Book-641413017

Page 1

คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ในโลกปจจุบันทีผูคนใช้งาน คอมพวเตอรและอนเทอรเนตอยาง กว้างขวางคุณรูจักสิงเหล่านีดีแค่ไหน “คอมพวเตอร“, “อนเทอรเนต“ เรียบเรียงโดย อาทิตย์ ลุงหยะ
เนือหาภายในหนังสือ(E-Book)เล่มนีจะทาใหผทานไดทาความรจกกบ "คอมพิวเตอร์"และ"อินเทอร์เน็ต"มากขึนว่าสิงประดษฐหรอเทคโนโลยเหลานถูกสร้างขึนด้วยเหตุ อันใดเพือประโยชนอะไร?และในปจจุบันเทคโนโลยีเหล่านีพฒนาและถกใชประโยชนในดานใดบาง และพฒนาไปถงขนไหนแล้วรวมไปถึงบุคคลต่างๆทีมอทธพลตอคอมพวเตอรและระบบอนเทอรเนต เนือหาภายในหนังสือ(E-Book)เล่มนีจะทําให้ผู้อ่านได้รับรู้ถึงข้อดีและข้อเสียของเทคโนโลยีทีกล่าว ไวในขันต้นตังแตอดตจนถงปจจบน เทคโนโลยีทีมีอยู่ในปจจุบันทังทีถกใชในชวตประจาวนองคกรใชเพอ ประโยชน์ส่วนตัวส่วนรวมเพือขับเคลือนโลกเพือความบนเทงหรอประโยชนใชสอยตางๆนาๆนน ล้วนมาจากพืนฐานเดียวกันจากอดีตและพัฒนาเรือยมาจวบจนปจจุบันจะดีกว่าหรือไม่?หากเราจะ ไดรจกตนกาเนดของเทคโนโลยทใช้ขับเคลือนโลกนีอย่างแพร่หลายในปจจนผจดทาหวงวาผอานจะ ได้รับประโยชน์อย่างมหาศาลในการอ่านเนือหาภายในหนังสือ(E-Book)เล่มนีตามความสนใจของ ผู้อ่านไม่อย่างใดก็อย่างหนึงหากมีข้อผิดพลาดประการใดขออภัยมาณทีนี ผู้จัดทํา 641413017นายอาทตยลงหยะ
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 1 สารบัญ เรือง หน้าที ประวัติศาสตร์คอมพิวเตอร์ 1 ยุคต้นของการคิดค้นและแนวคิดเกียวกับคอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์เครืองแรกของโลก 3-4 คอมพิวเตอร์ทีได้รับการพูดถึงในยุคเดียวกับคอมพิวเตอร์เครืองแรก 5 ชินส่วนหลักภายในอีนิแอก 6-9 บุคคลในประวัติศาสตร์และปจจุบันทีมีความสําคัญต่อคอมพิวเตอร์ 10-18 คอมพิวเตอร์5ยุค 19 คอมพิวเตอร์คืออะไร? 19 คอมพิวเตอร์ยุคที1 20 คอมพิวเตอร์ยุคที2 21 คอมพิวเตอร์ยุคที3 22 คอมพิวเตอร์ยุคที4 23 คอมพิวเตอร์ยุคที5 24 ประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต 25 บุคคลผู้ร่วมให้กําเนิดอินเทอร์เน็ต 26-28 อุปกรณ์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 29-30
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 1 ประวัติศาสตร์คอมพิวเตอร์ ก่อนทีจะมาเปนคอมพิวเตอร์เหมือนทีเห็นอย่างในปจจุบันต้องย้อนกลับไปในอดีต มนุษย์มี วิวัฒนาการในการหาเครืองมือช่วยในการคํานวณมากมายตามแต่สภาพท้องทีหรือถินฐานทีอาศัยอยูนันๆ อย่างเช่น “ลูกคิด” เชือกันว่าลูกคิดมีวิวัฒนาการมาจากการใช้มือและเท้าเพือช่วยในการคํานวณ พัฒนา ต่อมาจนเปนลูกหิน โดยมีการใช้เชือกผูกร้อยลูกหินเปนแนวยาวและมีวิวัฒนาการเรือยมาจนเปนลูกคิดที มีลักษณะเปนรางโครงสีเหลียม และมีแกนร้อยตัวเปนลูกคิดกลม ๆ แบ่งเปน ด้านบนและด้านล่าง ด้าน บนจะมีลูกคิด2เม็ดขณะทีด้านล่างในรางไม้จะมี5ลูกแบ่งเปนแถวเรียงกันไปอย่างทีเรารูจักกันลักษณะ สําคัญของลูกคิดคือการคิดการคิดด้วยลูกคิดซึงสามารถหาผลลัพธ์ทันทีโดยไม่ต้องเขียนลงในกระดาษ เพียงแต่เลือนลูกคิดขยับขึนลง ลูกคิดนันมีต้นกําหนดมาจากอาณาจักรโบราณของเมโสโปเตเมียในช่วงประมาณ 3,000 ปก่อนคริสตกาลแต่ก็ไม่สามารถระบุได้ถึงว่าบุคคลใดเปนผูคิดค้นขึนแต่ทังนีในประวัติศาสตร์กลับมีข้อมูล ทียืนยันได้ว่าลูกคิดเปนทีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศจีน อีกข้อมูลด้านหนึงก็มีการกล่าวอ้างว่า นักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวจีนเปนผูประดิษฐ์ขึนซึงข้อมูลในแต่ละทิศทางนันแตกต่างกันออก ไป หากพูดถึงต้นกําเนิดทีจีนนันมีบันทึกว่ามีชาวจีนประมาณ2600ปก่อนคริสตกาลได้เปนคนประดิษฐ์ เครืองมือเพือใช้ในการคํานวณขึนมา เรียกว่า ลูกคิด (Abacus) ซึงถือได้ว่าเปนต้นกําเนิดของเครือง คํานวณและคอมพิวเตอร์ ลูกคิดสามารถพบเห็นได้ทัวไปจากหลาย ๆ ประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ มีมากมา หลายแบบ เช่น บาบิโลน โรมัน จีน ญีปุน แต่ทีเปนทีนิยมและเปนทีรูจักกันทัวไปส่วนใหญ่คือลูกคิดแบบ จีน มีชือเรียกว่า “ซว่านผาน” รองลงมาคือ แบบญีปุน ทีเรียกว่า “Soroban” ลูกคิด ยุคต้นของการคิดค้นและแนวคิดเกียวกับคอมพิวเตอร์
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 2 ต่อมาได้มรการค้นพบ“เครืองกลแอนติคิเธียรา”เปนคอมพิวเตอร์แอนะลอกเชิงกลสมัย โบราณ (หลักการทํางานตรงกันข้ามกับคอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล)มีการออกแบบเพือให้คํานวณตําแหน่ง ทางดาราศาสตร์ครืองกลดังกล่าวนีถูกพบโดยบังเอิญในซากเรือโบราณซึงถูกค้นพบในช่วงเวลาไม่นาน นักก่อนเทศกาลอีสเตอร์ค.ศ.1900ทีความลึก42เมตรนักดํานําชาวกรีกทีค้นหาฟองนําได้นําสิงของ ต่างๆรวมทังรูปปนมากมายขึนมาด้วยแต่การค้นพบทีน่าสนใจทีสุดจากซากเรืออับปางครังนีเกิดขึนเมือ วันที17พฤษภาคมค.ศ.1902เมือนักโบราณคดีชือสปริโดนสไตส์(SpyridonStais)ได้สังเกตเห็น เศษหินชินหนึงทีได้จากบริเวณดังกล่าว มีเฟองล้ออันหนึงฝงจมอยู เมือตรวจสอบโดยละเอียด ก็พบ ว่า สิงทีเข้าใจว่าเปนหินนัน ทีจริงก็คือ กลไกชนิดหนึงทีสึกกร่อนและผุพัง มีนําหนักมาก ซึงคงเหลืออยู เปน 3 ชินส่วนใหญ่ๆ และมีชินส่วนเล็กๆ อีกนับสิบๆ ชิน อุปกรณ์ดังกล่าวมีขนาดประมาณ 30 คูณ 15 เซนติเมตร และมีความหนาขนาดหนังสือ ทําจากสําริด เดิมติดตังไว้บนกรอบไม้ มีข้อความจารึกไว้กว่า 2,000 ตัว ซึงถอดความได้แล้วประมาณ 95% ข้อความจารึกทังหมดยังไม่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ อุปกรณ์ทีว่านีถูกนําไปจัดแสดงใน กลุมสําริด แห่งพิพิธภัณฑสถานโบราณคดีแห่งชาติ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ พร้อมกับอุปกรณ์ทีจําลองขึนใหม่ ส่วนอุปกรณ์จําลองอีกชิน จัดแสดงไว้ใน พพธภณฑคอมพวเตอรอเมรกน ในเมองโบซแมน รฐมอนแทนา สหรฐอเมรกา ต้นกําเนิดของเครืองกลดังกล่าวนียังไม่ทราบแน่ชัดทราบเพียงว่าเปนวัตถุทีเคยอยูบน เรือแอนติคิเธียราเรือนีเปนเรือของโรมันแต่เครืองกลนีน่าจะสร้างขึนในกรีซอย่างแน่นอนข้อสมมุติฐาน อย่างหนึงก็คืออุปกรณ์นีถูกสร้างในสํานักวิชาการทีสร้างโดยโพไซโดนิออส(Posidnius)นักปรัชญา สโตอิกโบราณ บนเกาะรอดอส หรือโรดส์ (Rhodes) ของกรีก ซึงในเวลานัน เมืองดังกล่าวถือเปน ศูนย์กลางด้านวิศวกรรมเครืองกล และดาราศาสตร์ นักสํารวจยังมีข้อเสนอว่าเรือดังกล่าวอาจนํา อุปกรณ์ชินนีไปยังกรุงโรมพร้อมกับทรัพย์สินอืนๆทีปล้นไปจากเกาะแห่งนันเพือสมทบงานแห่ฉลอง ชัยชนะของจูเลียส ซีซาร์ เครืองกลแอนติคิเธียรา
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 3 คอมพิวเตอร์เครืองแรกของโลก เปนเรืองยากทีจะชีชัดลงไปว่าอุปกรณ์ใดจัดเปนคอมพิวเตอร์ยุคแรก ๆ เพราะ คําว่า“คอมพิวเตอร์”เองก็มีการตีความเปลียนไปมาอยูเสมอแต่จุดเริมของคํานีหมายถึงคนทีทําหน้าที เปนนักคํานวณในสมัยนัน-ค.ศ.1930ถึงช่วงปค.ศ.1940เปนช่วงทีโลกได้มีคอมพิวเตอร์ทีสามารถ โปรแกรมไดและคานวณผลลพธไดมประสทธภาพจรง เครืองคํานวณจักรกลและไฟฟานันมีมาตังแต่คริสต์ศตวรรษที19แต่ในช่วงคริสต์ ศตวรรษ 1930 และ 1940 นันถือกันว่าเปนจุดเริมของยุคคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ อตานาซอฟฟ-เบอร์รี(AtanasoffBerryComputerย่อว่าABC) เปนเครืองคํานวณ ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์เครืองแรกของสหรัฐอเมริกา เริมสร้างเมือ พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) มันสามารถ แก้สมการเชิงเส้นได้สูงสุด29ตัวแปรโดยผ่านการ ทดสอบอย่างสมบูรณ์ แม้ว่าใน พ.ศ. 2485 (ค.ศ. 1942) กลไกการรับส่งข้อมูลเข้าออกจะยังคงไม่น่า เชือถือ เมือ จอห์น อตานาซอฟฟ และ คลิฟฟอร์ด เบอรร ผประดษฐมนออกจากวทยาลยไอโอวาสเตต เพือรับหน้าทีในสงครามโลกครังที2ABCได้บุกเบิก ส่วนประกอบทีสําคัญของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ซึง รวมถึงเลขคณิตฐานสองและสวิตช์อิเล็กทรอนิกส์ แต่ด้วยความทีมันเปนเครืองคํานวณเฉพาะงาน ไม่ สามารถบันทึกโปรแกรมได้ ทําให้มันแตกต่างอย่าง ชัดเจนจากคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ อตานาซอฟฟ-เบอร์รี (Atanasoff-Berry Computer) งานคอมพิวเตอร์ของอตานาซอฟฟไม่เปนที รูจักในวงกว้างจนกระทังถูกค้นพบอีกครังในคริสต์ ทศวรรษ 1960 ท่ามกลางความขัดแย้งเกียวกับ การอ้างสิทธิเครืองคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ เครืองแรก ตามความเข้าใจสมัยใหม่มักจะถือกัน ว่าคอมพิวเตอร์อีนิแอกเปนคอมพิวเตอร์เครือง แรก แตใน พศ 2517 ศาลแขวงสหรฐฯ ไดตดสน ให้สิทธิบัตรของอีนิแอกเปนโมฆะ และสรุปว่า ABC เปน “คอมพิวเตอร์” เครืองแรก ABC เปนเครือง คํานวณแบบเปลียนโปรแกรมไม่ได้(ไม่เหมือนกับ คอมพิวเตอร์ทีใช้สถาปตยกรรมแบบฟอนนอยมันน์ หรือสถาปตยกรรมแบบฮาร์วาร์ดหรือเครืองคํานวณ แบบ plug-board ทีโปรแกรมได้) ทีใช้สําหรับแก้ สมการเชิงเส้น The First Computer อตานาซอฟฟ-เบอร์รี หลอดสุญญากาศ
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 4 อตานาซอฟฟ-เบอร์รี (Atanasoff-Berry Computer) ผูให้กําเนิด จอห์น วี. อะทานาซอฟฟ (John V. Atanasoff)เกิดเมือวันที4ตุลาคมค.ศ.1903ทีเมือง นิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ท่านเปนผูประดิษฐ์เครือง คอมพิวเตอร์ทีใช้ไฟฟาเปนคนแรกคือเครือง ABC เมือป ค.ศ. 1937 (ก่อนหน้านีเปนคอมพิวเตอร์ แบบเครืองจักรกล) ในขณะนันเขาอาจไม่รู้ว่าผล งานของเขาจะมีบทบาทต่อชีวิตความเปนอยู่ของ มนุษย์ในอนาคตมากมายขนาดนีเขาได้เปดประตูสู ยุคคอมพิวเตอร์ให้กับคนรุนหลังได้พัฒนาต่อยอด มาจนกลายเปน คอมพิวเตอร์ในปจุบัน ท่านเสียชีวิตเมือวันที 15 มิถุนายน 1995
Dr.
John Vincent Atanasoff คลิฟฟอร์ดเบอร์รี เกิดเมือวันที19เมษายน พ.ศ.2461(ค.ศ.1918) ในเมืองแกลดบรูค รัฐไอโอวา เปนบุตรของเฟร็ดและเกรซเบอร์รีพ่อของเขาเปน เจ้าของร้านซ่อมเครืองใช้ไฟฟาทีซึงเขาสามารถเรียน รู้เกียวกับวิทยุได้เขาสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียน มัธยมมาเรนโกในมาเรนโกรัฐไอโอวาในป 1934 ใน ฐานะนักปราชญ์ชันมัธยมศึกษาตอนอายุ 16 ปเขาไป เรียนต่อทีIowa State College (ปจจุบันรูจักกันใน ชือIowaStateUniversity)ในทีสุดก็ได้รับปริญญา ตรีในสาขาวิศวกรรมไฟฟาในป 2482(ค.ศ.1939) และตามด้วยปริญญาโทสาขาฟสิกส์ในป พ.ศ.2484 (ค.ศ.1941) ในปพ.ศ.2485(ค.ศ.1942)เขาได้แต่งงานกับ Martha Jean Reed เลขาของ ISU และเลขานุการ ของ Atanasoff ในปพ.ศ.2491(ค.ศ.1948)เขาสําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอกสาขาฟสิกส์จากมหาวิทยาลัยแห่ง รัฐไอโอวา คลิฟฟอร์ด เอ็ดเวิร์ด เบอร์รี (19 เมษายน พ.ศ.2461–30ตุลาคมพ.ศ.2506)ช่วยจอห์นวิน เซนต์ อตานาซอฟสร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ดิจิทัลเครืองแรกในปพ.ศ.2482นันคือคอมพิวเตอร์ Atanasoff–Berry (ABC) ท่านเสียชีวิตเมือวันที 30 ตุลาคม 1963
Clifford Edward Berry
(คลิฟฟอร์ด เบอร์รี) (จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 5 คอมพิวเตอร์ทีได้รับการพูดถึง ในยุคเดียวกันของคอมพิวเตอร์เครืองแรกของโลก Electronic Numerical Integrator andComputer THE ENIAC อีนิแอก อีนิแอก(ENIAC) เปนคอมพิวเตอร์ดิจิทัล อิเล็กทรอนิกส์อเนกประสงค์ เครืองแรกของโลก พัฒนา โดยกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ในป พ.ศ. 2485 ช่วงระหว่าง สงครามโลกครังที 2 เพือใช้ใน การคํานวณวิถีการโจมตีของ อาวุธในแบบต่างๆ อีนิแอก ได้จัดเข้าสู่โครงการ ในคณะ วิศวกรรมไฟฟา ที มหาวิทยา ลัยเพนซิลเวเนีย ในป 2486 และในป 2490 ได้ถูกย้ายไปที AberdeenProvingGround ทีรัฐแมริแลนด์ อีนิแอก(ENIAC) คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประกอบ ด้วย หลอดสุญญากาศ 17,468 หลอดไดโอดคริสตัล7,200ตัว รีเลย์ 1,500 ตัว ตัวต้านทาน 70,000 ตัว ตัวเก็บประจุ 10,000 ตัว โดยมีนําหนัก 27 ตันขนาดสูง2.4เมตร(8ฟุต) กว้าง0.9เมตร(3ฟุต)และยาว 30เมตร(100ฟุต)โดยใช้เนือที ทังหมด167เมตร²(1,800ฟุต²) และใช้ไฟฟา 150 กิโลวัตต์ อีนิแอก(ENIAC) ออกแบบและพัฒนาโดย จอห์น พลีสเพอร์ เอกเคิร์ต และ จอห์น วิลเลียม มอคลี ทีมหาวิทยา ลัยเพนซิลเวเนีย โดยมอคลีได้ ยืมแนวความคิดบางส่วนจาก คอมพิวเตอร์ อตานาซอฟฟ เบอร์รี มาพัฒนาต่อ หลอดสุญญากาศเจ้าหน้าที เปลียนหลอดสุญญากาศ เจ้าหน้าที ตรวจเช็คคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อีนิแอก
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 6 ชินส่วนหลักภายในอีนิแอก ส่วนประกอบภายในทีทําให้อีนิแอคทํางานได้ ไดโอตคริสตอล(Crystal-Diode) ไดโอด(diode)เปนอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์มีสองขัวคือขัวA(Anode)และขัวK (cathode)มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟาไหลในจาก ขัว A ไปหาขัว K เท่านัน และ ไม่ยอมให้กระแสไฟฟา ไหลจากขัว K ไปยังขัว A เมือกล่าวถึงไดโอด มัก จะหมายถึงไดโอดทีทํามาจากสารกึงตัวนํา (อังกฤษ: Semiconductor diode) ซึงก็คือผลึกของสารกึง ตัวนําทีต่อกันได้ขัวทางไฟฟาสองขัวส่วนไดโอดแบบ หลอดสุญญากาศ (Vacuum tube diode) ถูกใช้ เฉพาะทางในเทคโนโลยีไฟฟาแรงสูงบางประเภท เปน หลอดสุญญากาศทีประกอบด้วยขัวอิเล็ดโทรดสองขัว ซึงจะคือแผ่นตัวนํา (plate) และแคโทด (cathode) ไดโอดตัวแรกเปนอุปกรณ์หลอด สุญญากาศ โดยไดโอดแบบสารกึงตัวนําตัวแรก ถูกค้นพบจากการทดสอบความสามารถในการเรียง กระแสของผลึกโดยคาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรวน นัก ฟสิกส์ชาวเยอรมัน ในป พ.ศ. 2417 เรียกว่า cat’s whisker diodes และไดถกพฒนาในป พ.ศ. 2449 โดยทําไดโอดมากผลึกแร่กาลีนา แต่ทุกวันนีไดโอดที ใช้ทัวไปผลิตมาจากสารกึงตัวนํา เช่น ซิลิกอน หรือ เจอร์เมเนียม ไดโอตคริสตอล(Crystal Diode) หลอดสุญญากาศ(Vacuum-Tube) หลอดสุญญากาศ(vacuumtube) หรือ หลอดอิเล็กตรอน (electron tube) หรือ วาล์วเทอร์มิออนิค (thermionic valve) ในทาง อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึงอุปกรณ์ทีควบคุมกระแส ไฟฟาผ่านขัวอิเล็กโทรดภายในบริเวณทีมีอากาศหรือ ก๊าซเบาบาง ปรากฏการณ์ ทางฟสิกส์ทีใช้อธิบาย การนําไฟฟาก็คือปรากฏการณ์เทอร์มิออนิคอิมิตชัน (thermionic emission) ซึงอธิบายว่าเมือโลหะถูก ทําให้ร้อนจนถึงระดับหนึงด้วยการปอนกระแสไฟฟาจะ ทําให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาทีผิวของโลหะเมือทําการ ปอนศักย์ไฟฟาเพือดึงดูดอิเล็กตรอนทีหลุดออกมา อยูทีผิวด้วยขัวโลหะอีกขัวหนึงทีอยูข้างๆจะทําให้เกิด การไหลของกระแสได้ เราเรียกหลอดสุญญากาศทีมี ขัวโลหะเพียงสองขัวนีว่าหลอดไดโอด(Diode)โดย ขัวทีให้อิเล็กตรอนเรียกว่าคาโธด(Cathode)และขัว ทีรับอิเล็กตรอนเรียกว่า อาโนด (Anode) โดยปกติ จะมีรูปร่างเปนแผ่นโลหะธรรมดา บางทีจะเรียกว่า เพลท(Plate)การไหลของกระแสไฟฟาของหลอดได โอดเปนแบบไม่เปนเชิงเส้น (Non-linear current) กล่าวคือเมือปอนศักย์ไฟฟาบวกให้กับขัวอาโนดและ ศักย์ไฟฟาลบให้กับขัวคาโธดจะทําให้เกิดกระแสไฟฟา ไหลดังทีได้อธิบายผ่านมาแต่เมือปอนศักย์ไฟฟากลับ ทางคือปอนศักย์ไฟฟาบวกให้กับคาโธดและปอนศักย์ ไฟฟาลบให้กับอาโนดจะทําให้กระแสไฟฟาไม่สามารถ ไหลได้ ซึงเปนผลมาจากอิเล็กตรอนถูกผลักด้วยผล ของสนามไฟฟาหลอดสุญญากาศ(Vacuum-Tube)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 7 ตัวต้านทาน(Resistor) ตัวต้านทาน หรือ รีซิสเตอร์ (อังกฤษ: resistor) เปนอุปกรณ์ไฟฟาชนิด หนึงทีมีคุณสมบัติในการต้านการไหลผ่านของ กระแสไฟฟา ทําด้วยลวดต้านทานหรือถ่าน คาร์บอน เปนต้น[1] นันคือ ถ้าอุปกรณ์นันมี ความต้านทานมาก กระแสไฟฟาทีไหลผ่านจะ น้อยลง เปนนอุปกรณ์ไฟฟาชนิดพาสซีฟสอง ขัว ทีสร้างความต่างศักย์ไฟฟาคร่อมขัวทัง สอง (V) โดยมสดสวนมากนอยตามปรมาณ กระแสไฟฟาทีไหลผ่าน (I) อัตราส่วนระหว่าง ความต่างศักย์ และปริมาณกระแสไฟฟา ก็ คือ ค่าความต้านทานทางไฟฟา หรือค่าความ ต้านทานของตัวนํามีหน่วยเปนโอห์ม ค่าความต้านทานนีถูกกําหนดว่า เปนค่าคงทีสําหรับตัวต้านทานธรรมดาทัวไปที ทํางานภายในค่ากําลังงานทีกําหนดของตัวมัน เอง ตัวต้านทานทําหน้าทีลดการ ไหลของกระแสและในเวลาเดียวกันก็ทําหน้าที ลดระดับแรงดันไฟฟาภายในวงจรทัวไป อาจ เปนแบบค่าความต้านทานคงที หรือค่าความ ต้านทานแปรได้ เช่นทีพบในตัวต้านทานแปร ตามอุณหภูมิ(อังกฤษ: thermistor), ตัว ต้านทานแปรตามแรงดัน(อังกฤษ: varistor), ตัวหรีไฟ(อังกฤษ:trimmer),ตัวต้านทานแปร ตามแสง(อังกฤษ: photoresistor) และตัว ตานทานปรบดวยมอ(องกฤษ: potentiometer) ตัวต้านทานเปนชินส่วนธรรมดา ของเครือข่ายไฟฟาและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และเปนทีแพร่หลาย ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวต้านทานในทางปฏิบัติจะประกอบด้วย สารประกอบและฟล์มต่างๆ เช่นเดียวกับ สาย ไฟต้านทาน (สายไฟทีทําจากโลหะผสมความ ต้านทานสูงเช่นนิกเกิล-โครเมียม)ยังถูกนําไป ใช้ในวงจรรวม โดยเฉพาะอย่างยิงในอุปกรณ์ แอนะล็อก และยังสามารถรวมเข้ากับวงจรไฮ บริดและวงจรพิมพ์ ฟงก์ชันทางไฟฟาของ ตัวต้านทานจะถูกกําหนดโดยค่าความต้านทาน ของมันตัวต้านทานเชิงพาณิชย์ทัวไปถูกผลิต ในลําดับทีมากกว่าเก้าขันของขนาดเมือทําการ ระบุว่าตัวต้านทานจะถูกใช้ในการออกแบบทาง อิเล็กทรอนิกส์ความแม่นยําทีจําเปนของความ ต้านทานอาจต้องให้ความสนใจในการสร้าง ความอดทนของตัวต้านทานตามการใช้งาน ตัวต้านทาน(Resistor) ในลษณะตางๆ รูปภาพบางส่วนนํามาจากชินส่วนทีมีในปจจุบัน
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 8 รีเรย์(Relay) รีเรย์(Relay) เปนอุปกรณ์ทีเปลียน พลังงานไฟฟาให้เปนพลังงานแม่เหล็กเพือใช้ในการ ดึงดูดหน้าสัมผัสของคอนแทคให้เปลียนสภาวะ โดย การปอนกระแสไฟฟาให้กับขดลวดเพือทําการปดหรือ เปดหน้าสัมผัสคล้ายกับสวิตช์อิเล็กทรอนิกส์ ซึงเรา สามารถนํารีเลย์ไปประยุกต์ใช้ ในการควบคุมวงจร ต่าง ๆ ในงานช่างอิเล็กทรอนิกส์มากมาย ทําหน้าทีเปนสวิตซ์ตัด-ต่อวงจร โดย ใช้แม่เหล็กไฟฟา และการทีจะให้มันทํางานก็ต้องจ่าย ไฟให้มันตามทีกําหนดเพราะเมือจ่ายไฟให้กับตัวรีเลย์ มันจะทําให้หน้าสัมผัสติดกัน กลายเปนวงจรปด และ ตรงข้ามทันทีทีไม่ได้จ่ายไฟให้มัน มันก็จะกลายเปน วงจรเปด ไฟทีเราใช้ปอนให้กับตัวรีเลย์ก็จะเปนไฟ ทีมาจากเพาเวอร์ฯของเครืองเราดังนันทันทีทีเปด เครือง ก็จะทําให้รีเลย์ทํางาน รีเรย์(Relay) ตัวเก็บประจุ(capacitor) ตัวเก็บประจุ(capacitor) เปนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึง ทําหน้าทีเก็บพลังงานในรูปสนามไฟฟา ทีสร้างขึนระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่า ประจุไฟฟาเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุ ตรงข้ามกัน บ้างเรียกตัวเก็บประจุนีว่า คอนเดนเซอร์(condenser)แต่ส่วนใหญ่ เรียกสัน ๆ ว่า แคป (Cap) เปนอุปกรณ์ พืนฐานสําคัญในงานอิเล็กทรอนิกส์ และ พบได้แทบทุกวงจรมีคุณสมบัติตรงข้าม กับตัวเหนียวนํา จึงมักใช้หักร้างกันหรือ ทํางานร่วมกันในวงจรต่าง ๆ เปนหนึง ในสามชินส่วนวงจรเชิงเส้นแบบพาสซีฟ ทีประกอบขึนเปนวงจรไฟฟา ในระบบจ่ายไฟฟาใช้ตัวเก็บ ประจุเปนชุดหลายตัวเพิมค่าตัวประกอบ กําลัง(Powerfactor)ให้กับระบบไฟฟาที เรยกวาแคปแบงค(CapBank)ตวเกบ ประจุบางชนิดในอนาคตมีความเปนไปได้ สูงทีจะถูกนํามาใช้แทนแบตเตอรี เช่น ตัว เก็บประจุยิงยวด (Supercapacitor) ตัวเก็บประจุ(capacitor) รูปภาพบางส่วนนํามาจากชินส่วนทีมีในปจจุบัน
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 9 THE ENIAC คอมพิวเตอร์อีนิแอก ผูให้กําเนิด พลีสเพอร์เอกเคิร์ต J.Presper Eckert เปนชาวอเมริกันเชียวชาญ ด้านไฟฟาวิศวกรจอห์นได้ค้นคว้าคอมพิวเตอร์ยุค บุกเบิก ร่วมกับ John Mauchly เขาได้ออกแบบ คอมพิวเตอร์ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์เอนกประสงค์ เครืองแรก(ENIAC)นําเสนอหลักสูตรแรกในหัวข้อ เกียวกับการคํานวณ (การบรรยายของMoore School ) ก่อตัง Eckert–Mauchly Computer Corporationและออกแบบคอมพิวเตอร์เชิงพาณิ ชย์เครืองแรกในสหรัฐอเมริกา UNIVAC ซึงเปน บริษัท ประดิษฐ์ Eckert ของปรอทหน่วยความจํา สายล่าช้า J.Presper Eckert (พลีสเพอร์ เอกเคิร์ต) จอห์น มอชลี John William Mauchly เปนนักฟสิกส์ชาว อเมริกัน เกิดเมือวันที 30 สิงหาคม 1907 ในเมือง ซนซนนาต รฐโอไฮโอ เขาไดรวมกบมอ J Presper Eckert ได้ออกแบบ ENIAC ซึงเปนคอมพิวเตอร์ ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์สําหรับใช้งานทัวไปเครือง แรกตลอดจน EDVAC , BINAC และ UNIVAC Iซึงเปนเครืองแรกคอมพิวเตอร์เพือการค้าทีเกิดขึน ในสหรัฐอเมริกา เกิดวันที9เมษายน1919ทีฟลาเดล,เพนซิล ท่านเสียชีวิตเมือวันที 3 มิถุนายน 1995 (อายุ 76 ป) ที Bryn Mawr , เพนซิล ท่านเสียชีวิตเมือวันที8มกราคม1980(อายุ 72 ป) ทีแอมเบลอร์ รัฐเพนซิลเวเนีย (จอห์น มอชลี) John William Mauchly Moore School of ElectricalEngineering โรงเรียนมัวร์วิศวกรรมไฟฟา ทีนีเปนโรงเรียนคอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลแบบสมบูรณ์แบบทัวริง เครืองแรกทีใช้งานทัวไปคือENIACคณะMoore School John Mauchly และJ. Presper Eckert ก่อตังบริษัท คอมพิวเตอร์แห่งแรกซึงผลิต คอมพิวเตอร์UNIVACและเปนทีก่อกําเนิดอีนิแอก โรงเรียนมัวร์วิศวกรรมไฟฟาทีมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 10 บุคคลในประวัติศาสตร์และปจจุบัน ทีมีความสําคัญต่อการพัฒนาของคอมพิวเตอร์ ดร.จอห์นวี.อะทานาซอฟฟ(JohnV.Atanasoff) ก่อนทีเราจะมีคอมพิวเตอร์ อย่างทีใช้กันทุกวันนี ต้องมีผู้ริเริมประดิษฐ์เจ้า เครืองนีขึนมาก่อนนันก็คือจอห์นวี.อะทานาซอฟฟ เกิดเมือวันที 4 ตุลาคม ค.ศ.1903 โดยเขาได้ร่วม มือกับลูกศิษย์คือ คลิฟฟอร์ด เบอร์รี (Clifford Berry) ประดิษฐ์เครืองคอมพิวเตอร์ทีใช้ไฟฟาเปน คนแรก คือ เครือง ABC หรือคอมพิวเตอร์ อตา นาซอฟฟ-เบอร์รี(Atanasoff-BerryComputer) เปนเครืองคํานวณดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์ ขึนมาเมือ ป ค.ศ. 1937 อาจกล่าวได้ว่า เครือง ABC มีส่วน บกเบกสาคญใหกบคนรนหลงไดพฒนาตอยอดจน เปนคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ให้เราได้ใช้กันนันเอง
Dr.
John Vincent Atanasoff (จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ) ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) เขาผู้นีคือนักวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ผู้ได้รับสมญานามว่า บิดาแห่ง คอมพิวเตอร์ โดยชาร์ลส์ แบบเบจ เกิดวันที 26 ธันวาคม 1791 เขาเติบโตขึนมาในช่วงทีอังกฤษ กําลังอยูในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึงรัฐบาล ใหการสนบสนนทนพฒนาในสาขาตาง ๆ อยางเตม ที และทีเขาได้รับสมญานามนี เนืองจากเขาเปนคน แรกทีมีแนวคิดเรืองเครืองคํานวณทีสามารถสร้าง โปรแกรมหรือสังให้ทํางานได้ ซึงผลงานของเขาก็ คือเครืองคํานวณหาผลต่าง(DifferenceEngine) และเครืองวิเคราะห์การคํานวณทุกชนิด(analytical machine) ซึงได้รับการยอมรับว่าเปนต้นแบบของ คอมพิวเตอร์ แต่ผลงานดังกล่าวยังสร้างไม่เสร็จ สมบูรณ์เพราะเขาได้เสียชีวิตลงเสียก่อนเมือวันที18 ตุลาคมค.ศ.1871แต่จนกระทังปค.ศ.1991เครือง หาผลต่างนีถูกสร้างให้เสร็จสมบูรณ์ตามแบบทีเขาได้ ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าเครืองจักรจากแนวคิด ของเขาทํางานได้จริง Charles Babbage (ชาร์ลส์ แบบเบจ)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 11 คลิฟฟอร์ด เบอร์รี(Clifford Edward Berry) เกิดเมือวันที 19 เมษายน พ.ศ.2461(ค.ศ.1918) ในเมืองแกลดบรูค รัฐ ไอโอวา เปนบุตรของเฟร็ดและเกรซเบอร์รีพ่อของ เขาเปนเจ้าของร้านซ่อมเครืองใช้ไฟฟาทีซึงเขา สามารถเรียนรู้เกียวกับวิทยุได้เขาสําเร็จการศึกษา จากโรงเรียนมัธยมมาเรนโกในมาเรนโกรัฐไอโอวา ในป 1934 ในฐานะนักปราชญ์ชันมัธยมศึกษาตอน อายุ 16 ปเขาไปเรียนต่อทีIowa State College (ปจจุบันรู้จักกันในชือ Iowa State University) ในทีสุดก็ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิศวกรรมไฟฟา ในป2482(ค.ศ.1939)และตามด้วยปริญญาโทสาขา ฟสิกส์ในป พ.ศ.2484 (ค.ศ.1941) คลิฟฟอร์ด เอ็ดเวิร์ด เบอร์รี (19 เมษายน พ.ศ. 2461 – 30 ตุลาคม พ.ศ. 2506) ช่วย จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟสร้างคอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัลเครืองแรกในปพ.ศ.2482นัน คือคอมพิวเตอร์ Atanasoff–Berry (ABC) Clifford Edward Berry (คลิฟฟอร์ด เบอร์รี) แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing) 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เปนนัก คณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและ วีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษและเปนทียอมรับว่าเปน บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบทีเปนทางการทาง คณิตศาสตร์ของการระบุขันตอนวิธีและการคํานวณ โดยใช้เครืองจักรทัวริง ซึงตามข้อปญหาเชิร์ช-ทัว ริงได้กล่าวว่าเปนรูปแบบของเครืองจักรคํานวณ เชิงกลทีครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบทีเปนไปได้ในทาง ปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครังทีสอง ทัวริงมี ส่วนสําคัญในการแกะรหัสลับของฝายเยอรมันโดย เขาเปนหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ทีทําหน้าทีในการ แกะรหัสของเครืองเอนิกมาทีใช้ในฝายทหารเรือ ซึงประมาณกันว่าเขาสามารถย่นเวลาสงครามได้ ถึง 2 ป หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครือง คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ทีสามารถโปรแกรมได้ เครืองแรกๆ ของโลกทีห้องปฏิบัติการฟสิกส์แห่ง ชาติ และได้สร้างเครืองคอมพิวเตอร์ขึนจริง ๆ ที มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตัง ขึนเพือยกย่องเขาในเรืองนี นอกจากนันแล้วการทดสอบของทัวริงทีเขา ได้เสนอนันมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรืองปญญา ประดิษฐ์ ซึงในขณะมีถกเถียงทีสําคัญว่า เปนไปได้ หรือไม่ทีจะกล่าวว่าเครืองจักรนันมีสํานึกและสามารถ คิดได้ Alan Mathison Turing (แอลันแมธิสันทัวริง)

นันตอนทีแบบบิจกล่าวว่า“จะเปนอย่างไรถ้าเครือง คํานวณไม่เพียงสามารถคิดผลแต่สามารถประมวล

ผลนันได้ด้วย” แต่ไม่มีใครสนใจแนวคิดนีของแบบ

บิจเลยมีเพียงเอดาทีรูสึกสนใจแนวคิดนีจนอาสา

รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 12 ออกัสตาเอดาคิงเคานต์เตสแห่งเลิฟเลซ (AugustaAdaKing,CountessofLovelace) เปนนักคณิตศาสตร์และนักเขียนชาวอังกฤษได้รับ การยอมรับนับถือว่าเปนโปรแกรมเมอร์คนแรกของ โลก เอดาเปนธิดาคนเดียวของของลอร์ดไบรอน ที6กวีผูมีชือเสียงและเลดีไบรอนนักคณิตศาสตร์ เธอเกิดเมือปค.ศ.1815หลังจากเธอเกิดไม่นานพ่อ แม่ก็แยกทางกัน แม่ของเอดาจึงตัดสินใจเลียงดู เธอให้เปนผู้หญิงสมัยใหม่ เธอได้รับการศึกษาใน ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ผิดแปลกจาก สตรีชนชันสูงทัวไป มผแนะนาใหเอดารจกกบอาจารยซมเมอรว ลล์แห่งเคมบริดจ์ สตรีเก่งแห่งยุคทีเคยแปลงาน ของปแยร์-ซีมงลาปลัสมาเปนภาษาอังกฤษเอดา จึงเข้ามาคลุกคลีกับเพือนกลุมนีจนได้รูจักกับชาลส์ แบบบิจในงานสังสรรค์แห่งหนึงในทีสุดในงานวัน
ทีจะช่วยพัฒนา โดยสิงทีเธอทําคือการสร้างภาษา สําหรับเครืองวิเคราะห์(analyticalengine)ของ แบบบิจ (ออกัสตาเอดาคิงเคานต์เตสแห่งเลิฟเลซ) Augusta Ada King, Countess of Lovelace โปรแกรมเมอร์หญิงคนแรกของโลก หลังจากนันไม่นาน เอดาได้แต่งงานกับ ท่านเอิร์ลแห่งเลิฟเลซและมีบุตรด้วยกันสามคนใน ช่วงสิบปทังเอดาและแบบบิจยังเปนเพือนกันทาง จดหมาย และแลกเปลียนความเห็นเรืองเครือง วิเคราะห์อย่างสมําเสมอโดยจดหมายของทังสอง ถูกเก็บไว้อย่างดีในยุคนี เพราะมีข้อมูลน่าสนใจ มากมาย (ทังเรืองจริง และจินตนาการ) เช่น เอ ดาบอกว่าเธอเชือว่าต่อไปเครืองมืออันนีจะมีความ สามารถทีจะแต่งเพลงทีซับซ้อนสร้างภาพกราฟก นํามาใช้เพือการคํานวณขันสูง และพัฒนาวงการ วิทยาศาสตร์ได้ ในจดหมายฉบับหนึง เอดาแนะนํา แบบบิจว่า ให้ลองเขียนแผนการทํางานของเครือง มืออันนีให้สามารถคํานวณ Bernoullinumbers ขึนมา ต่อมา แผนการทํางานทีแบบบิจเขียน ขึนมาชินนัน ก็ถูกยกย่องว่าเปนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก เธอจึงได้รับ การยกย่องว่าเปนโปรแกรมเมอร์คนแรกของ โลกเอดาก็ช่วยเขียนบรรยายรายละเอียดการ ทํางานของเครืองวิเคราะห์แต่สุขภาพของเธอ ก็เริมมีปญหา และเธอเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง มดลูก ในป พ.ศ. 2395 เมืออายุได้ 36 ป ซึง เปนวัยเดียวกับทีบิดาของเธอเสียชีวิต
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 13 ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ (Dr.Herman Hollerith) นักสถิติชาวอเมริกัน เปนผคดประดษฐ บตรเจาะรสาหรบเกบขอมล ใน คศ1884 โดยได แนวคิดจากบัตรควบคุมการทอผ้าของ Jacquard และวิธีการหนีบตัวรถไฟของเจ้าหน้าทีรถไฟ นํามา ดัดแปลงและประดิษฐ์เปนบัตรเก็บข้อมูลขึน และ ทําการสร้างเครืองคํานวณไฟฟาทีสามารถอ่านบัตร ทีเจาะได้ ทําให้สามารถทํางานได้อย่างรวดเร็วและ ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก เมือป ค.ศ. 1880 สํานักงานสํารวจสํามะโน ประชากรสหรัฐอเมริการได้ทําการสํารวจสํามะโน ประชากรโดยใชแรงงานคนในการประมวลผล ตอง ใช้เวลาถึง 7 ปครึงยังไม่แล้วเสร็จ ข้อมูลทีได้ไม่ แนนอนและไมคอยถกตองตอมาคศ 1890สานก งานฯจึงได้ว่าจ้างฮอลเลอริธมาทําการประมวลผล การสํารวจ ปรากฏว่าเมือใช้เครืองทําตารางข้อมูล (Tabulating machine) และหีบเรียงบัตร (Sorting)ของฮอลเลอริธแล้วใช้เวลาในการประมวลผล ลดลงถึง 3 ป ค.ศ.1896:ฮอลเลอริธได้ตังบริษัทผลิตและ จําหน่ายอุปกรณ์การประมวลผลด้วยบัตรเจาะรูและ ต่อมาได้เปลียนชือเปนบริษัทไอบีเอ็ม(InternationalBusinessMachinesCorporation)ในปค.ศ. 1924 Dr.Herman Hollerith ดร.เฮอร์มานฮอลเลอริธ คอนรัด ซูส (Konrad Zuse) (ค.ศ.1941)เปนครังแรกทีเครืองคอมพิวเตอร์เครือง แรกทีสามารถตังโปรแกรมได้อย่างอิสระ ผู้พัฒนา คือ Konrad Zuse และชือคอมพิวเตอร์คือ Z1 Compute Z3 ของประเทศเยอรมนี ออกแบบใน ค.ศ. 1941 โดย Konrad Zuse เปนคอมพิวเตอร์ ไฟฟา-จักรกลอเนกประสงค์เครืองแรก มันเปน คอมพิวเตอร์ดิจิทัล ใช้เลขคณิตฐานสอง เปนทัว ริงบริบูรณ์ และโปรแกรมได้เต็มที โดยใช้เทปเจาะ รู แต่ใช้รีเลย์ในการทํางานทังหมด ดังนันจึงไม่ใช่ คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ งานในช่วงแรกของเขาส่วนใหญ่ได้รับการ สนับสนุนทางการเงินจากครอบครัวและการค้าของ เขา แต่หลังจากป พ ศ 2482 เขาไดรบทรพยากร จากรัฐบาลนาซีเยอรมันเนืองจากสงครามโลกครัง ทีสองประทุขึน ส่วนใหญ่ในสหราชอาณาจักรและ สหรัฐอเมริกา ได้มีการคาดการอาจเปนไปได้ว่า อิทธิพลจากผลงานของซูสทีได้บันทึกไว้เปนครัง แรกส่งผลต่อบริษัทในสหรัฐอเมริกานันคือตัวเลือก ของIBMในสิทธิบัตรของเขาในปพ. ศ. 2489 Konrad Zuse (คอนรัด ซูส)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 14 โฮเวิร์ด เอช ไอเคน (Prof. Howard H.Aiken) (ค.ศ.1937) โฮเวิร์ด เอช ไอเคน (Professor Howard H. Aiken) ศาสตราจารย์ทาง คณิตศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด(Harvard) เปนผูออกแบบและสร้างเครืองคํานวณตามหลักการ ของแบบเบจได้สําเร็จ โดยนําเอาแนวคิดของ JacquardและHollerithมาใช้ในการสร้างและได้รับการ สนับสนุนจากวิศวกรของบริษัทไอบีเอ็มสร้างสําเร็จ ในป ค.ศ. 1943 ในชือว่า Automatic Sequence Controlled Calculator (ASCC) หรือเรียกกัน โดยทัวไปว่า MARK I Computer นับเปนเครือง คํานวณเครืองแรกของโลกทีทํางานโดยอัตโนมัติ ทังเครือง จัดเปน Digital Computer และเปน เครืองทีทํางานแบบ Electromechanical คือเปน แบบกึงไฟฟากึงจักรกลไอเคนศึกษาทีมหาวิทยาลัย วิสคอนซินแมดิสันและได้รับปริญญาเอกในเวลา ต่อมา สาขาฟสิกส์ทีมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดในป พ.ศ. 2482 ในช่วงเวลานีเขาพบกับสมการเชิง อนุพันธ์ทีเขาสามารถแก้ได้เฉพาะตัวเลขเท่านัน ได้ รับแรงบันดาลใจจากกลไกทีแตกต่างของCharles Babbageเขาจินตนาการถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เชิงกลไฟฟาทีสามารถทํางานทีน่าเบือให้กับเขาได้ มากขึนแต่เดิมถูกเรียกว่า ASCC (ลําดับอัตโนมัติ ควบคุมเครืองคิดเลข) และต่อมาเปลียนชือฮาร์วาร์ มาร์คฉัน ด้วยวิศวกรรมการก่อสร้างและการระดม ทุนจากไอบีเอ็มทําให้เครืองนีเสร็จสมบูรณ์และติดตัง ทีฮาร์วาร์ดในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 ริชาร์ดมิลตันโบลช์โรเบิร์ตแคมปเบลล์และ เกรซฮอปเปอร์เข้าร่วมโครงการในภายหลังในฐานะ โปรแกรมเมอร์ ในปพ. ศ. 2490 ไอเคนทํางานบน คอมพิวเตอร์Harvard Mark IIเสร็จสิน เขายังคง ทํางานของเขาในMarkIIIและฮาร์วาร์มาร์คIVMark III ใช้ชินส่วนอิเล็กทรอนิกส์บางส่วนและ Mark IV เปนแบบอิเล็กทรอนิกส์ทังหมดมาร์คIIIและMark IVใช้แม่เหล็กกลองหน่วยความจําและมาร์คIVยัง มีหน่วยความจําหลักแม่เหล็ก Prof. Howard H.Aiken โฮเวิร์ด เอช ไอเคน Dr.JohnvonNeumann-จอห์นวอนนอยแมน (พ.ศ.2492-พ.ศ.2494)Dr.JohnVonNeumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ ในหน่วยความจําของ เครืองเช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลและต่อวงจรไฟฟา สําหรับการคํานวณ และการปฏิบัติการพืนฐาน ไว้ ให้เรียบร้อยภายในเครือง แล้วเรียกวงจรเหล่านี ด้วยรหัสตัวเลขทีกําหนดไว้ เครืองคอมพิวเตอร์ ทีถูกพัฒนาขึนตามแนวความคิดนีได้แก่ EVAC (Electronic Ddiscreate Variable Automatic Computer)ซึงสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2492 และนํามา ใช้งานจริงในปพ.ศ. 2494และในเวลาใกล้เคียงกัน ทีมหาวิทยาลัยเคมบริดส์ ประเทศอังกฤษ ได้มีการ สร้างคอมพิวเตอร์มีลักษณะคล้ายกับเครืองEVAC และให้ชือว่าEDSAC(ElectronicDelayStrorage AutomaticCaculator) Dr.John von Neumann (จอห์น วอน นอยแมน)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 15 จอห์น มอชลี (John William Mauchly) เปนนักฟสิกส์ชาว อเมริกัน เกิดเมือวันที 30 สิงหาคม 1907 ในเมือง ซนซนนาต รฐโอไฮโอ เขาไดรวมกบมอ J Presper Eckert ได้ออกแบบ ENIAC ซึงเปนคอมพิวเตอร์ ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์สําหรับใช้งานทัวไปเครือง แรกตลอดจน EDVAC , BINAC และ UNIVAC Iซึงเปนเครืองแรกคอมพิวเตอร์เพือการค้าทีเกิดขึน ในสหรัฐอเมริกา (จอห์น มอชลี) John William Mauchly พลีสเพอร์เอกเคิร์ต (J.Presper Eckert) เปนชาวอเมริกันเชียวชาญ ด้านไฟฟาวิศวกรจอห์นได้ค้นคว้าคอมพิวเตอร์ยุค บุกเบิก ร่วมกับ John Mauchly เขาได้ออกแบบ คอมพิวเตอร์ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์เอนกประสงค์ เครืองแรก(ENIAC)นําเสนอหลักสูตรแรกในหัวข้อ เกียวกับการคํานวณ (การบรรยายของMoore School ) ก่อตัง Eckert–Mauchly Computer Corporationและออกแบบคอมพิวเตอร์เชิงพาณิ ชย์เครืองแรกในสหรัฐอเมริกา UNIVAC ซึงเปน บริษัท ประดิษฐ์ Eckert ของปรอทหน่วยความจํา สายล่าช้า J.Presper Eckert (พลีสเพอร์ เอกเคิร์ต) ดร. เท็ดฮอฟฟ (Dr.Ted Hoff) (ค.ศ. 1971) Ted Hoff แห่งบริษัท อินเทล(IntelCorporation)ได้พัฒนาชิพทีมีขนาด เล็กมากจึงได้ชือว่าไมโครโพรเซสเซอร์ชือรุนคือIntel4004เปนหน่วยประมวลผลขนาดเล็กทีสามารถ โปรแกรมได้คอมพิวเตอร์ทีใช้ชิพขนาดเล็กนีเจึงถูกรี ยกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย ในป 1968 ฮอฟฟได้ รับโทรศัพท์ทีจะเริมต้นอย่างรวดเร็วทังในอาชีพและ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ของเขาโรเบิร์ตนอยซ์ทีได้ ร่วมก่อตังอินเทลคอร์ปนันในปเดียวกันได้รับการโทร ไปขอให้เขาเข้าร่วมบริษัทใหม่ซึงฮอฟฟทําหน้าทีเปน พนักงานลําดับทีสิบสองของบริษัทในไม่ช้าฮอฟฟ เสนอว่าถ้าสถาปตยกรรมจะสร้างเพียง,หน่วยความ จํา, การคํานวณและฟงก์ชันการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์อาจจะรวมกันเปนหนึงวงจรความคิดที นําไปสูไมโครโปรเซสเซอร์แรก“คอมพิวเตอร์-on-a-ชิ ป.”เฟเดอริโกแฟกกินนําทีมออกแบบในโครงการทหา รใหม่และการพัฒนาการใช้งานของซิลิกอนในการสร้ างชิปทีมงานยังประกอบไปด้วยฮอฟฟและสแตนลีย์ เมเซอร์พนักงานใหม่ของ Intel ทีเขียนซอฟต์แวร์ สําหรับชิปเพียงแค่1/8นิวกว้างและยาว1/6นิวชิป Dr.Ted Hoff (ดร. เท็ด ฮอฟฟ) ฮอฟฟFaggin และMazor เปดเผยมีอํานาจมาก ทีสุดเท่าทีเปนหนึงในคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ แรก ENAIC
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 16 สตีฟเวนพอลจ๊อบส์ (StevenPaulJobs) เปนทีรู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตัง (ร่วมกับ Steve Wozniak) บริษัทแอปเปลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer)นอกจากนีเขาเปนหัวหน้าบริษัทPixar ซึงเปนบริษัทสร้างภาพการ์ตูนเคลือนไหว(เช่นภาพ ยนตร์แอนนิเมชันเรืองMonsterInk,SharkTale) แต่สิงสําคัญต่อวงการคอมพิวเตอร์ทีเขาได้บุกเบิก คือการสร้างคอมพิวเตอร์แอบเปล2(AppleII)เขา ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของการสังงานคอมพิวเตอร์ ผ่านทางภาพหรือGUI(graphicuserinterface) ด้วยการใช้เมาส์ซึงได้มีการใช้ครังแรกทีบริษัทXerox PARC ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ป ค.ศ. 1974 จอบส์ ได้กลับมายังรัฐแคลิฟอร์เนีย และได้เริมเข้าประชุม ชมรม”เครืองคอมพิวเตอร์ทําเองทีบ้าน” กับ สตีฟ วอซเนียก จากนันก็สมัครเข้าทํางานในตําแหน่ง ช่างเทคนิคที อาตาริ ผูผลิตคอมพิวเตอร์และวิดีโอ เกมส์ทีได้รับความนิยมอย่างสูง ตลอดช่วงเวลา นี มีการค้นพบว่านกหวีดของเล่นทีแถมมาในกล่อง อาหารเช้าทําจากธัญพืชยีห้อแคปแอนด์ครันช์ ทุก กล่อง เมือนํามาดัดแปลงเล็กน้อยแล้วจะสามารถ ทําเกิดเสียงความถี 2,600เฮิร์ทซ์ ทีใช้ในระบบ โทรศัพท์ทางไกลของเอทีแอนด์ทีได้ โดยไม่รอช้า ในปค.ศ. 1974จอบส์กับวอซเนียกได้เริมธุรกิจผลิต กลอง”บลบอกซ” จากแนวความคดดงกลาวอนทา เราสามารถโทรศัพท์ทางไกลได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แตอยางใด ในปค.ศ. 1976 สตีฟ จอบส์ในวัย 21 ป กับ สตีฟ วอซเนียก วัย 26 ป ได้ก่อตังบริษัทแอปเปล คอมพิวเตอร์ขึนในโรงรถทีบ้านของครอบครัวจอบ ส์ เครืองคอมพิวเตอร์เครืองแรกทีจอบส์กับวอซ เนียกได้นําเสนอออกสู่สายตาได้แก่เครืองApple I ถูกตังราคาไว้ที 666.66 ดอลลาร์สหรัฐ โดยนํา ตัวเลขมาจากหมายเลขโทรศัพท์ของเครืองตอบ โทรศัพท์เล่าเรืองตลกขบขันของวอซเนียกทีมีเบอร์ โทรลงท้ายด้วย -6666 ในปค.ศ. 1977 จอบส์กับวอซเนียก ได้นํา เครืองAppleIIออกสูตลาดและประสบความสําเร็จ อย่างมากในตลาดคอมพิวเตอร์ใช้งานในบ้าน และ ทําให้แอปเปลกลายเปนผผลตรายสาคญในวงการ อุตสาหกรรมเครืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทีกําลัง อยู่ในช่วงเริมต้น ในเดือนธันวาคม ปค.ศ. 1980 แอปเปลคอมพิวเตอร์ได้กลายมาเปนบริษัทมหาชน และการเปดขายหนใหแกสาธารณชนผสนใจรวม ลงทุน ทําให้สถานภาพส่วนตัวของจอบส์สูงส่งขึน เปนอันมากในปเดียวกันนีเองแอปเปลคอมพิวเตอร์ ได้นําเครืองAppleIIIออกวางตลาดแต่กลับประสบ ความสําเร็จน้อยกว่าเดิม StevenPaulJobs (สตฟเวน พอล จอบส) ในขณะทีธุรกิจของแอปเปลกําลังเติบโต ต่อไป บริษัทได้เริมมองหาผูมีความเชียวชาญใน การบริหารธุรกิจเพือมาช่วยในการขยายกิจการ ในปค.ศ. 1983 จอบส์ได้ว่าจ้าง จอห์น สกัล ลีย์ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเปบซี-โคล่า ให้ มาดารงตาแหนงผบรหารระดบสงของแอปเปล โดยทีจอบส์ได้กล่าวท้าทายเขาว่า “คุณต้องการ จะใช้ช่วงชีวิตทีเหลืออยู่ไปกับการขายนําหวาน หรือว่าต้องการโอกาสทีจะเปลียนแปลงโลกนีกัน แน่?” ในปเดียวกัน แอปเปลยังได้เปดตัวเครือง คอมพิวเตอร์ลิซาทีมีเทคโนโลยีลําหน้าแต่กลับไม่ ประสบความสําเร็จทางการตลาดแต่อย่างใด ในปค.ศ.1984เราได้เห็นการเปดตัวเครือง แมคอินทอช เครืองคอมพิวเตอร์รุนแรกทีมีส่วน ประสานงานผูใช้แบบกราฟกส์ทีประสบความสําเร็จ ทางการค้า การพัฒนาเครืองแมคริเริมขึนโดย เจฟ ราสคินและทีมงานทีได้แรงบันดาลใจจาก เทคโนโลยีทีพัฒนาขึนโดยศูนย์วิจัยซีรอกซ์พาร์ก แต่ยังไม่มีการนํามาพัฒนาเพือการค้าความสําเร็จ ของเครืองแมคอินทอชทําให้แอปเปลเลิกพัฒนา เครืองAppleIIเพือส่งเสริมสายการผลิตเครือง รุนแมค ซึงยังคงยืนหยัดมากระทังทุกวันนี

Apple I ในยุคทีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลส่วนใหญ่

รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 17 สตีเฟนแกรีวอซเนียกหรือ สตีฟ วอซเนียก (องกฤษ: Steve Wozniak) บาง ก็เรียก สตีฟ โวสนิแอก ชือเล่นว่า “Woz”(วอซ) วันเกิด วันที 11 สิงหาคม ค.ศ.1950 ในแซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ เปนบคคลสาคญในบรษท แอปเปล บริษัทคอมพิวเตอร์ เขาเปนวิศวกร คอมพิวเตอร์ ผู้ก่อตังร่วมกันของแอปเปล คอมพิวเตอร์ และเปนผู้สร้างคอมพิวเตอร์ Apple I และ Apple II StevenPaulJobs (สตฟเวน พอล จอบส) ป 1970 วอซเนียกได้รู้จักกับ สตีฟจ๊อบส์เนืองจากมีงานฤดูร้อนในธุรกิจเดียวกัน และกลายเปนเพือนกันในทีสุดจ๊อบส์และวอซเนียกได้ ขายทรัพย์สินบางส่วนได้เงินประมาณ1,300เหรียญ และได้ร่วมกันประกอบคอมพิวเตอร์ต้นแบบซึงนับ เปนจุดเริมต้นของแอปเปล 1 เมษายน 1976 จ๊อบส์และ วอซเนียกก็ได้ก่อตังAppleComputerโดยทีวอซ เนียกได้ลาออกจากงานของเขาที Hewlett-Packardและทํางานในแผนกการวิจัยและการพัฒนาทีแอ ปเปลผลิตภัณฑ์แรกของพวกเขาคือให้คอมพิวเตอร์
จะใช้ในเชิงพาณิชย์ โดยจ๊อบส์และว๊อซเนียกได้ขาย คอมพิวเตอร์100เครืองแรกให้กับPaulTerrellใน การเปดร้านคอมพิวเตอร์ใหม่ทีมีชือว่า Byte Shop ในเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย ป 1980 แอปเปลเปนทีโด่ง ดังและทําให้จ๊อบส์และวอซเนียกกลายเปนมหาเศรษฐี โดยสตีฟ จ๊อบส์ได้อนุญาตทีจะให้พนักงานบางส่วน ของได้ซือหุนของAppleดังนันวอซเนียกจึงตัดสิน ใจทีจะแบ่งหุนส่วนหนึงของตนออกไป ป 1983 เขาตดสนใจกลบไป พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับแอปเปล แต่เขาไม่ต้องการ บทบาทในบริษัทฯมากไปกว่าของวิศวกรคอมพิวเตอร์ วอซเนียกได้สินสุดการ เปนพนักงานจ้างเต็มเวลากับApple ในวันที 6 กุมภาพันธ์1987เปนเวลากว่า12ปหลังจากการ ก่อตังบริษัทแต่ถึงกระนันเขาก็ยังเปนผูถือหุนและ กรรมการบริหารบริษัท

โรงเรียนได้นําคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้สอนในห้องเรียน

Paul Allen ซึงต่อมาก็คือผูร่วมก่อตังบริษัทMicrosoftปกติทาง

รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 18 วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ทีสาม (อังกฤษ: WilliamHenryGatesIII เกด 28 ตลาคม คศ 1955) หรือทีมักเปนทีรูจักในชือบิลล์เกตส์เปนนักธุรกิจชาว อเมริกัน และหนึงในผู้ก่อตังบริษัทไมโครซอฟท์ เขา กับผูบุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอืน ๆ ได้ ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึงเปน อินเตอร์เพรเตอร์สําหรับเครืองอัลแตร์8800(เครือง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วมกับ พอล แอลเลน ก่อตังไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชันขึน ซึงในขณะนีเขาดํารงตําแหน่งทีปรึกษาเรืองเทคโนโลยี นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้ บิล เกตส์ เปนบุคคลที รํารวยทีสุดในโลกหลายปติดต่อกัน วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ทีสามได้รับการแต่งตัง เปนผู้บัญชาการอัศวินแห่งจักรวรรดิบริเตน (KBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที 2 BillGatesแฮ็กระบบคอมฯโรงเรียนได้ตังแต่ อายุ 17 William Henry Gates III หรือทีเรารูจักกันในชือว่า Bill Gates เกิดเมือ 28 ต.ค. ป 1955 ทีเมืองซีแอต เทล รฐวอชงตนของสหรฐ เปนลูกชายของ William Henry Gates Sr. และ Mary Maxwell Gates พ่อ ของเขาทํางานเปนทนายความ ส่วนแม่เคยเปนครูและ ต่อมาได้กลายเปนผูบริหารในบริษัทการเงินและองค์กร การกุศล บิล เกตส์ ในวัย 13 เรียนทีโรงเรียนเลคไซด์ ซึงในตอนทีเขาเรียนอยู่ชันมัธยมศึกษาปที 2 ทาง
Bill สนใจเครืองคอมพิวเตอร์มาก ถึงขนาดยอมโดด เรียนไปแอบเล่นคอมพิวเตอร์กับเพือนซี
โรงเรียนจะกําหนดให้นักเรียนเล่นคอมพิวเตอร์แค่ไม่กี ชัวโมงแต่ทังสองก็แอบแฮ็กเข้าไปเปลียนระบบเวลาให้ พวกเขาได้เล่นแบบไม่จํากัดจนระบบล่มหลายต่อหลาย ครัง รวมถึงแก้ตารางเรียนของนักเรียนหญิงหน้าตา ดีให้มาเข้าเรียนตรงกันกับพวกเขาด้วย ทีสุดแล้วพวกเขาถึงกับโดนสังห้ามไม่ให้เล่น คอมพิวเตอร์อีก แต่คําสังห้ามนีก็ไม่อาจหยุด Bill และ Paul ได้ พวกเขาติดต่อไปยังบริษัทเจ้าของ คอมพิวเตอร์ทีโรงเรียนเช่ามาเพือบอกข้อบกพร่อง ต่าง ๆ ของระบบจนทําให้พวกเขาสามารถแฮ็กได้ เพือขอแลกเปลียนกับการทีพวกเขาจะกลับเข้ามาใช้ งานคอมพิวเตอร์ได้อีกครัง ในป1973ก่อนทีBillจะเรียนจบจากเลคไซด์ ในวย 17 เขายงเขยนโปรแกรมขายใหกบโรงเรยน ของตัวเอง ซึงถือได้ว่าเปนซอฟต์แวร์ชินแรกทีเขา สามารถหารายได้เข้ากระเปาได้สําเร็จ Bill สอบจบ ขันมัธยมปลายได้คะแนน1590 คะแนนจากคะแนน เต็ม 1600 ทําให้เขามีสิทธิสอบเข้ามหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ด แต่Billกลับเลือกปฏิเสธมหาวิทยาลัยระดับ โลกเลือกไปเรียนกฎหมายตามพ่อทีเปนทนายความ แต่ในเวลาว่างจากการเรียน เขามักจะใช้เวลาจดจ่อ อยูกับเรืองคอมพิวเตอร์ทีเขาชอบ(ถึงจะไม่ได้เรียน ทีมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดแต่ให้หลัง32ปในป2007 เขาก็กลับไปรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิจาก มหาวทยาลยฮารวารด) วิลเลียมเฮนรีเกตส์ทีสาม (WilliamHenryGatesIII)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 19 คอมพิวเตอร์ 5 ยุค คอมพิวเตอร์ถูกแบ่งออกเปน 5ยุคตังแต่อดีตจวบจนปจจุบัน คอมพิวเตอร์คืออะไร? คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ทีมนุษย์ใช้เปนเครืองมือ ช่วยในการจัดการกับข้อมูลทีอาจเปนได้ ทังตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ทีใช้แทนความหมายในสิง ต่างๆโดยคุณสมบัติทีสําคัญของคอมพิวเตอร์คือการทีสามารถกําหนดชุดคําสังล่วงหน้าหรือโปรแกรม ได้ (programmable) นันคือคอมพิวเตอร์สามารถทํางานได้หลากหลายรูปแบบ ขึนอยูกับชุดคําสังที เลอกมาใชงาน ทาใหสามารถนาคอมพวเตอรไปประยกตใชงานไดอยางกวางขวาง เชน ใชในการตรวจ คลืนความถีของหัวใจ การฝาก – ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครืองยนต์ เปนต้น ข้อดี ของคอมพิวเตอร์คือเครืองคอมพิวเตอร์สามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธภาพ มีความถูกต้อง และมี ความรวดเร็ว อย่างไรก็ดีไม่ว่าจะเปนงานชนิดใดก็ตามเครืองคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทํางานพืนฐาน4อย่าง (IPOS cycle) คือ รับข้อมูล(Input) ประมวลผล(Processing)แสดงผล(Output) เก็บข้อมูล(Storage) เครือง คอมพิวเตอร์จะ ทําการรับข้อมูล จากหน่วยรับ ข้อมูล (input unit)เช่นคีบอร์ด หรือ เมาส์ เครือง คอมพิวเตอร์จะ ทําการประมวล ผลกับข้อมูล เพือ แปลงให้อยู่ในรูป อืนตามทีต้องการ เครือง คอมพิวเตอร์จะให้ ผลลัพธ์จากการ ประมวลผลออก มายังหน่วยแสดง ผลลัพธ์(output unit)เช่น เครืองพิมพ์ หรือ จอภาพ เครือง คอมพิวเตอร์จะ ทําการเก็บผลลัพธ์ จากการประมวลผล ไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เพือให้สามารถนํามา ใช้ใหม่ได้ในอนาคต การทํางานแบบIPOS Cycle
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 20 คอมพิวเตอร์ยุคที 1 ยุคหลอดสุญญากาศ (ค.ศ. 1945-1958) ความคิดฝนของชาลส์ แบบเบจ กลายเปนความจริงในเวลา70ปหลังจากทีเขา สินชีวิตลงเมือนักวิจัยทีมหาวิทยาลัยฮาร์ดวาร์ด ชือ โฮเวิร์ด ไอเกน เริมสร้างเครืองคํานวณชือ มาร์ค-วัน (Mark I) ในป ค.ศ. 1941 ซึงใช้กลุม ของรีเลย์เครืองกลไฟฟา ทําหน้าทีเปนสวิตซ์ เปดและปด เครืองมาร์ค-วัน มีขนาดกว้าง 2.4 เมตรยาว15.2เมตรสามารถบวกและลบ3ครัง หรือคูณ1ครังเสร็จใน1วินาทีและใช้เวลาเพียง 1 วันสําหรับแก้ปญหาคณิตศาสตร์ทีคนหนึงคน สามารถทําได้ด้วยเครืองบวกเลขในเวลาถึง 6 เดือน แต่ในเวลาไม่นานมาร์ค-วัน ก็ถูกแซงขึน หน้าโดยเครืองเอ็นนีแอค (ENIAC) ซึงใช้หลอด สูญญากาศแทนสวิตซ์ เจ.พี.เอ็คเคริด และจอน ห์นมอชลีแห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียได้เปด เผยโฉมหน้าของอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์เมือ วันที14ก.พ.ค.ศ.1946เครืงนีสามารถคํานวณ ได้เร็วกว่าเครืองจักรทุกรุ่นทีสร้างขึนก่อนหน้า นันถึง 1,000 เท่า โดยการบวกและลบ 5,000 ครัง คูณ 350 ครัง หรือหาร 50 ครังต่อหนึง วินาที แต่ขนาดของเครืองก็ใหญ่ประมาณสอง เท่าของเครืองมาร์ค-วันปรรจุเต็มตู40ตูด้วย ชินส่วนถึง 100,000 ชิน ซึงรวมถึงหลอดสูญ ญากาศประมาณ 17,000 หลอด มีนําหนัก 27 ตัน ขนาดกว่าง 5.5 เมตร ยาว 24.4 เมตร หลอดสุญญากาศ รูปแบบการติดตังหลอดสุญญากาศคอมพิวเตอร์อีนิแอก
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 21 คอมพิวเตอร์ยุคที 2 ยุคทรานซิสเตอร์(ค.ศ.1957-1964) นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการเบลแห่งสหรัฐอเมริกาได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์สําเร็จ ซึงมีผลทําให้เกิดการเปลียนแปลงในการสร้างคอมพิวเตอร์เพราะทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กใช้กระแสไฟฟา น้อย มีความคงทนและเชือถือได้สูง และราคาถูก คอมพิวเตอร์ทีใช้ทรานซิสเตอร์ จะมีแกนเฟอร์ไรท์เปน หน่วยความจํา มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสํารองในรูปของสือบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้าน ซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึน โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึงเปนภาษาทีเขียนเปน ประโยคทีคนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เปนต้น ภาษาระดับสูงนีได้มีการพัฒนา และใชงานมาจนถงปจจบน ไดมการผลตคอมพวเตอรเรยกวา เมนเฟรมคอมพวเตอร สําหรับประเทศไทยมีการนําเครืองคอมพิวเตอร์มาใช้ในยุคนีค.ศ.1964โดยจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยนําเข้ามาใช้ในการศึกษา ในระยะเวลาเดียวกันสํานักงานสถิติแห่งชาติก็นํามาเพือใช้ในการ คํานวณสํามะโนประชากร นับเปนเครืองคอมพิวเตอร์รุนแรกทีใช้ในประเทศไทย ทรานซิสเตอร์ ลักษณะคอมพิวเตอร์ในยุคที 2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีวิวัฒนาการเกียวกับเครืองคอมพิวเตอร์แล้วยังมีการพัฒนาภาษาทีใช้ กับเครืองคอมพิวเตอร์อีกด้วย ในยุคนีมีการใช้ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ซึงเปน ภาษาทีใช้คําย่อเปนคําสังแทนรหัสตัวเลขทําให้การเขียนโปรแกรมสะดวกขึนหลังจากนีก็มีการพัฒนา ภาษาระดับสูงคือภาษาทีเขียนเปนประโยคทีคนสามารถเข้าใจได้ง่ายเช่นในกลางปพ.ศ.2498เริม มการใชภาษาฟอรแทรน (FORmular TRANstator : FORTRAN) ในงานทางดานคณตศาสตรและ วิศวกรรมศาสตร์ ในป พ.ศ. 2502 มีการพัฒนาภาษาโคบอล (Common Business Oriented Language:COBOL)ใช้ในทางด้านธุรกิจทังสองภาษานียังมีใช้กับเครืองคอมพิวเตอร์ถึงปจจุบัน
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 22 คอมพิวเตอร์ยุคที 3 ยุควงจรรวม(ค.ศ.1965-1969) ประมาณปค.ศ.1965ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จํานวนมากลง บนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กและเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนทีเรียกว่าไอซีการใช้ไอซีเปนส่วนประกอบ ทําให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง จึงมีบริษัทผลิตคอมพิวเตอร์กันมากขึน คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กลง เรียกว่า “มินิคอมพิวเตอร์” ดังนันคอมพิวเตอรใน์ยุคทีสามเปนคอมพิวเตอร์ทีใช้วงจรรวม(Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยูภายในมากมาย ทําให้เครือง คอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึน และสามารถสร้างเปนโปรแกรมย่อย ๆ ในการกําหนดชุดคํา สังต่างๆทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมทีมีความสามารถสูงทังในรูประบบแบ่งเวลาการทํางาน ให้กับงานหลาย ๆ อย่าง วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) ลักษณะคอมพิวเตอร์ในยุคที 3 มินิคอมพิวเตอร์
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 23 คอมพิวเตอร์ยุคที 4 ยุควีแอลเอสไอ (ค.ศ.1970-1989) เทคโนโลยีทางด้านการผลิตวง จรอิเล็กทรอนิคส์ยังคงพัฒนาอย่าง ต่อเนืองมีการสร้างวงจรรวมทีมีขนาด ใหญ่มารวมในแผ่นซิลิกอน เรียกว่า วี แอลเอสไอ (Very Large Scale Intergrated circuit : VLSI) เปนวงจร รวมทีรวมเอาทรานซิสเตอร์จํานวนล้าน ตัวมารวมอยู่ในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และผลิตเปนหน่วยประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ทีซับซ้อน เรียกว่า ไมโคร โปรเซสเซอร์ (microprocessor) การใช้ VLSI เปนวงจรภายในเครือง คอมพิวเตอร์ ทําให้ประสิทธิภาพของ เครืองคอมพิวเตอร์สูงขึน แผงวจรรวมขนาดใหญ หรอ VLSI ซึงในยุคนีเรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ซึงเปนเครืองทีแพร่หลายและมีผู้ใช้งานกันทัว โลกการทีคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูง เพราะ VLSI เพียงชิพเดียวสามารถสร้างเปน หน่วยประมวลผลของเครืองทังระบบหรือเปน หน่วยความจําทีมีความจุสูงหรือเปนอุปกรณ์ ควบคุมการทํางานต่าง ๆ ขณะเดียวกันพัฒนา ของฮาร์ดดิสก์ก็มีขนาดเล็กลงแต่ราคาถูกลง เครืองไมโครคอมพิวเตอร์จึงมีขนาดเล็กลง ปาล์มทอป (palm top) โน็ตบุ๊ค (Notebook) ลกษณะโครงสรางภายใน VLSI ลักษณะคอมพิวเตอร์ในยุคที 4คอมพิวเตอร์แบบพกพาในยุคที 4
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 24 คอมพิวเตอร์ยุคที 5 ยุคเครือข่าย (ค.ศ.1990-ปจจุบัน) เมือไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูงขึนทํางานได้เร็วการ แสดงผลการจัดการข้อมูลสามารถประมวลได้ครังละมากๆจึงทําให้คอมพิวเตอร์สามารถทํางานหลาย งานพร้อมกัน (multitasking) ขณะเดียวกันก็มีการเชือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์การโดยใช้ เครือข่ายท้องถินทีเรียกว่า LocalArea Network : LAN เมือเชือมหลายๆกลุมขององค์การเข้าด้วย กันเกิดเปนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์การ เรียกว่า อินทราเน็ต และหากนําเครือข่ายขององค์การ เชือมต่อเข้าสูเครือข่ายสากลทีต่อเชือมกันทัวโลก เรียกว่า อินเตอร์เน็ต (internet) คอมพิวเตอร์ใน ยุคปจจุบันจึงเปนคอมพิวเตอร์ทีเชือมต่อกัน ทํางานร่วมกัน ส่งเอกสารข้อความระหว่างกัน สามารถ ประมวลผลรูปภาพ เสียง และวิดีทัศน์ ไมโครคอมพิวเตอร์ในยุคนีจึงทํางานกับสือหลายชนิดทีเรียกว่า สือประสม(Multimedia)และคอมพิวเตอรในยุคทีห้านีเปนคอมพิวเตอร์ทีมนุษย์พยายามนํามาเพือช่วย ในการตัดสินใจและแก้ปญหาให้ดียิงขึนโดยจะมีการเก็บความรอบรูต่างๆเข้าไว้ในเครืองสามารถเรียก ค้นและดึงความรูทีสะสมไว้มาใช้งานให้เปนประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนีเปนผลจากวิชาการด้านปญญา ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทัวโลกไม่ว่าจะเปนสหรัฐอเมริกา ญีปุน และ ประเทศในทวีปยุโรปกําลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนีกันอย่างจริงจัง ในยุคนีไม่ค่อยมีอะไรแตกต่างจากยุคที 4 มากนักในเรืองของอุปกรต่างๆ แต่ในยุคที 5 ได้มีการถือกําเนิดของของระบบเชือมต่อใหม่ในปจจุบันทีคอมพิวเตอร์เครืองเดียวทํางานหลายอย่าง พร้อมกันได้ขณะเดียวกันก็มีการเชือมโยงเปนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์การ มีการทํางานเปนกลุม โดยใช้เครือข่าย ท้องถิน ทีเรียกว่า แลน LAN) - เกิด อินทราเน็ต (intranet) เปนการเชือมหลายๆ กลุมขององค์การเข้าด้วยกัน - เกิด อินเตอร์เน็ต (internet) เปนการนําเครือข่ายขององค์การ เชือมต่อเข้าสูเครือข่ายสากลทีต่อ เชือมกันทัวโลก รูปภาพแสดงการเชือมต่อกันของคอมพิวเตอร์
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 25 ประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต ยุคของการคิดค้นและกําเน็ดระบบการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต อนเทอรเนต คอ อะไร ? อินเทอร์เน็ตหมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีมี ขนาดใหญ่ มีการเชือมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทัวโลก โดยใช้ภาษาทีใช้สือสารกันระหว่าง คอมพิวเตอร์ทีเรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู ใช้เครือข่ายนีสามารถสือสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทางอาทิอีเมลเว็บบอร์ดและสามารถสืบค้นข้อมูล และข่าวสารต่าง ๆ รวมทังคัดลอกแฟมข้อมูลและ โปรแกรมมาใช้ได้ อินเทอร์เน็ตเกิดขึนในป ค.ศ. 1969(พ.ศ.2512)จากการเกิดเครือข่ายARPANET (AdvancedResearchProjectsAgencyNETwork) ซึงเปนเครือข่ายสํานักงานโครงการวิจัยชัน สูงของกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาโดย มีวัตถุประสงค์หลักของการสร้างเครือข่ายคือเพือ ให้คอมพิวเตอร์สามารถเชือมต่อ และมีปฏิสัมพันธ์ กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเปนเครือข่ายเริม แรกซึงต่อมาได้พัฒนาให้เปนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในปจจบน ARPANET ทีเชือมเชือมต่อกันในยุคแรกเริม ใครเปนผสรางอนเทอรเนต ? ความคิดเรืองเครือข่ายทีสามารถเชือมต่อถึงกันได้ ทัวโลกแบบไร้สายนันมีมาตังแต่ช่วงต้นศตวรรษ ที 20 แล้วเสียอีก แต่กว่าจะสามารถพัฒนาเปน อินเทอร์เน็ต เพือใช้งานกันได้เหมือนในปจจุบัน นีก็กินเวลาไปกว่า 60 กว่าปเลยทีเดียว เพราะ นวัตกรรมในขณะนันยังไม่เอืออํานวยต่อการพัฒนา เครือข่ายดังกล่าว จนกระทังในช่วงป ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) โดย J.C.R. Licklider นักวิจัยของ สถาบัน MIT ได้เสนอไอเดียการทํา Intergalactic Network (เครือข่ายอวกาศ) ขึนมา ซึง Licklider ได้อธิบายเกียวกับเครือข่ายนีเอาไว้ว่ามันจะเชือมต่อ คอมพิวเตอร์ทัวโลกเข้าด้วยกันและแบ่งปนข้อมูล แก่กันและกันได้อย่างรวดเร็ว และเขาก็ได้ผลักดัน แนวคิดนีจนสามารถดึงความสนใจและถูกเสนอ ให้เปนหัวหน้าโครงการ DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) และโน้ม น้าวให้เพือนร่วมงานอย่าง IvanSutherland และ BobTaylor รวมทังดึงความสนใจจาก Lawrence G. Robert นักวิจัยของ MIT ให้ร่วมมือกันพัฒนา โครงการนีไปอีกขึนหนึง Leonard Kleinrock นักวิจัยจาก MIT ได้ ศึกษาวิจัยเรือง “Packet Switching” หรือวิธีการ จะช่วยให้การส่งถ่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ มี ประสิทธิภาพมากขึนในป ค.ศ. 1961 (พ.ศ. 2504) ก่อนจะตีพิมพ์อย่างเปนทางการในป ค.ศ. 1964 (พ.ศ. 2507)และได้นําเอาแนวคิดเรืองPacketSwitching นีไปเสนอกับ Robert ว่ามันน่าจะช่วยให้การส่งถ่าย ข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วกว่า ก้าวกระโดดจากความเร็ว 2.4 kbps สู่ 50 kbps ในป ค.ศ. 1965 (พ.ศ. 2508) Kleinrock ก็ได้ ร่วมมือกับRobertและThomasMerrillในการเชือม ต่อคอมพิวเตอร์ TX-2 จากรัฐ Massachusetts เข้า กับคอมพิวเตอร์Q-32ทีอยูในรัฐCaliforniaด้วยสาย โทรศัพท์แบบ Dial-up ขึนมาเปนเครือข่ายแรก แม้ว่า มันจะมีพืนทีไม่กว้างมากนัก แต่ก็ถือว่าเปนก้าวทีดีใน การเริมต้นทีเดียว
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 26 บุคคลผู้ร่วมให้กําเนิดอินเทอร์เน็ต การก่อกําเนิดและพัฒนาอินเทอร์เน็ต โจเซฟคาร์ล(RobnettLicklider) (11มีนาคม1915-26มิถุนายน1990)เปน ทีรูจักแค่ในฐานะJCRหรือ“เลีย“เปนชาว อเมริกันนักจิตวิทยาและนักวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ทีมีการพิจารณาในหมูบุคคล เด่นด้านการพัฒนาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และประวัติศาสตร์ การคอมพิวเตอร์ทัวไป เขาจําได้เปนพิเศษว่าเปนหนึงในคน กลุ่มแรกๆ ทีเล็งเห็นการใช้คอมพิวเตอร์ เชิงโต้ตอบแบบสมัยใหม่และประยุกต์ใช้กับ กิจกรรมทุกประเภท และยังเปนผู้บุกเบิก อินเทอร์เน็ตด้วยวิสัยทัศน์เบืองต้นเกียว กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทัวโลกมานาน ก่อนทีจะถูกสร้างขึน เขาไม่มากทีจะเริมต้น นีโดยทุนวิจัยซึงนําไปสูมากของมันรวมทัง เปนทียอมรับของวันนีอินเตอร์เฟซผูใช้แบบ กราฟกและ ARPANET ลิกไลเดอร์มีบทบาทคล้ายคลึงกัน ในการตังครรภ์และให้ทุนสนับสนุนการวิจัย เครือข่ายในช่วงต้นเขากําหนดแนวคิดแรก สุดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทัวโลกใน เดือนสิงหาคม 2505 ที BBNในชุดบันทึก ช่วยจําทีกล่าวถึงแนวคิด“Intergalactic Computer Network “ ความคิดเหล่านี มีเกือบทุกอย่างทีว่าอินเทอร์เน็ตเปนวันนี รวมถึงคอมพิวเตอร์เมฆ ขณะอยูที IPTO เขาโน้มน้าวให้Ivan Sutherland , Bob TaylorและLawrence G. Robertsเชือว่า เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีครอบคลุมทุกอย่า งเปนแนวคิดทีสําคัญมากเขาได้พบกับโดนั ลด์เดวีส์ในป1965และเปนแรงบันดาลใจที เขาสนใจในการสือสารข้อมูล ในป 1967 Licklider ส่งกระดาษ “Televistas: มองไปขางหนาผานหนาตาง ด้านข้าง”ไปยังสํานักงานคณะกรรมการกํา กับคาร์เนกีโทรทัศน์การศึกษา[36]บทความ นีอธิบายถึงการจากไปอย่างสินเชิงจาก โมเดล “ออกอากาศ” ของโทรทัศน์ Licklider สนับสนุนเครือข่ายการสือสารสอง ทางแทน สํานักงานคณะกรรมการกํากับ คาร์เนกีนําไปสู่การสร้างของคอร์ปอเรชัน เพือออกอากาศ แม้ว่ารายงานของคณะกรรมาธิการจะ อธิบายว่า “เอกสารของ Dr. Licklider เสร็จสมบูรณ์หลังจากทีคณะกรรมาธิการได้ กําหนดข้อสรุปของตัวเอง” ประธานาธิบดี จอห์นสันกล่าวในการลงนามในพระราช บัญญัติการกระจายเสียงสาธารณะป2510 “ดังนันฉันคิดว่าเราจะต้องพิจารณาวิธีการ ใหม่ในการสร้างความยิงใหญ่เครือข่ายเพือ ความรู้—ไม่ใช่แค่ระบบกระจายเสียง แต่ เปนระบบทีใช้ทุกวิถีทางในการส่งและจัด เก็บข้อมูลทีแต่ละคนสามารถใช้ได้”กระดาษ บันทึกของเขาในป 1968 คอมพิวเตอร์ ในฐานะอุปกรณ์สือสารแสดงให้เห็นถึง วิสัยทัศน์ของเขาเกียวกับแอปพลิเคชัน เครือข่าย และคาดการณ์การใช้เครือข่าย คอมพิวเตอร์เพือสนับสนุนชุมชนทีมีความ สนใจร่วมกันและทํางานร่วมกันโดยไม่คํานึง ถึงสถานที Robnett Licklider (โจเซฟ คารล รอบเนตต ลกไลเดอร)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 27 โดนัลด์ วัตส์ เดวีส์ (Donald Davies) (7 มิถุนายน พ.ศ. 1924 – 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2000)เปนนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวเวลส์ ทีทํางานทีห้องปฏิบัติการแห่งชาติสหราชอาณาจักร ในป 1965 เขาคิดทีจะสลับแพ็กเก็ตซึงปจจุบันเปน พืนฐานทีโดดเด่นสําหรับการสือสารข้อมูลในเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ทัวโลกเดวีส์เสนอเครือข่ายระดับ ชาติเชิงพาณิชย์ในสหราชอาณาจักรและออกแบบ และสร้างเครือข่าย NPL ในพืนทีท้องถินเพือสาธิต เทคโนโลยีเครือข่ายแบบแพ็กเก็ตสวิตซ์พืนทีกว้าง จํานวนมากทีสร้างขึนในป 1970 มีความคล้ายคลึง กับ“ในเกือบทุกด้าน”กับการออกแบบดังเดิมของ เขาในป 1965 โครงการ ARPANET ให้เครดิตเด วีส์สําหรับอิทธิพลของเขาซึงเปนกุญแจสําคัญใน การพัฒนาอินเทอร์เน็ต ในป 1965 เดวีส์ได้พัฒนาแนวคิดเรือง การสลับแพ็กเก็ตโดยแบ่งข้อความคอมพิวเตอร์ ออกเปนแพ็กเก็ตทีกําหนดเส้นทางอย่างอิสระผ่าน เครือข่าย ซึงอาจผ่านเส้นทางทีแตกต่างกัน และ ประกอบขึนใหม่ทีปลายทางเดวีส์ใช้คําว่า “แพ็ก เก็ต” หลังจากปรึกษากับนักภาษาศาสตร์เพราะ สามารถแปลเปนภาษาอืนทีไม่ใช่ภาษาอังกฤษได้ โดยไม่ประนีประนอม ข้อมูลเชิงลึกทีสําคัญของ เดวีส์มาจากการตระหนักว่าการรับส่งข้อมูลเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์นัน “ระเบิด” โดยเนือแท้ด้วย ช่วงเวลาแห่งความเงียบงันเมือเทียบกับปริมาณ การใช้โทรศัพท์ทีค่อนข้างคงที[13] เขาได้ออกแบบ และเสนอเครือข่ายข้อมูลเชิงพาณิชย์ระดับชาติ ตามการสลับแพ็กเก็ตในข้อเสนอป 1966 ของเขา สําหรับการพัฒนาบริการสือสารแห่งชาติสําหรับ การประมวลผลข้อมูลออนไลน์ในป 1966 เขากลับ ไปที NPL ที Teddington นอกลอนดอนซึงเขา มุ่งหน้าไปและเปลียนกิจกรรมการคํานวณ เขาเริม สนใจการสือสารข้อมูลหลังจากการเยียมชมสถาบัน เทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ซึงเขาเห็นว่าปญหาสําคัญ กับระบบคอมพิวเตอร์ทีใช้เวลาร่วมกันใหม่คือค่า ใช้จ่ายในการเปดการเชือมต่อโทรศัพท์สําหรับผู้ใช้ แต่ละคน เดวีส์เปนคนแรกทีอธิบายแนวคิดของ “คอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟส” ในป ค.ศ. 1966 ซึง ปจจุบันรู้จักกันในชือเราเตอร์[10] เขาและทีมของ เขาเปนหนึงในคนแรกๆ ทีใช้คําว่า ‘โปรโตคอล’ ใน บริบทการเปลียนข้อมูลในป 1967 ทีม NPL ยังได้ ดําเนินการจําลองสถานการณ์บนเครือข่ายแพ็กเก็ต รวมถงเครอขายดาตาแกรม Donald Davies (โดนัลด์วัตส์เดวีส์) งานของเขาเกียวกับการสลับแพ็กเก็ ตนําเสนอโดยเพือนร่วมงานของเขา Roger Scantlebury ในตอนแรกได้รับความ สนใจจากนักพัฒนา ARPANET ซึงเปน เครือข่ายการปองกันประเทศของสหรัฐฯที การประชุมวิชาการเกียวกับหลักการระบบ ปฏิบัติการในเดือนตุลาคม 1967 ในรายงาน ของ Scantlebury หลังการประชุมเขาตัง ข้อสังเกตว่า “ดูเหมือนว่าแนวคิดในเอกสาร NPLในขณะนีมีความก้าวหน้ามากกว่าทีเสนอ ในสหรัฐอเมริกา”แลร์รี โรเบิร์ตส์ จากสํา นักงานโครงการวิจัยขันสูงในสหรัฐอเมริกา ได้นําแนวคิดเรืองการเปลียนแพ็กเก็ตของ เดวีส์มาใช้ในช่วงปลายทศวรรษ 1960 สําห รับ ARPANET ซึงกลายเปนต้นกําเนิดของ อินเทอร์เน็ตปแรก ๆ
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 28 ลีโอนาร์ดไคลน์รอก(LeonardKleinrock) นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และศาสตราจารย์สาขาวิชา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลส (ยซแอลเอ) ผบกเบกคนสาคญในงาน ด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะทางด้านทฤษฎี ของเครือข่ายเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาระบบARPANET ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียฯ ด้วย งานสําคัญทีเปนทีนรู้จักมากทีสุดในช่วงแรก ของไคลน์รอกได้แก่ “ทฤษฎีการเข้าคิว” (Queuing Theory) ซึงได้มีการนําไปประยุกต์ในงานหลายสาขา เช่นพืนฐานทางคณิตศาสตร์ของ “แพคเก็ตสวิตชิง” (Packet switching) ซึงเปนเทคโนโลยีพืนฐานเบือง หลังอินเทอร์เน็ต สิงทีไคลน์รอกได้ให้ไว้แก้วงการ คอมพิวเตอร์ในช่วงแรกๆ ของเขาคือวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอกป พ.ศ. 2505 ซึงนํามาตีพิมพ์ในรูปของ หนังสือในป พ.ศ. 2507 ไคลน์รอกได้ตีพิมพ์หนังสือ เกียวกับคอมพิวเตอร์โดยทัวๆไปขยายจากเล่มแรกออก ไปอีกหลายเล่มLeonard Kleinrock (ลีโอนาร์ดไคลน์รอก) ลอว์เรนซ์กิลแมนโรเบิร์ตส์ (LawrenceGilmanRoberts) 21ธันวาคมค.ศ. 1937 – 26 ธันวาคม ค.ศ. 2018) เปนวิศวกรชาว อเมริกันทีได้รับรางวัลเดรเปอร์ในป ค.ศ. 2001 “เพือการพัฒนาอินเทอร์เน็ต”[4]และรางวัลปรินซิป เดอ อัสตูเรียส ในป ค.ศ. 2002 ในฐานะผู้จัดการ โปรแกรมและผูอํานวยการสํานักงานในภายหลังทีสํา นักงานโครงการวิจัยขันสูง Roberts และทีมของ เขาได้สร้างARPANETโดยใช้เทคนิคการสลับแพ็ก เก็ตทีคิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาว อังกฤษ Donald Davies และ American Paul Baran ARPANET ซึงสร้างขึนโดยบริษัท Bolt BeranekและNewman(BBN)ในรัฐแมสซาชูเซต ส์ เปนบรรพบุรุษของอินเทอร์เน็ตสมัยใหม่ เขาขอ ให Leonard Kleinrock ใชแบบจาลองทางคณต ศาสตร์เพือจําลองประสิทธิภาพของเครือข่าย ต่อ มาโรเบิร์ตส์ดํารงตําแหน่งซีอีโอของเครือข่ายการ สลับแพ็กเก็ตเชิงพาณิชย์ Telenet ในป ค.ศ. 1973 โรเบิร์ตส์ออก จาก ARPA เพือเข้าร่วมความพยายามของ BBN ในเชิงพาณิชย์เทคโนโลยีการสลับแพ็กเก็ตทีเพิง เปนรูปร่างในรูปแบบของTelenetเครือข่ายข้อมูล สาธารณะทีได้รับอนุญาตจาก FCC แห่งแรกใน สหรัฐอเมริกาเขาดํารงตําแหน่งซีอีโอตังแต่ป1973 ถง 1980 โรเบรตสเขารวมความพยายามระหวาง ประเทศในการสร้างมาตรฐานโปรโตคอลสําหรับ การสลับแพ็กเก็ตโดยใช้วงจรเสมือนไม่นานก่อนที จะสรุป เทเลเน็ตแปลงเปนโปรโตคอลX.25ซึงPTTsทัว อเมริกาเหนือและยุโรปนํามาใช้สําหรับเครือข่าย ข้อมูลสาธารณะในช่วงกลางทศวรรษ1970[30] โรเบิร์ตส์ได้ส่งเสริมแนวทางนีเกียวกับแนวทาง ดาต้าแกรมในTCP/IPทีARPAดําเนินการซึง เขาอธิบายว่า “ขายมากเกินไป” ในป 1978 Lawrence Gilman Roberts (ลอว์เรนซ์ กิลแมน โรเบิร์ตส์)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 29 อุปกรณ์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อุปกรทีใช้ในการเชือมระบบอินเน็ตแบบมีสายและไร้สาย อุปกรณ์เครือข่าย (Network Device) การเชือมต่อเครืองคอมพิวเตอร์ให้กลายเปน LAN หรือ WAN ได้นันจะต้องอาศัยสิงทีเรียกว่า “อุปกรณ์เครือ ข่าย(NetworkDevice)”มีด้วยกันหลายประเภทดังราย ละเอียดต่อไปนีซึงในปจจุบันอาจจะมีอุปกรณ์ใหม่ๆในการ ใช้งานเครือข่ายเพิมขึนมากมายแต่หลักๆล้วนมีอุปกรณ์ เหล่านี รูปภาพแสดงการเชือมต่อด้วยอุปกรณ์ต่างๆ อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater) อุปกรณ์ทวนสัญญาณ ทํางานใน Layer ที 1 OSI Modelเปนอุปกรณ์ทีทําหน้าทีรับสัญญาณดิจิตอล เข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Regenerate) ให้เปนเหมือน สัญญาณ (ข้อมูล) เดิมทีส่งมาจากต้นทาง จาก นันค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอืน เหตุทีต้อง ใช้ Repeater เนืองจากว่าการส่งสัญญาณไปใน ตัวกลางทีเปนสายสัญญาณนัน เมือระยะทางมาก ขึนแรงดันของสัญญาณจะลดลงเรือย ๆ จึงไม่ สามารถส่งสัญญาณในระยะทางไกล ๆ ได้ ดังนัน การใช้ Repeater จะทําให้สามารถส่งสัญญาณไป ได้ไกลขึน โดยทีสัญญาณไม่สูญหาย อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater ฮับ(Hub) คือเปนอุปกรณ์ศูนย์กลาง ทีเชือมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อืนๆเข้าด้วยกันในระบบเครือข่ายฮับเปนอุปกรณ์ที ใช้สําหรับเชือมโยงสัญญาณของอุปกรณ์เครือข่าย เข้าด้วยกัน การจะทําให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครือง คอมพิวเตอร์รูจักกันหรือส่งข้อมูลถึงกันได้จะต้อง ผ่านอุปกรณ์ตัวนี ปจจุบันฮับถูกเปรียบเทียบกับ Switchซึงมีความสามารถสูงกว่า และถือได้ว่าเปน อุปกรณ์มาตราฐานทีใช้สําหรับเชือมโยงสัญญาณ ในระบบเครือข่าย ฮับ(hub)
รู้จักคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 30 สวิตช์(Switch) อุปกรณ์ ทีใช้ในระบบเครือข่ายแบบมีสายต่อสัญญาณใน เชือมต่อกับอุปกรณ์อืนโดยใช้สายแลนแบบอีเทอร์ เน็ต(Ethernet)เปนตัวกลางในการส่ง-รับข้อมูล ซึงสวิตช์ช่วยให้อุปกรณ์ทีเชือมต่อแต่ละเครือง สามารถดําเนินการทํางานในระบบเครือข่ายได้ เสถียรสูงและแจกจ่ายสัญญาณให้กับอุปกรณ์ ต่างๆทีอยูในอาณาเขตเครือข่ายอย่างทัวถึงสวิตซ์ สามารถรับและส่งสัญญาณปลายทางแบบหลาก หลายสายได้อย่างรวดเร็วอีกทังสวิตช์ช่วยปองกัน การรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์สองเครืองจาก การขัดขวางอุปกรณ์อืนๆในเครือข่ายเดียวกันเพือ ปองกันข้อมูลส่วนตัวของผูใช้รัวไหลไปในเครือข่าย เน็ตเวิร์คนอก สวิตช์(Switch) เร้าเตอร์(Router) คืออุปกรณ์ทีทําหน้าทีเชือมต่อระบบเครือข่ายอย่าง หนึงซึงถ้าแปลความหมายคําว่าRouteก็คือถนน นันเอง ดังนัน การเชือมต่อคอมพิวเตอร์ด้วย Router ทําให้เราสามารถเชือมต่อคอมพิวเตอร์ได้ มากกว่าหนึงเครืองในเวลาเดียวกัน ซึง Router นันจะมีซอฟต์แวร์ทีใช้ในการควบคุมการทํางาน เรียกว่า Internetwork Operating System (IOS) และตัว Router จะมีช่องทีใช้เสียบต่อสาย สัญญาณเรียกว่า Port LAN ซึงโดยทัวไปมักมี 4 Ports หรือมากกว่า ใน Router 1 ตัว หน้าทีหลัก ของ Router คือ การหาเส้นทางในการส่งผ่าน ข้อมูลทีดีทีสุดและเปนตัวกลางในการส่งต่อข้อมูล ไปยังเครือข่ายอืนทังนีRouterสามารถเชือมโยง เครือข่ายทีใช้สือสัญญาณหลายแบบแตกต่างกันได้ ไม่ว่าจะเปน Ethernet, Token Rink หรือ FDDI ทังๆทีในแต่ละระบบจะมี packet เปนรูปแบบของ ตนเองซึงแตกต่างกัน เร้าเตอร์(Router) โมเด็ม(modem) ย่อมาจากคําว่า modulate and demodulate) เปนอุปกรณ์ทีทําหน้าทีกลําสัญญาณ หรือปรับ เปลียนลักษณะสมบัติอย่างใดอย่างหนึงหรือหลายๆ อย่างของรูปสัญญาณคลืนพาห์(สัญญาณทีเปน ตัวขนส่งความถีสูง)ด้วยสัญญาณข้อมูลทีจะถูก ส่งผ่าน เช่น กระแสบิตดิจิตอล(อังกฤษ: digital bit stream)หรือสัญญาณเสียงอนาล็อก การก ลําสัญญาณรูปคลืนไซน์จะแปลงสัญญาณข้อความ baseband เปนสัญญาณ passband และแปลง กลับในทิศทางตรงข้าม จุดประสงค์ของโมเด็มคือ การสร้างสัญญาณทีง่ายต่อการส่งข้อมูล และง่าย ต่อการประมวลผล โมเด็มประเภททีแพร่ หลายทีสุดคือโมเด็มทีแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เปนสัญญาณดิจิทัลและสัญญาณดิจิทัลให้เปน สัญญาณแอนะล็อกซึงใช้ในการสือสารโทรคมนาคม หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โมเด็ม(modem)
เทคโนโลยีต่างๆล้วนพัฒนามาจากอดีตและผ่านการเสียสละ ของผูทีต้องการจะเปลียนโลกให้ดีขึนเสียทุกหยาดเหงือ เพืออนาคตและเปลียนแปลงวิธีชีวิตของเราให้ดีขึน “ ขอบคุณการเสียสละหยาดเหงือและการอุทิศตนของพวกเขาเหล่านี ” วิชา : คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบ CIT3508 อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์กฤษณะ สมควร

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.