PowerPoint สรุปเนื้อหาเทคโนโลยี

Page 1

เสนอ อาจารยสุธิดา ชูเกียรติ (อ.แอมป) รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครู PC 9203 (Information and Communication Technology for Teachers) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555


ผูจัดทํา นางสาวอานีซะ ยูโซะ คบ.5 สังคมศึกษา รหัสนักศึกษา 514110013 นางสาวนันทนภัส รอดทะเล คบ.5 สังคมศึกษา รหัสนักศึกษา 514110017


เรื่อง “สรุปเนื้อหาบทเรียนรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครู” “สารบัญ” หนวยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หนวยที่ 2 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หนวยที่ 3 คอมพิวเตอรและระบบคอมพิวเตอร หนวยที่ 4 ซอฟตแวร (Software) หนวยที่ 5 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร หนวยที่ 6 อินเทอรเน็ต หนวยที่ 7 การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน


สรุปหนวยที่ 1 “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” กําเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มนุษยแตละหมูเหลามีการติดตอสื่อสารพบปะกันเพื่อประโยชนตางๆ การ ติดตอในยุคแรกๆ เปนการบอกกันปากตอปาก ตอมามีการสื่อสารกันดวย ตัวอักษรที่จารึกบนวัสดุตางๆ ซึ่งกลายมาเปนการสงจดหมายถึงกัน จากนั้นมี การสื่อสารกันดวยวิธีการที่หลากหลายและมีความรวดเร็วมากขึ้น จนทําให เกิดการพัฒนาอยางตอเนื่องของเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทําใหคนที่อยูคนละ ซีกโลกกันสามารถรับรูขาวสารของกันและกันไดภายในชั่วพริบตา เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเทคโนโลยีใหมที่พึ่งมีขึ้นในชวงเวลาประมาณ 20 ปที่ผานมา


ประวัตโิ ดยยอของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คําวา “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ซึ่งตรงกับคําภาษาอังกฤษวา (Information and Communication Technology : ICT) เทคโนโลยีสารสนเทศเกิดการ จากการรวมกั น ของเทคโนโลยี 2 ด า น คื อ เทคโนโลยี โ ทรคมนาคมกั บ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร เทคโนโลยี โ ทรคมนาคม เริ่ ม จากการประดิ ษ ฐ โ ทรเลขของ แซมวล มอร ส (Samual Morse) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรที่เราใชกันอยูทุกวันนี้เปนผลมาจาก การประดิษฐคิดคนเครื่องมือในการคํานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สราง ขึ้นในประเทศจีน


ยุคคอมพิวเตอรแบงออกไดเปน 5 ยุค คือ ยุคที่ 1 พ.ศ. 2489 - 2501 UNIVAC เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกของโลกที่ ถูกใชงานในเชิงธุรกิจ ยุคที่ 2 พ.ศ. 2502 - 2506 มีการนําทรานซิสเตอร มาใชในเครื่องคอมพิวเตอรจึงทํา ใหเครื่องมีขนาดเล็กลง ยุคที่ 3 พ.ศ. 2507 - 2512 วงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันยอๆ วา "ไอซี" (IC) ยุคที่ 4 พ.ศ. 2513 – 2532 เปนยุคที่นําสารกึ่งตัวมาสรางเปนวงจรรวมความจุสงู มาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ยุคที่ 5 พ.ศ. 2533 – ปจจุบัน

เครื่องรับสัญญาณโทรเลขดวยแถบ(แบบสุดทายกอนเลิกใช)

เครื่องมือในการติดตอสื่อสารผานตัวนําสัญญาณที่ตางกัน


ความหมายและความสําคัญของ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ความหมาย คําวา "เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) ประกอบดวยคํา วา "เทคโนโลยี" และคําวา "สารสนเทศ" นํามารวมกันเปน "เทคโนโลยีสารสนเทศ" -เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนําความรูทางดานวิทยาศาสตรมา ประยุกตในการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช อุปกรณ วิธีการหรือกระบวนการ เพื่อชวยในการ หรือแกปญหาตางๆทั้งนี้เพื่อใหเกิดประโยชนตอบุคคล กลุมบุคคล หรือองคกร -สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธที่เกิดจากการนําขอมูลมาผาน กระบวนการตางๆอยางมีระบบ จนไดสิ่งที่เปนประโยชน มีคุณคาและสาระ หรือมีเนื้อหาและ รูปแบบที่เหมาะสมตามความตองการของผูใช


-เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง กระบวนหรือ วิธีการการนําความรูทางดานวิทยาศาสตรมาประยุกตใชเพื่อสรางหรือจัดการกับสารสนเทศ อยางเปนระบบและรวดเร็ว เพื่อใหเกิดประโยชนตอบุคคล กลุม บุคคล หรืองคกร ทั้งนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศยังตองพึ่งพาเทคโนโลยีดานการสื่อสารและโทรคมนาคม ซึ่งเปน วิ ธี ก ารที่จ ะส ง ข อ มู ล จากที่ ห นึ่ ง ไปอี ก ที่ ห นึ่ ง เพื่อ การแลกเปลี่ ย นหรื อ เผยแพร ขอ มู ล และ สารสนเทศไดอยางรวดเร็วทันตอการใชประโยชนผานอุปกรณสื่อสาร เชน วิทยุ โทรศัพท เครื่องโทรสาร คอมพิวเตอรฯลฯ สรุปไดวา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับขาวสารขอมูล และการสื่อสารนับตั้งแตการสราง การนํามาวิเคราะหหรือการประมวลผล การรับและการสง ขอมูล การจัดเก็บ และการนําขอมูลกลับไปใชงานใหม ระบบการสื่อสารและโทรคมนาคมที่ เชื่อมโยงอุปกรณคอมพิวเตอรทั่วมุมโลก


ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ดานวิชาการ

5) ดานผลผลิต

4) ดานการติดตอสื่อสาร

2) การดํารงชีวิตประจําวัน

3) การดําเนินธุรกิจ


กระแสโลกาภิวัตนของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปจจุบันกระแสโลกาภิวัตนของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชวยใหความ เป น อยู ในชี วิ ต ประจํ า วั น ของเราสะดวกสบายมากขึ้ น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ยุ ค ก อ น การ เดินทางและติดตอสื่อสารระหวางกัน การนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาใชงานในทุกสาขา อาชีพตางๆ การติดตามขาวสารที่เกิดขึ้นในสวนตางๆ ของโลกไดทันตอเหตุการณ

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีตอ สังคม สามรถสรุปได ดังนี้ -ชวยใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการสื่อสารที่รวดเร็วและกวางไกล -กระจายโอกาสดานการศึกษา ใหผูเรียนที่อยูหางไกล สามารถเรียนรูผานระบบการ สอนทางไกลหรือผานดาวเทียมได -ชวยใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ อยางตอเนื่อง


สรุปหนวยที่ 2 “ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร” ระบบ (System) หมายถึงการทํางานขององคประกอบยอยๆอยางอิสระและมี ปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันจนกลายเปนโครงสรางที่สมบูรณของแตละงาน วิธีการเชิงระบบ (System Approach) วิธีเชิงระบบหรือวิธีระบบคือคําๆเดียวกัน เปน กระบวนการคิดหรือการทํางานอยางมีแบบแผนชัดเจนในการนําเนื้อหาความรูดานตางๆ องคประกอบของวิธีระบบ มีองคประกอบสําคัญ 3 ประการ ไดแก 1)ปจจัยนําเขา (Input) 2)กระบวนการ (Process) 3)ผลลัพธ (Output) ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ การประมวลผลขอมูลขาวสารอยางเปน ขั้นตอนและเปนกระบวนการเพื่อใหขอมูลในรูปของขาวสารที่เปนประโยชนสูงสุด


องคประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบการคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลําดับ จําแนก แจกแจง และ จัดหมวดหมูขอมูลตางๆ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและเผยแพร ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณหรือเครื่องมือที่นํามาใชในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพรสารสนเทศใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ องคประกอบดานตาง ๆ ของระบบสารสนเทศ องคประกอบของสารสนเทศดานจุดมุงหมายในการแกปญ  หา มี 4 ประการ ไดแก ขอมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู (Knowledge) ปญญา (Wisdom) ที่ชวยแกปญหาในการดําเนินงาน Wisdom Knowledge Data Information แผนภาพที่ 2.1 องคประกอบดานจุดมุงหมายในการแกปญ  หา


องคประกอบของสารสนเทศดานขั้นตอน ในการดําเนินงานมี 3 ประการ คือ ขอมูล นําเขา (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ (Output) Input

Process

Output

แผนภาพที่ 2.2 องคประกอบดานกระบวนการในการดําเนินงาน

องคประกอบของสารสนเทศในหนวยงาน ไดแก บุคคลหรือองคกร เทคโนโลยี ขอมูล และระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี

สารสนเทศ

ขอมูล

บุคคล/องคกร

แผนภาพที่ 2.3 องคประกอบของสารสนเทศในหนวยงาน


องคประกอบของสารสนเทศในหนวยงาน ไดแก บุคคลหรือองคกร เทคโนโลยี องคประกอบระบบสารสนเทศทั่วไป (Information Process Systems) ประกอบดวย 5 องคประกอบดังนี้ คือ เครื่องคอมพิวเตอรและเครือขายสื่อสาร ขอมูล (hardware)ขอมูล(data) สารสนเทศ(information)โปรแกรมหรือซอฟตแวร (software) บุคลากรดานคอมพิวเตอร (Peopleware) Hardware Data Peopleware

Information Softwar

แผนภาพที่ 2.4 องคประกอบระบบสารสนเทศทัว่ ไป

ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ ขั้นที่ 1 การวิเคราะหระบบ (System Analysis) ขั้นที่ 2 การสังเคราะหระบบ (System Synthesis) ขั้นที่ 3 การสรางแบบจําลอง (Construct a Model)


ประเภทของระบบสารสนเทศ 1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล 2. ระบบสารสนเทศระดับกลุม 3. ระบบสารสนเทศระดับองคกร ขอมูลและสารสนเทศ ขอมูล (data) ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงที่ปรากฏใหเห็นเปนประจักษสามารถรับรูไดดวยประสาท สัมผัสทั้งหา ทั้งทีส่ ามารถนับไดและนับไมได มีคุณลักษณะเปนวัตถุสิ่งของ เหตุการณหรือ สถานการณ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น และตองเปนสิ่งมี ความหมายในตัวมันเอง สารสนเทศ (informational) สารสนเทศ หมายถึง ขอมูลที่ผานการกลั่นกรองโดยการจําแนกแจกแจง จัดหมวดหมู การคํานวณและประมวลผลแลว สามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในการดําเนินงาน อยางมีประสิทธิภาพตอไปได


คุณสมบัติของขอมูลสารสนเทศที่ดี 1) ความถูกตอง (accurate) 2) ทันเวลา (timeliness) 3) สอดคลองกับงาน (relevance) 4) สามารถตรวจสอบได (verifiable) 5) มีความสมบรูณครบถวน (integrity) ชนิดของขอมูล 1) ขอมูลที่เปนตัวเลข (Numeric type) 2) ขอมูลที่เปนตัวอักขระ (Character type) 3) ขอมูลที่เปนตัวอักษรเลข (Alphanumeric type) 4) ขอมูลมัลติมีเดีย (multimedia)


ความรู (Knowledge) ความรู เปนสภาวะทางสติปญญาของมนุษยในการตีความสิ่งเราทั้งที่อยูภายในและ ภายนอกดวยความเขาใจสาระของเนื้อหา กระบวนการ และขั้นตอน อาจอยูในรูปของขอมูล ดิบหรือสารสนเทศระดับตาง ๆ หรืออาจอยูในรูปของอารมณความรูสึกและเหตุผล

แผนภาพที่ 2.5 ความสัมพันธระหวางขอมุล สารสนเทศ และความรู


การประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ 1. ขั้นตอนการประมวลผลขอมูล (Data processing steps) 1) การรวบรวมขอมูล (Data collection) 2) การบํารุงรักษาและประมวลผลขอมูล (Data Maintenance Processing) 3) การจัดการขอมูล (Data Management) 4) การควบคุมขอมูล (Data Control) 5) การสรางสารสนเทศ (Information Generation) 2. วิธีการเก็บขอมูล (Data Collection Methods) 1) การสํารวจดวยแบบสอบถาม 2) การสัมภาษณผูที่เกี่ยวของ หรือเปนเจาของขอมูล 3) การนับจํานวนหรือวัดขนาดของตนเอง หรือโดยใชอุปกรณอัตโนมัติ


แผนภาพที่ 2.6 ตัวอยางแบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับความนิยมของผูใชบริการของสํานักวิทยบริการ


เครื่องคอมพิวเตอรและเครือขายสื่อสารขอมูล หมายถึง คอมพิวเตอรที่เปน เครื่องประมวลผลขอมูล ซึ่งมีอยู 2 ประเภทดวยกัน คือ 1. สถานีงาน (workstation) หมายถึงคอมพิวเตอรที่ใชงาน ณ จุดที่จัดไวให ผูใชมาใชรวมกันหรือจัดไวใหผูใชมาใชรวมกัน หรือจัดไวที่โตะทํางานของผูใชแตละคน บางทีเรียกวา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer หรือเรียกยอๆวา PC) 2. เครือขายสื่อสารขอมูล คือ เครือขายคอมพิวเตอรซึ่งใชเชื่อมโยงคอมพิวเตอรที่ เกี่ยวของกันใหสามารถใชขอมูลรวมกันหรือแลกเปลีย่ นกันได โดยใชสายสื่อสารขอมูลที่ทาํ จากทองแดงหรือเสนใยแกวนําแสง นิยมแบงเครือขายตามขนาดพื้นทีแ่ ละจํานวนเครื่องที่ ใชงาน ไดแก 1. แลน (LAN = Local Area Network) คือเครือขายบริเวณเฉพาะที่ จํากัดเขต เฉพาะภายในบริเวณอาคารหรือกลุมอาคารที่อยูใกลกัน เนื่องจากขอจํากัดของตัวกลางที่ใช สงขอมูล เชน ภายในรั้วโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย เปนตน 2. แวน (WAN = Wide Area Network) คือเครือขายบริเวณกวาง ระยะทาง มากกวา 10 กิโลเมตรขึ้นไปจนมากกวาหลายพันกิโลเมตร ปกติเชื่อมโยงดวยระบบสื่อสาร สาธารณะ เชน สายโทรศัพท เครือขายเสนใยแกวนําแสง หรือเครือขายสัญญาณดาวเทียม เปนตน 3. อินเทอรเน็ต (Internet) คือเครือขายขนาดใหญ ประกอบดวยเครือขายแวน จํานวนมาก ซึ่งครอบคลุมพืน้ ที่กวางไกลทั่วโลก


ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร เปนเครื่องมือหรืออุปกรณประเภทอิเล็กทรอนิกสที่ทาํ งานดวย คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือโปรแกรมตาง ๆ สามารถเชื่อมตอกันเปนเครือขายไดหลายแบบ รวมทั้งเครือขายอินเตอรเน็ตดวย

สวนประกอบของคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรฮารดแวร หมายถึง สวนที่ประกอบเปนเครื่องคอมพิวเตอรรวม อุปกรณตอพวงตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได เชน ตัวเครื่อง จอภาพ คียบ อรด และเมาท เปนตน จําแนกหนาที่ของฮารดแวรตางๆ สามารถแบงออกเปนสวนสําคัญ 5 สวน ไดแก 1. หนวยรับขอมูลเขา(Input Unit) เปนวัสดุอุปกรณตาง ๆ ที่นํามาเชื่อมตอ ทําหนาที่ปอนสัญญาณเขาสูระบบเพื่อกําหนดใหคอมพิวเตอรทํางานตามความตองการ ทั้งวัสดุอุปกรณเกี่ยวของ เชน แปนอักขระ (keyboard) เมาส(mouse) ซีดีรอม (CDROM) ไมโครโฟน(Microphone) ฯลฯ


2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ทําหนาที่ เกี่ยวกับการคํานวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร รวมทั้งการประมวลขอมูลตาม คําสั่งที่ไดรับ 3. หนวยความจํา (Memory Unit) ทําหนาที่เก็บขอมูลหรือคําสั่งที่สงมา จากหนวยรับขอมูล เพื่อเตรียมสงไปประมวลผลยังหนวยประมวลผลกลาง และเก็บ ผลลัพธที่ไดมาจากการประมวลผลแลว เพื่อเตรียมสงไปยังหนวยแสดงผล 4. หนวยแสดงผล (Output Unit) ทําหนาที่แสดงผลขอมูลที่คอมพิวเตอร ทําการประมวลหรือผานการคํานวณแลว 5.อุปกรณตอพวงอื่นๆ (Peripheral Equipment) เปนอุปกรณที่นํามาตอ พวงเขากับเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหมากยิ่งขึ้น เชน โมเด็ม แผงวงจรเชื่อมตอ เครือขาย เปนตน


ประโยชนของคอมพิวเตอร ประโยชนที่เราไดรับจากการนําคอมพิวเตอรมาใชงาน สามารถแบงไดดังนี้ 1. มีความเร็วในการทํางานสูง เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานในปจจุบันสามารถ ประมวลผลคําสั่งในชวงเวลา 1 วินาทีไดมากกวาหนึ่งรอยลานคําสั่งจึงใชในงานคํานวณ ตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว เชน การฝากถอนเงินจากตูเอทีเอ็ม เปนตน 2. มีประสิทธิภาพในการทํางานสูง สามารถทํางานไดตลอด 24 ชั่วโมง เปน สัปดาห หรือเปนป โอกาสเครื่องเสียนอยมาก ใชแทนกําลังคนไดมากมาย 3. มีความถูกตองแมนยําตามโปรแกรมที่สั่งงานและขอมูลที่ใช 4. เก็บขอมูลไดมาก ไมตองใชเอกสารและตูเก็บ 5. สามารถโอนยายขอมูลจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งโดยผานระบบ เครือขายไดอยางรวดเร็ว ชวยอํานวยความสะดวกในการใชงาน ระบบคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอรทําการใด ๆ กับขอมูลให อยูในรูปแบบที่เปนประโยชนตามความประสงคของผูใชมากที่สุด


องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรที่สามารถทํางานอยางมีประสิทธิภาพจะประกอบดวย สวนสําคัญ 4 สวน ดังนี้ 1. ฮารดแวร (hardware) หรือสวนเครื่อง 2. ซอฟตแวร (software) หรือสวนชุดคําสั่ง 3. ขอมูล (data) 4. บุคลากร (people) ฮารดแวร (Hardware) อุปกรณฮารดแวร (hardware) หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณสวน ตางๆ ที่เราสามารถสัมผัสและจับตองได ฮารดแวรจะประกอบดวยสวนที่สาํ คัญ 4 สวน ดังนี้คือ 1. สวนประมวลผล (processor) 2. สวนความจํา (memory) 3. อุปกรณรับเขาและสงออก (input-output devices) 4. อุปกรณหนวยเก็บขอมูล (storage device)


หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือ เรียกคํายอวา ซีพียู (CPU) คําวา ซีพยี ู มีความหมายทางดานฮารดแวร 2 อยางดวยกัน คือ 1. ตัวชิป (chip) ทีค่ วบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 2. ตัวเครื่องคอมพิวเตอรหรือกลองเครื่องที่มีซีพียูบรรจุอยู หนวยความจํา เราสามารถแยกประเภทของหนวยความจํา (memory) ไดดังนี้ 1. หนวยความจําหลัก (Main memory) คือ หนวยเก็บขอมูลและคําสัง่ ตางๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร ประกอบดวยชุดความจําขอมูลที่สามารถบอกตําแหนงที่เก็บ ขอมูลหรือคําสั่ง ขอมูลจะถูกนําไปเก็บไวและสามารถถูกนําออกมาใชในการประมวลผลใน ภายหลัง 1.1 หนวยความจําแบบ “แรม” (RAM = Random Access Memory) หนวยความจําแรมเปนหนวยความจําที่ตองอาศัยกระแสไฟฟาเพื่อรักษาขอมูล 1.2 หนวยความจําแบบ “รอม” (ROM = Read Only Memory) เปน หนวยความจําที่ใชในการเก็บโปรแกรมหรือขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร


2. หนวยความจําสํารอง (secondary storage) หนวยความจําชนิดนี้มีไว สํ า หรั บ สํ า รองหรื อ ทํ า งานกั บ ข อ มู ล และโปรแกรมขนาดใหญ เ นื่ อ งจากขนาดของ หนวยความจําหลักมีจํากัด หนวยความจําสํารองสามารถเก็บไวไดหลายแบบ เชน แผน บันทึก (floppy disk) จานบันทึกแบบแข็ง (hard disk) แผนซีดีรอม (CD-ROM) และจานแสงแมเหล็ก เปนตน ผูดูแลระบบ (System Administrator) ผูดูแลระบบ หรือ แอดมิน (อังกฤษ: System administrator, systems administrator หรือ sysadmin) เปนบุคคลที่ถูกวาจางเพื่อที่จะดูและจัดการระบบหรือ เครือขายคอมพิวเตอร หนาที่ของผูดูแลระบบมีความหลากหลายขึ้นอยูกับหนวยงานหรือ โครงการ โดยทั่วไปผูดูแลมักจะทําหนาที่ติดตั้ง ตอบคําถาม ดูแลเซิรฟเวอร หรือระบบ คอมพิวเตอรอื่น รวมถึงการวางแผนงาน การดูแล ควบคุมโครงการที่เกี่ยวของกับระบบ คอมพิวเตอร นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) บุคลากรดานการวิเคราะหและออกแบบระบบงาน จะมีหนาที่วิเคราะหความ ตองการของผูใชรวมไปถึงผูบริหารของหนวยงานนั้น ๆ ดวยวาตองการระบบโปรแกรม หรือลักษณะงานแบบไหน อยางไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานใหตรงตามความตองการมาก ที่สุด


นักเขียนโปรแกรม (Programmer) คือผูท ี่ชํานาญในเรื่องของการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะเพื่อสรางระบบงานนั้น ใหออกมาใชงานไดจริง ๆ เราเรียกบุคคลกลุมนี้วา นักเขียนโปรแกรม หรือ Programmer วิศวกรระบบ (System Engineer) คือ บุคลากรที่ทําหนาที่ออกแบบ สราง ซอมบํารุงและดูแลรักษาฮารดแวร คอมพิวเตอรใหสามารถทํางานไดตามที่ตองการ วิศวกรเครือขาย (Network Engineer) เปนผูออกแบบและดูแลระบบเครือขายคอมพิวเตอร CNE(Computer Network Engineering) เปนการทํางานบนเครือขาย แทนการทํางาน บนเครื่องเดียว (Standalon computer)CNE ทํางานในบริษัทดาน ออกแบบเครือขาย,ศูนยคอมพิวเตอร ของธนาคาร และบริษัทดานอินเตอรเน็ต และมหาวิทยาลัยตางๆ เปนตน


ผูใชคอมพิวเตอรระดับสูง (Super User) หมายถึง ผูใชงานคอมพิวเตอรที่สามารถประยุกตโปรแกรมเพื่อสรางผลงานตาง ๆ ตามตองการ เชน การสรางตนฉบับสื่อสิ่งพิมพ ดวยโปรแกรม Adobe Pagemaker , Adobe In Design การสรางสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนดวยโปรแกรม Authorware หรือ Captivate ผูใชคอมพิวเตอรทั่วไป (User) หมายถึง ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป สามารถทํางานตามหนาที่ในหนวยงานนั้นๆ เชน การพิมพงาน การปอนขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร การสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส เปนตน


สรุปหนวยที่ 4 “ซอฟตแวร” ความหมายของซอฟตแวร ซอฟต แ วร หมายถึ ง ชุ ด คํ า สั่ ง หรื อ โปรแกรมที่ ใ ช สั่ ง งานให ค อมพิ ว เตอร ทํ า งาน ซอฟตแวรเปนคําสั่งที่มีลําดับขั้นตอนการทํางานซึ่งเขียนขึ้นดวยคําสั่งของคอมพิวเตอร คําสั่ง เหลานี้เรียงกันเปนโปรแกรมคอมพิวเตอร ซอฟตแวรทํางานตามคําสั่ง การทํางานพื้นฐานเปน เพียงการกระทํากับขอมูลที่เปนตัวเลขฐานสอง ซึ่งใชแทนขอมูลที่เปนตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแมแตเปนเสียงพูดก็ได ประเภทของซอฟตแวร 1. ซอฟตแวรระบบ (System Software) ซอฟทแวร ระบบเปนโปรแกรมที่บริษัทผูผลิตสรางขึ้นมาเพื่อใชจัดการกับระบบ หนาที่การทํางานของซอฟตแวรระบบ คือ ดําเนินงานพื้นฐานตางๆ ของระบบคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติการ (Operating Software หรือ OS) เปนซอฟตแวรที่ควบคุมกิจกรรมทั้งหมด ของคอมพิวเตอร เพื่อใหมั่นใจวาอุปกรณที่เปนฮารดแวรทุกสวนของระบบคอมพิวเตอร ทํางานรวมกันไดอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ


ระบบปฏิบัติการที่นิยมใชมากที่สุดในขณะนี้ คือ 1) ระบบปฏิบัติการดอส(DOS) เปนระบบปฏิบัติการที่รับคําสั่งจากผูใชงานเปน ขอความ (text mode) DOS ปจจุบันไมคอยนิยมแลว 2) ระบบปฏิ บั ติ ก ารแบบวิ น โดวส พั ฒ นาโดยบริ ษั ท ไมโครซอฟต เป น ระบบปฏิบัติการทํางานที่ทํางานดวยคําสั่งกราฟกชนจอภาพโดยใชเมาสในการควบคุม คําสั่งใหโปแกรมทํางานผานภาพ กราฟกที่เปนสัญลักษณตางๆ ที่เรียกวา สัญรูป หรือ ไอคอน (icon) เราเรียกวาการทํางานแบบการประสานกับผูใชในลักษณะของกราฟก GUI (graphical user interface) อานออกเสียงวา “กุย” เชน วินโดวสเอ็กซพี (Windows XP) 3) ระบบปฏิบัติการยูนิกส (UNIX) เปนระบบปฏิบัติการที่ไดพัฒนามาเปน เวลานานมากกวาระบบดอส ระบบยูนิกสมีประสิทธิภาพในการทํางานสูง จึงนิยมใชกับ เครื่ อ งที่ ต อ งการประสิ ท ธิ ภาพการทํ า งานสู ง เช น เครื่ อ งที่ เ ป น แม ข า ยของระบบ อินเทอรเน็ต 4) ระบบปฏิบัติการแมค (MAC OS) พัฒนาโดยบริษัทแอปเปลคอมพิวเตอรใช กับเครื่องคอมพิวเตอรแม็คอินทอช ทํางานแบบเดียวกับโปรแกรมวินโดวสนิยมใชงาน ประเภทการออกแบบกราฟก


1.2 ตัวแปลภาษา ในการพัฒนาซอฟตแวรจําเปนตองมีซอฟตแวรที่ใชในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อ แปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา ภาษาระดับสูงเหลานี้ สรางขึ้นเพื่อใหผูเขียนโปรแกรมเขียนชุดคําสั่งไดงาย เขาใจได ตลอดจนถึงสามารถ ปรับปรุงแกไขซอฟตแวรในภายหลังได ภาษาระดับสูงซึ่งเปนที่รูจักและนิยมกันมากในปจจุบัน เชน ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษาซี และภาษาโลโก ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) ซอฟตแวรประยุกตเปนโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อการใชงานเฉพาะเรื่องตามที่ เราตองการเชน งานพิมพเอกสาร งานพิมพรายงาน วาดภาพ ฯลฯ 1. ซอฟตแวรสําเร็จ เปนซอฟตแวรที่มีความนิยมใชกันสูงมาก เปนซอฟตแวร ที่บริษัทพัฒนาขึน้ แลวนําออกมาจําหนาย เพื่อใหผูใชงานซื้อไปใชไดโดยตรง ไมตอง เสียเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรอีก ซอฟตแวรสําเร็จที่มจี าํ หนายในทองตลาดทั่วไป 2. ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ เปนโปรแกรมที่ทาํ หนาที่ชวยในการทํางานของ ระบบคอมพิวเตอรในหนาที่เฉพาะดานบางอยาง เชน การตรวจหาและกําจัดไวรัส คอมพิวเตอร การจัด เรียงขอมูลในฮารดดิสก เปนตน


ความจําเปนของการใชซอฟตแวร ซอฟตแวร หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอร เปนสวนสําคัญที่ควบคุมการทํางาน ของคอมพิ ว เตอร ใ ห ดํ า เนิ น การตามแนวความคิ ด ที่ ไ ด กํ า หนดไว ล ว งหน า แล ว คอมพิวเตอรตองทํางานตามโปรแกรมเทานั้น ไมสามารถทํางานที่นอกเหนือจากที่ กําหนดไวในแตละโปรแกรมได ดังนั้นซอฟตแวรจึงเปนสวนสําคัญและจําเปนของระบบ คอมพิ ว เตอร หากขาดซอฟต แ วร ค อมพิ ว เตอร ก็ ไ ม ส ามารถทํ า งานได และเป น สวนประกอบหนึ่งที่ทําใหระบบสารสนเทศเปนไปไดตามที่ตองการ ซอฟตแวรและภาษาคอมพิวเตอร เราใชคอมพิวเตอรทํางานในการจัดการสารสนเทศเรื่องตาง ๆ ไดอยางถูกตอง แมนยําโดยการกําหนดวิธีการหรือขั้นตอนใหคอมพิวเตอรทํางานไดตามความตองการ จําเปนตองมีสื่อกลางที่ใชในการติดตอซึ่งกันและกันระหวางมนุษยกับคอมพิวเตอรเรา เรียกสื่อกลางนี้วาภาษาคอมพิวเตอร


สรุปหนวยที่ 5 “ระบบเครือขายคอมพิวเตอร” ความหมายระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร หรือคอมพิวเตอรเน็ตเวอรก คือระบบสื่อสาร ระหวางคอมพิวเตอรจํานวนตั้งแตสองเครื่องขึ้นไป เพื่อสะดวกตอการรวมใชขอมูล โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ และยังสามารถอํานวยความสะดวกในการติดตอ แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางเครื่องไดตลอดเวลา

ประโยชนของระบบเครือขายคอมพิวเตอร 1) ระบบเครือขายในบริเวณเฉพาะที่ การเชื่อมตอเครือขายใหประโยชน ในดานการใชขอมูลรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชขอมูลในฐานขอมูลเดียวกันทํา ใหไดขอมูลที่ถูกตองและเปนปจจุบันมากที่สุด และยังใหประโยชนในการใชทรัพยากร รวมกัน เชน อุปกรณประเภทเครื่องพิมพ (Pinter)


2) ระบบเครือขายอินเตอรเน็ต เปนระบบใหญที่มีการเชื่อมตอโยงกันทั่ว โลก ประโยชนที่เรานํามาใชในปจจุบัน ไดแก การสื่อสารดวยไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail) การสืบคนขอมูลจากเว็บไซต การศึกษาแบบ E-Learning การพาณิชย อิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) และการธนาคารอิเล็กทรอนิกส (E-Banking) 3) ระบบเครือขายรวมปฏิบัติ เปนระบบเครือขายที่ทาํ ใหเกิดการรวมพลัง ของคอมพิวเตอรเครือขายมาทํางานรวมกัน ประเภทของระบบเครือขายคอมพิวเตอร 1) เครือขายแลนหรือเครือขายบริเวณเฉพาะที่ (LAN หรือ Local Area Network) เปนเครือขายทีน่ ิยมใชภายในสํานักงานอาคารเดียวกัน และองคกรที่อยูใน บริเวณเดียวกันหรือใกลกัน 2) เครือขายแมนหรือเครือขายบริเวณนครหลวง (MAN หรือ Metropolitan Area Network)เปนเครือขายที่มีการเชื่อมตอระหวางผูใชที่อยูในเขต เมืองเดียวกันเปนเครือขายขนาดกลางทีส่ รางขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกประชาชน ของเมืองนั้นหรือ เขตการปกครอง


3) เครือขายแวนหรือเครือขายบริเวณกวาง (WAN หรือ Wide Area network) เปนเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงระบบเขาดวยกันในระยะไกล ครอบคลุม พื้นที่ทั้งประเทศ ระหวางประเทศ หรือทั่วโลก โดยอาศัยอุปกรณดาวเทียม สายเสนใย แกวนําแสง หรือคลื่นไมโครเวฟ เปนตัวกลางในการสื่อสาร ระบบเครือขายประเภทนีท้ ี่เรา รูจักกันดีก็คือเครือขายอินเตอรเน็ต รูปแบบการเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอร ฮารดแวรหรือสวนเครือขายเชิงกายภาพ หรืออุปกรณเครือขายไดแก สายนํา สัญญาณ แผนวงจรเครือขาย ตัวเครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณอื่น ๆ ที่เครือขายใชใน การรับ-สงขอมูล ซอฟแวรหรือสวนการจัดการเชิงตรรกะ เปนซอฟแวรที่กําหนดกฎเกณฑใน การจัดการเกี่ยวกับอุปกรณทําใหสามารถทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ


สรุปหนวยที่ 6 “อินเทอรเน็ต” ความหมายและความเปนมาของอินเทอรเน็ต อินเตอรเน็ต คือ เครือขายขนาดใหญที่เชื่อมตอระบบตางๆ จากทั่วมุมโลกเขา ดวยกันไมวาจะเปนสถาบันการศึกษา องคกร หนวยงานทั้งงานราชการและเอกชน ซึ่ง มีขอมูลมากมายทีส่ ามารถนํามาใชประโยชนได

ความสําคัญของอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตมีบทบาทและมีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของคนเราเปนอยาง มาก เพราะทําใหวิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณอยูเสมอ เนื่องจากอินเทอรเน็ตจะ มีการเสนอขอมูลขาวปจจุบัน และสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นใหผูใชทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอรเน็ตมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อสนองความสนใจและ ความตองการของผูใชทุกกลุม อินเทอรเน็ตจึงเปนแหลงสารสนเทศสําคัญสําหรับทุกคน เพราะสามารถคนหาสิ่งที่ตนสนใจไดในทันทีโดยไมตองเสียเวลาเดินทางไปคนควาหรือ แมแตการรับรูขาวสารทั่วโลกก็สามารถอานไดในอินเทอรเน็ตจากเว็บไซตตางๆ ของ หนังสือพิมพ ซึ่งแบงความสําคัญของอินเทอรเน็ตที่เราพบเห็นในดานตางๆ ดังนี้ 1) ดานการศึกษา 2) ดานธุรกิจและการพาณิชย 3) ดานการบันเทิง


ประโยชนอินเทอรเน็ต ในการใชอินเทอรเน็ตนัน้ กอใหเกิดประโยชนหลายดานดวยกันสามารถ สรุปที่สําคัญไดดังนี้ 1. ใชแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร สะดวกและรวดเร็ว 2. ใชสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ ทั่วโลกได 3. ใชแลกเปลี่ยนขอมูลกับเครื่องคอมพิวเตอรตางระบบได 4. สามารถสงขอมูลไดหลายรูปแบบ 5. ใหความบันเทิงในรูปแบบตางๆ เชน การฟงเพลง เลนเกมส เปนตน 6. ใชสื่อสารดวยขอความ ซึ่งเปนการพูดคุยกันระหวางผูใชอินเทอรเน็ตโดยการ พิมพขอความโตตอบ 7. ใชสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส 8. ซื้อขายสินคาและบริการ

การใชอินเทอรเน็ต การใชงานอินเทอรเน็ต ผูใชสามารถใชบริการจากผูใหบริการอินเทอรเน็ต ที่เรา เรียกวา ไอเอสพี (ISP หรือ Internet Service Provider)โดยการติดตอขอใชบริการผาน ตัวแทนไอเอสพีตางๆ ไดโดยตรง


สําหรับประเทศไทยเรามีไอเอสพีอยูมากกวา 15 แหง ซึ่งไอเอสพี คือบริษัท หรื อ องค ก รที่ ใ ห บ ริ ก ารทางด า นอิ น เทอร เ น็ ต รวมถึ ง ศู น ย ค อมพิ ว เตอร ข อง สถาบั น การศึ ก ษาด ว ย จะทํ า หน า ที่ เ ชื่ อ มต อ ระบบเครื อ ข า ยจากประเทศไทยไป ต า งประเทศ โดยผ า นเครื อ ข า ยดาวเที ย มหรื อ สายใยแก ว นํ า แสงของการสื่ อ สาร แหงประเทศไทย ตัวอยางไอเอสพีในประเทศไทย มีดังนี้ 1) บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย ชื่อเว็บไซต www.inet.co.th 2) บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชัน ชื่อเว็บไซต www.loxinfo.co.th 3)บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเทอรเน็ต ชื่อเว็บไซต www.ksc.net.th 4)บริษัท สามารถอินโฟเน็ต จํากัด ชื่อเว็บไซต www.samart.co.th 5)บริษัท เอ-เน็ต จํากัด ชื่อเว็บไซต www.a-net.net.th


ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต 1. การติดตอโดยใชสายโทรศัพทผานอุปกรณโมเดม (Modem) ไปยังเอสไอพี ที่เราเปนสมาชิกอยู โมเดม คือ อุปกรณแปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใหเปนสัญญาณโทรศัพท และแปลงสัญญาณโทรศัพทใหเปนสัญญาณคอมพิวเตอร 2. การติดตอผานเครือขายแลน วิธีนี้จะสะดวกมากกวาวิธีอื่นการรับสงขอมูลมี ความเร็วสูง นิยมใชในหนวยงานทีม่ ขี นาดใหญ เชน มหาวิทยาลัย กระทรวง ทบวงกรมตาง ๆ ใชงานไดพรอมกันครั้งละหลายๆ คน โดยหนวยงานเหลานั้นจะตองมีการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตผานสายสัญญาณใยแกวนําแสงหรือสายวงจรเชา (leased line) กับไอเอสพี

องคประกอบอินเทอรเน็ต 1. การใหบริการเวิลดไวดเว็บ (World Wide Web หรือ www) เปนบริการระบบ ขาวสารที่มีขอมูลอยูทุกแหงในโลก ซึ่งขอมูลตางๆ เหลานั้น สามารถอยูในหลายรูปแบบ แตกตางกัน 2. การใหบริการไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail หรือ E-mail) เปนบริการ รับ-สงจดหมายอิเล็กทรอนิกส หรืออีเมลล 3. การแลกเปลี่ยนขาวสารแบบกลุม (Unsent Newsgroup) เปนบริการที่ใชในการ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ แสดงความคิดเห็นรวมกันระหวางผูสนใจในเรื่องเดียวกัน


4. การซื้อขายสินคาและบริการ (Electronic Commerce หรือ E-Commerce) เปนบริการที่จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกในการซื้อขายทางอินเทอรเน็ต เปนธุรกิจที่ นิยมในปจจุบัน 5. การบริการการโอนถายขอมูล (Internet Relay Chat หรือ IRC) เปนบริการ โอนถายขอมูลเครือขายอินเทอรเน็ตระหวางแหลงขอมูลที่มีอยูในเครื่องคอมพิวเตอรตาง ๆ ทั่วโลก 6. การสื่อสารโตตอบดวยขอความ (Internet Relay Chat หรือ IRC) เปนบริการ ที่ใหผูใชอินเทอรเน็ตในสวนตาง ๆ ของโลกสามารถติดตอพูดคุย โตตอบดวยขอความ ผานระบบอินเทอรเน็ต การเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรเขาสูระบบเครือขายอินเทอรเน็ต การเชื่อมตอระบบอินเทอรเน็ตผานทางผูใ หบริการ ผูใหบริการเชื่อมตอเขาระบบอินเทอรเน็ต เรียกวา ISP (Internet Service Provider) หรือที่เรียกกัน วา ไอเอสพี จะเปนองคกรที่ทาํ การติดตั้งและดูแลเครื่อง ใหบริการ (Server) ที่ตอตรงเขากับระบบ อินเทอรเน็ต การเชื่อมตอผานทาง ISP ยังแบงลักษณะการเชื่อมตอออกเปน 2 ประเภท ตามความตองการใชงานดังนี้


1) การเชื่อมตอแบบองคกร เปนองคกรที่มีการจัดตั้งระบบเครือขายใชงาน ภายในองคกรอยูแลว จะสามารถนําเครื่องแมขาย (Server) ของเครือขายนั้นเขาเชื่อมตอ กับ ISP เพื่อเชื่อมโยง เขาสูระบบ อินเทอรเน็ตไดเลย 2) การเชื่ อ มต อ ส ว นบุ ค คล เป น การเชื่ อ มต อ ของบุ ค คลธรรมดาทั่ ว ไปซึ่ ง สามารถขอเชื่อมตอเขาสูระบบอินเทอรเน็ตไดโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยู อาจจะ เปนที่บานหรือที่ทํางาน เชื่อมตอผานทางสายโทรศัพท ผานอุปกรณที่เรียกวา โมเดม (Modem) เรามักเรียกการเชื่อมตอแบบนี้วา การเชื่อมตอแบบ Dial-Up โดยผูใชตองสมัคร เปนสมาชิกของ ISP เพื่อขอเชื่อมตอผานทาง SLIP หรือ PPP account TCP/IP : ภาษาหลักในอินเทอรเน็ต หลักการทํางานของโปรโตคอล TCP/IP จะแบงขอมูลที่เครื่องคอมพิวเตอรสงไปยังเครื่องอื่นเปนสวนยอย ๆ (เรียกวา แพ็คเก็ต : packet ) และสงไปตามเครือขายอินเทอรเน็ต โดยการกระจายแพ็กเก็ตเหลานั้นไปหลาย ทาง โดยในแตละเสนทางจะไปรวมกันที่จุดปลายทาง และถูกนํามารวมกันเปนขอมูลที่ สมบูรณอีกครั้งหนึ่ง


SLIP/PPP : ชวยสื่อสารผานสายโทรศัพท ในการสงขอมูลในระบบอินเทอรเน็ต นั้น จําเปนตองสงผานทั้งในระบบสายสัญญาณ 6 สาย ในระบบ LAN และระบบ สายโทรศัพทประกอบกัน ดังนั้นเพื่อใหการสื่อสารเปนไปไดอยางราบรื่น จึงตองมีโปรโตคอล เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งไดแก โปรโตคอล SLIP (Serial Line Internet Protocol) และ PPP (Point-toPoint Protocol) ซึ่งทํางานบน TCP/IP อีกทีหนึ่ง SLIP โปรโตคอล SLIP ไดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให TCP/IP สามารถสื่อสารผาน สายโทรศัพทเพื่อสงผานขอมูลระหวางระบบแลน (LAN) กับระบบแวน (WAN) ไดซึ่งก็ไดรับ ความนิยม และเปนที่ใชกันอยางแพรหลายโดยเฉพาะในระบบ UNIX PPP เนื่องจากปรากฎวาโปรโตคอล SLIP เกิดมีปญหาไมเขากันกับโปรโตคอลบาง ตัวที่ระบบแลน (LAN) นั้นใชอยูเดิมจึงไดมีการพัฒนาโปรโตคอลขึ้นมาใหมในชื่อ PPP เพื่อ แกปญหาดังกลาว


IP address : ระบุที่อยูของเครื่องคอมพิวเตอร เมื่อเราตองการสื่อสารกับ คอมพิวเตอรเครื่องอื่น เราก็จะตองการที่อยูของ เครื่องนั้นๆ บนอินเทอรเน็ต ที่เรียกวา ไอพี แอดเดรส (IP address) Domain Name : อินเทอรเน็ตแอตเดรส โดเมนเนมมาใช กลาวคือการนํา ตัวอักษรทีจ่ ําไดงายมาใชแทน IP address อินเทอรเน็ตแอตเดรสจะไมซ้ํากันและเพื่อ สะดวกในการจดจําชื่อโดเมน


สรุปหนวยที่ 7 “การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน” -แหลงขอมูลการสืบคนบนเครือขายอินเทอรเน็ต -การสืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต -คําแนะนําในการใช Google -ไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส(E-mail) -กระดานขาวอิเล็กทรอนิกส (Wed forum) -หองสมุด แหลงขอมูลความรู -Digital Library หองสมุดบนเครือขายคอมพิวเตอร -แหลงขอมูลของประเทศไทยบนเครือขายคอมพิวเตอร


จบการนําเสนอ ขอบคุณคะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.