว (สิง หาคม - ธัน วาคม 2554) ในปี 2554 พบผูป้ ่ วยโรค Influenza จํานวนทังสิน 5,061 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 147.51 ต่อ ประชากรแสนคน มีรายงานผูเ้ สียชีวิต 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.03 อัตราป่ วย ตายเท่ากับร้อยละ 0.02 อัตราป่ วยสูงสุดอยูใ่ นกลุม่ เด็กกลุม่ อายุ 0-4 ปี รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5-9 ปี และ 10-14 ปี ตามลําดับ มี ลกั ษณะการระบาดเป็ นกลุ่ม ก้อ นในโรงเรียน โรงพยาบาล โรงงาน 9


เนื องจากเป็ นเชือสายพันธุใ์ หม่ คนส่วนใหญ่จึงยังไม่มีภมู ิตา้ นทานต่อโรค การระบาดของโรคจึงเป็ นไป อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเด็กทีมักจะมีการเล่นคลุกคลีกันใกล้ชิด รวมทังพฤติกรรมในการป้องกันโรค ทางเดินหายใจของประชาชนทีไม่ค่อยปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัด โรคปอดบวม (Pneumonia) ในช่ว ง 10 ปี ทีผ่านมามีแนวโน้มสูง ขึน โดยเฉพาะในปี 2552 2554 ซึ งสอดคล้อ งกับ สถานการณ์ก ารระบาดของโรคไข้หวัด ใหญ่สายพัน ธุ์ใหม่ ในปี 2554 มี รายงานผูป้ ่ วยจํานวนทังสิน 11,628 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 338.91 ต่อประชากรแสนคน มีรายงาน ผูเ้ สียชีวิต 19 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.55 อัตราป่ วยตายเท่ากับร้อยละ 0.16 และพบผูป้ ่ วยสูงสุดในกลุ่มอายุ 0-4 ปี รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 65 ปี ขึนไป, 55 - 64 ปี ตามลําดับ ลักษณะการเกิดโรคเป็ นช่วงฤดูกาลเหมือนกับไข้หวัดใหญ่ โรควัณโรค (Tuberculosis) ตังแต่ปี 2543 - 2554 ในช่วง 12 ปี ทีผ่านมา มีแนวโน้มของโรค สูงขึน และมีความรุนแรงเพิมขึน ในปี 2554 ได้รบั รายงานผูป้ ่ วยจํานวนทังสิน 1,693 ราย คิดเป็ น อัตราป่ วย 49.34 ต่ อประชากรแสนคน มีรายงานผูเ้ สีย ชีวิต 8 ราย อัต ราตายต่อ ประชากรแสนคน เท่ากับ 0.23 อัตราป่ วยตายเท่ากับร้อยละ 0.47 จังหวัดทีมีอัตราป่ วยต่อ ประชากรแสนคนสูงสุดคื อ จังหวัดอุตรดิตถ์ อัตราป่ วยเท่ากับ 64.61ต่อ ประชากรแสนคน รองลงมาคือสุ โขทัย ตาก เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก อัตราป่ วยเท่ากับ 59.77, 59.31, 42.69, 35.27 ต่อประชากรแสนคน ตามลําดับ ในช่วงปี 2550 ถึงปี 2554 จังหวัดทีมีแนวโน้มของโรคเพิมขึนอย่างชัดเจนคือ จังหวัดตาก และ จังหวัดสุโขทัย ส่วนเพชรบูรณ์ พิษณุโลก และสุโขทัย มีแนวโน้มลดลงเมือเทียบกับปี 2553 กลุ่มอายุที พบมากทีสุดคือ อายุ 65 ปี ขึนไป และพบมากทีสุดในอาชีพรับจ้าง 3. กลุ่มโรคติดต่อทีป้องกันได้ดว้ ยวัคซีน โรคในกลุม่ ทีป้องกันได้ดว้ ยวัคซีน มีแนวโน้มลดลงทุกโรค เนื องจากความครอบคลุมของวัคซีน ทีเพิมขึน แต่มีบางโรคทีมีการระบาดเป็ นกลุม่ ก้อนในบางปี เช่น หัด คางทูม เป็ นต้น โรคคางทูม พบรายงานผูป้ ่ วยจํานวน 697 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 20.32 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผเู้ สียชีวิต จังหวัดทีมีอตั ราป่ วยสูงสุดได้แก่ จังหวัดอุตรดิตถ์ อัตราป่ วย 39.54 ต่อประชากรแสนคน เนื องจากมี ก ารระบาดในโรงเรี ย น ซึ งนั ก เรี ย นมี ก ารใช้ห อ้ งนํ า และดื มนํ าร่ว มกัน ทํา ให้เกิ ด การ แพร่ก ระจายเชือ ได้ง่ ายและรวดเร็ว รองลงมาได้แก่ จัง หวัด ตาก เพชรบูรณ์ พิษณุ โลก และสุ โขทัย ตามลําดับ แนวโน้มของโรคในช่วง 12 ปี (2543 - 2554) พบว่ามีการระบาด 3 ปี เว้น 3 ปี โรคหัด มีรายงานผูป้ ่ วยโรคหัด จํานวน 131 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 3.82ต่อประชากรแสนคน ไม่ มี ผูเ้ สีย ชีวิ ต จัง หวัด ที มี อัต ราป่ วยสูง สุ ด ได้แก่ จัง หวัด ตาก อัต ราป่ วย 6.51ต่อ ประชากรแสนคน รองลงมาได้แ ก่ จัง หวัด อุ ต รดิ ต ถ์ พิษณุ โลก สุ โขทัย และเพชรบูรณ์ แนวโน้ม ของโรคในช่ว ง 12 ปี (2543 - 2554) พบว่า อัตราป่ วยคงที แต่จะมีการระบาดในบางจังหวัดเท่านัน โดยส่วนใหญ่จะพบใน พืน ที ทีมี บุคคลต่างด้าวอาศัยอยู่ หรือพบในสถานทีที มี บุค คลจากหลายพืนที มารวมกัน เป็ นหมู่ม าก เนื องจากการขาดการรับวัค ซีน ในช่วงวัย เด็ ก ทําให้ขาดภูมิคุ ม้ กัน โรคและติด ต่อ กัน ได้โดยง่ าย ทังนี ประเทศไทยได้เข้าร่วมทําข้อ ตกลงเข้าร่ว มโครงการกําจัด โรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ โดยมี เป้าหมายการกวาดล้างโรคหัดให้หมดไปภายในปี 2563

10


โรคโปลิ โอ เป็ นโรคที อยู่ในเป้าหมายการกวาดล้างให้หมดไปจากโลกตังแต่ ปี 2535 จนถึ ง ปั จจุบนั และยังไม่บรรลุตามเป้าหมาย แม้ประเทศไทยจะไม่พบผูป้ ่ วยมาเป็ นเวลานาน แต่ยงั คงมี 4 ประเทศทีมีปัญหาค่อนข้างมาก เพราะเป็ นแหล่งในการแพร่เชือไปยังประเทศต่ างๆ ได้แก่ ประเทศ อินเดี ย ไนจีเรีย อัฟกานิ สถาน และปากีสถาน ประเทศไทยเป็ นประเทศทีมีพืน ทีเขตติดต่ อชายแดน มีการเข้าออกของชาวต่างชาติในหลายช่องทาง ซึงมีความเสียงต่อการนําโรคเข้ามาแพร่ระบาดได้ง่าย ดังนัน ประเทศไทยจึงยังคงต้องมีการเฝ้ าระวังผูป้ ่ วย AFP อย่างเข้มแข็งและต่อเนื องต่อไป 4. กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทุกโรค (ยกเว้นโรคเอดส์) มีแนวโน้มสูงขึนเรือยๆ ตังแต่ ปี 2551 เป็ นต้นมา ใน ปี 2554 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 3 ปี พบว่าเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม และ เดือ นกรกฎาคมถึ งธัน วาคม มีผูป้ ่ วยสูงกว่าค่ ามัธยฐาน จังหวัด ทีมีอัตราป่ วยสูงสุ ด คื อ จังหวัด พิษณุ โลก รองลงมา คื อ จัง หวัด เพชรบูรณ์ ตาก สุ โขทัย และอุ ต รดิ ต ถ์ (อัต ราป่ วยเท่ากับ 29.51, 15.21, 12.47, 2.91 และ 1.78 ตามลําดับ) อัต ราป่ วยสูงสุ ดในกลุ่ม เด็ กวัย รุ่น คือ 15 - 24 ปี รองลงมาคือ กลุม่ อายุ 25 – 34 ปี โรคเอดส์ สถานการณ์โรคเอดส์ มีแนวโน้มลดลง ตังแต่ปี 2548 โดยในปี 2554 พบอัตราป่ วย สูงสุดในจังหวัดเพชรบูรณ์ รองลงมาได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก และสุโขทัย (อัตราป่ วยเท่ากับ 5.92,4.75 และ 3.14 ตามลําดับ) ส่วนการรายงานผูป้ ่ วยเสียชีวิตสูงสุด คือจังหวัดสุโขทัย (2ราย) สถานการณ์โรค เอดส์ทีลดลง อาจเกิดเนื องจาก การรายงานผูป้ ่ วยยังไม่ครบถ้วนทําให้ไม่สามารถสะท้อนปั ญหาทีแท้จริง ของพืนทีได้ การเฝ้ าระวังการติดเชือเอชไอวี รอบที 29 ในกลุม่ ชายทีมาตรวจกามโรค พบการติดเชือสูงสุด จังหวัดพิษณุโลก ร้อยละ 0.99 กลุม่ พนักงานบริการหญิงตรงอัตราการติดเชือสูงสุดจังหวัดสุโขทัย ร้อย ละ 8.89 พนักงานบริการหญิงแฝงอัตราการติดเชือสูง สุดจังหวัดพิษณุ โลก ร้อยละ 2.04 กลุ่มโลหิต บริจาคพบอัตราติดเชือสูงสุดจังหวัดอุตรดิตถ์ ร้อยละ 0.15 และกลุ่มหญิงทีมาฝากครรภ์ ติดเชือสูงสุด จังหวัดสุโขทัย ร้อยละ 1.02 โรคเรือน เป็ นโรคทีไม่เป็ นปั ญหาสาธารณสุข โดยมีอตั ราป่ วยน้อยกว่า 1 ต่อประชากรแสนคน ซึงมีแนวโน้มลดลง ในปี 2554 อัตราป่ วย 0.38 ต่อประชากรแสนคน จังหวัดทีมีอัตราป่ วยสูงสุดคื อ จังหวัด อุตรดิต ถ์ รองลงมาคือ จังหวัดตาก เพชรบูรณ์ และพิษณุ โลก อัต ราป่ วยต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.65, 0.57, 0.50 และ 0.24 ตามลําดับ ถึงแม้โรคเรือนไม่เป็ นปั ญหาด้านสาธารณสุข แต่ยงั ต้องดําเนิ นการค้นหาผูป้ ่ วยใหม่และให้การรักษาโดยเร็ว เพราะผูป้ ่ วยเป็ นสาเหตุทาํ ให้เกิดความพิการได้ 5. กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์กับคน โรคสเตร็ปโตคอคคัส ซูอิส (Streptococcus suis) เริมมีรายงานการระบาดเป็ นกลุ่ม ก้อนในพืน ที จังหวัดอุตรดิตถ์ และจังหวัดสุโขทัย ตังแต่ปี 2550 หลังจากนันแนวโน้มการระบาดของโรคเริมมีความ รุนแรงมากขึน โดยในปี 2552 พบผูป้ ่ วยเสียชีวิ ตจากโรคสเตร็ปโตคอคคัส ซูอิส ทีจังหวัดอุตรดิต ถ์ และเพชรบูรณ์ รวม 8 ราย ในปี 2554 พบผูป้ ่ วยโรคสเตร็ปโตคอคคัส ซูอิส จํานวนทังสิน 38 ราย เสียชีวิต 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.03 อัตราป่ วยตายเท่ากับร้อยละ 2.63 โดย พบเพศชาย 29 ราย เพศหญิง 9 ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 3.22 : 1 กลุ่มอายุที 11


พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 65 ปี ขึนไปรองลงมาคือ กลุ่มอายุ 45 - 54 ปี , 55 - 64 ปี , 35 - 44 ตามลําดับ จังหวัดทีมีอตั ราป่ วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือ จังหวัดอุตรดิตถ์ ตากเพชรบูรณ์ สุโขทัย พิษณุ โลกตามลําดับ และในปี 2554 นี พบผูป้ ่ วย 3 ราย ทีหมู่ 10 ตําบลหนองจิก อําเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จากการลงพืนทีสอบสวนโรคพบว่า สาเหตุการระบาดของโรคนี เกิดจากพฤติกรรมการ รับประทานอาหาร ประเภททีมีสว่ นประกอบของเนื อหมู เครืองในหมู เลือดหมูทีไม่ได้ปรุงให้สุก โรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) พบว่ามีแนวโน้มของโรคลดลงในช่วง 10 ปี ในปี 2554 พบผูป้ ่ วยโรคเลปโตสไปโรซิส จํานวนทังสิน 137 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 3.99 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 7 ราย อัต ราตายต่อ ประชากรแสนคน เท่ากับ 0.20 อัตราผูป้ ่ วยตายเท่ากับร้อยละ 5.11 จังหวัดทีมีรายงานสูงทีสุดคือจังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตามลําดับ ช่วงทีมีการ ระบาดคือช่วงปลายฤดูฝนถึงต้นฤดูหนาว ซึงเป็ นช่วงทีมีการทํานากันมาก ผูป้ ่ วยส่วนมากอยู่ในกลุ่มวัย แรงงาน อายุระหว่าง 35-54 ปี 6. กลุ่มโรคติดต่อทีนําโดยแมลง โรคไข้เลือดออก เป็ นโรคทีมีลกั ษณะการระบาดไม่แน่ นอน แต่จะมีการระบาดต่อเนื องกันทุกปี โดยในปี 2544 มีอตั ราผูป้ ่ วยสูงขึน หลังจากนันการระบาดมีแนวโน้มลดลง และคงทีในช่วงปี 2546 2550 ส่วนปี 2551 - 2554 ลักษณะการระบาดเป็ นปี เว้นปี ซึงปี 2554 อัตราป่ วยเท่ากับ 125.97 ต่อแสนประชากร มีผเู้ สียชีวิต 6 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วยตายร้อยละ 0.14 พบมากในกลุม่ อายุ 10 - 14 ปี จังหวัดทีมีการระบาดหนักได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก รองลงมาคือจังหวัดสุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ และ อุตรดิตถ์ ตามลําดับ โรคมาลาเรีย เป็ นโรคทีเป็ นปั ญหาเฉพาะพืนทีบริเวณ 5 อําเภอชายแดนไทย-พม่า จังหวัดตาก แนวโน้มของการเกิดไม่แน่นอน มีระบาดหนักเป็ นบางปี เช่น ปี 2551 แล้วลดลงเรือยๆ แต่ยงั คงสูงกว่า ช่วง 5 ปี ก่อนระบาดหนัก ในปี 2554 แม้การระบาดมีแนวโน้มลดลง แต่ยงั คงพบผูป้ ่ วยจํานวน 5,493 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 160.10 ต่อแสนประชากร ไม่มีผเู้ สียชีวิต โดยพบมากทีสุดในจังหวัดตาก ช่วงฤดู ฝนถึงฤดูหนาว พบผูป้ ่ วยส่วนใหญ่ในกลุม่ อายุตากว่ ํ า 15 ปี โรคสครับไทฟั ส เป็ นโรคทีมีแนวโน้มสูงขึนตังแต่ปี 2551 - 2553 และเริมลดลงในปี 2554 โดยมีรายงานผูป้ ่ วยโรคสครัปไทฟั ส จํานวน 949 ราย คิดเป็ นอัตราป่ วย 27.66 ต่อประชากรแสนคน มีผเู้ สีย ชีวิต 1 ราย อัตราป่ วยตายร้อยละ 0.11 จังหวัดทีมีรายงานสูงสุดคือ จังหวัด ตาก อัตราป่ วย 88.20 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือจังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุโขทัยและเพชรบูรณ์ ในจังหวัดตาก พบการระบาดในอําเภอท่าสองยาง, พบพระ และอุม้ ผาง จังหวัดพิษณุโลก พบการระบาดในอําเภอชาติ ตระการ นครไทย บางระกํา บางกระทุ่ม ส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ พบการระบาดทีอําเภอนําปาด ฟาก ท่า และบ้านโคก ช่วงเวลาทีมีการระบาดคือ ช่วงปลายฤดูฝน 7. กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิงแวดล้อม โรคพิษจากสารกําจัดศัตรูพืช มากกว่า 10 ปี ทีผ่านมา มีอตั ราป่ วยสูงกว่าระดับของประเทศ มา โดยตลอด แต่มีแนวโน้มลดลงจากปี 2546 เป็ นต้นมา และเริมคงที ตังแต่ปี 2547 ถึงปั จจุบัน ซึงมี อัตราป่ วยอยูร่ ะหว่าง 3 - 7 ต่อประชากรแสนคน โดยปี 2554 มีอัตราป่ วย 5.4 ต่อประชากรแสนคน ตํากว่าปี ทีผ่านมาเล็กน้อย จังหวัดมีอตั ราป่ วยสูงสุด คือ จังหวัดตาก อัตราป่ วย 7.30 ต่อประชากรแสน 12


คน รองลงมาเป็ นจังหวัดสุโขทัย พิษณุ โลก เพชรบูรณ์ และอุตรดิ ตถ์ โดยมีอัตราป่ วย 7.00, 5.30, 5.00 และ 2.20 ต่อประชากรแสนคน ตามลําดับ ซึงในระดับอําเภอทีมีอัตราป่ วยสูง 10 อันดับแรก ได้แก่ นําหนาว ชาติตระการ วังโป่ ง ศรีสาํ โรง ชนแดน พรหมพิราม วังทอง พบพระ อุม้ ผาง และบ้าน ตาก พบผูป้ ่ วยสูง ในช่ว งเดื อนพฤษภาคมถึ งกรกฎาคม ผูป้ ่ วยที พบส่วนใหญ่เป็ นวัยทํางาน ช่วงอายุ ระหว่าง 30 - 50 ปี เป็ นเพศชายมากกว่าเพศหญิงเกือบ 2 เท่า และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร และ รับจ้าง ซึงในการทํางานมีโอกาสสัมผัสสารเคมีกาํ จัดศัตรูพืชเป็ นประจํา โรคปอดจากการประกอบอาชีพ ตังแต่ปี 2545 เป็ นต้นมาพบผูป้ ่ วยแต่ละปี ไม่เกิน 10 ราย โดยมีอตั ราป่ วยเท่ากับ 0.10 – 0.40 ต่อประชากรแสนคน และมีแนวโน้มสูงขึนในปี 2552 – 2554 ในปี 2554 พบผูป้ ่ วย 40 ราย มีอตั ราป่ วย 1.20 ต่อประชากรแสนคน พบผูป้ ่ วยใน 4 จังหวัด 8 อําเภอ เรียงตามอัตราป่ วยสูงสุดดังนี อําเภอเมืองเพชรบูรณ์ อัตราป่ วยเท่ากับ 11.40 ต่อ ประชากรแสนคน รองลงมาคือ เมืองอุตรดิตถ์ ตรอน วังทอง บ้านตาก ลับแล เมืองตาก และเมืองพิษณุ โลก อัตราป่ วย 5.30, 2.90, 2.50, 2.20, 1.80, 1.00 และ 0.40 ต่อประชากรแสนคน ตามลําดับ พบผูป้ ่ วยสูงใน เดือนมิถุนายน ถึงกันยายน พบผูป้ ่ วย เพศชายมากกว่าเพศหญิงประมาณ 2.1 เท่า และส่วนใหญ่ผปู้ ่ วย อายุ 40 ปี ขึนไป เนื องจากโรคนี เป็ นโรคเรือรัง ใช้เวลาในการสัมผัสเป็ นเวลานานจึงจะแสดงอาการ ซึง ต้องใช้แพทย์ผเู้ ชียวชาญ และใช้เวลาในการวินิจฉัย กลุม่ โรคด้านสิงแวดล้อมทีพบว่าเป็ นปั ญหาในเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที 17 คือ โรคพิษจากงูกัด พบว่า ตังแต่ปี 2545 - 2554 อัตราป่ วยอยู่ระหว่าง 8 .00- 13.00 ต่ อ ประชากรแสนคน และมีแนวโน้มเพิมขึนเล็กน้อย แต่ยงั ตํากว่าอัตราป่ วยของประเทศทุกปี ยกเว้น ปี 2553 ทีมีอตั ราป่ วยสูงกว่าของประเทศ ในปี 2554 อัตราป่ วยเท่ากับ 9.97 ต่อประชากรแสนคน ซึงตํา กว่าปี ทีผ่านมา จังหวัดทีมีอตั ราป่ วยสูงสุด คือ จังหวัดพิษณุโลก อัตราป่ วยเท่ากับ 13.20 ต่อประชากร แสนคน รองลงมาเป็ นจังหวัดอุตรดิตถ์ ตาก เพชรบูรณ์ และสุโขทัย โดยมีอัตราป่ วยเท่ากับ 11.20, 9.20, 8.40 และ 7.60 ต่อประชากรแสนคน ตามลําดับ อําเภอทีมีอัตราป่ วยสูง 10 อันดับแรก ได้แก่ อําเภอสามเงา บ้านโคก ชาติตระการ วังทอง เมืองเพชรบูรณ์ ท่าปลา พรหมพิราม คีรีมาศ อุม้ ผาง และท่าสองยาง พบผูป้ ่ วยสูงในเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ซึงเป็ นช่วงฤดูฝนและทําเกษตรกรรม อาชีพผูป้ ่ วยทีพบมากคือ อาชีพเกษตรกรรม และรับจ้าง ผูป้ ่ วยส่วนใหญ่เป็ นวัยทํางานช่วงอายุ 35 60 ปี พบผูป้ ่ วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง 1.5 เท่า

13


ตารางที 3 จํานวนป่ วย อัตราป่ วย จํานวนตาย อัตราตาย และอัตราป่ วยตายด้วยโรคทีเฝ้ าระวัง ทางระบาดวิทยาในเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที 17 ปี 2554 จํานวน อัตรา จํานวน อัตราตาย อัตราป่ วย รหัส ชือโรค ป่ วย ป่ วย(ต่อ ตาย (ต่อ ตาย โรค (ราย) แสน) (ราย) แสน) (ต่อแสน) 02 Diarrhea 64508 1880.17 11 0.32 0.02 18 Pyrexia 16899 492.54 0 0.00 0.00 31 Pneumonia 11628 338.91 19 0.55 0.16 14 H.conjunctivitis 8200 239.00 0 0.00 0.00 03 Food Poisoning 6644 193.65 0 0.00 0.00 30 Malaria 5493 160.10 0 0.00 0.00 15 Influenza 5061 147.51 1 0.03 0.02 17 Chickenpox 4454 129.82 0 0.00 0.00 26 D.H.F,Total(26,27,66) 4319 125.88 6 0.17 0.14 26 D.H.F. 2454 71.53 3 0.09 0.12 37 S.T.D.,total(37-41,79-81) 2111 61.53 0 0.00 0.00 66 Dengue fever 1818 52.99 0 0.00 0.00 32 Pulmonary T.B. 1693 49.34 8 0.23 0.47 32 Tuberculosis,total(32-34) 1692 49.32 8 0.23 0.47 77 Herpes zoster 1544 45.00 0 0.00 0.00 10 Hepatitis,total (10-13,69-70) 1072 31.24 0 0.00 0.00 71 Hand,foot and mouth disease 1020 29.73 0 0.00 0.00 04 Dysentery (04,05,06) 982 28.62 0 0.00 0.00 44 Scrub Typhus 949 27.66 1 0.03 0.11 81 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อืน ๆ 929 27.08 0 0.00 0.00 52 Mumps 697 20.32 0 0.00 0.00 38 Gonorrhea 592 17.25 0 0.00 0.00 12 Hepatitis B 542 15.80 0 0.00 0.00 60 Suicide 438 12.77 19 0.55 4.34 05 Dysentery, Bacillary 417 12.15 0 0.00 0.00 04 Uns.dysentery 416 12.12 0 0.00 0.00 56 Snake bite 342 9.97 0 0.00 0.00 13 Hepatitis C 232 6.76 0 0.00 0.00

14


ตารางที 3 จํานวนป่ วย อัตราป่ วย จํานวนตาย อัตราตาย และอัตราป่ วยตายด้วยโรคทีเฝ้ าระวัง ทางระบาดวิทยาในเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที 17 ปี 2554 (ต่อ) อัตรา จํานวน อัตรา จํานวน ตาย อัตราป่ วย รหัส ป่ วย ป่ วย(ต่อ ตาย (ต่อ ตาย ชือโรค โรค (ราย) แสน) (ราย) แสน) (ต่อแสน) 34 T.B. other organs 229 6.67 0 0.00 0.00 47 Occupational diseases 197 5.74 0 0.00 0.00 07 Enteric fever(07,08,09) 186 5.42 0 0.00 0.00 47 Pesticide poisoning 185 5.39 0 0.00 0.00 10 Hepatitis uns. 173 5.04 0 0.00 0.00 54 Meningitis,uns. 163 4.75 0 0.00 0.00 80 หูดอวัยวะเพศและทวารหนัก 161 4.69 0 0.00 0.00 79 เริมทีอวัยวะเพศ 150 4.37 0 0.00 0.00 06 Dysentery,Amoebic 149 4.34 0 0.00 0.00 21 Measles,total (21-22) 145 4.23 0 0.00 0.00 43 Leptospirosis 137 3.99 7 0.20 5.11 37 Syphilis 134 3.91 0 0.00 0.00 21 Measles 131 3.82 0 0.00 0.00 08 Typhoid 103 3.00 0 0.00 0.00 39 N.S.U. 103 3.00 0 0.00 0.00 57 Drug poisoning 102 2.97 0 0.00 0.00 72 Melioidosis 89 2.59 0 0.00 0.00 11 Hepatitis A 83 2.42 0 0.00 0.00 58 Mushroom poisoning 81 2.36 0 0.00 0.00 74 Scarlet fever 70 2.04 0 0.00 0.00 33 T.B.meningitis 56 1.63 1 0.03 1.79 09 Paratyphoid 47 1.37 0 0.00 0.00 27 D.H.F.shock syndrome 47 1.37 3 0.09 6.38 69 Hepatitis D 42 1.22 0 0.00 0.00 64 Pneumoconiosis 40 1.17 0 0.00 0.00 82 Streptococcus suis 38 1.11 1 0.03 2.63 07 Enteric fever 36 1.05 0 0.00 0.00 40 Chancroid 35 1.02 0 0.00 0.00 78 AEFI 26 0.76 0 0.00 0.00 15


ตารางที 3 จํานวนป่ วย อัตราป่ วย จํานวนตาย อัตราตาย และอัตราป่ วยตายด้วยโรคทีเฝ้ าระวัง ทางระบาดวิทยาในเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที 17 ปี 2554 (ต่อ) อัตรา จํานวน อัตรา จํานวน ตาย อัตราป่ วย รหัส ป่ วย ป่ วย(ต่อ ตาย (ต่อ ตาย ชือโรค โรค (ราย) แสน) (ราย) แสน) (ต่อแสน) 28 Encephalitis,total(28,29) 19 0.55 0 0.00 0.00 65 Acute Flaccid Paralysis 19 0.55 0 0.00 0.00 59 Tropical ulcer 18 0.52 0 0.00 0.00 16 Rubella 18 0.52 0 0.00 0.00 22 Measles c Complication 14 0.41 0 0.00 0.00 28 Encephalitis uns. 13 0.38 0 0.00 0.00 35 Leprosy 13 0.38 0 0.00 0.00 25 Tetanus inc.Neo.(25,53) 8 0.23 1 0.03 12.50 25 Tetanus exc.Neo. 8 0.23 1 0.03 12.50 41 L.G.V. 7 0.20 0 0.00 0.00 75 Liver fluke 6 0.17 0 0.00 0.00 29 Japanese B encephalitis 6 0.17 0 0.00 0.00 01 Cholera 6 0.17 0 0.00 0.00 73 Cassava poisoning 5 0.15 0 0.00 0.00 67 Physical Hazard 5 0.15 0 0.00 0.00 50 Petroleum poisoning 5 0.15 0 0.00 0.00 48 Lead poisoning 4 0.12 0 0.00 0.00 55 Eosinophilic Meningitis 3 0.09 0 0.00 0.00 61 Amoebiasis other organ 3 0.09 0 0.00 0.00 19 Meningococcal Meningitis 2 0.06 0 0.00 0.00 51 Gas vapor poisoning 2 0.06 0 0.00 0.00 63 Capillariasis 2 0.06 0 0.00 0.00 24 Pertussis 1 0.03 0 0.00 0.00 76 Filariasis 1 0.03 0 0.00 0.00 84 Chikungunya fever 1 0.03 0 0.00 0.00 49 Mn,Hg,As poisoning 1 0.03 0 0.00 0.00 หมายเหตุ : ประชากรเท่ากับ 3,430,959 ราย

16


2.2 ผลการดําเนินงานของหน่วยงานในปี ทีผ่านมา การดําเนิ นงานของสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก ในปี งบประมาณ 2554 นัน มุ่งเน้นการดําเนิ นงานโดยสนับสนุ นให้จงั หวัดมีการดําเนิ นงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพให้ ได้ต ามมาตรฐาน โดยมี เป้าหมายให้ประชาชนมี พฤติ ก รรมสุ ขภาพที ถูก ต้อ ง สามารถลดภาระโรค ภัยคุกคามและความรุนแรงด้านสุขภาพได้ โดยได้ดาํ เนิ นงานโดยใช้ยุทธศาสตร์ในการขับเคลือน ดังนี ยุทธศาสตร์ที 1 การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในประเทศและนานาชาติ รวมทังสนับสนุนพืนทีในการดําเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมี ประสิทธิภาพและยังยืน ผลการดําเนิ นงาน : ดําเนิ นการสนับสนุ นจังหวัดอําเภอให้มีระบบบริหารจัดการและสนับสนุ น ตามมาตรฐานการพัฒนา “อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืน” โดยมีกระบวนการชีแจงถึงเกณฑ์การ ประเมิน พัฒนาเครือข่ายโดยการจัดประชุมเพือสร้างความเข้าใจ สร้างทีมวิทยากร และเป็ นทีปรึกษา ให้กับระดับจังหวัด ดําเนิ นการติ ดตามให้คําปรึก ษา ร่ว มวิเคราะห์และวางแผนเพือการพัฒนาอย่าง ต่ อ เนื อง รวมทังสนั บสนุ น คู่มื อ และจัด เวที แลกเปลียนเรีย นรู ้ และสรุ ปผลการดําเนิ น งาน ผลการ ประกวดจัง หวัดโดดเด่ นตามคุณลัก ษณะ คือ จังหวัดสุโขทัย และ อําเภอโดดเด่น คื อ อําเภอนํ าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ข้อเสนอแนะ : หลักเกณฑ์การประเมินควรมีกําหนดให้ชดั เจนตังแต่เริมดําเนิ นโครงการ และ คณะกรรมการประเมินควรมีตัวแทนจากทุกจังหวัด ร่วมเป็ นกรรมการกลางในการประเมินระดับเขต สําหรับเครือข่ายควรศึกษาทําความเข้าใจเกณฑ์ และเสริมสร้างกระบวนการประชาสัมพันธ์ให้มีการรับรู ้ และมีการบูรณาการกิจกรรมเข้ากับเกณฑ์ทีกําหนด ยุทธศาสตร์ที 2 การพัฒนาเป็ นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพของชาติทีได้มาตรฐานสากล และเป็ นทียอมรับ ผลการดําเนิ นงาน : มีการสํารวจผลิตภัณฑ์ภายในหน่ วยงานทีมีการผลิตตังแต่ปีงบประมาณ 2551-2554 โดยมีผลิตภัณฑ์ทงหมด ั 40 ผลิตภัณฑ์ หน่วยงานนํามาคัดกรองผลิตภัณฑ์ทีได้มาตรฐาน จํานวน 10 ผลิตภัณฑ์ และประสานเจ้าของโครงการเพือพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยปี 2554 ดําเนิ นการแล้ว เสร็จ 3 เรือง และประเมินความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ทงั 3 เรือง มีความพอใจร้อยละ 100 ข้อเสนอแนะ : สํานักจัดการความรูค้ วรสร้างความเข้าใจในการดําเนิ นงานตามตัวชีวดั ยุทธศาสตร์ที 3 การสือสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทัวถึงและได้ผล เพือ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ผลการดําเนิ น งาน : ดําเนิ น การจัด ตังคณะกรรมการสือสารสาธารณะของหน่ ว ยงานเพือ ดําเนิ นการทบทวน วิเคราะห์ กําหนดรูปแบบและแนวทางการสือสารสาธารณะเกียวกับโรคและภัย สุขภาพทีสําคัญของหน่วยงาน จัดทําแผนทีทางเดินยุทธศาสตร์ของหน่ วยงาน จัดทําบทความวิชาการ ข่าวและสือประชาสัม พัน ธ์รูปแบบต่างๆ ผ่านตามช่อ งทางที เหมาะสม ทังนี ได้จัด กิ จกรรมเพือสร้าง ภาพลัก ษณ์ขององค์กรระหว่างสือมวลชนและเจ้าหน้าที สาธารณสุ ข และจัด ทําทําเนี ย บสือมวลชน 17


ในส่ว นของประชาชนได้มี ก ารประเมิ น การรับรูข้ ่าวสารของประชาชนร้อ ยละ 100 โดยประชาชน มีความรูเ้ รืองโรคและภัยสุขภาพทีสําคัญร้อยละ 93.4 และได้กระจายข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ ผ่านทาง Social Network และมี ระบบรับสมัค รสมาชิก ข่าวทางอิ เลคทรอนิ ค ส์ ซึ งมี สมาชิกเพิมขึน มากกว่า 300 ราย ข้อเสนอแนะ : ควรประเมินการรับรูข้ องประชาชน ตามปฏิทินการรณรงค์ของกรมควบคุมโรค ยุทธศาสตร์ที 4 การเตรียมความพร้อม และดําเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบตั ิ อย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพืนที และได้ มาตรฐานสากล ผลการดําเนิ นงาน : ดําเนิ นการวิเคราะห์ความเสียงของโรคและภัยสุขภาพ โดยเลือกภัยจากนํา ท่วม มาจัดทําแผนตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินทางสาธารณสุข และได้นําโปรแกรม GIS มาใช้วิเคราะห์พืนที เสียง และได้มอบให้ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนําโดยแมลงและหน่ วยควบคุมโรคติดต่อนําโดยแมลงร่วม ดําเนิ นการควบคุมพาหะนําโรคในพืนที รวมทังสนับสนุ นวัสดุ เวชภัณฑ์ ข้อเสนอแนะ: ควรพัฒนาระบบสนับสนุ นการตัดสินใจเตรีย มพร้อมตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินทาง สาธารณสุขอย่างต่อเนื องและชัดเจน เพือให้หน่ วยงานเครือข่ายมีขอ้ มูลประกอบการพิจารณาต่อการ ตัดสินใจ และควรพัฒนาระบบสนับสนุ นการปฏิบตั ิงานของคณะทํางานฯ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ทัง เรืองงบประมาณ บุคลากรและยานพาหนะ ยุทธศาสตร์ที 5 การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล การพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ ผลการดําเนิ นงาน : ดําเนิ นการทบทวนตรวจสอบ และรายงานความพร้อมของทรัพยากร สําหรับการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย โปรแกรม 506, NCD, AIDS, Epi Info, GIS และองค์ความรูด้ า้ น ระบาดวิทยา เช่น ตํารา หนังสือวิชาการ ทบทวนการจัดทําฐานข้อมูลการเกิดโรคและภัยสุขภาพเพือใช้ เป็ นข้อมูลประเมินการจัดทํารายงานพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ข้อเสนอแนะ: สํานักระบาดวิทยา ควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทํารายงานพยากรณ์โรค และ เป็ นพีเลียงให้คณะทํางานฯ ของ สคร.9 พิษณุโลก และให้ขอ้ เสนอแนะอย่างต่อเนื อง การติดตามประเมินผล ผลการดํา เนิ นงาน : กลุ่ ม แผนงานและประเมิ น ผลได้ดํ า เนิ นการประเมิ น ตนเองตาม องค์ประกอบเกณฑ์ของการมีกลไกการติดตามและประเมินผลทีมีประสิทธิภาพ โดยประเมินตามเกณฑ์ องค์ป ระกอบหลัก 3 ด้าน คื อ ด้า นโครงสร้า ง ด้า นกระบวนการ และด้า นผลสํา เร็จ การติ ด ตาม ประเมินผลงาน ผลการประเมินพบว่าหน่ วยงานยังไม่มีการดําเนิ นครบตามองค์ประกอบ จึงได้จัดทํา องค์ประกอบทัง 3 ด้านให้ครบตามเกณฑ์ สําหรับการรายงานการประเมินผลโรคและภัยสุขภาพสําคัญตามมาตรฐานทีได้รบั การยอมรับ ได้ดาํ เนิ นการประเมินผลโครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันควบคุมโรคระดับอําเภอให้เข้มแข็งแบบ ยังยืน 18


ข้อเสนอแนะ : สํานักงานฯ ควรจัดฝึ กอบรมทักษะการประเมินผลงานให้แก่คณะกรรมการ ติดตามประเมินผลภาพรวมของหน่วยงาน และคณะติดตามประเมินผลทุกปี กองแผนงานควรจัดทําคู่มือ อธิบายเกณฑ์การประเมินการมีกลไกการติดตามประเมินผลทีมีประสิทธิภาพอย่างละเอียด ยุทธศาสตร์ที 6 การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการองค์กรและบุคลากรให้มีขดี สรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ผลการดําเนิ นงาน : ดําเนิ นการทบทวนประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์การพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพืนฐาน หมวด 1-6 ลงในโปรแกรม Fundamental Level: FL และโปรแกรม Self Certify FL วิเคราะห์ประเด็นทีต้องปรับปรุงรายข้อตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพืนฐาน หมวด 1-6 เพือจัดทําแผนปรับปรุงองค์การประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2554 โดยมีมติดาํ เนิ นการทําแผนปรับปรุงองค์การเน้นหนักในหมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ และ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู ้ โดยกําหนด ทบทวน และจัดทําลักษณะ สําคัญขององค์กรให้ครบถ้วนและเป็ นปั จจุบนั สอดคล้องกับสภาพทีเปลียนแปลงไป ข้อเสนอแนะ : ควรจัดทําแผนปรับปรุงองค์กรครบถ้วนทุกหมวดและปรับปรุงทุกประเด็นทียังไม่ มีการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ 2555 การนํานโยบายการกํากับดูแลองค์การทีดี (OG) ไปสู่การปฏิบตั ิ ผลการดําเนิ นงาน : ดําเนิ นการแต่งตังคณะกรรมการการกํากับดูแลองค์การทีดี ณ วันที 21 ธัน วาคม 2553 เพือจัด ทํานโยบายฯ ผลัก ดัน การดําเนิ น งาน กําหนดแนวทางการประเมิ น ผลการ ปฏิบตั ิตามนโยบายฯ รวมทังทบทวนและปรับปรุงนโยบายฯ วิเคราะห์และกําหนดมาตรการ/โครงการ รองรับนโยบายทุกด้าน เพือกําหนดโครงการทีหน่ วยงานได้ดําเนิ นการอยู่แล้วมารองรับนโยบายทัง 4 ด้าน ข้อเสนอแนะ : ควรทบทวนกระบวนการดําเนิ นงานนโยบายการกํากับดูแลองค์การทีดีของ หน่ ว ยงานและมี ก ารวางแผนตังแต่ ตน้ ปี งบประมาณ พร้อ มทังกําหนดมาตรการ/โครงการที รองรับ นโยบายหลักในด้านต่างๆ เพือให้เกิดการมีสว่ นร่วมของผูบ้ ริหารและบุคลากรทุกระดับมากยิงขึน การพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีสมรรถนะตามเกณฑ์ทีกําหนด ผลการดําเนิ นงาน : จัดตังคณะทํางานศึกษาหลักเกณฑ์ คู่มือแนวทางการประเมินสมรรถนะ ตามลักษณะงานที ปฏิบัติ ของบุ ค ลากร ตามคําสังฯ สือสารแนวทางให้บุค ลากรทราบ ดําเนิ น การ ประเมิ น สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจํา หน่ ว ยงาน สมรรถนะเฉพาะตามลัก ษณะงานที ปฏิบัติ วิเคราะห์ชอ่ งว่างสมรรถนะ จัดทําแผนพัฒนาสมรรถนะรายบุคคล ดําเนิ นการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร อบรมการพัฒนาคุ ณธรรม จริย ธรรมเพือเพิ มประสิทธิ ภาพในการปฏิบัติ ง าน อบรมการพัฒนา สมรรถนะบุคลากรในการปฏิบตั ิงานด้านการคิดวิเคราะห์, การมุ่งผลสัมฤทธิ, การสังสมความเชียวชาญ ในอาชีพและคุณธรรม จริยธรรม อบรมการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการปฏิบัติงานด้านการคิ ด วิเคราะห์, การมุ่งผลสัมฤทธิ, การสังสมความเชียวชาญในอาชีพและคุณธรรม จริยธรรม

19


ส่วนที 3 ภาพรวมโครงการหลักและ งบประมาณดําเนินโครงการ ประจําปี งบประมาณ 2555

20


3. ภาพรวมโครงการหลักและงบประมาณดําเนินโครงการประจําปี งบประมาณ 2555 3.1 โครงการหลักประจําปี งบประมาณ 2555 หน่ วยงานได้มี ก ารดําเนิ นตามกิ จ กรรมซึ งมุ่ง เน้น ตามมาตรการต่อ โรคและภัยสุ ขภาพ และ สนับสนุ นให้เครือข่ายในพืนทีสามารถดําเนิ นงานได้ตามมาตรฐานโรคและภัยสุขภาพทีกรมควบคุมโรค กําหนด โดยมุ่งเน้นดําเนิ นงานตามยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ และเน้นการบูรณาการงานต่างๆอย่าง เป็ นรูปธรรมมากขึน ดังนี ยุทธศาสตร์ที 1 การพัฒนา และร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในประเทศและนานาชาติ รวมทัง สนับสนุ นพืนทีในการดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ และยังยืน ยุทธศาสตร์ที 2 การพัฒนาเป็ นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และ มาตรฐานวิชาการเฝ้ าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพของชาติ ทีได้มาตรฐานสากลและเป็ นที ยอมรับ ยุทธศาสตร์ที 3 การสือสารสาธารณะและประชาสัม พันธ์อย่างทัวถึง และได้ผล เพือป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที 4 การเตรียมความพร้อม และดําเนิ นการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพใน สถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบตั ิ อย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพืนที และได้มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที 5 การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้ าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และ ภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที 6 การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการองค์กรและบุคลากรให้มีขีดสรรถ นะสูงได้มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์การดําเนิ น งานทัง 6 ยุ ทธศาสตร์ จะถูก นํ ามาแปลงสู่ก ารปฏิบัติ โดยการจัด ทํา แผนงาน/โครงการ รองรับ ซึ งได้มี การนํ าข้อมูลสถานการณ์โรคและภัย สุขภาพในพืนที และผลการ ดําเนิ นงานจากปี ทีผ่านมา มาวิเคราะห์และจัดทําโครงการหลัก/สําคัญ ประจําปี งบประมาณ 2555 เพือ แก้ไขปั ญหาโรคและภัยสุขภาพในพืนที โดยการสนับสนุ นเครือข่ายทังภาครัฐ เอกชน รวมถึงประชาชน รายละเอียด ดังตารางที 4 ตารางที 4 โครงการหลัก/สําคัญของหน่วยงานปี งบประมาณ 2555 ลําดับ โครงการ ยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค 1. โครงการสร้างเสริมและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายการดําเนิ นงานเฝ้ าระวัง 1 ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ปี 2555 2. โครงการพัฒนาวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรูเ้ ทคโนโลยีดา้ นการเฝ้ าระวัง 2 โรคและภัยสุขภาพ 21


ลําดับ 3. 4. 5. 6. 7. 8.

9. 10. 11.

12.

13. 14. 15. 16.

17.

โครงการ

ยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค 2

โครงการพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการและการเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โครงการพัฒนากลไกการบริหารจัดการสือสารสาธารณะและการเผยแพร่ 3 ประชาสัมพันธ์ เวทีวิชาการเครือข่ายสือมวลชนนักปราบโรคและภัยสุขภาพนวัตกรรมข่าวสาร 3 ในภาวะภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ (โครงการ Innovation) โครงการพัฒนาอาสาสมัครสือมวลชนชุมชนในการเฝ้ าระวังแจ้งข่าวสารโรค 3 และภัยสุขภาพ (โครงการ Innovation) โครงการพัฒนารูปแบบนวัตกรรมเพือการเร่งรัดสือสารเผยแพร่ 3 ประชาสัมพันธ์ (โครงการ Innovation) โครงการเตรียมความพร้อมและดําเนิ นการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4 ในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบตั ิอย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพืนที และได้มาตรฐานสากล โครงการสนับสนุ นและพัฒนาเครือข่าย SRRT ทุกระดับในพืนทีสาธารณสุข 4 เขต 17 โครงการพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีการส่งกําลังบํารุงสูค่ วามเป็ นเลิศในภาวะ 4 ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Innovation) โครงการพัฒนากลไกการนิ เทศ ติดตาม ประเมินมาตรฐานและประเมินผล 5 การดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พืนทีสาธารณสุข เขต 17 ปี 2555 โครงการประเมินจัดระดับเทียบเคียงสมรรถนะผลการดําเนิ นงาน ป้องกัน 5 ควบคุมโรค ระดับจังหวัดโดยประยุกต์ใช้เกณฑ์พฒ ั นาคุณภาพบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพืนฐาน (Innovation) โครงการพัฒนาและยกระดับระบบบริหารจัดการองค์กรและศักยภาพ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล โครงการพัฒนาและยกระดับศักยภาพบุคลากรตามสมรรถนะและมาตรฐาน 6 ทีกําหนด โครงการบริหารจัดการทรัพยากร สคร.9 พิษณุโลก 6 โครงการพัฒนาระบบสนับสนุ นการตัดสินใจโดยการประยุกต์ใช้สารสนเทศ 6 ภูมิศาสตร์(Internet-GIS)ในการเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยพิบตั ิ (Innovation) โครงการบริการเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพทีเป็ นปั ญหา ภารกิจพืนฐาน รุนแรงและกลุม่ เป้าหมายพิเศษ 22


ลําดับ

โครงการ

18.

โครงการสร้างความร่วมมือของผูป้ ระกอบการด้านการเฝ้ าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อนําโดยแมลง (Innovation) งบรายจ่ายอืน (โครงการศึกษาวิจยั ) โครงการศึกษาประสิทธิภาพแผ่นกรองซิลิกาเมมเบรนจากผักหนามสําหรับ นําบริโภคในครัวเรือนพืนทีปนเปื อนแคดเมียมลุม่ นําแม่ตาว จังหวัดตาก โครงการต้นทุนต่อหน่วยของมาตรการควบคุมพาหะนําโรคมาลาเรียในพืนที จังหวัดตาก

1. 2.

ยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ภารกิจพืนฐาน

2 2

จากโครงการสําคัญ/หลักของหน่วยงาน มีงบประมาณทีได้รบั จัดสรรจําแนกรายยุทธศาสตร์ โดย พบว่าภารกิจพืนฐานได้รบั จัดสรรงบประมาณมากทีสุด ซึงส่วนใหญ่เป็ นการจัดซือยาและเวชภัณฑ์ หากไม่ นับรวมการจัดซือยาและเวชภัณฑ์ทีไม่ใช่ยา พบว่ายุทธศาสตร์ที 6 ได้รบั งบประมาณจัดสรรมากทีสุดคือส่วน ใหญ่เป็ นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการทรัพยากรของหน่วยงาน และการพัฒนาระบบและพัฒนาสมรรถนะ บุคลากรภายในองค์กร รองลงมาคือยุทธศาสตร์ที 1 และ 3 ตามลําดับ ดังตารางที 5 ตารางที 5 งบดําเนิ นงานตามโครงการในแผนปฏิบตั ิราชการ แยกตามยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที 1 ยุทธศาสตร์ที 2 ยุทธศาสตร์ที 3 ยุทธศาสตร์ที 4 ยุทธศาสตร์ที 5 ยุทธศาสตร์ที 6 ภารกิจพืนฐาน รวม

งบดําเนินงาน (ตามแผนปฏิบตั ิราชการ) งบ งบรายจ่ายอืน ดําเนินงาน (โครงการวิจยั ) จัดสรรตาม จัดสรรตาม แผนปฏิบตั ิ แผนปฏิบตั ิราชการ (ตามแผน ราชการ รอบ 1 รอบ 2 (Innovation) จัดซือยาและ เวชภัณฑ์ฯ) 3,448,000 600,000 1,890,000 600,000 1,296,000 1,717,000 1,955,600 300,000 1,311,250 1,352,000 600,000 4,710,500 380,000 2,937,200 212,800 6,667,965 17,589,300

3,809,800

23

7,979,215

600,000

รวม งบประมาณที ได้รบั จัดสรร

4,048,000 2,490,000 3,013,000 3,566,850 1,952,000 5,090,500 9,817,965 29,978,315


เมือนํามาจําแนกรายผลผลิต พบว่างบประมาณทีได้รบั จัดสรรตามผลผลิตและกิจกรรมหลัก มากทีสุด 3 อันดับแรก คือ 1) ผลผลิตที 3 กิจกรรม 3.2 การถ่ายทอดความรูใ้ นการดูแลสุขภาพ เฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรค ภัยสุขภาพและการปรับเปลียนพฤติกรรมทีมีคุณภาพ 2) ผลผลิตที 2 กิจกรรม 2.5 การพัฒนา ประสาน สนับสนุ น และประเมินศักยภาพ ระบบ กลไก เครือข่ายการเฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ทังในและระหว่างประเทศให้เป็ นไป ตามมาตรฐานสากล 3) ผลผลิตที 2 กิจกรรม 2.2 พัฒนาระบบบริหารจัดการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ ตารางที 6 งบดําเนิ นงานตามแผนปฏิบตั ิราชการ แยกตามผลผลิตและกิจกรรมหลัก

ผลผลิต/ กิจกรรมหลัก ผ. 1 ก. 1.1 ผ. 2 ก. 2.1 ผ. 2 ก. 2.2 ผ. 2 ก. 2.4 ผ. 2 ก. 2.5 ผ. 3 ก. 3.1 ผ. 3 ก. 3.2 รวม

งบดําเนินงาน (ตามแผนปฏิบตั ิราชการ) งบ งบรายจ่ายอืน ดําเนินงาน (โครงการวิจยั ) จัดสรรตาม จัดสรรตาม แผนปฏิบตั ิ แผนปฏิบตั ิราชการ (ตามแผน ราชการ รอบ 1 รอบ 2 (Innovation) จัดซือยาและ เวชภัณฑ์ฯ) 512,000 600,000 1,378,000 4,710,500 380,000 1,955,600 300,000 1,311,250 4,800,000 1,200,000 2,937,200 212,800 6,667,965 1,296,000 1,717,000 17,589,300

3,809,800

24

7,979,215

600,000

รวม งบประมาณที ได้รบั จัดสรร

1,112,000 1,378,000 5,090,500 3,566,850 6,000,000 9,817,965 3,013,000 29,978,315


ส่วนที 4 ผลการดําเนินงาน ของหน่วยงาน ปี งบประมาณ 2555

25


ส่วนที 4 ผลการดําเนินงานของหน่วยงาน 4.1 ผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ (Bureau Scorecard) คํารับรองการปฏิบตั ิราชการ (Bureau Scorecard) ประจําปี งบประมาณ 2555 ของสํานักงานฯ ได้จาํ แนกเป็ นมิติตามหลักการของ กพร. จํานวน 15 ตัวชีวดั ประกอบด้วยมิติดา้ นประสิทธิผลจํานวน 8 ตัวชีวดั , มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการจํานวน 1 ตัวชีวดั , มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ จํานวน 2 ตัวชีวดั และมิติดา้ นพัฒนาองค์กรจํานวน 4 ตัวชีวดั ผลการประเมินความสําเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามคํารับรองการปฏิบัติราชการปี 2555 เทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑ์ทีกําหนด พบว่าสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุ โลก มีผล การดําเนิ นงานทีแสดงถึงผลการปฏิบตั ิราชการในภาพรวมระดับ “ดีมาก” และจําแนกรายมิติดังตาราง ที 7 ตารางที 7 ผลการดําเนิ นงานตามตัวชีวดั จําแนกรายมิติ การประเมิน มิติดา้ นประสิทธิผล มิติดา้ นคุณภาพการ ให้บริการ มิติดา้ นประสิทธิภาพ ของการปฏิบตั ิราชการ มิติดา้ นพัฒนาองค์กร รวมนําหนัก คะแนนถ่วงนําหนัก ระดับ

นําหนัก (ร้อยละ) 50 10

ผลคะแนนรอบ 6 เดือน 33.44 6.00

ผลคะแนนรอบ 9 เดือน 29.29 8.00

ผลคะแนนรอบ 12 เดือน 49.00 10.00

15

7.00

4.20

14.20

25 100 5.000

16.40 62.84 3.142 ปานกลาง

17.60 59.09 2.954 ปานกลาง

24.40 97.60 4.880 ดีมาก

ผลการดําเนิ นงานในภาพรวมพบว่าการปฏิบตั ิราชการได้ผลในระดับดีมาก เมือจําแนกรายมิติ และรายตัวชีวดั มีรายละเอียดดังนี  มิติดา้ นประสิทธิผล เกือบทุกตัว ชีวดั สามารถดําเนิ นการได้ตามขันตอนทีกําหนดครบถ้ว นทัง 5 ขันตอน (ระดับ 5 คะแนน) ยกเว้นตัวชีวดั “จํานวนจัง หวัดทีมี ระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิด การ พัฒนาอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืน” ทีอยู่ในระดับ 4 คะแนน โดยจังหวัดในพืนทีผ่านเกณฑ์ จํานวน 3 จังหวัดมากกว่าเป้าหมายทีกําหนด  มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ มิตินีมีเพียง 1 ตัวชีวดั คือ ระดับความสําเร็จของการดําเนิ นงานตามแผนประเมินความ พึงพอใจของเครือข่ายต่อผลิตภัณฑ์ สามารถดําเนิ นการได้ตามเป้าหมายทังในรอบ 6 เดือนแรกและ 6 เดือนหลัง 26


 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวมของหน่วยงานในไตรมาส 2 และ 3 ไม่สามารถ ดําเนิ นการได้ตามทีคณะรัฐมนตรีกาํ หนด แต่ในไตรมาส 4 หน่ วยงานสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ มากกว่าเป้าหมายทีกําหนด ส่วนอีก 1 ตัวชีวดั คือระดับความสําเร็จของการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีของหน่ วยเบิก จ่ าย สามารถดําเนิ น การได้ตามขันตอนทีกําหนด แต่ มี ปัญหาในการจัด ส่ง รายงานไม่ครบถ้วนในหน่วยงานย่อย และการส่งรายงานตามกําหนดเวลา  มิติดา้ นพัฒนาองค์กร ทัง 4 ตัวชีวดั สามารถดําเนิ นการได้ตามขันตอนทีกําหนดครบถ้วนทัง 5 ขันตอน แต่มี 1 ตัวชีวดั คือ ระดับความสําเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร ดําเนิ นการได้ตามขันตอนที กําหนด แต่ยงั ส่งสรุปผลการประเมินได้ไม่ตามกําหนดเวลา ผลการปฏิบตั ิราชการในรอบ 12 เดือน ทังทีบรรลุผลสําเร็จและไม่บรรลุผลสําเร็จนัน มีปัจจัยสนับสนุ นในการดําเนิ นงาน คือบุคลากรผูร้ บั ผิดชอบให้ความร่วมมือในการดําเนิ นงาน ผูบ้ ริหาร ให้ความสําคัญโดยมีการติดตามในการประชุมประจําเดือนทุกเดือน ส่วนปั ญหาและอุปสรรคต่อการ ดําเนิ นงานเช่น ความก้าวหน้าในการดําเนิ นงานไม่เป็ นไปตามแผน ซึงไม่สอดคล้องกับการวัดผลใน ตัว ชีว ัด ทําให้ก ารรายงานผลการติ ด ตามคํารับรองการปฏิบัติ ราชการรอบ 6 เดื อ น และ 9 เดื อ น มีผลงานในภาพรวมทีค่อนข้างตํา ซึงหน่ วยงานเองได้ดําเนิ นการติดตามทังในรูปแบบทางการและไม่ เป็ นทางการ ทําให้ภาพรวมการดําเนิ นงานรอบ 12 เดือนสามารถดําเนิ นการได้ในระดับดีมาก อีกทังยัง พบปั ญหาการแนบไฟล์หลักฐานไม่สอดคล้อ งกับขันตอนการดําเนิ น งาน ซึ งได้แก้ไขปั ญหาโดยการ ประชุ มเพือเตรียมความพร้อ มในการจัดเก็ บและตรวจสอบหลักฐานการดําเนิ นงานให้สอดคล้องกับ รายละเอียดของตัวชีวดั

27


ตารางที 8 สรุปรายงานการประเมินตนเองผลการปฏิบตั ิราชการประจําปี งบประมาณ 2555 ตัวชีวดั มิติที 1 ด้านประสิทธิภาพ 1 1.1.1 จํานวนจังหวัดทีมี ระบบและกลไกการบริหาร จัดการให้เกิดการพัฒนา “อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยังยืน 2 1.1.2 ระดับความสําเร็จ ของการมีกลไกและขันตอน การบริหารจัดการการ เตรียมความพร้อมและการ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรค และภัยสุขภาพแบบบูรณา การตามเกณฑ์ทีกําหนด 3 1.1.3 ร้อยละของอําเภอที เป็ น"อําเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยังยืน"ตาม คุณลักษณะทีกําหนด 4 1.1.4 ระดับความสําเร็จ ของการดําเนิ นงานสัดส่วน ของผลิตภัณฑ์ทีดําเนิ นการ ตามมาตรฐานสากล 5 1.1.5 ระดับความสําเร็จใน การดําเนิ นการของหน่ วยงาน ให้มีกลไกการบริหารจัดการ การสือสารสาธารณะเกียวกับ โรคและภัยสุขภาพทีสําคัญ ของกรมฯ 6 1.1.6 ระดับความสําเร็จ ของการพยากรณ์โรคและภัย สุขภาพ ทีมีคุณภาพ 7 1.1.7 ระดับความสําเร็จ ของหน่ วยงานทีมีการ ติดตามการดําเนิ นงานของ หน่ วยงานทีมีคุณภาพตาม มาตรฐาน

นํ าหนั ก เป้า (ร้อย หมาย ละ)

1

เกณฑ์การให้คะแนน 2 3 4 5

1

2 จังหวัด

0

7

5 ขันตอน

1

1+2 1+2 1+2 1+2 5 +3 +3+4 +3+4 ขันตอน +5

5.00

0.350

8

ร้อยละ 60

50

55

ร้อยละ 95.74

5.00

0.400

6

5 ขันตอน

1

1+2 1+2 1+2+ 1+2+ 5 +3 3+4 3+4+ ขันตอน 5

5.00

0.300

6

5 ขันตอน

1

1+2 1+2 1+2+ 1+2+ 5 +3 3+4 3+4+ ขันตอน 5

5.00

0.300

6

5 ขันตอน

1

5.00

0.300

6

5 ขันตอน

1

1+2 1+2 1+2+ 1+2+ 5 +3 3+4 3+4+ ขันตอน 5 1+2 1+2 1+2+ 1+2+ 5 +3 3+4 3+4+ ขันตอน 5

5.00

0.300

60

3

65

4

ผลการ ค่า คะแนน ดําเนิ น คะแนน ถ่วง งาน ทีได้ นํ าหนั ก 4.90 2.450 3 4.00 2.000 จังหวัด

5

28

2

ผลการดําเนิ นงาน

70


ผลการดําเนิ นงาน ผลการ ค่า คะแนน ดําเนิ น คะแนน ถ่วง งาน ทีได้ นํ าหนั ก 5.00 0.300 990,462

400,000

340,000

280,000

1

220,000

8 1.2.1 จํานวนประชาชน กลุ่มเป้าหมายได้รบั บริการ เฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคทีเป็ นปั ญหาสําคัญ มิติที 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ

280,000

นํ าหนั ก เป้า (ร้อย หมาย ละ) 6

160,000

ตัวชีวดั

เกณฑ์การให้คะแนน 2 3 4 5

5.00 0.500

5 10 1 1+2 1+2 1+2+ 1+2+ 5 5.00 0.500 9 2. ระดับความสําเร็จของ ขั นตอน การดําเนิ นงานสัดส่วนของ +3 3+4 3+4+ ขันตอน เครือข่ายทีเกียวข้องมีความ 5 พึงพอใจผลิตภัณฑ์ของกรมฯ มิติที 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพการปฏิบตั ิราชการ 4.73 0.710 7 10 3. ร้อยละของอัตราการเบิก จ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย รวม ไตรมาสที 2 44 42 43 44 45 46 43.44 1.00 ไตรมาสที 3 68 66 67 68 69 70 65.13 1.00

ไตรมาสที 4

93

91

92

96.62

5.00

0.350

5 ขันตอน

1

1+2 1+2 1+2+ 1+2+ 5 +3 3+4 3+4+ ขันตอน 5

4.50

0.360

11 4. ระดับความสําเร็จของ การประเมินผลการ ปฏิบตั ิงานด้านบัญชีของ หน่ วยเบิกจ่าย มิติที 4 ด้านพัฒนาองค์กร

8

12 5. ระดับความสําเร็จของ การพัฒนาสมรรถนะของ บุคลากร 13 6. ระดับความสําเร็จของ การพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์กร 14 7. ระดับความสําเร็จของ การจัดการความรูข้ อง หน่ วยงาน 15 8. ระดับความสําเร็จของ การถ่ายทอดตัวชีวดั ระดับ องค์กรสู่ระดับบุคคล นําหนักรวม

6

5 ขันตอน

1

6

5 ขันตอน

1

6

5 ขันตอน

1

7

5 ขันตอน

1

93

94

95

4.88 1.220

100

1+2 1+2 1+2+ 1+2+ +3 3+4 3+4+ 5 1+2 1+2 1+2+ 1+2+ +3 3+4 3+4+ 5 1+2 1+2 1+2+ 1+2+ +3 3+4 3+4+ 5 1+2 1+2 1+2+ 1+2+ +3 3+4 3+4+ 5 ค่าคะแนนทีได้ ร้อยละ

29

5 ขันตอน

5.00

0.300

5 ขันตอน

4.50

0.270

5 ขันตอน

5.00

0.300

5 ขันตอน

5.00

0.350 4.880 97.60


4.2 ผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที 1 การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในประเทศและนานาชาติ รวมทังสนับสนุนพืนทีในการดําเนินงานเฝ้ าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมี ประสิทธิภาพและยังยืน โครงการขับเคลือนยุทธศาสตร์ : โครงการสร้างเสริมและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายการดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกันควบคุม โรคและภัยสุขภาพ ปี 2555 เป้าหมายการดําเนินงานทีสําคัญ: พัฒนาจังหวัดให้มีระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิด การพัฒนาอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืน เป้าหมายการดําเนิ นงาน 5 จังหวัด/ 47 อําเภอ กิจกรรมทีดําเนินการ: 1. พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืน 2. พัฒนาศักยภาพแกนนําชุมชนเพือลดเสียงลดโรคไม่ติดต่อเรือรัง 3. เสริมสร้างศักยภาพและสนับสนุ นภาคีเครือข่าย  การป้องกันควบคุมโรคติดต่อ  การประเมินความเสียงจากการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาล  เฝ้ าระวังป้องกันความเสียงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบ  การบริโภคยาสูบและเครืองดืมแอลกอฮอล์แบบบูรณาการ  การดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมวัณโรค  การดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคเรือน 4. พัฒนาหลักสูตรท้องถินในสถานศึกษาแก้ไขปั ญหาแคดเมียม ผลการดําเนินงาน: จังหวัดมีระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนาอําเภอควบคุม โรคเข้มแข็งแบบยังยืน ผ่านเกณฑ์การประเมิน จํานวน 3 จังหวัด (ร้อยละ 60) ได้แก่ จังหวัดสุโขทัย อุตรดิตถ์และพิษณุโลก อําเภอผ่านเกณฑ์การประเมินอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืนตาม คุณลักษณะทีกําหนด จํานวน 45 อําเภอ (ร้อยละ 95.74) ปัญหาและอุปสรรค 1. รายละเอียดเครืองมือการประเมินอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งทังระดับจังหวัด /อําเภอ บางประเด็นยังมีความเข้าใจไม่ตรงกัน ข้อเสนอแนะ สําหรับเขตตรวจราชการสาธารณสุข ที 17 1) แต่งตังคณะกรรมการพัฒนา “อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืน”ระดับเขต โดยการมี ส่วนร่วมจากคณะผูบ้ ริหาร และผูป้ ฏิบตั ิ พร้อมทังกําหนดบทบาทคณะกรรมการอย่าง ครอบคลุม เพือการพัฒนาทีมีประสิทธิภาพในการเตรียมรับการประเมิน 2) แสวงหากระบวนการเชิงคุณภาพในการประเมินผลงาน เพือเก็บข้อมูลเชิงลึกเป็ นแนวทาง ถอดบทเรียน 30


3) รูปแบบการประเมินควรเป็ นการเก็บข้อมูลตามระยะการพัฒนา เพือให้สามารถมองเห็น แนวโน้มการขับเคลือนอย่างเป็ นรูปธรรม 4) จัดประชุมชีแจงเครือข่ายตังแต่ตน้ ปี งบประมาณ และสร้างความเข้าใจร่วมกันให้ชดั เจน สําหรับเครือข่าย 5 จังหวัด 1) ให้เครือข่ายจังหวัด/อําเภอ เตรียมความพร้อมประเมินตนเอง ส่งให้จังหวัดและรวบรวมส่ง สคร.9 เพือเป็ นข้อมูลเตรียมพร้อมการให้คาํ ปรึกษา 2) จัดตังทีมเฉพาะกิจ ขับเคลือน และทํา AAR ระหว่างดําเนินกิจกรรมพัฒนา 3) จัดกิจกรรม สร้างกระแสประชาสัมพันธ์ อาทิ ประชุมชีแจงระดับจังหวัด/อําเภอ เพือ เสริมสร้างการรับรูใ้ ห้แก่ เครือข่ายทีเกียวข้อง ยุทธศาสตร์ที 2 การพัฒนาเป็ นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการเฝ้ าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพของชาติทีได้มาตรฐานสากล และเป็ นทียอมรับ โครงการขับเคลือนยุทธศาสตร์ : โครงการพัฒนาวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรูเ้ ทคโนโลยีดา้ นการเฝ้ าระวังโรคและภัยสุขภาพ และโครงการพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการและการเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป้าหมายการดําเนินงานทีสําคัญ: พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานและเครือข่ายทีเกียวข้องมี ความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ของหน่วยงาน ผลการดําเนินงาน: มีผลงานวิจยั ทีดําเนินการตามมาตรฐานสากล (ผ่านคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจยั กรมควบคุมโรค) จํานวน 2 เรืองและผลงานวิชาการด้านการเฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จํานวน 13 เรือง ดังนี ตารางที 9 ผลิตภัณฑ์วิชาการของหน่วยงานประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2555 ลําดับ ที

หน่วยงาน

1

แผนงานและ ประเมินผล

2

กลุม่ พัฒนาภาคี เครือข่าย

ชือผลิตภัณฑ์ ผลงานวิจยั ต้นทุนต่อหน่วยของมาตรการ ควบคุมพาหะนําโรคมาลาเรียใน พืนทีจังหวัดตาก การศึกษาประสิทธิภาพแผ่นกรอง ซิลิกาเมมเบรน จากผักหนาม สําหรับนําบริโภคในครัวเรือนพืนที ปนเปื อนแคดเมียมลุม่ นําแม่ตาว จังหวัดตาก 31

กลุม่ ผลิตภัณฑ์

กลุม่ ที 1 ผลการวิจยั

กลุม่ ที 1 ผลการวิจยั


ลําดับ ที 1 2

3

4 5 6

7

8

9

หน่วยงาน

ชือผลิตภัณฑ์

กลุม่ ผลิตภัณฑ์

ผลงานวิชาการด้านการเฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กลุม่ พัฒนา “องค์กรและฉันผูกพันกันอย่างไร” กลุม่ ที 2 ผลการ องค์กร ประเมิน กลุม่ ระบาดวิทยา รายงานเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา กลุม่ ที 6 ฐานข้อมูลโรค และข่าวกรอง และภัยสุขภาพ/ข้อมูล รายงานสถานการณ์โรคทีต้องเฝ้ า ด้านระบาดวิทยา ระวังในพืนทีสาธารณสุขเขต 17 ปี พ.ศ. 2554 ข่าวกรองพยากรณ์โรคและภัย กลุม่ ที 5 ข่าวกรอง สุขภาพ กลุม่ แผนและ ต้นทุนต่อหน่วยของมาตรการ กลุม่ ที 2 รายงาน ประเมินผล ควบคุมพาหะนํา ผลการวิจยั โรคมาลาเรียในพืนทีจังหวัดตาก กลุม่ พัฒนา จุลสารวิชาการ กลุม่ ที 3 รายงานการ วิชาการ สังเคราะห์องค์ความรู ้ กลุม่ บริหารทัวไป คู่มือการจัดซือจัดจ้าง กลุม่ ที 4 คู่มือ กลุม่ สือสารความ การประเมินผลการรับรูข้ า่ วสาร กลุม่ ที 2 ผลการ เสียงและพัฒนา ความรูแ้ ละพฤติกรรมการปฏิบตั ิตวั ประเมิน พฤติกรรมสุขภาพ ในการป้องกันโรคและภัยสุขภาพของ ประชาชน ในพืนทีภาคเหนื อ ตอนล่างประเทศไทย สาเหตุ และประชากรทีมีภาวะความ กลุม่ ที 2 ผลการสํารวจ เสียงติดเชือเอชไอวี ภาคเหนือ ตอนล่างของประเทศไทย กลุม่ พัฒนาภาคี ชุดปรับปรุงคุณภาพนําฉุกเฉิน กลุม่ ที 3 นวัตกรรม เครือข่าย การพัฒนาหักสูตรเรืองแคดเมียมใน กลุม่ ที 3 หลักสูตร สถานศึกษา กลุม่ ปฏิบตั ิการ การประเมินผลการดําเนินงานเฝ้ า กลุม่ ที 2 ผลการ ควบคุมโรค ระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประเมิน และตอบโต้ภาวะ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ฉุกเฉินฯ ศูนย์ชนั สูตรโรค รายงานการดือยาจังหวัดตาก กลุม่ ที 3 รายงานการ สังเคราะห์องค์ความรู ้ 32


ลําดับ หน่วยงาน ที 10 ศตม. 9.1 พิษณุโลก 11 ศตม. 9.2 เพชรบูรณ์ 12 ศตม. 9.3 แม่สอด

13

ด่านฯ แม่สอด

ชือผลิตภัณฑ์

กลุม่ ผลิตภัณฑ์

การทดสอบความไวของสารเคมี

กลุม่ ที 2 ผลการ ประเมิน การประเมินค่าดัชนี ลกู นํายุงลายใน กลุม่ ที 2 ผลการ พืนทีจังหวัดเพชรบูรณ์ ปี ๒๕๕๕ ประเมิน การศึกษาแหล่งเพาะพันธุแ์ ละความ กลุม่ ที 2 ผลการ ชุกชุมของลูกนํายุงลาย ประเมิน ในเขตพืนทีศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ นําโดยแมลงที 9.3 (แม่สอด) จังหวัดตาก ปี งบประมาณ 2554 การเฝ้ าระวังกาฬโรค กลุม่ ที 2 ผลการสํารวจ

การวิเคราะห์แนวคิดผลการดําเนินงานยุทธศาสตร์ที 2 สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จุดแข็ง (Strengthen) • สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 สามารถสร้างผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื องทุกปี ั มักจะเป็ นผลงานของนักวิจยั เดิม ซึงมักจะมีผลงานวิจยั ต่อเนื องทุกปี • การวิจย ้ ริหารสนับสนุ นการดําเนิ นงานยุทธศาสตร์ที 2 และเป็ นแบบอย่างในการสร้างผลิตภัณฑ์ • ผูบ จํานวนสูงสุดใน สคร.9 คือ 6 ชิน • กรรมการบริหารให้ความสําคัญกับยุทธศาสตร์ที 2 นํามาเป็ นตัวชีวดั ผลงานกลุม่ (sector score card) • เจ้าหน้าทีสังกัดสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 รักการเรียน พัฒนาตนเองสมําเสมอ โดย มีเจ้าหน้าทีสําเร็จการศึกษาปริญญาเอก 3 คน ผูก้ าํ ลังศึกษาระดับปริญญาเอก 10 คน จุดอ่อน (Weakness) • ความเข้าใจเรืองตัวชีวด ั ยุทธศาสตร์ที 2 และองค์ประกอบผลิตภัณฑ์ • ผลิตภัณฑ์ทีได้จากโครงการ ไม่มีการประเมินความพึงพอใจตามรายการทีแจ้งไว้เมือมีการ สํารวจครังแรกในปี 2553 • ผลิตภัณฑ์ทีได้จากโครงการ ไม่มีการพัฒนาเพือนําไปเป็ นผลิตภัณฑ์หลัก • ผลิตภัณฑ์ประเภทงานวิจย ั มีจาํ นวนมากแต่ไม่ผ่านจริธรรมการวิจยั ั มักจะเป็ นผลงานของนักวิจยั เดิม มีนักวิจยั หน้าใหม่เพิมขึนไม่มาก และมีนักวิจยั • การวิจย หลายท่านทีเมือเป็ นผูบ้ ริหาร หรือ รับผิดชอบโครงการขนาดใหญ่ขนึ จะไม่ได้ผลิตผล งานวิจยั ในปี ถัดไป • หน่ วยงานบางหน่วยงานไม่มีผลงานวิจย ั หรือ ผลิตภัณฑ์ทางวิชาการ 33


โอกาส (Opportunity) • ยุทธศาสตร์ที 2 และตัวชีวด ั ยุทธศาสตร์ที 2 ของกรมควบคุมโรค ทําให้ทุกหน่วยงานใน สังกัด สคร.9 มีพนั ธกิจทีเพือผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทีได้มาตรฐาน • คณะกรรมการบริหาร สคร.9 ประกอบด้วย ผูบ ้ ริหาร ผูอ้ าํ นวยการ สคร.9 หัวหน้าหน่วยงาน สนับสนุ นการดําเนิ นงานผลิตภัณฑ์ทีได้มาตรฐานสากล โดยได้กาํ หนดให้เป็ นตัวชีวดั การ ปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน (Sector score card) • เจ้าหน้าที สคร.9 ให้ความสําคัญ สนใจในการพัฒนางานทีตนรับผิดชอบให้ได้ผลิตภัณฑ์ สากลของ สคร.9 • มีหน่ วยงานเครือข่ายในพืนทีสาธารณสุขเขต 17 ประกอบด้วย สสจ.รพศ/ท/ช สสอ. รพสต. และหน่วยงานทีเกียวข้อง เพือเป็ นเครือข่ายและพืนทีในการผลิตผลงาน • หน่ วยงานเครือข่ายฯให้ความสําคัญ เชือถือ สคร.9 และให้รว่ มมือในการประสานขอความ ร่วมมือในการทํางานในพืนที สคร.9 เป็ นทีพึงทางวิชาการด้านการป้องกันควบคุมโรคใน พืนทีฯ ้ รงคุณวุฒิ และสํานักจัดการความรู ้ นพ. • มีทีปรึกษาทางวิชาการทีเข้มแข็ง จากสํานักผูท ศุภชัย ฤกษ์งาม และพญ.วรรณา หาญเชาว์วรกุล ั ทังภายในและภายนอกสคร.9 • มีโครงการพัฒนาเครือข่ายนักวิจย • ได้เครือข่ายทีเป็ นผูเ้ ชียวชาญ จากมหาวิทยาลัย สถาบันองค์กรทางวิชาการและเครือข่าย นักวิจยั (ทีมุ่งมันและรักวิชาการ) ทังในพืนที 5 จังหวัดและในหน่วยงานภายในสคร.9 ้ ริหารสนับสนุ น และหน่วยงานภายในสคร.9 • มีโครงการจัดทําวารสารวิชาการสคร.9 ซึงผูบ สนับสนุ น เป็ น Internal reviewer และผูเ้ ชียวชาญ จากมหาวิทยาลัย สถาบันองค์กรทาง วิชาการ เป็ น External reviewer ภาวะคุกคาม (Threaten) ั มีปริมาณเพิมมากขึน การ • เจ้าหน้าที สคร.9 มีภารกิจจํานวนมาก ในการทํางานยุคปั จจุบน ออกปฏิบตั ิงานในพืนที 5 จังหวัด ไม่มีเวลาทําเอกสารเพือรองรับการตรวจประเมินฯจาก อาจารย์ ั ิทีเกิดขึน สคร.9 ต้องระดมกําลังลงพืนที เช่น โรคคอตีบ ตะกัว • โรคติดต่อ ภัยพิบต แอมโมเนียรัว แผ่นดินหลุมไฟ โรคมือเท้าปาก ไข้หวัด (เจ้าของผลงานมีเรืองสําหรับทํา ผลิตภัณฑ์แต่ไม่มีเวลาเขียนงาน) • การทําขันตอนของกระบวนการมาตรฐานทีมีจาํ นวนมาก แม้แต่การสํารวจความพึงพอใจ จะต้องสร้างแบบสํารวจ มีผเู้ ชียวชาญตรวจ ทดลองใช้ (Try out) การกรอกข้อมูลแยกราย scale ฯลฯ ปัญหาและอุปสรรค • การถ่ายทอดตัวชีวด ั จากส่วนกลางสูผ่ ปู้ ฏิบตั ิมีความไม่ชดั เจน โดยให้ผปู้ ฏิบตั ิตอ้ งทํา ความเข้าใจกับรายละเอียดตัวชีวดั ซึงอาจจะไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ของตัวชีวดั นันๆ • ตามผลการวิเคราะห์จุดอ่อน(Weakness) และภาวะคุกคาม (Threaten) 34


ข้อเสนอแนะ • ส่วนกลางร่วมกับผูป ้ ฏิบตั ิทาํ ความเข้าใจต่อตัวชีวดั และสร้างรายละเอียดตัวชีวดั ร่วมกัน • การทําแบบประเมินความพึงพอใจกลางทีผ่านการตรวจจากผูเ้ ขียวชาญและการทดลอง ใช้โดยคํานวณค่าความตรงและความเชือถือของแบบประเมินแล้ว เพือให้เจ้าของ ผลิตภัณฑ์สามารถใช้งานได้เลย • แบบการรายงานผลิตภัณฑ์ทีได้มาตรฐานสากล และแบบการรายงานผลการประเมิน ความพึงพอใจ (Format) เพือเจ้าของผลิตภัณฑ์สามารถนําไปใช้อย่างถูกต้องและเป็ น แนวเดียวกัน ตรงกับแนวทางการตรวจประเมินจากอาจารย์ ั ของสคร.9 หรือระดับเขตเพือให้งานวิจยั ได้ • การจัดตังคณะกรรมการจริยธรรมการวิจย มาตรฐานสากล

ยุทธศาสตร์ที 3 การสือสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทัวถึงและได้ผล เพือ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โครงการขับเคลือนยุทธศาสตร์ : 1) โครงการพัฒนากลไกการบริหารจัดการสือสารสาธารณะและการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ 2) เวทีวิชาการเครือข่ายสือมวลชนนักปราบโรคและภัยสุขภาพนวัตกรรมข่าวสารในภาวะ ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ (โครงการ Innovation) 3) โครงการพัฒนาอาสาสมัครสือมวลชนชุมชนในการเฝ้ าระวังแจ้งข่าวสารโรคและภัย สุขภาพ (โครงการ Innovation) 4) โครงการพัฒนารูปแบบนวัตกรรมเพือการเร่งรัดสือสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (โครงการ Innovation) เป้าหมายการดําเนินงานทีสําคัญ: ผลการดําเนินตามตัวชีวดั : o ประชาชนกลุม่ เป้าหมายรับทราบและมีความรูข้ องเรืองโรคและภัยสุขภาพทีสําคัญของ กรมฯร้อยละ 66.9 o ประชาชนกลุม่ เป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพทีเหมาะสมตามเกณฑ์ทีกรมควบคุมโรค กําหนดร้อยละ 68.0 o เครือข่ายกลุม่ เป้าหมายเห็นว่าภาพลักษณ์ของหน่วยงานอยูใ่ นเกณฑ์ดี ร้อยละ 92.4 ผลการดําเนินงาน: 1.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ผ่าน โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์

35


- ผลิตสือและสนับสนุ นสือรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และภัยสุขภาพ เช่น การจัดทําเอกสารแผ่นพับแผ่นปลิว รณรงค์การป้องกันโรคและภัยสุขภาพ - ผลิตและเผยแพร่สือความรูท้ างสถานี โทรทัศน์และเคเบิลทีวี เรืองโรคติดต่อ โรคไม่ ติดต่อ และภัยสุขภาพ ได้แก่ วีดีทศั น์สารคดีสโู ้ รค ละครสันชุด ครอบครัวสุขภาพดี - ผลิตและเผยแพร่สปอต สารคดี และเพลง รณรงค์ ทางสถานี วิทยุเรืองโรคติดต่อ โรค ไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ ได้แก่ เพลงรณรงค์สโู ้ รค/ Spot วีดีทศั น์สนไม่ ั เกิน 1 นาที ชุดสูโ้ รค - ผลิตและเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร ทางสือสิงพิมพ์ทอ้ งถิน เรืองโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และภัยสุขภาพ 2.การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ตามปฏิทินรณรงค์กรมควบคุมโรคปี 2555 3.ประเมินผลการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - ออกพืนทีประเมินการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จังหวัดอุตรดิตถ์ วันที 22-25 พฤษภาคม 2555 จังหวัดตาก วันที 28-30 พฤษภาคม 2555 จังหวัดเพชรบูรณ์ วันที 5-8 มิถุนายน 2555 จังหวัดสุโขทัย วันที 20-22 มิถุนายน 2555 จังหวัดพิษณุโลก วันที 25-26 มิถุนายน 2555 4. นิ เทศ ประสานสนับสนุนเครือข่ายสือสารประชาสัมพันธ์ 5. ประสานสนับสนุ นเครือข่ายสือสารประชาสัมพันธ์ 6. พัฒนาอาสาสมัครสือมวลชนชุมชนในการเฝ้ าระวังแจ้งข่าวสารโรคและภัยสุขภาพ 7. พัฒนาความเป็ นเลิศศูนย์การสือสารความเสียงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 1 แห่ง ปัญหาและอุปสรรค กําหนดส่งผลการประเมินการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารของประชาชนและความพึงพอใจของเครือข่าย สือสารประชาสัมพันธ์ ให้กับกรมควบคุมโรคภายใน 15 มิถุนายน 2555 เร็วเกินไป บางโรคยังไม่ถึง กําหนดการรณรงค์ตามปฏิทินทีกรม ฯ กําหนด ทําให้ยงั มีกิจกรรมรณรงค์ความรูอ้ ีกจํานวนมากตาม ปฏิทิ น รณรงค์ข องกรมควบคุ ม โรคที ยัง ไม่ ไ ด้ดํา เนิ น การ ส่ง ผลให้ข อ้ มูลข่า วสารตามกระแสยัง ไม่ ครอบคลุมเพียงพอ อาจส่งผลให้ผลการรับรูข้ องประชาชนไม่ถึงเกณฑ์ทีกรม ฯ กําหนด ข้อเสนอแนะ 1. ปฏิทินรณรงค์กรมควบคุมโรค ไม่อาจปรับวันรงค์ได้ แต่ควรปรับเปลียนรายการโรคและภัย สุขภาพ ทีเป็ นตัวชีวดั ยุทธศาสตร์ประเมินการรับรู ้ 2. การส่งผลการประเมินให้กรม ฯ ก่อน 15 มิถุนายน 2555 โรคและภัยสุขภาพทีจะประเมิน 6 เดือนแรกควรสอดคล้องตามปฏิทินรณรงค์ของกรม 6 เดือนแรกเช่นกัน หลังวันทีส่งการประเมินผล ให้สาํ นักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ยังไม่ควรนํามาประเมินผลการรับรู ้ เพราะกระแสข่าวสารจะยัง ไม่มากเพียงพอ

36


ยุทธศาสตร์ที 4 การเตรียมความพร้อม และดําเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบตั ิ อย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพืนที และได้ มาตรฐานสากล โครงการขับเคลือนยุทธศาสตร์ : 1) โครงการเตรียมความพร้อมและดําเนิ นการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพใน สถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบตั ิอย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพืนทีและได้ มาตรฐานสากล 2) โครงการสนับสนุ นและพัฒนาเครือข่าย SRRT ทุกระดับในพืนทีสาธารณสุขเขต 17 3) โครงการพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีการส่งกําลังบํารุงสูค่ วามเป็ นเลิศในภาวะฉุกเฉินทาง สาธารณสุข (Innovation) เป้าหมายการดําเนินงานทีสําคัญ: - สนับสนุ นและพัฒนาเครือข่าย SRRT ทุกระดับ - การเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ผลการดําเนินงาน: 1. จัดทําแผนปฏิบัติงาน (Incident Action plan) การตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสุขของหน่วยงาน 2. พัฒนามาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (SOP) การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านโรคและการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข 4. จัดทําทําเนี ยบเครือข่ายการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ของ สคร.9 พิษณุโลก 5. ถอดบทเรียนการปฏิบตั ิงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข 6. สนับสนุ นการปฏิบตั ิงาน และวัสดุอุปกรณ์ สารเคมี ให้กบั จังหวัดในเขตรับผิดชอบเพือรับมือ กับสถานการณ์อุทกภัย 7. จัดประชุม War Room กรณีนําท่วมพืนทีจังหวัดสุโขทัยและโรคคอตีบระบาด 8. ประเมินรับรองมาตรฐานทีม SRRT 9. ฝึ กซ้อมทีม SRRT และร่วมปฏิบตั ิการสอบสวนโรค 10. สนับสนุ นการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบตั ิการ 11. สนั บสนุ น จัด เจ้าหน้าทีปฏิบัติก ารนอกเวลาราชการเพือรับแจ้งข่าวและตรวจสอบความ ผิดปกติของเหตุการณ์

37


ยุทธศาสตร์ที 5 การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้ าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล โครงการขับเคลือนยุทธศาสตร์ : 1) โครงการพัฒนากลไกการนิ เทศ ติดตาม ประเมินมาตรฐานและประเมินผลการ ดําเนิ นงานเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พืนทีสาธารณสุขเขต 17 ปี 2555 2) โครงการประเมินจัดระดับเทียบเคียงสมรรถนะผลการดําเนิ นงาน ป้องกัน ควบคุมโรค ระดับจังหวัดโดยประยุกต์ใช้เกณฑ์พฒ ั นาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐระดับพืนฐาน (Innovation) เป้าหมายการดําเนินงานทีสําคัญ: รายงานพยากรณ์โรค 1 เรืองและการติดตามประเมินผล การเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้ตามมาตรฐานสากล ผลการดําเนินงาน: รายงานการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกพืนทีสาธารณสุขเขต 17 จํานวน 1 เรือง โดยดําเนินการดังนี 1) กลุม่ ระบาดวิทยาและข่าวกรอง ได้ดาํ เนิ นการทบทวนรายชือและแต่งตังคณะทํางาน ผูเ้ ชียวชาญ 2) ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรในการจัดทําข่าวกรองพยากรณ์โรค/ภัยสุขภาพ ปี งบประมาณ 2555 3) จัดทําฐานข้อมูลการเกิดโรคและภัยสุขภาพทีสําคัญของหน่วยงานทีถูกต้อง ครบถ้วน และเป็ นปั จจุบนั 4) ดําเนิ นการทบทวนผลการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2554 5) ทบทวนรูปแบบและระเบียบวิธีการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก 6) สังเคราะห์ขอ้ มูล สถานการณ์โรค ปั จจัยทีเกียวข้อง เพือพยากรณ์โรคไข้เลือดออก 7) นําเสนอผลการศึกษาแลกเปลียนเรียนรูแ้ ละรับข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชียวชาญ ในการ ประชุมเชิงปฏิบตั ิการนําเสนอผลการวิเคราะห์และพยากรณ์โรค จัดโดยสํานักระบาด วิทยา 8) คณะทํางานฯ และผูร้ บั ผิดชอบนําผลการศึกษา และข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชียวชาญ มา จัดทําเป็ นรายงานการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกรายงานการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก พืนทีสาธารณสุขเขต 17 ปัญหาและอุปสรรค 1) ยังขาดความรูแ้ ละประสบการณ์ในการจัดทํารายงานการพยากรณ์โรค 2) ยังรวบรวมข้อมูลประกอบการพยากรณ์ได้ไม่ครอบคลุม

38


3) มีการจัดประชุมเสนอผลการพยากรณ์เพือรับข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชียวชาญ ล้าช้า ทําให้ ผูจ้ ดั ทํามีเวลาในการปรับแก้รายงานฉบับ 4) สมบูรณ์สง่ ให้สาํ นักระบาดวิทยาน้อยเกินไป ข้อเสนอแนะ 1) ให้มีทีมผูเ้ ชียวชาญ ติดตามให้ขอ้ เสนอแนะให้กบั สคร. อย่างต่อเนื อง 2) ให้มีการประสานเครือข่ายในการสืบค้น และรวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทําข่าวกรอง พยากรณ์โรค 3) ให้สาํ นักระบาดมีการจัดประชุมเสนอผลการพยากรณ์เร็วกว่าเดิม รายงานการประเมินผลการบริหารจัดการโครงการอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืน ระดับอําเภอ ปี 2555 ในพืนทีสาธารณสุขเขต 17 จํานวน 1 เรือง กรมควบคุมโรคให้หน่วยงานภายใต้สงั กัดคือสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 1-12 ดําเนิ นการ ประเมินผลโครงการอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืนในภาพรวมระดับประเทศ และให้ เก็บรวมรวม ข้อ มูลเชิง คุ ณภาพในพืน ที เพือหน่ วยงานจะได้นําผลที ได้ไ ปใช้ประกอบการวางแผนการพัฒนาการ ดําเนิ น งานตามโครงการทีเกียวข้อ งกับอําเภอควบคุมโรคเข้ม แข็งแบบยังยืน ให้มีประสิทธิภาพ จาก การศึกษาโดยใช้เครืองมือ คือ แบบสอบถามตามทีกรมฯ กําหนด พบว่ามีขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายและ ทางปฏิบตั ิดงั นี 1) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กรมควบคุมโรคควรพัฒนารูปแบบกลไกและวิธีการประเมินเพือให้คาํ รับรอง (Public Health System Accreditation) ทีนําไปสูร่ ะบบการประเมินทีมีคุณภาพและยังยืน โดยสือสารผูเ้ กียวข้องหลักให้ เข้าใจและเห็นประโยชน์ของการประเมินคุณภาพระบบป้องกันควบคุมโรคในพืนทีทีเชือมโยงกับผลลัพธ์ คือการลดโรคและสุขภาพของประชาชน ไม่ใช่เพือรางวัล ควรสร้างความชัดเจนในนโยบายว่าจะเป็ นนโยบายในระยะยาวและผลักดันให้เป็ นตัวชีวดั ใน ระดับเขต(ตรวจราชการบูรณาการ)/ตัวชีวดั ผูว้ า่ ราชการจังหวัด 2) ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบตั ิงาน 2.1 ควรปรับเกณฑ์คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืนทียังไม่ชดั เจนหรือต้องมี การตีความ 2.2 การประเมินควรมุ่งเน้นความสอดคล้องและเชือมโยงการทํางานในทุกระดับมากกว่า ประเมินตามหลักฐานเอกสาร 2.3 ควรยกเลิกการประกวดทีมีรางวัลเดียว แต่ปรับให้หน่วยงานได้รบั การรับรองตามคุณภาพ การดําเนิ นงานแทน

39


ยุทธศาสตร์ที 6 การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการองค์กรและบุคลากรให้มี ขีดสรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล โครงการขับเคลือนยุทธศาสตร์ : 1) โครงการพัฒนาและยกระดับระบบบริหารจัดการองค์กรและศักยภาพเทคโนโลยี สารสนเทศ ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล 2) โครงการพัฒนาและยกระดับศักยภาพบุคลากรตามสมรรถนะและมาตรฐานทีกําหนด 3) โครงการบริหารจัดการทรัพยากร สคร.9 พิษณุโลก เป้าหมายการดําเนินงานทีสําคัญ: - พัฒนาและยกระดับการบริหารจัดการองค์กรตามมาตรฐานสากล - พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะตามเกณฑ์ทีกําหนด ผลการดําเนินงาน: ระบบบริหารจัดการองค์กร 1. วิเคราะห์องค์กรตามเกณฑ์ Fundamental Level 2. จัดทําแผนปรับปรุงองค์กร 3. ตรวจรับรองระบบ ISO 9001:2008 4. พิจารณาร่างแผนงาน/โครงการของสคร.9 จังหวัดพิษณุโลก ปี 2556 กับจุดเน้นของกรม ควบคุมโรค 5. จัดทําแผนปฏิบตั ิราชการของสคร.9 จังหวัดพิษณุโลก ปี 2556 4. ติดตามผลการดําเนิ นงาน งบประมาณ การรายงานผ่านระบบ Estimate พัฒนาสมรรถนะ จัดอบรมพัฒนาสมรรถนะคุณธรรมและจริยธรรม วันที 20-22 กุมภาพันธ์ 2555 จัดอบรมพัฒนาสมรรถนะด้านการคิดวิเคราะห์ การมองภาพองค์รวม การตรวจสอบความ ถูกต้องตามกระบวนงาน เมือวันที 24-25 มกราคม 2555 พัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในสังกัด ถอดบทเรียนและทบทวนผลการดําเนิ นงานระบบประเมินผลการปฏิบตั ิราชการเพือเตรียม ความพร้อมก่อนประเมินทัง 2 รอบ ปัญหาและอุปสรรค บุคลากรบางคนไม่สามารถเข้าร่วมอบรมเพือพัฒนาสมรรถนะของตนเองได้เนื องจากติดภารกิจ ของกลุม่ /ศูนย์ ข้อเสนอแนะ จัดอบรมเพือพัฒนาสมรรถนะในไตรมาสแรก

40


จากการดําเนิ นงานตามยุทธศาสตร์ทีกรมควบคุมโรคกําหนด สคร.9 พิษณุโลก ได้ประเมิน ตนเองตามตัวชีวดั เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ โดยมีผลการดําเนิ นงานได้ตามเป้าหมายทีกําหนด สรุปดังตารางที 10 ตารางที 10 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามตัวชีวดั ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ปี งบประมาณ 2555 ตัวชีวดั

1

2

3

4

5

6

7

นํ าหนั ก

เป้าหมาย

ผลการดําเนิ นงาน

คะแนนทีได้

SM111 จํานวนจังหวัดทีมี ระบบและกลไกการบริหาร จัดการให้เกิดการพัฒนา “อําเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยังยืน” SM112ร้อยละของอําเภอทีเป็ น “อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยังยืน” ตามคุณลักษณะที กําหนด SM211ระดับความสําเร็จของ การดําเนิ นงานฯ สัดส่วนของ ผลิตภัณฑ์ทีดําเนิ นการตาม มาตรฐานสากล SM212ระดับความสําเร็จของ การดําเนิ นงานฯ สัดส่วนของ ผลิตภัณฑ์ทางวิชาการของกรมฯ ทีนํ าไปกําหนดเป็ นผลิตภัณฑ์ หลัก เพือการเฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของ ประเทศ SM213ระดับความสําเร็จของ การดําเนิ นงานฯ สัดส่วนของ ผลิตภัณฑ์ของกรมฯ ทีเข้าถึง เครือข่ายและองค์กรทีเกียวข้อง

10

2 จังหวัด

3 จังหวัด สุโขทัย/อุตรดิตถ์/ พิษณุโลก

4.000

คะแนน ถ่วง นํ าหนั ก 8.00

15

ร้อยละ 60

ร้อยละ 95.74

5.000

15.00

6

ขันตอน 5

ขันตอน 5

5.000

6

5

ขันตอน 5

ไม่มีการดําเนิ นงาน ในการดําเนิ นการ นํ าผลผลิตทาง วิชาการไปกําหนด เป็ นนโยบาย

N/A

N/A

7

ขันตอน 5

ขันตอน 5

5.000

7

SM214ระดับความสําเร็จของ การดําเนิ นงานฯ สัดส่วนของ เครือข่ายทีเกียวข้อง มีความพึง พอใจในผลิตภัณฑ์ของกรมฯ SM311ระดับความสําเร็จใน การรับทราบและมีความรูข้ อง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเรือง

7

ขันตอน 5

ขันตอน 5

5.000

7

3

ขันตอน 5

5.000

3

41

ขันตอน 5 ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย


ตัวชีวดั

8

9

โรคและภัยสุขภาพทีสําคัญของ กรมฯ SM312ระดับความสําเร็จใน การดําเนิ นการให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรม สุขภาพทีเหมาะสมตามเกณฑ์ที กรมควบคุมโรคกําหนด SM313ระดับความสําเร็จใน การดําเนิ นการให้เครือข่าย กลุ่มเป้าหมายเห็นว่า ภาพลักษณ์ของกรมอยู่ในเกณฑ์ ดี

10 SM314ระดับความสําเร็จใน การดําเนิ นการของหน่ วยงานให้ มีกลไกการบริหารจัดการการ สือสารสาธารณะเกียวกับโรค และภัยสุขภาพทีสําคัญของกรม ฯ 11 SM411ระดับความสําเร็จของ การมีกลไกและขันตอนการ บริหารจัดการการเตรียมความ พร้อมและการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินด้านโรคและภัยสุขภาพ แบบบูรณาการตามเกณฑ์ที กําหนด 12 SM412ระดับความสําเร็จของ ของสถานการณ์ฉุกเฉินและภัย พิบตั ิซึงมีปัญหาโรคและภัย สุขภาพที กรมควบคุมโรคสามารถตอบโต้ ตามทีกําหนด 13 SM511ระดับความสําเร็จของ การพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ ทีมีคุณภาพ 14 SM512ระดับความสําเร็จของ หน่ วยงานทีมีการติดตามการ

นํ าหนั ก

เป้าหมาย

ผลการดําเนิ นงาน

คะแนนทีได้

คะแนน ถ่วง นํ าหนั ก

4.600

2.76

5.000

3.00

5.000

3.00

3

ขันตอน 5

3

ขันตอน 5

3

ขันตอน 5

รับทราบและมีความ รู ้ ร้อยละ 85.5 ขันตอน 5 ประชาชน กลุ่มเป้าหมายมี พฤติกรรมสุขภาพที เหมาะสม ร้อยละ 73 ขันตอน 5 เครือข่ายกลุ่ม เป้าหมายเห็นว่า ภาพลักษณ์ของ หน่ วยงานอยู่ใน เกณฑ์ดี ร้อยละ 90.72 ขันตอน 5

7

ขันตอน 5

ขันตอน 5

5.000

7.00

3

ขันตอน 5

ขันตอน 5

5.000

3.00

8

ขันตอน 5

ขันตอน 5

5.000

8.00

5

ขันตอน 5

ขันตอน 5

5.000

5.00

42


ตัวชีวดั

ดําเนิ นงานของหน่ วยงานทีมี คุณภาพตามมาตรฐาน 15 SM513ระดับความสําเร็จของ การจัดทํารายงานการ ประเมินผลการเฝ้ าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และการบริหาร จัดการทรัพยากรเพือการลดโรค และภัยสุขภาพ ตามมาตรฐานที ได้รบั การยอมรับ 16 SM623 ร้อยละของบุคลากร ของหน่ วยงานมีสมรรถนะตาม เกณฑ์ทีกําหนด (สมรรถนะ เฉพาะ Technical Competency)

นํ าหนั ก

เป้าหมาย

ผลการดําเนิ นงาน

คะแนนทีได้

คะแนน ถ่วง นํ าหนั ก

5

ขันตอน 5

ขันตอน 5

3.000

5.00

10

ร้อยละ 95

ร้อยละ 73.26

1.000

2.00

ร้อยละ

84.76

100 หมายเหตุ : รายงานข้อมูล ณ 25 กันยายน 2555

43


4.3 สรุปผลการให้บริการต่างๆ ของหน่วยงาน สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก มีกิจกรรมบริการหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน พร้อมทังประชาชนในด้านต่างๆ มีผลการดําเนิ นงานตามตารางที 11 ตารางที 11 สรุปผลการให้บริการของหน่วยงาน ประจําปี งบประมาณ 2555 กิจกรรมบริการ

หน่วย นับ

2552

ปี งบประมาณ 2553 2554

2555

ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง

764 803 3,820 281 42

1,347 1,347 3,704 342 31

771 771 3,429 188 42

2,119 2,119 3,734 221 1

ตัวอย่าง ตัวอย่าง

5 4

7 73

7 103

12 2

ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง

3820 2910 526 224 160 281 16 29 18 12

3704 3032 411 114 147 342 144 58 135 10

3930 3429 368 23 110 188 1 6 6 6

3,734 3,226 422 0 86 221 212 4 0 5

ศูนย์สาธิต  การตรวจภูมิคุม้ กันต่อเชือเอช ไอ วี  การตรวจหาโรคซิฟิลิสทางภูมิคุม้ กัน  การตรวจหาปริมาณไวรัสเอชไอวี  การตรวจหาการดือยาของเชือเอชไอวี  การตรวจหาเชือหนองในด้วย Gram's stain  การตรวจหาเชือโรคเรือนด้วย SSS  การตรวจโรคผิวหนังด้วย KOH การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ Viral load UC Non-UC SL-3 Napha-Ex Drug resistance UC Non-UC SL-3 Napha-Ex

44


ตารางที 11 สรุปผลการให้บริการของหน่วยงาน ประจําปี งบประมาณ 2555 (ต่อ) กิจกรรมบริการ งานชันสูตรวัณโรค 1.การตรวจทางกล้องจุลทรรศน์ พบเชือ 2.การตรวจเพาะเชือ พบเชือบนอาหารแข็ง พบเชือด้วยMGIT 960 3.การพิสจู น์แยกชนิดเชือ MTB NTM 4.การทดสอบความไวของเชือต่อยาวัณโรค พบ MDR-TB ตรวจสภาพแวดล้อมในการทํางาน หน่วยงานทีรับบริการ แสงสว่าง เสียง ความร้อน ฝุ่น โลหะ ก๊าซมลพิษ ตรวจสุขภาพตามความเสียง หน่วยงานทีรับบริการ สมรรถภาพปอด สมรรถภาพการได้ยิน สมรรถภาพการมองเห็น วิเคราะห์ตวั อย่างชีวภาพ

หน่วย นับ

2552

ปี งบประมาณ 2553 2554

2555

ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง

797 36 1,885 485 485 14

848 66 1,645 468 640 640 599 41 640 8

510 27 1,781 345 634 790 684 106 684 15

0 0 1,768 451 705 677 589 88 561 11

แห่ง จุด จุด จุด ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง

42 245 48 19 52 80 84

35 28 11 8 15 90 124

20 132 48 22 45 66 56

38 203 65 38 70 12 190

แห่ง ราย ราย ราย ราย

4 125 120 141 -

12 303 234 275 34

10 169 294 434 84

11 426 478 929 84

45


4.4 ผลการใช้จา่ ยงบประมาณ สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ จํานวน 126,457,743.77บาท เบิกจ่ายงบประมาณจํานวน 129,900,457.89 บาท มีการใช้งบประมาณ ร้อยละ 102.72 ดังตารางที 12 ตารางที 12 การใช้จ่ายงบประมาณประจําปี 2555 จําแนกตามประเภทงบประมาณ ประเภท งบประมาณ

งบประมาณได้รบั

เบิกจ่ายสะสม

งบคงเหลือ

ร้อยละ การใช้งบฯ

งบบุคลากร

70,298,400.00

73,896,101.90

-3,597,701.90

105.12

งบดําเนินงาน

38,753,124.00

38,746,025.99

7,098.01

99.98

งบลงทุน

3,835,414.77

3,835,414.77

-

100.00

งบอุดหนุน

12,566,385.00

12,442,983.00

123,402.00

99.02

1,004,420.00

979,932.23

24,487.77

97.56

126,457,743.77 129,900,457.89 - 3,442,714.12

102.72

งบรายจ่ายอืน รวม

4.5 การใช้พลังงาน สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 9 จังหวัดพิษณุโลก สามารถประหยัดการใช้พลังงาน ประเภทนํามัน โดยสามารถใช้นํามันลดลง 62,663.82 ลิตร ลดลงร้อยละ 75.24% เมือเทียบกับค่า มาตรฐาน แต่ไม่สามารถประหยัดการใช้พลังงานประเภทไฟฟ้ าได้โดยมีการใช้ไฟฟ้ าเพิมขึน 76.96%ดัง ตารางที 13

46


ตารางที 13 การใช้พลังงานไฟฟ้าและนํามันปี งบประมาณ 2555 เทียบกับค่ามาตรฐาน จําแนกรายเดือน เดือน/ปี

ตุลาคม / 2554 พฤศจิกายน / 2554 ธันวาคม / 2554 มกราคม / 2555 กุมภาพันธ์ / 2555 มีนาคม / 2555 เมษายน / 2555 พฤษภาคม / 2555 มิถุนายน / 2555 กรกฎาคม / 2555 สิงหาคม / 2555 กันยายน / 2555 รวมปี งบประมาณนี รวมปี งบประมาณ 46 เพิม/ลด 2 เพิม/ลด 2 %

ปริมาณการใช้ไฟฟ้า หน่วยไฟฟ้า จํานวนเงิน (kWh) (บาท) 90,206.69 76,909.58 32,931.25 116,772.55 29,244.95 101,065.18 30,415.62 106,950.12 33,175.09 116,371.01 40,738.40 142,782.60 36,431.28 130,198.35 37,945.14 135,881.35 35,955.15 132,282.73 34,004.28 124,831.12 30,559.87 113,269.78 33,616.71 131,223.98 465,224.43 1,428,538.35 331,053.98 807,280.12 134,170.45 621,258.23 40.53% 76.96% 1

ปริมาณการใช้เชือเพลิง นํามัน 1 จํานวนเงิน (ลิตร) (บาท) 1,148.40 35,676.87 1,350.54 43,156.48 1,766.73 56,104.50 2,598.92 95,424.08 1,789.76 64,777.02 1,950.35 70,897.62 1,348.00 47,327.35 1,932.36 67,077.10 1,567.00 55,100.36 2,021.24 66,790.30 1,747.50 58,873.96 1,398.61 50,618.72 20,619.41 711,824.36 83,283.23 1,265,866.45 -62,663.82 -554,042.09 -75.24% -43.77%

ให้รวมปริมาณการใช้นํามันทัง ดีเซล/เบนซิน 91/เบนซิน 95 2 ผลการเพิม/ลดโดยเทียบกับปี ฐาน (2546)

47


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.