531166086

Page 1

วรรณคดีไทย ทำความรู้ จกั

ยุคแห่งวรรณคดีไทย “ สุ โขทัย” “ อยุธยา” “ ธนบุรี” “ รัตนโกสิ นทร์”


สารบัญ กรุงสุ โขทัย

6

“ยุคแห่ งการกำเนิดศิลปะวรรณคดีไทย”

กรุงธนบุรี

18

กรุงรัตนโกสิ นทร์

26

“ยุคสงครามแห่ งวรณคดีไทย”

กรุงศรีอยุธยา “ยุคทองแห่ งวรรณคีไทย”

12

“ยุคแห่ งความก้ าวหน้ าแห่ งวรรณคดี”

โปรแกรมวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสี มา จัดโครงการเรียนรู้ วรรณคดีการ ละครจากโรงละครแห่ งชาติสู่ การสร้ างละครเวที จากวรรณคดีไทย ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09.00 น. เป็ นต้ นไป ณ หอประชุมอนุสรณ์ 70 ปี ความประทับใจในวรรณคดีพระเวสสั นดรชาดก มอบ แรงบั นดาลใจให้ กลุ่มนักเรียนโรงเรียนหันคาพิทยาคม จ.ชัยนาท สร้ างสรรค์ บอร์ ดนิทรรศการ “ร่ ายยาวพระเวสสั นดรชาดก กัณฑ์ กมุ าร” ส่ วนหนึ่งในโครงการ “จินตนาการ สื บสาน วรรณกรรมไทยกับอินทัช ปี ที่ 5”

ย้ อนรอยคล้ อยตาม สื บสานคุณค่ าแห่ งวรรณคดี ฝูงปลาสวยงามพบนางกินรี เล่ นน้ ำสำราญที ทีเ่ ชียงใหม่ ซู อควาเรียม เชียงใหม่ ซู อควาเรียมจัด โชว์ พเิ ศษ รอบปฐมฤกษ์ ให้ กบั สื่ อมวลชน เชียงใหม่ ซู อควาเรียม จัดโชว์ พเิ ศษ ระบำใต้ ในรู ปแบบใหม่ ในช่ วงฤดูกาลท่ องเทีย่ ว น้ องๆ เยาวชนโชว์ การ์ ดพลังรู ปตัวละครในวรรณคดีไทย ของรางวัล สุ ดเก๋ ไม่ แพ้ การ์ ดพลังการ์ ตูนญีป่ ุ่ น ทีส่ มาคมผู้จดั พิมพ์ และผู้จำหน่ า ยหนังสื อแห่ งประเทศไทยเตรียมนำมาแจกให้ แก่ เด็กและเยาวชนทีม่ าร่ วมกิจกรรมในงานเทศกาลหนังสื อเด็กและเยาวชนครั้งที่ 8 (Book Festival for


ข่ าวประชาสั มพันธ์ “วรรณคดี”

"ก่ อนบ่ ายคลายเครียด" ตามรอยวรรณคดีไทย “พระอภัยมณี” ปี เตอร์ โฟดิฟาย นักร้ องลูกทุ่งชื่อดัง ทิง้ ลายความขีเ้ ล่ น เปลีย่ นลุคในก่ อนบ่ ายฯ ตอน ตามนางคืนนา รับบท ชาวนาหนุ่ม ซื่อสั ตย์ และจริงใจ แต่ กอ็ ย่ างว่ า “ผู้หญิงไม่ ชอบคนดี” ผล (ปี เตอร์ โฟดิฟาย) ก็เลยอดเศร้ าไม่ ได้ เพราะต้ องถูกเมียตัวเองทิง้ ไปอย่ างไม่ ไยดี โดยที่ เผือ่ น (ชมพู่ ก่ อนบ่ ายฯ) หนีตามเสี่ ยไปอยู่ในคาเฟ่ ร้ อง เล่ น เต้ น ระบำ ผิดไปจากเดิม แต่ ด้วยความยึดมัน่ ในความรัก ของพระเอก จึงขอมาตามง้ องอนเมียทีก่ ำลังหลงแสงสี เสี ยงแล ะใช้ ชีวติ อย่ างฟุ้ งเฟ้อ เขาจะพิสูจน์ ความรักทีม่ อี ย่ างพอเพียงใ ห้ เมียได้ อย่ างไร แล้ ว เผือ่ น จะมองเห็นความจริงใจของชายที่ เป็ นเป็ นสามีได้ หรือไม่ ตามลุ้นได้ ใน “ก่ อนบ่ ายคลายเครียด” ตอน “ตามนางคืนนา” วันศุกร์ ที่ 28 พ.ค.นี้ เสนอเป็ นตอนแรก เวลา 10.25 – 10.50 น. ทางไทยทีวสี ี ช่อง 3 จะเป็ นอย่ างไรนั้น เมือ่ รายการอารมณ์ ดี๊ ดี “ ก่ อนบ่ ายคลายเครียด “ จะพาผู้ชมทุกท่ านย้ อนเวลาตามรอย วรรณคดีทมี่ ชี ื่อเสี ยงโด่ งดัง และเป็ นทีร่ ู้ จกั ของคนทั้งประเทศ “พระอภัยมณี” ตอนนีไ้ ด้ ใช้ แขกรับเชิญหน้ าใหม่ ทมี่ ากด้ วย ความสามารถจากโครงการ “ เป็ ดกะดัน” โดยใช้ ชื่อตอนทีว่ ่ า “ บุกเกาะมิตมิ หัศจรรย์ “ เรื่องราวเกิดขึน้ เมือ่ ครู ถนอม (หลุยส์ เชิญยิม้ ) พานักศึกษาไปทัศนศึกษาย้ อนรอยวรรณ คดีไทยเรื่อง พระอภัยมณี แต่ กลับเกิดเหตุการณ์ ไม่ คาดคิด เมือ่ เรือแตกกลางทะเล ทำให้ กลุ่มทัศนศึกษาพลัดหลงเข้ า ไปสู่ ยุคของเรื่องราวพระอภัยมณีจริง ๆ ละจะเป็ นอย่ างไร เมือน๊ อต (ต่ อ ก่ อนบ่ ายฯ ) นักศึกษาเพียงคนเดียวทีพ่ ดั ห ลงไปสู่ ทอี่ ยู่อาศัยของนางยักษ์ และได้ พบกับพระอภัยมณี ทั้งหมดจะกลับมาเจอกันหรือไม่ และน๊ อตจะรอดจากเงือ้ มมื อของนางยักษ์ ได้ ไหม ต้ องติดตามชมในรายการก่ อนบ่ ายค ลายเครียด เสนอเป็ นตอนแรกในวันอังคารที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 10.25 – 10.50 น. ทางไทยทีวสี ี ช่อง 3


4

พระราชกฤษฎี กาจัชดื่อตัลั้งกวรรณคดี สโมสรนธ์ลงวั นที่ ๒๓ เนื่องจากมีการเข้าใจสับสนระหว่างคำว่า วรรณคดี อเรี ยกโดยใช้ ษณะคำประพั และเหตุ การณ์หรื ่ กั บ วรรณกรรม อยู เ สมอ เนื ่ อ งจากทั ง สองคำ ้ กับวรรณกรรม กรกฎาคม อโอกาสที ่ทำให้๒๔๕๗ เกิดเรื่ อได้ งนัาใ้ นทีช้ท่ คๆ่ าำว่ดิขึ้านนวรรณคดี (เช่นหรืเพลงยางหรื อก ยงจัน เนื่องจากมีการเข้ าใจสั บสนระหว่ างคำว่ า วรรณคดี พุทอธศักลอนนิ กราช น ราศเวี ลงยางหรื ราศรบพม่ แดง อเป็โคลงนิ มาจากภาษาอั กฤษว่า Literature เดียวกัน ส ราศรบพม่ ามเด็ ที่ทจ่าดิพระเจ้ นแดงาหรื อโคลงนิ ราศเวียงจัน อยู่เสมอ เนื่องจากทั ้งสองคำงมาจากภาษาอั งกฤษว่เช่านLiterature ทร์ ลอนนิ พระนิ พนธ์กสษณะวรรณคด บรมวงศ์ เธอกรมพระยาเดชาดิ ศ ครั ้ ง แรกและได้ ก ำหนดลั ำหรั บ ในภาษาไทยนั น มี ก ารใช้ ค ำว่ า "วรรณคดี " ้ ทร์ พระนิ พ นธ์ ส มเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอกรมพร เช่ นเดียวกัน สำหรับในภาษาไทยนั้นมีการใช้ คำว่ า "วรรณคดี" ร เป็ นต้ น) (ชลดา เรืองรักษ์ ลขิ ติ . 2541 : 15) และคำว่ า "วรรณคดี" ก่ อ นภายหลั ง จึ ง ได้ เ กิ ด มี ค ำว่ า "วรรณกรรม" ขึ น และจริ ง ้ ี ในพระราชกฤษฎี กศาฉบั ำหนดหนั งงรั สื อกดีษ์ในรั แลละแต่ รนทางการเมื เป็บนนีต้ไ้ นด้)ก(ชลดา ิขชิตสมั . 2541 : 15) ก่ อนภายหลังจึงได้ เกิดมีคำว่ า "วรรณกรรม" ขึน้ และจริง ๆ แล้ ว นีร้ ู้ จะยาเดชาดิ กั กันอย่ างเป็ อ่ พ.ศ.เรื อ2450 ยพระบาทสมเด็ ๆ แล้ว2457 ในอดี ตก่อนปีงไม่พ.ศ. 2457 ไทยเรายัง"ไม่ใช้มีคำว่า า คื"วรรณคดี กันอย่ฉัาท่ งเป็ ่อ สโมสร" ้ รคืู ้จอกั โคลง ในอดีตก่ อนปี พ.ศ. ไทยเรายั มคี ำว่ า "วรรณคดี ลจอมเกล้ เจ้ านอยู ห" ัวนีในโอกาสที ้งทางการเมื "โบราณคดี งดีไว้จพระจุ ๕ และคำว่ ประเภท อากวี ิพ่นธ์ นรงตั ท์ นกาพย์ ่ "วรรณคดี " ใช้ เราเรี ย กหนั ง สื อ วรรณคดี ว า "หนั ง สื อ " ในรั ชสมัยพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล้ เราเรียกหนังสื อวรรณคดีว่า "หนังสื อ" (เช่ นเรียกเรื่องท้ าวบาเจืองห ขึน้ ละครไทย วัพ.ศ. ตถุป2450 ระสงค์ ของสโมสรนี ก้ เ็ พือ่ ส่กงำหนดหน้ เสริ มการประพั นธ์าเการศึกษ กลอน คื อ แต่ ง เป็ นกลอนแปดมี า พ กเรื่ อยงท้ งหรื อท้าวฮุ่งท้าวเจืองทีจ่ทพระ างเวี าประวั จ้าอยู วั ในโอกาสที ่ทรงตั้งงานที "โบราณคดี วั รือท้ าวฮุ่งท้ าวเจื(เช่อนงทีเรีท่ ยางเวี งจัานวบาเจื ทร์ ส่งอมาถวายพระบาทสมเด็ ตศิ ห่ าสตร์ และโบราณคดี ส่ ำคัญทีสส่ โมสร" คื ุ ดเกีย่ วกัขึบ้ นวรรณคดี ่ ยงจั น ทร์ ส ง มาถวายพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ าจุ ็ ตถุ ป ระสงค์ ข องสโมสรนี ก เ พื อ ่ ส่ ง เสริ ม การประพั น ธ์ ก ้ าทย์ น ิ ท าน คื อ เรื ่ อ งราวอั น ผู ก ขึ น ้ และแต่ ง เป็ นร้ อ ยแก้ ว พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกว่ า "หนังสื อเจียง" หรือเรียกเรื่องมหาภารตะว่ า อ การพิมพ์ เผยแพร่ วรรณคดีโบราณ เช่ น ลิลติ ยวนพ่าย ทวาทศมาส ฬาโลกว่เป็า "หนั อเจีอยเรีง"ยหรื อเรี ยชกเรื​ื่อผู่ อ้ แงมหาภารตะว่ กษาประวัติศงาสตร์ ่สำคัญที่สุด "หนังสื อมหาภารตะ" นต้ นง)สืหรื กโดยใช้ ต่ งกับชื่อลัก า ละครพู และนิดารศึ รคำอธิ าศพระยาตรั เป็ นต้แนละโบราณคดี ย้ งั งานที มีคแสดง ณะกรรมการตรวจคั ด บาย (คือ เอสเสย์ แนอกจากนี ละแปมเฟลท) งสื อมหาภารตะ" เป็อ้ หา นต้(เช่ น)นหรืนิอรเรีาศนริ ยกโดยใช้ ื่อผูแ้ ต่ง หนังเกีสื อ่ยวกั บ วรรณคดี ค ื อ การพิ ม พ์ เ ผยแพร่ ว รรณคดี โ บราณ ษณะคำประพัน"หนั ธ์ และประเภทของเนื นทร์ คชำโค ทีแ่ ต่ งดี เพือ่ รับพระบรมราชานุญาตประทับพระราชลัญจกร กับชื่อลักงษณะคำประพั ละประเภทของเนื ้ อหา (เช่น มังกรคาบแก้ เช่น ลิลิตวยวนพ่ ทวาทศมาส และนิ ราศพระยาตรั ง ลงหรือนิราศพระยาตรั เป็ นต้ น) หรือนเรีธ์ยแกโดยใช้ ชื่อลักษณะคำปร หนังสืายอใดที โ่ บราณคดี สโมสรนี ป้ ระทับพระราชลั ญจ าศนริ คำโคลงหรื เป็ นนต้เพ น) หรื กรมังกรคาบแก้ วก็ได้ ชื่อว่ าเป็ น "วรรณคดี" ซึ่งในขณะนั้นถือว่ าเป็ น ะพันธ์ และเหตุนิกรารณ์ หรืนอทร์ โอกาสที ท่ ำให้ เอกินิดรเรืาศพระยาตรั ่องนั้น ๆ ขึน้ ง (เช่


5

เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีคณะกรรมการตรวจคัดหนังสื อที่แต่งดี เพื่อรับพระบรมราชานุญาตประทับพระราช ลัญจกรมังกรคาบแก้ว หนังสื อใดที่โบราณคดีสโมสร นี้ประทับพระราชลัญจกรมังกรคาบแก้วก็ได้ชื่อว่าเป็ น "วรรณคดี" ซึ่งในขณะนั้นถือว่าเป็ น "หนังสื อดี"


6

วรรณคดี สมัยกรุงสุโขทัย


7

ศิลาจารึกของพ่ อขุนรามคำแหง บางทีเรียกว่ า จารึกหลักที่ 1 เป็ นจารึกทีส่ ำคัญและยกย่ องว่ าเป็ นวรรณคดีเรื่องแรกของไทยทีบ่ ันทึกไว้ เ ป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ทั้งนีเ้ พราะการใช้ ภาษาในศิลาจารึกของพ่ อขุนรามคำแหงนั้นเข้ าลักษณะสากลทีว่ ่ า ภาษาของคนโบราณมักใช้ ถ้อยคำพืน้ ๆ ประโยคทีใ่ ช้ กนิ ความเป็ นภาษาพูดมากกว่ าภาษาเขียน บางตอนมีเสี ยงของคำสั มผัส ฟังไพเราะเข้ าลักษณะของวรรณคดีได้ ปัจจุบันศิลาจารึก จัดแสดงไว้ ทหี่ ้ องประวัตศิ าสตร์ ชาติไทยในพระทีน่ ั่งศิวโมกขพิมาน พิพธิ ภัณฑสถานแห่ งชาติ ผู้แต่ ง สั นนิษฐานว่ าผู้แต่ งอาจมีมากกว่ า 1 คน เพราะเนือ้ เรื่องในหลักศิลาจารึกแบ่ งได้ เป็ น 3 ตอน


8

สุ ภาษิตพระร่ วง เป็ นวรรณกรรมสมัยสุ โขทัย ไม่ ปรากฏนามผู้แต่ ง มีลกั ษณะเป็ นภาษิตของไทยแท้ ๆ ทีไ่ ม่ มอี ทิ ธิพลจากต่ างประเทศมาเจือ ปน เขียนเป็ นคำประพันธ์ ประเภทร่ าย และตอนจบมีโคลงกระทู้ 1 บท ให้ ชื่อว่ า บัณฑิตพระร่ วง เนือ้ หาของสุ ภาษิต มีลกั ษณะของวิถชี ีวติ ไทย เป็ นคำสอนทีม่ คี ุณค่ า แสดงถึงพฤติกรรมของคน ทีย่ งั ทันสมัยอยู่ทุกยุค ทุกสมัยโดยเฉพาะอย่ างยิง่ สำหรับ ดินแดนสุ วรรณภูมิ ทีม่ คี วามเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรม มานานนับพันปี ตามชื่อของสุ ภาษิต ประกอบกับลักษณะของถ้ อยคำ ภาษา สำนวนซึ่งใกล้ เคียงกับจารึก ใน หลักศิลาจารึกหลักทีห่ นึ่ง ทีเ่ รียกว่ าจารึกพ่ อขุนรามคำแหง จึงมีการสั นนิษฐานว่ า สุ ภาษิตพระร่ วงนี้ เดิมเป็ นพระบรมราโชวาท ทีพ่ ระร่ วงหรือพ่ อขุนรามคำแหง ทรงนำมาสั่ งสอนประชา ชนชาวไทยในครั้งนั้น ปางสมเด็จพระร่ วงเจ้ า

เผ้ าแผ่ นสุ โขทัย

มลักเห็นในอนาคต จึงผายพจนประภาษ

เป็ นอนุสาสนกถา

สอนคณานรชน ทัว่ ธราดลพึงเพียร เรียนอำรุงผดุงอาตม์ อย่ าเคลือ่ นคลาดคลาถ้ อย เมือ่ น้ อยให้ เรียนวิชา

ให้ หาสิ นมาเมือ่ ใหญ่

อย่ าใฝ่ เอาทรัพย์ ท่าน อย่ าริร่านแก่ ความ ประพฤติตามบูรพระบอบ เอาแต่ ชอบเสี ยผิด


9


10


11 ตำรับท้าวศรี จุฬาลักษณ์ มีชื่อเรี ยกว่า นางนพมาศบ้าง เรวดีนพมาศบ้าง เป็ นหนังสื อที่ยงั มีปัญหาเกี่ยวกับสมัยที่แต่ ง นักวรรณคดีมีความเห็นตรงกันว่า ตำรับท้าวศรี จุฬาลักษณ์ เป็ นหนังสื อที่แต่งเติมหรื อแต่งใหม่ในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ โดยใช้เค้าเรื่ องเดิม ทั้งนี้เพราะมีเรื่ องราวที่เกิดขึ้นในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ เช่น การกล่าวถึงชนชาติอเมริ กนั การกล่าวถึงปื นใหญ่ซ่ ึ งไม่มี ต่างๆ เป็ นต้น ในสมัยนั้น ถ้อยคำสำนวนเป็ นถ้อยคำใหม่ มีคำกลอนซึ่งเกิดขึ้นหลัง 3. ด้านภาษา มีคุณค่าทางอักษรศาสตร์และวรรณคดี เรื่ องนี้ใ สมัยกรุ งสุ โขทัยอยูด่ ว้ ย ช้โวหารในเชิงพรรณนาได้อย่างดียงิ่ ทำให้น่าอ่านและเข้าใจง่าย 4. ด้านโบราณคดี ให้ความรู ้ในทางโบราณคดี เป็ นประโยชน์ในก ผูแ้ ต่ง นางนพมาศเป็ นธิดาของพระศรี มโหสถและนางเรว ารสอบสวนพระราชพิธีต่างๆ ดี มีรูปสมบัติและคุณสมบัติที่งดงาม ได้รับการอบรมจากบิดา มีความรู ้ทางอักษรศาสตร์ พุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ ตัวอย่างบางตอน การช่างของสตรี ตลอดจนการขับร้องดนตรี ถวายตัวเป็ นสน มทำหน้าที่ขบั ร้องถวาย ได้เป็ นพระสนมเอกของพระยาลิไท 1. ข้อปฏิบตั ิของข้าราชการฝ่ ายใน ตำแหน่งท้าวศรี จุฬาลักษณ์ "อย่าทำรี ๆ ขวางๆ ให้เขาว่า อย่าทำเซ่อๆ ซ่าๆ ให้ท่านหัว อย่าประพฤติตวั เก้อๆ ขวยๆ ให้คนล้อ อย่าทำลับๆ ล่อๆ ให้เขาถาก ลักษณะการแต่ง แต่งเป็ นร้อยแก้ว มีกลอนดอกสร้อยแทรกอยู่ 5 อย่างทำโปกๆ ปากๆ ให้ท่านว่ากิริยาชัว่ จงแต่งตัวให้งามต้องตาคน บท จะประพฤติตนให้ตอ้ งใจท่านทั้งหลาย จงฝากตัวมูลนายให้กรุ ณา จงระวังเวลาราชการ….." เนื้อหาสาระ แบ่งออกได้เป็ น 5 ตอน คือ 1. กล่าวถึงชาติและภาษาต่างๆ 2. การประดิษฐ์ โคมในพระราชพิธีจองเปรี ยง 2. ยอพระเกียรติพระร่ วง เล่าชีวติ ของชาวสุ โ "ข้าพระองค์สำคัญใจคิดเห็นว่า เป็ นนักขัตฤกษ์วนั เพ็ญเดือนสิ บสอง พ ขทัยและสถานที่บางแห่ง ระจันทร์แจ่มแสงปราศจากเมฆมลทิน อันว่าดวงดอกชาติโกสุ มประ 3. ประวัติของนางนพมาศเอง ทุมมาลย์ มีแต่จะเบ่งบานกลีบรับแสงอาทิตย์ ถ้าชาติอุบลเหล่าใดบาน 4. คุณธรรมและการปฏิบตั ิหน้าที่ของนางส ผกาเกสรรับแสงพระจันทร์แล้วก็ได้ชื่อว่า ดอกกระมุท ข้าพระองค์จึง นม ทำโคมลอยเป็ นรู ปดอกกระมุทซึ่ งบังเกิดมีอยูย่ งั นัมมทานที อันเป็ นที่พ 5. พระราชพิธีต่างๆ เช่น ระบวรพุทธบาทประดิษฐาน" พระราชพิธีจองเปรี ยงลอยพระประทีป (เดือนสิ บสอง) , พ ระราชพิธีวสิ าขะและพระราชพิธีจรดพระนังคัล (เดือนหก) , 3. ชีวติ ความเป็ นอยู่ พระราชพิธีอาษาฒมาส (เดือนแปด) , พระราชพิธีอาสวยุช "ถึงวันวิสาขนักขัตฤกษ์ครั้งใด ก็สว่างไปด้วยแสงประทีป (เดือนสิ บเอ็ด) เป็ นต้น เทียน ดอกไม้เพลิง แลสล้างด้วยธงชายไสวไปด้วยพูพ่ วงดอ กไม้ร้อยกรองห้อยแขวน หอมตลบไปด้วยกลิ่นสุ คนธรสรวยรื่ น คุณค่าของหนังสื อ เสนาะสำเนียงพิณพาทย์ ซ้องกลองทั้งทิวาราตรี มหาชนชายหญิงพากั นกระทำกองการกุศล" 1. ด้านวัฒนธรรม มีคุณค่าในการแสดงหลักฐานทา งวัฒนธรรมโบราณของไทย ทำให้เรารู ้เรื่ องขนบธรรมเนีย มประเพณี ในพระราชสำนัก ได้แก่ ประเพณี การลอยกระทง การปฏิบตั ิตวั ของหญิงชาววัง เช่น ตำแหน่งหน้าที่ของนางนพมาศ และการศึกษาของเด็กไทยสมัยก่อน เช่น การที่พระศรี มโหสถบิดาน างนพมาศได้ให้นางนพมาศศึกษาอักษรสยามพากย์และอักษรสันสกฤ ตจนชำนาญ 2. ด้านสังคม ให้ความรู ้เกี่ยวกับคุณสมบัติสตรี และค่านิยม ทางสังคม ได้แก่ ความประพฤติ ความขยัน รวมทั้งวิชาทางช่าง ห นังสื อเรื่ องนี้เป็ นหลักฐานแสดงว่าหญิงไทยของเรามีนิสยั ช่างประดิษ ฐ์มาตั้งแต่โบราณ เช่น การที่นางนพมาศประดิษฐ์โคมลอยดอกกระ มุท และการที่ขา้ ราชบริ พารฝ่ ายในประดิษฐ์โคมประทีปให้มีลวดลาย


12

วรรณคดี สมัยกรุ งศรี อยุธยา


13


14

14

1


15

15 ลิลิตพระลอ ลิลิตพระลอเป็ นยอดวรรณคดีประเภทลิลิต เข้าใจกั 5. ด้านวิถีชีวติ ได้มองเห็นถึงความเป็ นอยูข่ องคนไทยสมัยนั้ นว่าเป็ นเรื่ องจริ งที่เล่ากันเรื่ อยมา ของท้องถิ่นไทยภาคเหนือ นที่ยงั เชื ่อในเรื่ องไสย สถานที่ในเรื่ องคือแถวๆ จังหวัดแพร่ และลำปาง เมืองสรองสันนิษฐา ศาสตร์อยูม่ ากมีการนับถือผีสางนางไม้ แม้ปัจจุบนั ก็ยงั มีอยู่ นว่าคงจะอยูท่ ี่อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ส่ วนเมืองสรวงน่าจะอยูท่ ี่ อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง นิยายเรื่ องจริ งเรื่ องนี้น่าจะเกิดในช่วง พ.ศ. 1616-1693 จะแต่งในสมัยพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐา) หรื อในสมเด็จพระนารายณ์กไ็ ม่ทราบแน่ชดั ผูแ้ ต่ง : ไม่ปรากฏนามผูแ้ ต่ง แต่คงจะเป็ นกวีช้ นั นักปราชญ์ ส่ วนทำนองแต่ง แต่งเป็ นลิลิตสุ ภาพ ซึ่งประกอบด้วยร่ ายสุ ภาพ และโคลงสุ ภาพ อีกทั้งมีบางตอนก็เป็ นร่ ายดั้นและร่ ายโบราณ วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อให้พระมหากษัตริ ยท์ รงอ่านเป็ นที่สำราญ พระทัย คุณค่าของลิลิตพระลอ 1. ด้านอักษรศาสตร์ นับเป็ นวรรณคดีที่ใช้ถอ้ ยคำได้อย่างไพเรา ะ ปลุกอารมณ์ร่วมได้ทุกอารมณ์ ยกตัวอย่างเช่น “เสี ยงลือเสี ยงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย เสี ยงย่อมยอยศใคร ทัว่ หล้า สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่ สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ” บทนี้เขานับเป็ นบทครู ที่วรรณคดียคุ ต่อมาต้องนำมาเป็ น แบบอย่าง 2. ด้านพระศาสนา ให้แง่คิดทางศาสนา อย่างเช่น ความไม่เที่ยงแท้แน่นอนของชีวติ อย่างบทที่วา่ สิ่ งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้ คือเงาติดตัวตรังตรึ ง แน่นอยูน่ า ตามแต่บุญบาปแล ก่อเกื้อรักษา หรื อบทที่วา่ ด้วยกฏแห่งกรรม ถึงกรรมจักอยูไ่ ด้ ฉันใด พระเอย กรรมบ่มีมีใคร ฆ่าเข้า กุศลส่ งสนองไป ถึงที่ สุ ขนา บาปส่ งจำตกช้า ช่วยได้ฉนั ใด 3. ด้านการปกครอง จะเห็นว่าการปกครองในสมัยนั้นต่างเมืองต่ างก็เป็ นอิส ระ เป็ นใหญ่ ไม่ข้ ึนแก่กนั 4. ด้านประวัติศาสตร์ ลิลิตพระลอได้ให้ความรู ้ในทางประวัติศา สตร์ของไทยได้ ในแง่มุมต่าง ๆ โดยเฉพาะทำให้รู้เรื่ องราวความเป็ นมา ของเมืองสรวงและ เมืองสรองอันได้แก่ ลำปางและแพร่


16


17

บทเห่เรื อของเจ้าฟ้ าธรรมาธิเบศร์ เจ้าฟ้ าธรรมาธิเบศร์เป็ นกวีที่ยงิ่ ใหญ่ในสมัยอยุธ ยา พระนามเดิมคือ เจ้าฟ้ าธรรมาธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยว์ งศ์ เรี ยกกันทัว่ ไปว่า “เจ้าฟ้ ากุง้ ” เป็ นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเ จ้าอยูห่ วั บรมโกศ ได้รับการสถาปนาเป็ นเจ้าฟ้ ากรมขุนเสนาพิทกั ษ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๗๖ “เจ้าฟ้ ากุง้ ” ทรงพระนิพนธ์บทร้อยกรองไว้หลายเรื่ อง ซึ่ งบทที่ไ ด้รับยกย่องว่าดีที่สุดคือบทเห่เรื อ ซึ่งมีความดีเด่นด้านการคิดสร้ างสรรค์รูปแบบแปลกใหม่ ทรงใช้กาพย์และโคลงคู่กนั คล้ายกา พย์ห่อโคลง และทรงเปลี่ยนแปลงวิธีแต่ง ใหม่โดยแบ่งเนื้อเรื่ องอ อกเป็ นตอนๆ แต่ละตอนใช้โคลง ๑ บท แล้วแต่งกาพย์เลียนคว ามขยายความอีกจำนวนหนึ่ง แล้วจึงเริ่ มต้นตอนต่อไปด้วยโคลง แล้วขยายความด้วยกาพย์ต่อไปอีก รู ปแบบที่เจ้าฟ้ ากุง้ ทรงคิดขึ้น นี้ กวีรุ่ นหลังยึดถือเป็ นแบบฉบับ เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระบา ทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เป็ นต้น นอกจากนี้ บทเห่เรื อข องเจ้าฟ้ ากุง้ ยังใช้เห่ในสมัยรัชกาลที่ ๔ และในกระบวนพยุหยาตรา ทางชลมารคในปั จจุบนั ด้วย


18

วรรณคดี กรุ งธนบุรี

18


8

19


20


21

นิราศเมืองกวางตุ้ง ผู้แต่ ง ปรากฏข้ อความในเรื่องว่ าพระยามหานุภาพแต่ ง พระยามหานุภ าพเป็ นข้ าราชการในสมัยกรุงธนบุรี รับราชการสื บต่ อมาถึงรัชกาลที่ 1 แห่ งกรุงรัตนโกสิ นทร์ และได้ บรรดาศักดิ์เป็ นพระยามหานุภาพในรัชกาลนี้ พ ระยามหานุภาพมีงานประพันธ์ ซึ่งในรัชกาลที1่ อีกเรื่องหนึ่งคือ เพลงยาว ประวัติ สมเด็จพระเจ้ าตากสิ นมหาราชทรงส่ งคณะราชทูตไปเจริญพระราช ไมตรีกบั พระเจ้ าเขียนหลงแห่ งกรุงปักกิง่ เมือ่ วันอาทิตย์ เดือน 7 แรม 11 ค่ ำ ปี ฉลู จุลศักราช 143 ตรงกับพุทธศักราช 2324 โดยมีพระยาศรีธรรมาธิราช เป็ นราชทูตเจ้ าฟ้ากรมหลวงนรินทรรณเรศ (ทองจัน) พระเจ้ าหลานเธอในพระ บาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขณะดำรงพระยศเป็ นหลวงนา ยฤทธิ์ นายเวรมหาดเล็กเป็ นอุปทูตนำพระราชสาส์ นและเครื่องบรรณาการไป ถวายพระเจ้ ากรุงปักกิง่ พร้ อมกับสิ นค้ าทีจ่ ะจำหน่ าย ณ เมืองกวางตุ้งแล้ วนำเ งินทีไ่ ด้ ไปซื้อของใช้ ในราชการกลับมา ครั้งนั้นพระยามหานุภาพอยู่ในกลุ่มข้ า ราชการทีจ่ ดั การเกีย่ วกับสิ นค้ า จึงเดินทางไปแค่ เมืองกวางตุ้ง ส่ วนคณะราชทู ตเดินทางต่ อไปจนถึงปักกิง่ นายมหานุภาพคงได้ แต่ งนิราศเรื่องนีใ้ นระยะเวล านั้น นิราศเรื่องนีม้ ชี ื่ออีกอย่ างหนึ่งว่ า นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน ทำนองแต่ ง แต่ งเป็ นกลอนนิราศ ความมุ่งหมาย เพือ่ บรรยายเหตุการณ์ และสิ่ งทีไ่ ด้ พบเห็นในการเดินทาง เรื่องย่ อ กล่ าวถึงการเดินทางทางเรือ ซึ่งคนจีนเป็ นพนักงานรวม 11 ลำ ออกจากกรุงธนบุรี ผ่ านปากน้ ำเจ้ าพระยา เขาสามร้ อยยอด เมืองพุทไธมาศ ป่ าสั ก เมืองญวน เกาะมะเกา (หมาเก๊ า) ถึงเมืองกวางตุ้ง


22


23 อิเหนาเป็ น วรรณคดีเก่าแก่เรื่ องหนึ่งของไทย เป็ นที่รู้จกั กันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็ นช่วงปลายสมัยกรุ งศรี อยุธ ยา โดยได้ผา่ นมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็ นข้าหลวงรับใช้พระ ราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275 – 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ ากุณฑลและเจ้าฟ้ ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่ องขึ้นมาองค์ละเรื่ อง เรี ยกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) ประวัติดงั กล่าวมีบนั ทึกไว้ในพระราชนิพนธ์อิเหนา ในพระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ดังนี้ อันอิเหนาเอามาทำเป็ นคำร้อง สำหรับงานการฉลองกองกุศล ครั้งกรุ งเก่าเจ้าสตรี เธอนิพนธ์ แต่เรื่ องต้นตกหายพลัดพรายไปฯ

นอกจากนี้ ยังมีบรรยายไว้ในปุณโณวาทคำฉันท์ ของพระมหานาค วัดท่าทราย ระบุถึงการนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยพระเจ้าอยูห่ วั ในพระบรมโกศเช่นกัน โดยเล่าว่ามีงานมหรสพที่เล่นเรื่ องอิเหนา ดังนี้ ร้องเรื่ องระเด่นโดย บุษบาตุนาหงัน พักพาคูหาบรรณ- พตร่ วมฤดีโลม ฯ เนื้อเรื่ องตรงกับอิเหนาเล็ก ที่วา่ ถึงตอนลักบุษบาไปไว้ในถ้ำ ซึ่ งไม่ปรากฏในเรื่ องอิเหนาใหญ่ เรื่ องอิเหนา หรื อที่เรี ยกกันว่านิทานปั นหยีน้ นั เป็ นนิทานที่เล่าแ พร่ หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็ นนิยายอิงประวัติศาสตร์ขอ งชวา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุ งแต่งมาจากพงศาวดารชวา และมีดว้ ยกันหลายสำนวน พงศาวดารเรี ยกอิเหนาว่า “ปั นจี อินู กรัตปาตี” (Panji Inu Kartapati) แต่ในหมู่ชาวชวามักเรี ยกกันสั้นๆ ว่า “ปันหยี” (Panji) ส่ วนเรื่ องอิเหนาที่เป็ นนิทานนั้น น่าจะแต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 20-21 หรื อในยุคเสื่ อมของราชวงศ์อิเหนาแห่งอาณาจักรมัชปาหิ ต และอิสลามเริ่ มเข้ามาครอบครอง นิทานปั นหยีของชวานั้น มีดว้ ยกันหลายฉบับ แต่ฉบับที่ตรงกับอิเหนาของเ รานั้น คือ ฉบับมาลัต ใช้ภาษากวีของชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี


24

ลิลติ เพชรมงกุฎ ลิลติ เพชรมงกุฏ เป็ น ลิลติ ทีแ่ ต่งจากนิทานเรื่อง เพชรมงกุฎ ซึ่งปริศนาธรรมเรื่องหนึ่งจาก นิทานเวตาล ประพันธ์ ใหม่ โครงเรื่องประกอบด้วย นมัสการพระอิศวรแลพระมหากษัตริย์ แจ้ งทีม่ าจากนิทานเวตาล แล้วจึงแสดงเรื่องว่า พระวิกรมาทิตย์เสด็จป่ าเพือ่ จับเวตาล โดยมีสัญญาว่าหากตรัสตอบปริศนา เวตาลจะหลุดลอยคืนที่ เวตาลจึงลวงให้ เผลอโดยเล่านิทานปริศนาถวาย เรื่องหนึ่งเล่าว่า “พระเพชรมงกุฎเสด็จประพาสป่ ากับพุฒศรีพเี่ ลีย้ ง และตามกวางเผือกจนหลงเข้าลึก และลุเข้าเมืองของท้าวกรุงกรรณและทรงพบประทุมวดีพระธิด าในสวน ต่างพอพระทัยซึ่งกันและกัน และทรงลอบเข้าปราสาทจนทรงได้เป็ นชายา พุฒศรีจงึ แนะอุบายให้ ท้งั สองพระองค์กลับเมือง โดยพุฒศรีปลอมเป็ นดาบสเข้าเฝ้ าท้าวกรุงกรรณ ทูลว่าพระธิดาเป็ นนางยักษิณลี อบกินซากศพในป่ า ช้ า ดาบสได้สร้ อยสังวาลประจำพระองค์ ทีพ่ ระเพชรมงกุฎทรง ลอบเปลือ้ งมาขณะบรรทมหลับเป็ นหลักฐาน ท้าวกรุงกรรณให้ พระธิดาเข้าเฝ้ าไม่เห็นสร้ อยสังวาลจึงทรงขับจากวัง พระเพชรมงกุฎจึงทรงรับสู่ เมือง และมีพระราชสาสน์ ถงึ ท้าวกรุงกรรณเพือ่ ขอ ผูกไมตรี ท้าวกรุงกรรณแจ้ งว่าถูกกลเสียพระทัยถึงแก่สวรรคต” ครั้นจบ เวตาลทูลถามว่า “ท้าวกรุงกรรณสิ้นพระชนม์ บาปได้แก่ผู้ใด” ท้าววิกรมาทิตย์ตรัสว่า “บาปได้แก่ท้าวกรุงกรรณเอง” ท้ายสุ ด เวตาลสำเร็จว่าพระวิกรมาทิตย์ผดิ สัญญา จึงหลุดลอยกลับคืนป่ าช้ า


25


26

วรรณคดี กรุ งรัตนโกสิ นทร์


27


28


29 รามเกียรติ์ เป็ นวรรณคดีสำคัญเรื่องหนึ่งของไทย โดยมีต้นเค้ าจากวรรณคดีอนิ เดีย คือมหากาพย์ รามายณะทีฤ่ ๅษีวา ลมีก[ิ 1] ชาวอินเดีย แต่ งขึน้ เป็ นภาษาสั นสกฤต เมือ่ ประมาณ 2,400 ปี เศษ[2] เชื่อว่ าน่ าจะเป็ นทีร่ ู้ จกั ในหมู่ชาวไทยมาตั้งแต่ สมัยโบราณ จากอิทธิพลของลัทธิพราหมณ์ ฮินดู สำหรับเรื่องรามเกียรติ์ ของไทยนั้น มีมาตั้งแต่ สมัยอยุธยา ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้ ากรุงธนบุรี ได้ ทรงพระราชนิพนธ์ ส ำหรับให้ ละครหลวงเล่ น ปัจจุบันมีอยู่ไม่ ครบ ต่ อมาในสมัยรัตนโกสิ น ทร์ รัชกาลที่ 1 ได้ ทรงพระราชนิพนธ์ ขนึ้ เพือ่ รวบรวมเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งมีมาแต่ เดิมให้ ครบถ้ วน สมบูรณ์ ต้งั แต่ ต้นจนจบ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย ได้ ทรงพระราชนิพนธ์ บทละ ครเรื่องรามเกียรติ์ เพือ่ ให้ ละครหลวงเล่ น โดยได้ ทรงเลือกมาเป็ นตอน ๆ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัวทรงพระราชนิ พนธ์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ โดยใช้ ฉบับของอินเดีย (รามายณะ) มาพระราชนิพนธ์ ใช้ ชื่อว่ า “บ่ อเกิดรามเกียรติ์”


30

เสภาขุนช้ างขุนแผน ผู้แต่ ง รัชกาลที่ ๒ แต่ งตอนพลายแก้ วเป็ นชู้ กบั นางพิม ขุนแผนขึน้ เรือนขุนช้ าง ขุนแผนเข้ าห้ องนางแก้ วกิริยา ขุนแผนพานางวันทองหนี รัชกาลที่ ๓ แต่ งตอนขุนช้ างขอนางพิมและขุนช้ างตามนางวันทอง สุ นทรภู่ แต่ งตอนกำเนิดพลายงาม ครู แจ้ ง แต่ งตอนกำเนิดกุมารทอง ขุนแผนพลายงามแก้ พระท้ ายน้ ำ สะกดพระเจ้ าเชียงใหม่ และยกทัพกลับ จระเข้ เถรขวาด ประวัติ สั นนิษฐานว่ าเป็ นเรื่องเกิดในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ โดยได้ เค้ าโครงของกรุงเก่ าบ้ าง แต่ งขึน้ ใหม่ บ้าง เสร็จบริบูรณ์ ในรัชกาลที่ ๓ มีท้งั ฉบับหลวง คือพระเจ้ าแผ่ นดินทรงเป็ นธุระ และฉบับราษฎร์ ซึ่งนักขับเสภาแต่ งขึน้ เอง เสภาฉบับหลวงพิมพ์ขนึ้ ครั้งแรกเมือ่ พุทธศักราช ๒๔๑๕ ต่ อมากรรมการหอพระสมุดวชิรญาณ มีสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพและกรมหมืน่ กวีพจน์ สุปรีชาเป็ นปร ะธานตรวจชำระทั้งฉบับหลวงและฉบับราษฎร์ พิมพ์ขนึ้ เป็ นครั้งแรกพุทธศักราช ๒๔๖๐ สมัยรัตนโกสิ นทร์ ทำนองแต่ ง ใช้ กลอนสุ ภาพ ความมุ่งหมาย ใช้ ขบั เสภา เรื่องย่ อ ขุนช้ าง ขุนแผน (พลายแก้ ว) และนางวันทอง (พิมพิลาไลย) เป็ นคนเมืองสุ พรรณบุรี เคยเป็ นเพือ่ นเล่ น กันมาและต่ างเป็ นกำพร้ าบิดา พลายแก้ วกับมารดาอพยพไปอยู่กาญจนบุรี ต่ อมาพลายแก้ วมาบวชเณรอยู่วดั ป่ าเลไลย สุ พรรณบุรี มีโอกาสได้ พบกับนางพิมอีก ได้ ลกั ลอบได้ เสี ยกัน ขุนช้ างก็หลงรักนางพิมเช่ นกัน แต่ นางพิมรังเกียจ พลายแก้ วแต่ งงานกับนางพิม ได้ เพียง ๒ วัน ก็ถูกเกณฑ์ ไปทัพเชียงใหม่ ขุนช้ างออกอุบายให้ แม่ ของนางพิม ยกนางพิมซึ่งตอนนีเ้ ปลีย่ นชื่อเป็ นวันทองให้ แก่ ตน พอดีพลายแก้ วกลับจากสงคราม ได้ เป็ นขุนแผนสะท้ านและได้ นางลาวทองมาจากบ้ านจอมทอง เกิดหึงหวงกับนางวันทอง ขุนแผนจึงทิง้ นางวัน ทองไปบ้ านกาญจนบุรี ขุนช้ างเลยได้ นางวันทองเป็ นภรรยา ต่ อมาขุนช้ างแกล้ งกล่ าวโทษขุนแผนต่ อพระพันวษา ขุนแผนต้ องโทษไปตระเวนด่ าน นางลาวทองถูกกักตัวไว้ ในวัง ขุนแผนเตรียมหาของวิเศษ คือดาบฟ้าฟื้ น กุมารทอง และม้ าสี หมอก บุกเข้ าบ้ านขุนช้ างได้ นางแก้ วกิริยา เป็ นภรรยา แล้ วพานางวันทองหนีไปอยู่ป่า ขุนช้ างนำทัพกรุงศรีอยุธยาออกจับ แต่ สู้ ขุนแผนไม่ ได้ ขุนแผนพานางวันทองซึ่งตั้งครรภ์ แ ก่ ไปอาศัยอยู่กบั เจ้ าเมืองพิจติ ร แล้ วขอให้ เจ้ าเมืองส่ งตัวไปสู้ คดีทกี่ รุงศรีอยุธยา ขุนแผนชนะคดีได้ นางวันทองเป็ นกรรมสิ ทธ์ แต่ พระพัน วษาทรงพระพิโรธทีท่ ูลขอลาวทองคืน รับสั่ งให้ เอาตัวไปจำคุก ขุนช้ างให้ พวกพ้ องฉุดนางวันทองไปสุ พรรณบุรี นางคลอดบุตรเป็ นชายชื่อ พลายงาม ขุนช้ างมีความพยาบาทขุนแผน ลวงพลายงามไปฆ่ าแต่ ผพี รายของขุนแผนช่ วยไว้ นางวันทองแนะให้ พลายงามไปอยู่กบั ย่ าทีก่ าญจน


31

บุรี พอพลายงามอายุ ๑๕ ปี ได้ ถวายตัวเข้ ารับราชกาล ครั้นเกิดศึกเชียงใหม่ ครั้งที่ ๒ พลายงามอาสาเป็ นแม่ ทพั และทูลขออภัยโทษขุนแผนผู้บิ ดา ยกทัพไปถึงพิจติ ร พลายงามได้ นางศรีมาลาลูกสาวเจ้ าเมืองพิจติ รเป็ นภรรยา ทัพไทยตีได้ เมือแงเชียบงใหม่ คุมตัวพระเจ้ าเชียงใหม่ และคร อบครัวลงมาจากกรุงศรีอยุธยาขุนแผนได้ เลือ่ นเป็ นพระสุ รินทรฤาไชยครองเมืองกาญจนบุรี พลายงามได้ เป็ นจมืน่ ไวยวรนาถ และได้ รับพระรา ชทานนางสร้ อยฟ้าธิดาพระเจ้ าเชียงใหม่ เป็ นภรรยาและได้ รับสั่ งให้ ประกอบพิธีแต่ งงานระหว่ างพระไวยกับนางศรีมาลาด้ วย พระไวยคิดถึงแม่ จึ งลอบไปนำมาไว้ ทบี่ ้ าน ขุนช้ างถวายฎีกา พระพันวษาจึงเรียกผู้เกีย่ วข้ องมาชำระคดี นางวันทองไม่ อาจได้ ว่าจะอยู่กบั ผู้ใด พระพันวษากริ้วมาก รับสั่ งให้ นำตัวไปประหารชีวติ นางสร้ อยฟ้าและนางศรีมาลาภรรยาของพระไวยวิวาทกัน พระไวยตัดสิ นใจให้ สร้ อยฟ้าผิด นางแค้ นจึงให้ เถรทำเสน่ ห์พระไวยให้ ล่ มุ หลง หลายชุมพลถูกขุนแผนกับนางแก้ วกิริยาซึ่งอยู่กบั พระไวยพีช่ าย เห็นเหตุการณ์ ไม่ สู้ ดหี นีไปอยู่กบั ตายายทีเ่ มืองสุ โขทัย ได้ ร่ำเรียนเวทมนต์ คาถา ค บคิดกับขุนแผนทำการแก้ ไขถอนเสน่ ห์พระไวย พระพันวษาทราบเรื่องพระไวย รับสั่ งให้ นางสร้ อยฟ้าและนางศรีมาลาลุยไฟพิสูจน์ ความบริสุทธิ์ สร้ อยฟ้าแพ้ ถูกเนรเทศกลับไปเชียงใหม่ เถรขวาดยังพยาบาทพลายชุมพลอยู่จงึ แปลงเป็ นจระเข้ ลงมาอาละวาททีก่ รุงศรีอยุธยา พลายชุมพลอาสา ปราบจับตัวมาถวายพระพันวษาได้ รับสั่ งให้ ประหารเสี ยและทรงตั้งพลายชุมพลเป็ นหลวงนายฤทธิ์ ข้ อความสำคัญ บทเปรียบเทียบ ทองประศรีห้ามขุนแผนเกีย่ วข้ องกับวันทอง วันทองหมองแม้ นเหมือนแหวนเพชร จะผูกเรือนก็ไม่ รับกับเรือนงาม ขุนแผนพ้ อวันทอง เมือ่ แรกเชื่อว่ าเนือ้ ทับทิมแท้ กาลวงว่ าหงส์ ให้ ปลงใจ

แตกเม็ดกระจายสิ้นเป็ นสองสาม แม่ จงึ ห้ ามหวงเจ้ าเพราะเจ็บใจ มาแปรเป็ นพลอยหุงไปเสี ยได้ ด้ วยมิได้ ดูหงอนแต่ ก่อนมา


32

พระอภัยมณี เป็ นวรรณคดีชิ้นเยีย่ มเล่มหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุ นทรโวหาร หรื อสุ นทรภู่ กวีเอกแห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ปร ะพันธ์ข้ ึนเป็ นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็ นเล่มหนังสื อ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเว ลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชดั แต่คาดว่าสุ นทรภู่เริ่ มประพันธ์ราวปี พ.ศ. 2364-2366[1] และแต่งๆ หยุดๆ ไปตลอดเป็ นระยะ สิ้ นสุ ดการประพันธ์ราว พ.ศ. 2388 รวมเวลามากกว่า 20 ปี


33

พระอภัยมณี จัดได้วา่ เป็ นผลงานชิ้นเอกของสุ นทรภู่ และเป็ นที่รู้จกั กว้างขวางมาตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั เนื่องจากเค้าโครงเรื่ องของพระอภัยมณี แ หวกประเพณี ของวรรณคดีในยุคเก่า มีจินตนาการล้ำยุคอยูม่ ากมาย และมีตวั ละครจากหลากหลายชนชาติ แสดงให้เห็นถึงวิสยั ทัศน์และความเปิ ดกว้าง ความเป็ นนักคิดยุคใหม่ของผูป้ ระพันธ์เมื่อเปรี ยบเทียบกับยุคสมัยเดียวกันได้เป็ นอย่างดี นักวิชาการจำนวนมากพากันศึกษากลอนนิทาน พระอภัยมณี เพื่อค้นคว้าหาแรงบันดาลใจ เชื่อมโยงแนวคิดของสุ นทรภู่กบั วรรณกรรมโบราณ ตลอดจนความรู ้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ยคุ ใหม่ของบรรดานักเดินเรื อที่เข้ ามาสู่ประเทศไทยในยุคการค้าสำเภา นอกจากนี้ แนวคิดที่สุนทรภู่สอดแทรกไว้ในบทประพันธ์ทำให้ผลงานชิ้นนี้โดดเด่นและเป็ นที่รู้จกั มาก เพราะผูค้ นล้วนใช้บทกลอนเหล่านั้นเป็ นคติสอนใจ เช่น บทกลอนในช่วงที่พระฤๅษีสอนสุ ดสาคร เป็ นต้น



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.