ช้างเอราวัณ

Page 1


คานา ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย ได้ รับการยกย่อง ว่า เป็ น“ยุคทองของวรรณคดี ” ด้ านกาพย์กลอนเจริ ญสูงสุด จนมีคากล่าว ว่า "ในรัชกาลที่ ๒ นันใครเป็ ้ นกวีก็เป็ นคนโปรด" พระองค์มีพระราชนิพนธ์ที่เป็ น บทกลอนมากมาย ทรงเป็ นยอดกวีด้านการแต่งบทละครทังละครในและละคร ้ นอก มี ห ลายเรื่ อ งที่ มี อ ยู่เ ดิ มและทรงนามาแต่ งใหม่เ พื่ อให้ ใ ช้ ใ นการแสดง ได้ เช่น รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา บทพากย์นีแ้ ต่งขึ ้นเพื่อใช้ ในการแสดงโขน นอกจากนัน้ ยังต้ องการสอนให้ ผู้อา่ นเห็นโทษของความลุ่มหลงในรู ป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อันนามาซึง่ ความ ประมาท เป็ นเหตุแห่งหายนะ


ประวัติผู้แต่ ง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ า นภาลัย มีพระนามเดิมว่า "ฉิม" ทรง เป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและ สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี เมื่อ พระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา ทรงได้รับ การสถาปนาขึน้ เป็ นสมเด็จพระเจ้ าลูก ยาเธอ เจ้ าฟ้ากรมหลวงอิศรสุ นทรใน คราวที่สมเด็จพระราชบิดาทรง สถาปนาขึน้ เป็ นสมเด็จพระเจ้ าลูกยา เธอ เจ้ าฟ้ากรมหลวงอิศรสุ นทรใน คราวที่สมเด็จพระราชบิดาทรง ปราบดาภิเษกขึน้ เป็ นปฐมกษัตริย์แห่ ง กรุ งรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕

พระราชกรณียกิจด้ านศิลปกรรมและวรรณกรรม ***ทรงปรับปรุงท่ าราต่ าง ๆ ทั้งโขนและละคร ซึ่งกลายเป็ นต้ นแบบมาถึง ปัจจุบัน ทรงประพันธ์ เพลง "บุหลันลอยเลื่อน" หรื อ "บุหลันลอยฟ้า" ***ทรงพระราชนิพนธ์ วรรณกรรมมากมาย เช่ น ขุนช้ าง ขุนแผน คาวี สั งข์ ทอง ไกรทอง อิเหนา ***ทรงแกะสลักบานประตูวิหารพระศรีศากยมุนี ที่วัดสุ ทัศนเทพวราราม ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ ณ พิพธิ ภัณฑสถานแห่ งชาติ พระนคร


ลักษณะการประพันธ์

คณะ พยางค์

กาพย์ฉบัง ๑๖ หนึ่งบทมี ๓ วรรค

พยางค์หรื อคา วรรคที่ ๑ มี ๖ คา วรรคที่ ๒ มี ๔ คา วรรคที่ ๓ มี ๖ คา รวมทั้งหมดมี ๑๖ คา จึงเรี ยกว่า กาพย์ฉบัง ๑๖ สัมผัส ๑. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคาสุ ดท้ายของวรรค ๒ ๒. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ของบท ต่อไป ( เรี ยกว่า สัมผัสระหว่างบท ) การอ่านกาพย์ฉบัง ๑๖ การอ่านกาพย์ฉบัง ๑๖ จะต้องแบ่งจังหวะการอ่านคาในแต่ละวรรคดังนี้ หนึ่งบทมี ๓ วรรควรรคแรกมี ๖ คา วรรคที่ ๒ มี ๔ คา วรรคที่ ๓ มี ๖ คา การอ่านจึงเว้นจังหวะทุกๆ ๒ คา


เนื้อหาของวรรณคดีไทย บทพากย์ เอราวัณ บทพากย์ เอราวัณนีบ้ รรยาย ลักษณะของช้ างเอราวัณไว้ อย่ าง พิสดาร

ช้ างนีเ้ ป็ นช้ างทรง ของพระ อินทร์ ช้ างเอราวัณในตอนนีเ้ ป็ น ช้ างเอราวัณที่พวกฝ่ ายอินทรชิต คือ การุ ณราช แปลงมาเป็ นช้ าง เอราวัณลอยมาบนท้ องฟ้ า และ เหล่ ายักษ์ แปลงตัวเป็ นเทวดา ทา ให้ ฝ่ายทัพพระราม ยกเว้ น หนุ มาน เผลอตัวชมความงามด้ วย เข้ าใจว่ าเป็ นเหล่ าเทวดาจริ งๆ


ความรู้ ประกอบเรื่ อง อินทรชิต เป็ นโอรสองค์ โตของนางมณโฑกับทศกัณฐ์ เดิมชื่ อ รณพักตร์ เป็ นพีน่ างสี ดาและไพนาสุ ริยวงศ์ มีชายาชื่ อ นางสุ วรรณกันยุมา มีโอรส 2 องค์ คือ ยามลิวัน และ กันยุเวก เมื่อเมื่ออายุ 14 ปี ไปเรียนวิชากับฤๅษีโคบุตร รู้พระเวทชื่ อ “มหากาลอัคคี” คือ ถ้ าบูชาพระเป็ นเจ้ าทั้งสามได้แก่ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหมครบ 7 ปี จะมีฤทธิ์ยิ่ง เมื่อครบ 7 ปี พระอิศวรประทาน ศรพรหมาสตร์ และ พระเวทให้ แปลงเป็ นพระอินทร์ ได้ พระพรหมประทาน ศร นาคบาศ และให้ พรว่ าตายก็ให้ ตายกลางอากาศ หากศีรษะตก พืน้ โลกจะลุกไหม้ ด้วยไฟกัลป์ ต้ องนาพานแก้ วของพระพรหม มารับ พระนารายประทานศรวิษณุปาณัม ทศกัณฐ์ ใช้ ให้ ไป ปราบพระอินทร์ พระอินทร์ แพ้ทงิ้ จักรแก้ วไว้ จึงนามาถวาย ทศกัณฐ์ ทศกัณฐ์ จึงตั้งชื่ อ ให้ ใหม่ ว่า “อินทรชิต” แปลว่ า “ ผู้พชิ ิตพระอินทร์ ”



ครั้ ง ที่ สี่ ท าพิธี กุม ภนิ ย าเพื่ อ ชุ บ ตั ว เป็ นกายสิ ทธิ์ ก่ อ น หลบไปทาพิธี ทศกัณฐ์ ให้ สุขาจารแปลงเป็ นสี ดา อินทรชิ ตพา ไปตัดหัว ให้ พระลักษมณ์ ดูกลางสนามรบ เพื่อลวงว่ าสี ดาตาย แล้ ว ให้ พ ระรามยกทัพ กลั บ จากนั้ นหลบไปท าพิธี กุ ม ภนิ ย า พระลักษมณ์ ตามไปทาลายพิธี และทาลายศรวิษณุปาณัม ศร นาคบาศ และศรพรหมาสตร์ อินทรชิตหนีเข้ าเมือง ครั้ งที่ห้ารบกันพระลักษมณ์ อินทรชิ ตรู้ ตัวว่ าไม่ รอดแน่ ขอให้ ท ศกั ณ ฐ์ คื น นางสี ด า ทศกั ณ ฐ์ ไม่ ย อมประทาน ศรสุ ร กานต์ ให้ ออกไปรบ อินทรชิ ตลาลูกเมีย แล้ วออกรบ ถูกพระ ลั ก ษมณ์ ฆ่ า ด้ ว ยศรพรหมาสตร์ องคต พี่ ช ายร่ วมมารดา เดีย วกั น ไปขอพานแว่ น ฟ้ า จากพระพรหมมารองรั บ ไม่ ใ ห้ ศีรษะตกพืน้ เพราะจะทาให้ เกิดไฟไหม้ โลก


แปลบทประพันธ์ เนื้อเรื่ องหน้ า๑๒๔-๑๒๕ อินทรชิตแปลงกายเป็ นพระอินทร์ ทรงช้ างเอราวัณซึ่งมีลกั ษณะดังนีค้ ือมีกาย สีขาวเหมือนสังข์ มีเศียรงดงาม ๓๓ เศียร แต่ ละเศียรมีงา ๗ งา ซึ่งสวยงามเหมือน เพชรงาแต่ ละกิง่ มีสระบัว ๗ สระ แต่ ละสระมีกอบัว ๗ กอ แต่ ละกอมีดอกบัว ๗ ดอก แต่ ละดอกมีกลีบบัวบาน ๗ กลีบ แต่ ละกลีบมีนางฟ้ารู ปงามอยู่ ๗ องค์ แต่ ละองค์มี บริวารที่เป็ นหญิงงาม ๗ นางซึ่งจับระบาราฟ้อนด้วยท่ าทางอย่างนางฟ้า ที่เศียรช้ าง ทุกเศียรมีบุษบกวิมานซึ่งงามราวกับ วิมานเวไชยันต์ ของพระอินทร์ ช้ างเอราวัณใส่ เครื่ องประดับช้ างที่ประดับตกแต่ ง อย่างสวยงาม ด้วยแก้วนพรัตน์ และทองทัว่


เนื้อเรื่ องหน้ า ๑๒๔-๑๒๕ ช้ างเอราวัณใส่ เครื่ องประดับช้ างที่ประดับ ตกแต่ งอย่ างสวยงามด้ วยแก้ว นพรัตน์ และทอง ควาญช้ างกับสารถีของอินทร ชิตชื่ อ โลทัน เป็ นเทพบุตรนั่ง อยู่ท้ายช้ าง เป็ นผู้ขับขี่ช้าง เหล่า ทหารทั้งสี่ เหล่าแปลงกายเป็ น เทพ และอมนุษย์ ผู้มีฤทธิ์ ทัพ หน้ า คือ เทพารักษ์ ทัพหลัง คือ ครุฑ กินนร และนาคปี กซ้ าย คือ วิทยาธร ปี กขวา คือ คนธรรพ์ การจัดกระบวนทัพเป็ นไปตาม ตาราสงครามและทหารทุกนาย ล้วนมีอาวุธครบครันเมื่อฟ้าเริ่ม สว่ างเหล่าแมลงภู่ผงึ้ และ หงส์ ทองก็ร่อนลงมาหาอาหาร กิน เสี ยงนกกาเหว่ า ไก่และฝูง นกก็เริ่มส่ งเสี ยงประสานกัน พระลักษณ์ พระรามก็ตื่น บรรทม


เนือ้ เรื่ องหน้ า ๑๒๖-๑๒๗ เมื่อพระราม และพระ ลักษณ์ ต่ นื บรรทม ทัง้ สองพระองค์ จึงเสด็จประทับบนรถทรงที่ประดับ ด้ วยแก้ วแวววาว เพลารถมีลาย วิจติ รตระการตา และยังมีเครื่ องสูง สาหรั บแสดงพระอิสริยยศ โดย มาตลีสารถีของพระอินทร์ มาขับรถ ทรง ดังกึกก้ องเข้ าไปยังกลาง กองทัพทัง้ ๔ เหล่ า ซึ่งตอนนีเ้ ริ่มตี กลอง และเป่ าสังข์ เพื่อส่ งสัญญาณ ออกศึกเหล่ าทหารส่ งเสียงโห่ ร้อง เอาชัย ดังสนั่นก้ องไปทั่วป่ า สรรพ สัตว์ ทงั ้ หลายต่ างตกใจแม้ แต่ ลูก ครุ ฑเมื่อได้ ยนิ เสียงของฝ่ าย กองทัพพระรามก็ตกใจพลัดตก จากวิมานฉิมพลีเช่ นเดียวกับนก หัสดีลิงค์ เมื่อได้ ยนิ ก็ตกใจปล่ อย ช้ างที่คาบลง เหล่ าเทวดาและ นางฟ้ าต่ างโปรยดอกไม้ เพื่อเป็ น การอานวยอวยชัยให้


เนือ้ เรื่ องหน้ า ๑๒๗-๑๒๘ พระลักษณ์ เมื่อเห็นกองทัพของพระอินทร์ เสด็จมาจึงตรั สถามสุครี พว่ าเพราะเหตุใด พระอินทร์ จงึ เสด็จมา ณ ที่แห่ งนี ้ สุครี พเห็นผิด สังเกตจึงบอกให้ พระลักษณ์ ระวังพระองค์ เพราะ เกรงว่ าจะเป็ นกลลวงของฝ่ ายยักษ์ อินทรชิตเห็น พระลักษณ์ กร็ ี บสั่งให้ ไพร่ พลจับระบาถวาย จนพระ ลักษณ์ เคลิบเคลิม้ อินทรชิตเห็นได้ โอกาสจึงแผลง ศรพรหมมาสตร์ ต้องพระวรกายของ พระลักษณ์ ล้มลงกลางไพร่ พลในสนามรบนัน้


อธิบายความหมายของคาศัพท์ 1.กบี่ หมายถึง ลิง 2.กินนร หมายถึง อมนุษย์ในนิยายมี 2 ชนิด ชนิดหนึ่งเป็ นครึ่ง คนครึ่งนก ท่อนบนเป็ นคน ท่อนล่างเป็ นนก อีกชนิดหนึ่งมี รูปร่างเหมือนคน เมื่อจะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีกใส่หางไป 3.คนธรรพ์ หมายถึง ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง เป็ นบริ วารท้ าวธตรฐ มีควาญในการดนตรี และขับร้ อง 4.ฉิมพลีหมายถึง ต้ นงิ ้ว 5.ราพณ์ หมายถึง ยักษ์


6.วิทยาธร หมายถึง อมนุษย์พวกหนึง่ มีฐานะต่า กว่า เทวดา เชื่อว่ามี วิชากายสิทธิ์สามารถเหาะเหิน เดินอากาศได้ 7.สัตภัณฑ์หมายถึง ชื่อหมูเ่ ขา 7 ชันที ้ ่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุ ได้ แก่ยคุนธร อิสินธร กรวกิ สุทสันะ เนนิธร วนินั ตกะ และอสักณ 8.สุบรรณ หมายถึง ครุ ฑ 9.หัสดิน หมายถึง ช้ าง 10.หัสดินอินทรี หมายถึง นกหัสดีลิงค์เป็ นนกในวรรณคดีมีตวั ใหญ่ กาลังทาการคาบช้ าง 5 เชือก มีกรงเล็บใหญ่ มีงวงคล้ ายช้ าง อยู่ บริ เวณป่ าหิมพานต์


อ่ านจบแล้ วอย่ าลืมทาข้ อสอบกันด้ วยนะคะ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.