คู่มือการใช้งานและปรนนิบัติบำรุงกล้องตรวจการณ์กลางคืน

Page 1

1

คูมือการใชงานและปรนนิบัตบิ าํ รุง กลองตรวจการณกลางคืน

โดย กรมการทหารชาง


1

คํานํา คูมือกลองตรวจการณกลางคืน กรมทหารชาง โดยกองวิทยาการ กองคลังทหารชาง และ กรมทหารชางที่ 21 จัดทําขึน้ เพื่อตองการเนนย้ํา หนวยใชและผูใชใหสามารถปฏิบตั ิตอกลองตรวจการณ กลางคืนทุกประเภทไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนการยืดอายุการใชงานและประหยัด งบประมาณในการซอมบํารุง ทั้งนี้ เนื่องจากกลองตรวจการณกลางคืนเปนสิ่งอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีสูง สวนประกอบหลักที่สําคัญของกลองตรวจการณกลางคืน คือ หลอดภาพขยายแสง ซึ่งมีราคาคอนขางสูง และมีอายุการใชงานที่จํากัด หากนํากลองตรวจการณกลางคืนไปใชงานไมถูกวิธี หรือละเลยในเรื่องการ ปรนนิบตั ิบาํ รุง จะทําใหอายุการใชงานของกลองลดนอยลง และชํารุดกอนเวลาอันสมควร รายละเอียดจะประกอบไปดวย คําแนะนําในการใชงาน การปรนนิบตั ิบํารุง การเก็บรักษา และการบันทึก ตลอดจนขอควรระวังตางๆ ของกลองตรวจการณกลางคืนทุกประเภท ที่สําคัญหนวยจะตอง บันทึกชั่วโมงการทํางานจริงลงในแบบบันทึกทุกครั้ง เพื่อจัดเก็บเปนขอมูลตรวจสอบชั่วโมงการใชงานของ หลอดภาพขยายแสง ทั้งนี้ ขอมูลดังกลาวจะเปนประโยชนตอกรมทหารชางเปนอยางมากตอการนําไปสูการ พัฒนาปรับปรุงในสวนอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหกองทัพไดมียุทโธปกรณที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสําหรับ นําไปใชในการปฏิบตั เิ พื่อบรรลุภารกิจของหนวยไดอยางแทจริง กองวิทยาการ กรมการทหารชาง หวังเปนอยางยิ่งวา คูมอื เลมนี้จะเปนประโยชนตอหนวยของ ทานและหากมีขอคิดเห็นขอเสนอแนะ ซึ่งเปนประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน หรือคูมือการใชงาน กรุณาติดตอ กองวิทยาการ กรมการทหารชาง คายภาณุรังสี อําเภอเมือง จว.ราชบุรี 70000 โทร. 032-337267, โทร.ทบ. 53148, 53150

กองวิทยาการ กรมการทหารชาง


2

เรื่อง

สารบัญ

1. กลองตรวจการณกลางคืน : เสนทางการพัฒนา 2. ความรับผิดชอบของสายยุทธบริการ 3. การแบงประเภทกลองตรวจการณกลางคืน 4. ขอมูลทั่วไป 5. คุณสมบัติ 6. สวนประกอบ 7. ปุมควบคุมและปรับแตง 8. การปรนนิบตั ิบาํ รุง 9. การใชงาน 10. ขอควรปฏิบตั ิและขอควรระวัง 11. การเก็บรักษา 12. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ยีห่ อ ITT รุน AN/PVS-14 13. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-3153 14. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคล ยี่หอ LEICA รุน BIG 2 15. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคล ยี่หอ LEICA รุน BIG 25 16. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-7B 17. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ IEI รุน SHABANOOR 1001 18. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-5B 19. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ LEICA รุน BIG 25 3X 20. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ NUMAX รุน AN/PVS-4 21. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) ยี่หอ DELFT รุน LUNOS 6X 22. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-T4 23. กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ STARTRON รุน MK 800/300 mm 24. กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร SIMRAD รุน KN 200 25. กลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน LP-7 ประกอบกลองฯ รุน KN 200 26. เครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรพรอมกลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ DELFT รุน MLR40 และ MUNOS WS6 27. กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ NEWCON รุน NVS-6 28. กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ LITTON รุน AN/AVS-6 29. กลองตรวจการณแบบวัดระยะได ยี่หอ LEICA รุน VECTOR 1500

หนา 1 4 5 6 7 7 8 9 10 10 10 11 13 15 17 19 21 23 24 26 27 28 31 33 35 36 38 40 41


3 30. 31. 32. 33. 34. 35.

กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)2 กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)3 กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ SAGEM รุน MATIS ปญหาและอุปสรรคในการสนับสนุนหนวย ขอเสนอแนะเพื่อประโยชน แบบบันทึกการใชงาน

42 43 44 45 47 48


1

กลองตรวจการณกลางคืน : เสนทางการพัฒนา กลองตรวจการณกลางคืนมีเสนทางของการพัฒนาที่ยาวนานถึง 60 ป มาแลว จากชวง ระยะเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบนั เริ่มดวย Light Intensification Technology ที่สามารถสรางกลองใหสามารถมองเห็นภาพได ภายใตการสองสวางเพียงรางๆ อาทิ จากแสงจันทรขางแรม หรือแสงดาว ในชื่อวา “Starlight Scope” และพัฒนามาเปนกลองเล็งยิงในเวลากลางคืนในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 วา “Sniper Scope” กลอง ดังกลาวนี้ ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องจนเปนยุคที่ 4 ของการพัฒนาในปจจุบนั ในชื่อวา “Image Intensifier, Forth Generation หรือที่เรียกวา “ IV Gen. ” จากหลักการที่ไดพัฒนาวงจรใหสามารถขยายความสวาง รางๆ ของภาพทีเ่ กิดจากแสงเพียงเล็กนอยมากระทบวัสดุเรืองแสงที่เรียกวา “Detector” โดยกอนหนานี้ แสงสะทอนจากวัตถุที่เปนเปาหมายไดมีการรวมตัวผานเลนสท่มี ีกําลังขยายและมีความกวางของการมองเห็น ตางๆ กันมาแลว ตามวัตถุประสงคทจี่ ะนําไปใช เชน การตรวจการณ การเล็งยิง การตามเปาหมาย และ การควบคุมการยิงอัตโนมัติ เปนตน มีหลายๆ สถาบันวิจัย ตลอดจนมหาวิทยาลัยและบริษัทผลิตภัณฑทางทหาร มองเห็นอุปสรรค ของระบบกลองกลางคืนตรงที่ตองอาศัยแสงสวางเปนตัวสะทอนเปาใหมองเห็นภาพได ซึ่งเปนปจจัยที่มีขดี จํากัดในสมรภูมิสวนใหญ จึงไดทําการวิจัยและพัฒนาการหลายดาน ทั้งในดานคลื่นความสั่นสะเทือนของ พื้นดินจากความเคลื่อนไหว และในดานคลื่นแมเหล็กไฟฟา จากคลื่นเสียง คลืน่ เรดาห ไปจนถึงคลืน่ ความรอน (รังสีอินฟราเรด) และคลืน่ รังสีเหนือมวง (อุลตรางไวโอเลท) ในป ค.ศ. 1955 ไดมีการพัฒนา Infrared Technology ขึ้น นับเปนครั้งแรงที่มีการพัฒนา กลองรังสีความรอน (IR Detector) เปนหลักสําคัญในการถายทอดผานกรรมวิธีทางอิเลกทรอนิกสออกมา เปนภาพความรอนที่ไมตองอาศัยแสงสอง เชน แสงจันทร หรือแสงดาว อีกตอไป เพราะวัตถุภาคพื้นดิน ทั้งหลายจะแผรังสีความรอนที่สายตามองไมเห็น ณ ความยาวคลื่น 0.7 ไมครอน (1 ไมครอน = ความยาว 1 ในลานเมตร) จนถึงประมาณ 14 ไมครอน ในขณะที่แสงเปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟาเชนกัน แตมีความยาว คลื่น 0.4 – 0.7 ไมครอน ซึ่งตาคนมองไมเห็นความแตกตางของแสงออกมาเปนภาพได นอกจากนี้ วัตถุ ภาคพื้นสวนใหญทั้งพื้นดิน ตนไม คน ยานพาหนะและอาคารบานเรือน จะมีพลังงานความรอนที่มากพอ แกการสรางภาพได และมีความหนาแนนอยูในชวงความยาวคลืน่ 8-12 ไมครอน ( เรียกวา Long-Wave Infrared, LWIR ) และมีอยูในชวงแคบๆ ระหวาง 3-5 ไมครอน ( เรียกวา Mid หรือ Medium-Wave Infrared, MWIR ) การพัฒนาแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทภาคพืน้ และติดตั้งบนอากาศยาน บนภาคพืน้ ไดแก กลองตรวจการณแบบมือถือ-พกพา และติดตั้งบนยานพาหนะ ไดแก กลองเล็งยิงแบบติดไรเฟล และปนกล กลองเล็งยิงในระบบควบคุมการยิงบนยานรบ ฯลฯ สวนประเภทติดตั้งบนอากาศยาน ไดแก เครื่องบิน เฮลิคอปเตอร และดาวเทียม ไดแกกลองในระบบ IR Lines Scanner (IRLS) และระบบ Forward Looking IR Sensor (FLIR) และระบบ IRLS ใชในการตรวจการณแบบมองตรงๆ ลงไป แลว บันทึกภาพความรอนภาคพื้นดินในขณะที่ยานพาหนะ เชนเครื่องบินบินอยูเหนือพื้นทีเ่ ปาหมาย สวนระบบ


2 FLIR ใชในการตรวจการณแบบสองออกไปไดทั้งทางขางหนา และดานขาง แลวบันทึกภาพความรอนใน ขณะที่ยานพาหนะบินผาน อันเปนการเพิ่มขีดความสามารถในการตรวจการณทางยุทธวิธี กลองกลางคืนในระบบอินฟราเรด สามารถใชไดทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน แมจะมืดสนิท หรือมีหมอกควันปลกคลุม ทั้งนี้ เพราะมีความไวตอ การรับทราบความแตกตางทางอุณหภูมิของวัตถุที่เปน เปาจากวัตถุหรือสิ่งแวดลอมโดยรอบ ทั้ง Back Ground และ Fore ground สวนกลองกลางคืนที่เรียกวา “Night Sight” เปนกลองในระบบ Image Intensifier แลว จะไมสามารถใชไดกับแสงสวางในเวลากลางวัน หรือแสงจา เชน จากการตอตานดวยไฟฉายของฝายตรงขามในเวลากลางคืน เพราะจะทําใหตวั Sensor หรือ Light Sensor เสื่อมสมรรถภาพหรือเสียหายได ในเสนทางของการพัฒนากลองตรวจจับรังสีความรอน ในชื่อ “IR Camera, Night Sight หรือ Thermal Imager ก็ยังแบงแนวทางการพัฒนาออกเปน 2 ระบบ คือ Cooled System และ Uncooled System Cooled System เปนระบบที่ตัว IR Sensor ทําดวยวัสดุที่ตองมีการหลอเย็นเฉียบอันไดจาก เทคโนโลยีทาง Cryogenic Cooling ดึงอุณหภูมิของวัสดุลงมาใหต่ํากวาศูนยองศาเซลเซียส ถึงกวา -190 องศาเซลเซียส เพื่อใหมีความไวตอการรับทราบความแตกตางอุณหภูมิเพียง 0.02 องศาเซลเซียส หรือ ต่ํากวานี้ลงไปไดอีกได เพื่อนําไปสรางใหเกิด Contrast ในภาพความรอนได Uncooled System เปนระบบที่พัฒนาขึน้ มาในระยะหลัง ไดมีการพัฒนาขึ้นปลายทศวรรษที่ 1970 จาก Barium Strontium Ferromagnetic Material เปน IR Detector ที่สามารถมีความไวตอการ รับทราบความแตกตางทางอุณหภูมิเพียงประมาณ 0.5 องศาเซลเซียส ไดโดยเพียงปรับอุณหภูมิใหคงไวที่ 22 องศาเซลเซียส ซึ่งเปนอุณหภูมิบรรยากาศปกติของหลายพื้นที่ในโลก ไมตองการการหลอเย็นเฉียบ ดวยวิธีไครโลจีนนิคที่กลาวในขางตน จึงนับเปนความสะดวกอยางมากในการใชงาน และประหยัดมากใน ดานราคาและการบํารุงรักษา อันเปนประโยชนอยางยิ่งทัง้ ในทางยุทธวิธี และการเฝาตรวจระวังภัยในกิจการ พลเรือน การแบงชนิดกลองตรวจการณกลางคืน (Night Observation Sight) กลองตรวจการณกลางคืนที่มีอยูในปจจุบนั แบงตามลักษณะการทํางานของระบบออกไดเปน 2 ชนิดใหญๆ คือ 1. กลองตรวจการณกลางคืนแบบขยายแสง (Light Intensifier Image) 2. กลองตรวจการณกลางคืนแบบตรวจจับรังสีความรอน (Thermal Imager) NIGHT SIGHT Light Intensifier - Gen. I - Gen. II - Gen. III -Gen. IV

Thermal Imager Cooled System

Uncooled System


3 หลักการทํางาน 1. กลองตรวจการณกลางคืนแบบขยายแสง(Light Intensifier) ใชหลักการขยายแสงที่มีความสวางนอยๆ ใหเพิ่มมากขึ้น โดยผานขบวนการทางอิเล็คโทรออปติกส (Electro Optics) คือ จะเปลี่ยนอนุภาคของแสง (Photons) ใหเปนอิเล็กตรอน และนําอิเล็คตรอนจํานวนดังกลาววิง่ ชนจอรับภาพ (Screen) เพื่อใหเกิดเปน ภาพขึน้ 2. กลองตรวจจับรังสีความรอน (Thermal Imager) จะมีหลักการทํางานที่ซับซอนกวากลองแบบขยาย แสงดาว คือจะเริ่มตั้งแตระบบเลนสรบั ภาพจะกรองเอาเฉพาะคลื่นแมเหล็กไฟฟายานอินฟราเรด (IR) มาใช โดยตัวตรวจจับรังสีความรอน (Detector) จะถูกหลอใหเย็นถึง –190 องศาเซลเซียส ขึน้ ไป เพื่อใหตัวตรวจ จับรับคลื่น IR เฉพาะยาน 3-14 ไมครอน มาสรางเปนภาพโดยผานขบวนการแปลงสัญญาณทางอิเล็ก โทรนิคสมาสรางเปนภาพ การดําเนินการวิจัยและพัฒนากลองตรวจการณกลางคืนเพื่อนําไปสูการผลิต ในสวนของกองทัพบกไทย ไดดําเนินงานโครงการพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล เปนโครงการ ตามนโยบายผูบงั คับบัญชาชัน้ สูง โดยคณะอนุกรรมการ จสง.ทบ. ดานยุทธการ ไดประชุมพิจารณาจัดสรร งบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ 2545 กลุมงบงานดานยุทธการ การฝกศึกษาวิจยั เมื่อ มิ.ย.44 มีมติให กช. และ สวพ.ทบ. รวมกันดําเนินการ ระยะเวลา 1 ป โดยไดรับงบประมาณจัดสรรป 2545 ของ ทบ. จํานวน 9,999,054 บาท การดําเนินงานที่ผานมาเมื่อ ส.ค.45 หนวยที่เกี่ยวของไดเยี่ยมชม หจก.นวภัณฑ อุตสาหกรรม จว.สมุทรสาคร ซึ่งเปนโรงงานทําโมลและฉีดพลาสติก เพื่อรวบรวมขอมูลในการจัดทําตัวเรือน กลองตามรูปแบบของ ทบ. คุณลักษณะเฉพาะและสมรรถนะของกลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล มีกําลังขยาย 1 เทา, มุมมองภาพ 40 องศา, น้ําหนักไมเกิน 500 กรัม, ใชหลอดภาพขยายแสงรุน Super Gen. , มีความคมชัด 45 lp/mm., มี อายุการใชงานเฉลี่ย 10,000 ชม., ใชแบตเตอรี่ขนาด AA ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ปฏิบตั งิ านไดตอ เนื่อง 40 ชม., ใชในการมองเห็นในเวลากลางคืนใตแสงดาวเห็นบุคคลไดในระยะ 150 ม. และยานพาหนะ 1 กม. ใชงานเฉพาะในเวลากลางคืนสําหรับชวยในการอานแผนที่, ตรวจการณ, ลาดตระเวน, ซอมบํารุงและงาน ทั่วไป ราคากลองที่ประกอบขึ้นตามโครงการฯ ประมาณ 140,000 บาท/ชุด (ราคาป 45-46) การดําเนินงานโครงการพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล ขณะนี้ กช. และ สวพ.ทบ.ไดเตรียมการ และรวบรวมขอมูลตางๆ โดยแสวงประโยชนจากอุปกรณ สถานที่ที่มีอยูเดิมใหเกิดประโยชน โดยจะ ซอมแซม, ปรับปรุง และจัดหาอุปกรณเทาที่จําเปน เพื่อใหสามารถดําเนินการไดทันทีอยางเปนรูปธรรม เมื่อไดรับการสนับสนุนงบประมาณ


4 ความรับผิดชอบของสายยุทธบริการ ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. ทายหนังสือ ยก.ทบ. ที่ กห 0403/4276 ลง 19 เม.ย.39 เรื่อง การกําหนดความ ตองการและการใชงานกลองตรวจการณกลางคืน และตาขายพรางยุทโธปกรณ/บุคคล 1. ความรับผิดชอบของ กช. เปนกรมฝายยุทธบริการที่รับผิดชอบ (กลองเล็งกลางคืนทุกแบบ ทุกชนิด ที่มีความมุงหมายเพื่อนํามาใชในการตรวจการณ) และใหเรียกวา “กลองตรวจการณกลางคืน” 2. การแบงประเภท แบงออกตามความมุงหมายในการใชงานได 6 ชนิด คือ - กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) - กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน - กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร 3. การกําหนดระยะในการตรวจการณ กลองตรวจการณกลางคืนชนิดบุคคล, ชนิดนักบิน และชนิด ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ใหยึดถือตามคุณลักษณะเฉพาะที่ กช. กําหนด และเคยจัดหา บางสวนมาใชงานใน ทบ. แลว สําหรับกลองตรวจการณกลางคืน, หนวย เห็นควรกําหนดดังนี้.- กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) กําลังขยาย 1 เทา ระยะตรวจการณ 1-500 ม. - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) กําลังขยาย 2-4 เทา ระยะตรวจการณ 500-2,000 ม. - กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) กําลังขยาย 2-4 เทา ระยะตรวจการณ 2,000 ม. ขึ้นไป - การใชงาน : มีความมุงหมายหลักในการนํามาใชงานเพื่อชวยเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการ มองเห็นในเวลากลางคืน เพื่อเฝาตรวจ, ควบคุม, อํานวยการ ฯลฯ การปฏิบตั ิของหนวย โดยพิจารณาให เฉพาะผูบงั คับบัญชา, ฝายอํานวยการและเจาหนาที่ทีมีความสําคัญ ซึ่งจําเปนตองใชในการปฏิบตั ภิ ารกิจทาง ยุทธวิธีเทานัน้


5 การแบงประเภทกลองตรวจการณกลางคืน ตามหนังสือ ยก.ทบ. ตอที่ กห 0403/7419 ลง 2 ก.ย.42 เรื่อง ขออนุมัติหลักการเกี่ยวกับ กลองตรวจการณกลางคืน และกลองตรวจจับรังสีความรอน (Thermal Imager) 1. การแบงประเภทของกลองตรวจการณกลางคืน : แบงตามความมุงหมายในการใชงาน 6 ชนิด 1.1 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล 1.2 กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน 1.3 กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร 1.4 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) 1.5 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) 1.6 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) 2. การกําหนดกําลังขยาย และระยะในการตรวจการณของกลองตรวจการณกลางคืน, หนวย 2.1 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) กําลังขยาย 1 เทา มีเลนสวัตถุเพิ่มกําลังขยาย ไมนอยกวา 3 เทา มีระยะตรวจการณ 0-500 ม. 2.2 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) กําลังขยายไมนอยกวา 6 เทา มีระยะตรวจการณ 500-2,000 ม. 2.3 กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานไกล) กําลังขยายไมนอยกวา 9 เทา มีระยะตรวจการณ 2,000 ม. ขึ้นไป 3. การกําหนดกําลังขยาย และระยะในการตรวจการณของกลองตรวจจับรังสีความรอน ใหกําหนดแยกออก จากกลองตรวจการณกลางคืน เนื่องจากสามารถนํามาใชไดทั้งกลางวันและกลางคืน 3.1 กลองตรวจจับรังสีความรอนชนิดไมหลอเย็น (Uncooled System) กําลังขยายไมนอยกวา 3 เทา ระยะตรวจการณ 25-1,000 ม. 3.2 กลองตรวจจับรังสีความรอนระยะปานกลาง ชนิดหลอเย็น (Cooled System) กําลังขยายไมนอยกวา 4 เทา ระยะตรวจการณ 500-2,000 ม. 3.2 กลองตรวจจับรังสีความรอนระยะปานไกล ชนิดหลอเย็น (Cooled System) กําลังขยายไมนอยกวา 5 เทา ระยะตรวจการณ 2,000 ม. ขึ้นไป


6 กลองตรวจการณกลางคืน 1. ขอมูลทั่วไป กลองตรวจการณกลางคืน เปนกลองซึ่งออกแบบมาใหทํางานโดยอาศัยแสงดาวหรือแสงจันทร ซึ่งจะชวยใหทหารมองเห็นเปาหมาย ลักษณะภูมิประเทศ และสามารถที่จะปฏิบัติการในเวลากลางคืนได เหมือนเวลากลางวัน เชน การลาดตระเวน, การขับรถ, การเฝาตรวจพืน้ ที่ระยะใกล, และไกล โดยเฉพาะ กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล จะสามารถใชงานไดหลายแบบ เชน การอานแผนที่ การซอมยานพาหนะ การรักษาพยาบาล และอื่นๆ สําหรับกลองตรวจการณกลางคืนในความรับผิดชอบของ กช. ไดแบงออกเปน 6 ชนิด คือ 1. กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ระยะมองเห็น 0- 500 เมตร 2. กลองตรวจการณกลางคืน, ระยะใกล ระยะมองเห็น 0-500 เมตร 3. กลองตรวจการณกลางคืน, ระยะปานกลาง ระยะมองเห็น 500–2,000 เมตร 4. กลองตรวจการณกลางคืน, ระยะไกล ระยะมองเห็น 2,000 เมตร 5. กลองตรวจการณกลางคืน , นักบิน 6. กลองตรวจการณกลางคืนพรอมเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ระยะมองเห็น 500–2,000 เมตร กลองตรวจการณกลางคืน มีทั้งแบบสวมเขากับหนากาก,สวมกับศีรษะ,แบบใชมือถือ,แบบติดตั้ง บนขาตั้ง และประกอบอาวุธ เพื่อใหสามารถใชงานไดอยางเหมาะสมกับภารกิจของหนวยรบ ตามมาตรฐานการทํางานของกลองตรวจการณกลางคืนแลวนั้น จะเปนการตรวจการณแบบรับภาพ ทางเดียว (PASSIVE) ซึ่งขาศึกไมสามารถตรวจจับตําแหนงของผูใชไดเลย สําหรับการใชงานรวมกับหลอดใหแสงอินฟราเรด (IR) (มีเฉพาะกลองตรวจการแบบกลางคืน ,บุคคล ,ระยะใกล) ลําแสงจากหลอดจะสงไปยังวัตถุทําใหสามารถเห็นไดในระยะสัน้ ๆ แตการเปดแสง IR ใชงานขาศึกสามารถตรวจพบและเห็นได ถาขาศึกมีกลองตรวจการณกลางคืน กลองประเภทนี้จึงไดสราง อุปกรณแจงเตือนสถานะในขณะใชแสง IR โดยแสงใหเห็นไดในชองตามองภาพเปนแสงสีแดง เพื่อปองกัน การใชแสง IR โดยไมจําเปน กลองตรวจการณกลางคืน จะมีหวงวงแหวนสําหรับปรับการมองเห็นชองสายตา(สายตาสัน้ สายตา ยาว) ไดอยางอิสระทั้งสองขางของชองมองภาพ ซึ่งคุณสมบัติดังกลาวของกลองชวยใหผูใชที่มีสายตาสัน้ หรือ ยาว ไมจําเปน ตองใสแวนตาขณะใชกลองนี้ สวิทชควบคุมการทํางานของกลองตรวจการณกลางคืน (กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล, ระยะ ใกล) เปนสวิทชแบบสามตําแหนงสําหรับ ปด-เปด และดึงเปดใหแสงอินฟราเรด (เพื่อปองกันการหมุนเลย ตําแหนงเปดซึ่งจะทําใหขาศึกสามารถตรวจพบไดงา ย) ซึง่ การออกแบบสวิทชใหตองดึงกอนหมุนเปดจะชวย ลดขอผิดพลาดและปญหาที่จะเกิดในสวนนีไ้ ด กลองตรวจการณกลางคืนนี้มีตวั ตัดวงจรใหปด กลองโดยอัตโนมัติ เมื่อถอดออกจากชุดหนากาก (โดยเฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล รุน AN/AVS–7B) เพื่อปองกันขอผิดพลาดจากแสงหลอดใน ชองตามองภาพสองไปทางขาศึกทําใหสามารถตรวจจับไดและถาผูใชตองการดูกลองใหมก็ใหใชวิธีปดสวิทช ไปที่ตําแหนงปดแลวเปดใหมกลองก็จะทํางานตามปกติ กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล , หนวยระยะใกล ตามมาตรฐานทางทหาร จะสามารถปองกัน น้ําไดในระดับลึก 10 เมตร นานประมาณ 30 นาที


7 2. คุณสมบัติ กลองตรวจการณกลางคืนสามารถเปลี่ยนหลอดขยายแสงที่มีวิวัฒนาการสูงกวาขึน้ ได โดยไมตอง เปลี่ยนระบบเลนสแตอยางใด มีระบบแจงเตือนระดับแรงไฟจากแบตเตอรี่ต่ํา โดยแสดงเปนสีแดงใหเห็นทางชองมองภาพดาน ขวา ซึ่งจะกระพริบเตือนเมื่อระดับแรงไฟจากแบตเตอรี่ตา่ํ และเมื่อสัญญาณเตือนนี้แสดงขึ้นจะสามารถใชงาน ตอไปไดอีกประมาณ 2 ชัว่ โมง มีระบบปองกันแสงสวางเกิน เพื่อปองกันอันตรายอันจะเกิดขึน้ กับตัวหลอดขยายแสงกลองตรวจ การณกลางคืน มีวงจรตรวจวัดความเขมของแสง โดยกลองตรวจการณกลางคืนจะปดตัวเองหลังจากโดนแสง ที่มคี วามเขมของแสงสวางเกินระดับภายใน 70 วินาที มีสัญญาณแจงเตือนการใชแสงสวางจากหลอดอินฟราเรด โดยแจงเตือนเปนแสงสีแดงปรากฏ ขึ้นทางชองมองภาพ ซึ่งจะชวยเตือนผูใชกลองใหทราบวากําลังใชหลอดใหแสงอินฟราเรดอยู และขาศึก สามารถตรวจพบไดถา มีกลองตรวจการณกลางคืนในลักษณะเดียวกัน มีระบบตัดไฟอัตโนมัติ กลองตรวจการณกลางคืนมีสวิทชแมเหล็กสําหรับตัดไฟอัตโนมัติ เมื่อ กลองถูกถอดออกจากชุดหนากากในขณะเปดใชงานอยู (เฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล รุน AN/PVS7B) เพื่อปองกันการผิดพลาดจากการถอดกลอง และหันชองมองภาพไปทางขาศึก ทําใหขาศึกมองเห็น ตําแหนงผูใชได 3. สวนประกอบ 3.1 ตัวกลองตรวจการณกลางคืน ซึ่งเปนอุปกรณพนื้ ฐาน 3.2 หนากากแบบสวมศีรษะ เพื่อใหสามารถใชงานไดโดยไมตองใชมือถือ (กลองฯ, บุคคล ) 3.3 กระเปาบรรจุกลอง ใชสํารับบรรจุกลองและอุปกรณ นําไปใชงานในสนาม 3.4 สายสะพายกระเปา ใชสําหรับบรรจุกลองสําหรับสะพายไปใชงานในสนาม 3.5 ฝาครอบเลนส ใชครอบเลนสวตั ถุเพื่อปองกัน ฝุน ผง ทราย ที่จะกระทบกับเลนสโดยตรง 3.6 ฝาครอบเลนสตา ใชปอ งกันเลนสตาและฝาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนอุณหภูมิและความชื้นทันที 3.7 ยางครอบเลนสตา ใชปอ งกันแสงสีเขียวจากชองมองภาพไปสองสวางบนใบหนาทําใหขาศึกสามารถ มองเห็นได 3.8 ฝาครอบยางสําหรับเลนสวัตถุใชปอ งกันเลนสวัตถุขณะทีไ่ มใชงาน และฝาครอบดังกลาวตรงกลางจะ มีรขู นาดเล็กอยู ซึ่งจะใชสําหรับตรวจสอบการทํางานและความพรอมของอุปกรณกลองในการมองเห็นเวลา กลางวัน 3.9 เชือกคลองคอ ใชสําหรับรอยฝาครอบเลนสวัตถุและคลองตัวกลองเขากับตัวผูใช ชวยปองกันไมให ลวงหลนในขณะใชงาน (กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล,ระยะใกล) 3.10 กระดาษเช็ดเลนส ใชสําหรับทําความสะอาดเลนสของกลอง 3.11 กลองบรรจุ ใชบรรจุอุปกรณทั้งหมดสําหรับการขนยาย และการเก็บรักษาในที่ตั้งปกติ 3.12 คูมือการใชงาน จะมีรายละเอียดการใชงาน, การปรนนิบตั ิบํารุง, การซอมบํารุง, และสิ่งที่ควรรู จะตองปฏิบตั เิ กี่ยวกับตัวกลอง


8 3.13 แบตเตอรี่ ใชแบตเตอรี่ ขนาด AA 1.5 โวลท ชนิด อัลคาไลน หรือดีกวา จํานวน 2 กอน (กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล, ระยะใกล, ระยะปานกลาง, ระยะไกล ยี่หอ ORTEK ) สวนระยะไกล ยี่หอ STAR TRON 1 จะใชแบตเตอรี่ขนาด AAA 1.5 โวลท ชนิด อัลคาไลน 2 กอน 4. ปุมควบคุมและปรับแตง กลองตรวจการณกลางคืนออกแบบมาใหมีปมุ ควบคุมการใชงานไดงายดังตาราง 1-1 นี้ ตาราง 1-1 ปุมควบคุมและการปรับแตง ลําดับ 1

2

ตําแหนงการควบคุมและปรับ

การทํางาน

สวิชท ปด-เปด-เปดหลอดใหแสงอินฟราเรด RESET OFF ON PULL (IR) (มีเฉพาะกลองฯ,บุคคล)

ตําแหนงเดียวกับตําแหนงปด ปดการทํางานกลองตรวจการณกลางคืน เปดใชกลองตรวจการณการกลางคืน ดึงแลวเปดแหลงจายแสงอินฟราเรด (IR

หวงปรับความชัดเลนสวตั ถุ

ใชปรับความคมชัดของภาพในระยะตางๆ

3-4 ขายึดกลอง (LATCH MOUNTING COUPLER กลองตรวจการณกลางคืน , บุคคล)

ใชสําหรับปลดออกและยึดตัวกลองใหติดกับชุดหนากาก และ (ที่ LATCH นี้ จะมีสวิทชแมเหล็กซึ่งจะตัดไฟอัตโนมัติ ถาปลดกลองออกจากชุดหนากาก (เฉพาะ AN/PVS – 7 B) ใชสําหรับปรับเลนสตา ใหไดภาพชัดเจน ตามลักษณะสายตา ของแตละบุคคล ซึ่งมีความสัน้ -ยาวของแตละตาไมเทากัน ขณะใชกลองนีไ้ มจําเปนตองใสแวนสายตา ใชปรับกึ่งกลางของเลนสตาใหไดระยะหางเทากับตาผูใช

5

หวงปรับระยะสายตา

6

กานปรับความหางชวงตา (กลองตรวจการณ กลางคืน,บุคคล,ระยะใกล,และระยะปานกลาง) ปุมปรับระยะหางตัวกลองจากตา (กลองตรวจการณ ใชปรับระยะหางของตัวกลองจากตา เพือ่ ใหไดภาพที่ดีที่สดุ กลางคืน,บุคคล,ระยะใกล) และพอดีกับยางครอบตา

7


9 5. การปรนนิบัติบาํ รุงและการเปลีย่ นชิ้นสวน การปรนนิบัติบาํ รุง กลองตรวจการณกลางคืนจะตองปรนนิบัติบํารุงเปนประจําจากผูใชประจํา คือ การทํา ความสะอาดระบบเลนสและตัวกลอง โดยใชกระดาษเช็ดเลนสและทําความสะอาดเลนสและผาสะอาดเช็ดตัว กลองกอนและหลังใชงานทุกครั้ง การเปลี่ยนชิ้นสวน ในระดับผูใชการเปลี่ยนชิน้ สวนที่ทําได คือเปลี่ยนเพียงฝาครอบเลนสเมื่อหมาดอายุ หรือหายเทานั้น 6. การใชงาน 6.1 การเตรียมการกอนใชงานกลองตรวจการณกลางคืน ตรวจสอบกลองและอุปกรณที่จะนําไปใชงานใหพรอมและเพียงพอสําหรับไปใชงานในสนาม ทดสอบ การทํางานของกลอง สวิทชควบคุมและปุมปรับแตงตางๆรวมทั้งหนากาก(กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล) ที่ตองปรับใหพอดีกับศีรษะของผูใชโดยปฏิบตั ติ ามลําดับดังนี้ 6.1.1 นําตัวกลองออกมาจากถุงบรรจุ เปดฝาครอบเลนสตรวจดูสภาพเลนส หากสกปรกหรือมีฝนุ ใหทําความสะอาดแลวใสฝาครอบไวดงั เดิม 6.1.2 บรรจุแบตเตอรี่ขนาด AA 1.5 โวลท ชนิดอัลคาไลน 2 กอน หรือขนาด AAA 1.5 โวลท (กลองตรวจการณกลางคืนระยะไกล) 2 กอน เขาในชองใสแบตเตอรี่ปดฝาครอบ ( แบตเตอรี่ที่ใชควรตรวจ สภาพกอนเสมอวามีแรงเคลื่อนพอหรือไม หรือ ควรเปนของใหม 6.1.3 เปดสวิตชไปที่ตําแหนง (ON) โดยไมตองเปดฝาครอบเลนส ใชตามองไปที่ชองมองภาพและ หันกลองไปยังตําบลใดตําบลหนึ่งเพื่อมอง ปรับหวงปรับระยะมองเห็นของตา (DIOPTOR) ใหไดภาพ คมชัดโดยหมุนทีละขางจนไดภาพที่คมชัดที่สุด ปรับระยะหางระหวางสายตา (INTERPUPILLALY) และ ปรับระยะชัดภาพ(OBJECTIVE FOCUS) (ในเวลากลางวันฝาครอบเลนสวัตถุตองครอบอยูเ สมอ ไมจําเปน ตองออก เพราะที่ฝากลองฯ มีรรู บั แสงสําหรับทดสอบในเวลากลางวันอยูแลว) 6.1.4 ดึงและหมุนสวิทชตอไปที่ตาํ แหนง IR (กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล, ระยะใกล) จะ ปรากฏแสงสีแดงที่ชองมองภาพ เพื่อแจงเตือนวาขณะนี้ใชแหลงกําเนิดแสงจากตัวกลองอยู (ขาศึกอาจจะ มองเห็นผูใชกลองที่เปดแสงอินอินฟราเรดได) แลวกลับบิดไปที่ตําแหนง ON ดังเดิม 6.1.5 นําชุดหนากากมาสวมเขากับศีรษะและปรับแตงใหเขากับศีรษะของผูใช (กลองตรวจการณ กลางคืน,บุคคล ) 6.1.6 นํากลองประกอบเขากับชองติดกลองของชุดหนากากที่สวมศีรษะไว แลวกดปุมปรับระยะกลอง ใหหางพอดีกับหนาของผูทดสอบโดยหันหนาไปมาทุกทิศทาง กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล 6.1.7 ทดสอบเดินและปฏิบตั ิงาน โดยใชรวมกับกลองตรวจการณกลางคืนใหเกิดการคุน เคย (กลอง ตรวจการณกลางคืน, บุคคล ) 6.1.8 ใชนิ้วมือกดที่ขายึดกลอง และถอดกลองออกจากหนากาก เพื่อทดสอบระบบการปดกลอง อัตโนมัติโดยมองที่ชองมองภาพ (เฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล รุน AN/PSV-B7 หากมืดแสดงวา กลองปกติใหบดิ สวิตชไปที่ตําแหนง OFF แลว บิดสวิตชไปที่ตําแหนง ON อีกครั้งหนึ่งกลองจะทํางานปกติ 6.1.9 ปดสวิตชหยุดการทํางานของกลองไปที่ตําแหนง OFF ทําความสะอาดและบรรจุกลองถอด แบตเตอรี่ออกเก็บอุปกรณไวตําแหนงดังเดิมของบรรจุ


10 6.1.10 สวนกลองตรวจการณกลางคืน ระยะปานกลาง และระยะไกล ใหปฏิบตั ติ ามขอ 6.1.1, 6.1.2 และ 6.1.3 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

*** ขอควรปฏิบัตแิ ละขอควรระวัง *** ตองมีฝาครอบเลนสวัตถุเสมอ สําหรับการทดสอบเวลากลางวันทุกครั้ง ตองทําความสะอาดเลนสและตัวกลองเสมอกอนและหลังใชงาน ตองนําแบตเตอรี่ออกจากตัวกลองเสมอหลังใชงานเพื่อปองกันการรั่วซึมและการทําลายวงจร ระวังอยาใหกลองตกหรือกระแทกของแข็งอยางรุนแรง กลองตรวจการณกลางคืน,บุคคล ,ระยะใกลและปานกลาง เมื่อนําออกจากกลองหรือกระเปาบรรจุควร นําสายคลองคอมาคลองคอไวทุกครั้งกอนใชงาน

6.2. การใชงานในเวลากลางคืน 6.2.1 ปฏิบตั ิเชนเดียวกับการเตรียมการกอนใชงาน แตใหนําฝาครอบเลนสวตั ถุออกและประกอบ ฝาครอบกันฝุนและครอบเลนสตากันชื้นประกอบถาจําเปนตองใช ปรับใหไดภาพที่คมชัดในระยะที่ตองการ ตรวจการณ 6.2.2 ในพื้นที่ที่ไมมีแสงสวางใหปดสวิทช IR เพื่อชวยใหสามารถมองเห็นภาพไดชัด เชน การอาน แผนที,่ การซอมเครื่องมือ, การรักษาพยาบาล แตควรมีการพรางแสงสวางที่ใชเสมอเพราะการใชแสงสวาง IR จะทําใหขาศึกมองเห็นผูใชกลองไดงาย 6.2.3 รูขอจํากัดและขอควรระวังในขณะใชตลอดเวลาที่เปดกลองฯ ๗. การเก็บรักษากลองตรวจการณกลางคืน การเก็บรักษากลองตรวจการณกลางคืนเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจหลังจากการใชงาน ใหทําความสะอาดอุปกรณ โดยใชผาสะอาดที่ออนนุมทําความสะอาดตัวกลอง สวนตัวเลนสใหใชกระดาษเช็ดเลนสทําความสะอาด เทานั้น และตรวจสอบความชํารุดของกลองฯ ถาหากพบการชํารุด จะตองรีบสงกลองฯ ใหเจาหนาที่ซอม บํารุงดําเนินการแกไขทันที หากไมพบการชํารุดบกพรอง ใหนํากลองฯ เก็บใสกลองบรรจุ จากนั้นใหนําไปเก็บไวในหองควบคุม อุณหภูมิ (ประมาณ 25 องศาเซลเซียส) และควบคุมความชื้น สําหรับกลองฯ ที่เก็บรักษาในกลองบรรจุ ควรนําออกมาทําการตรวจเช็คและไลความชื้นภายในกลอง และทดสอบใชงานอยางสม่ําเสมอหรืออยางนอย ทุกๆ 6 เดือน การเก็บรักษาในกรณีที่ไมมีหองควบคุมอุณหภูมิ การเก็บรักษา ตองเปนหองที่อากาศสามารถถายเทไดสะดวก ไมอับชืน้ และแสงแดดสองไมถึงมี อุณหภูมิไมสูงมากเกินไป ซึ่งการเก็บรักษาในหองที่ไมมีการควบคุมอุณหภูมิ จําเปนอยางยิ่งทีจ่ ะตองหมัน่ นํา กลองออกมาตรวจทําความสะอาด และตรวจสอบชิน้ สวนประเภทยางใหบอ ยครั้งขึ้น คําเตือน !!!!! และขอควรระวังสําหรับผูใชงาน 1. ควรถอดแบตเตอรี่ออกจากกลองทุกครั้ง หลังจากการใชงาน 2. แบตเตอรี่ที่ใชงานแลว ควรแยกเก็บออกจากตัวกลอง เมื่อไมใชงานกลอง 3. ควรเก็บแบตเตอรี่ไวในหองควบคุมอุณหภูมิและความชื้น


11 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ITT รุน AN/PVS-14

ครอบเลนสตามอง

ครอบเลนสวัตถุ

ชองใสแบตเตอรี่

หวงปรับความคมชัดของภาพ

หวงปรับความคมชัดของสายตา


12

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ITT รุน AN/PVS-14 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 400 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. III อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 57 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ


13 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-3153

ชองใสแบตเตอรี่

ครอบเลนสวัตถุ

ครอบเลนสตามอง

หวงปรับความคมชัดของภาพ

หวงปรับความคมชัดของสายตา


14 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-3153 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 400 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 30 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ


15

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 2


16

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 2 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 41 ( + 1) องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 820 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. II อายุการใชงานตอเนื่อง 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 40 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ


17

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 25


18

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LIECA รุน WILD BIG 25 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 41 ( + 1 องศา) 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 790 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงานตอเนื่อง 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 40 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ


19

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-7B


20

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-7B 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 680 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. II อายุการใชงานตอเนื่อง 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 60 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ


21 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ IEI รุน SHABANOOR 1001


22 กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ IEI รุน SHABANOOR 1001 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 680 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงานตอเนื่อง 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 145 ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 250 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ


23

กลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล ยี่หอ LITTON รุน AN/PVS-5B 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 ทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,100 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. II อายุการใชงานตอเนื่อง 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 30 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง 100 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 200 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับหมู, ปฏิบตั ิการรบในเวลากลางคืน, อานแผนที่, ขับขี่ยานพาหนะ, ซอมบํารุง ยุทโปกรณ, ฯลฯ


24

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ LEICA รุน BIG25 3X


25

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ LEICA รุน BIG25 3X 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา, มีเลนสเพิ่มกําลังขยาย 3 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา เมื่อประกอบเลนสเพิ่มกําลังขยาย 12.5 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,190 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” 1.5 โวลท จํานวน 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 40 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ใตแสงดาวไดในระยะทาง - ม. 2.2 เปาหมายคน ใตแสงจันทรไดในระยะทาง - ม. 2.3 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงดาวไดในระยะทาง 400 ม. 2.4 เปาหมายยานพาหนะ ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 500 ม. 3. การใชงาน ใชการเฝาตรวจ หรือตรวจการณในเวลากลางคืนระยะใกล


26

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะใกล) ยี่หอ NUMAX รุน AN/PVS-4 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 3.7 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 14.5 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,700 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 25 มม. รุน GEN. II อายุการใชงาน 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ BA-1567/U จํานวน 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายคน ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 200 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 400 ม. 3. การใชงาน ใชการเฝาตรวจ หรือตรวจการณในเวลากลางคืนระยะใกล หรือติดอาวุธ


27

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) ยี่หอ OIP รุน LUNOS 6X


28

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะปานกลาง) ยี่หอ OIP รุน LUNOS 6X 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 6 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6.5 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,110 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมาย (Nato Taget 2.3 m. x 2.3 m.) ใตแสงดาวไดในระยะทาง 1,000 ม. 2.2 เปาหมาย (Nato Taget 2.3 m. x 2.3 m.) ใตแสงจันทรไดในระยะทาง 2,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอย, เฝาตรวจพืน้ ที่การรบในเวลากลางคืน, รักษาความปลอดภัยพืน้ ที่


29

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-T4


30

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ ORTEK รุน ORT-T4 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 11.6 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 4.7 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,390 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 25 มม. รุน GEN. II อายุการใชงาน 2,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 32-36 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 2,000 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 3,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองพัน, เฝาตรวจพื้นที่การรบในเวลากลางคืน, รักษาความปลอดภัยพืน้ ที่


31

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ STAR*TRON รุน MK-880


32

กลองตรวจการณกลางคืน, หนวย (ระยะไกล) ยี่หอ STAR*TRON รุน MK-880 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 11 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 4 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 15 กิโลกรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน ใชงานตอเนื่องได 50 ชม. 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงดาวไดในระยะทาง 2,600 ม. 2.2 เปาหมายยานพาหนะ ภายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 5,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณระดับกองพัน เฝาตรวจพืน้ ที่ทําการรบในเวลากลางคืน รักษาความปลอดภัยในพื้นที่


33

กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครือ่ งวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน KN200

ฝาครอบเลนสวัตถุ

ชุดสวมเขากับเลนสหนา LP7

ชองใสแบตเตอรี่

ตัวล็อคยืดกับเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร LP7


34 กลองตรวจการณกลางคืน, ประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน KN200 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 10 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 1,460 กรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น ขึ้นอยูกับกลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร LP-7 3. การใชงาน ใชประกอบกับกลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร LP-7 เพื่อวัดระยะในเวลากลางคืน ไมสามารถถอดแยก ในการใชงานได


35 กลองวัดระยะดวยแสงเลเซอร ยี่หอ SIMRAD รุน LP-7 ประกอบกับกลองตรวจการณกลางคืนยี่หอ SIMRAD รุน KN200 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 7 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 7 องศา 1.3 น้ําหนัก (ไมรวมแบตเตอรี)่ 2 กิโลกรัม 1.4 ระบบเครื่องสง ความยาวคลืน่ ลําแสง (WAVELENGTH) 1,064 um. 1.5 มุมบานลําแสง (BEAM DIVERGENCE) 2 mrad 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ 12 โวลท ชนิด Ni-cd 2. ขีดความสามารถ 2.1 สามารถประกอบกับกลองตรวจการณกลางคืน สําหรับวัดระยะทางในเวลากลางคืนได 2.2 วัดระยะใกลสุดไดไมมากกวา 150 เมตร 2.3 วัดระยะไกลสุดไดไมนอยกวา 9,995 เมตร 2.4 ความถูกตองในการวัดคลาดเคลื่อนไดไมเกิน + 5 เมตร 3. การใชงาน 3.1 สําหรับวัดระยะทางในเวลากลางวัน และเปนกลองสองทางไกล 3.2 สําหรับหมูตรวจการณหนา สําหรับกําหนดที่ตั้งเปาหมายและปรับการยิงปนใหญ 3.3 เมื่อประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรเขากับกลองตรวจการณกลางคืนแลว ผูใชสามารถใช เครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอร ไดเหมือนกับการใชงานในเวลากลางวัน โดยไมใชเครื่องมือพิเศษ หรือ ปรับแตงแตอยางใด และสามารถถอดแยกใชงานได


36 เครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรพรอมกลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ DELFT รุน MLR40 และ MUNOS WS6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 6 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6 องศา 1.3 น้ําหนัก 1.6 กิโลกรัม 1.4 ระบบเครื่องสง ความยาวคลืน่ ลําแสง (WAVELENGTH) 1,540 nm. (ไมเปนอันตรายตอสายตา) 1.5 มุมบานลําแสง (BEAM DIVERGENCE) 1 mrad 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 8 กอน 2. ขีดความสามารถ 2.1 สามารถประกอบกับกลองตรวจการณกลางคืน สําหรับวัดระยะทางในเวลากลางคืนได 2.2 สามารถเชื่อมตออุปกรณภายนอก เพือ่ สงผานขอมูลไปใชงานรวมกับระบบ อื่นๆ เชน เครื่องคอมพิวเตอร, โทรศัพทสื่อสาร, GPS., หรือ C3I ฯลฯ 2.3 วัดระยะใกลสุดไดไมมากกวา 80 เมตร 2.4 วัดระยะไกลสุดไดไมนอยกวา 20,000 เมตร 2.5 ความถูกตองในการวัดคลาดเคลื่อนไดไมเกิน + 5 เมตร 2.6 สามารถวัดระยะเปาหมายที่อยูในแนวเสนเล็งเดียวกันได 3. การใชงาน เมื่อประกอบเครื่องวัดระยะดวยแสงเลเซอรเขากับกลองตรวจการณกลางคืนแลว ผูใชสามารถใชเครื่อง วัดระยะดวยแสงเลเซอรไดเหมือนกับการใชงานในเวลากลางวัน โดยไมใชเครื่องมือพิเศษหรือปรับแตงแต อยางใด และสามารถถอดแยกใชงานได

MLR40 WS6


37 คุณลักษณะเฉพาะกลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ DELFT รุน MUNOS WS6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยาย (MAGNIFICATION) 6 เทา 1.2 มุมมองภาพ 6.7 องศา 1.3 น้ําหนัก 1,200 กรัม 1.4 หลอดขยายแสงขนาด 18 มม. รุน Super GEN. อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายใตแสงดาวไดในระยะทาง 1,000 ม. 2.2 เปาหมายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 2,000 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอย, เฝาตรวจเปนพื้นที่การรบในเวลากลางคืน, รักษาความปลอดภัยพืน้ ที,่ ติดอาวุธ, ประกอบกลองวัดระยะดวยแสงเลเซอรสําหรับวัดระยะทางในเวลากลางคืน


38

กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ NEWCON รุน NVS-6


39

กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ NEWCON รุน NVS-6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 590 กรัม 1.4 ความคมชัด (Resolution) 45 lp/mm. 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2.ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 150 ม. 3.การใชงาน ใชสําหรับชวยในการมองเห็นในเวลากลางคืนของนักบิน


40

กลองตรวจการณกลางคืน, นักบิน ยี่หอ LITTON รุน AN/AVS-6 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 40 องศา 1.3 น้ําหนัก (พรอมใชงาน) 650 กิโลกรัม 1.4 หลอดขยายแสง ขนาด 18 มม. รุน GEN. III อายุการใชงาน 10,000 ชม. 1.5 ความคมชัด (Resolution) 57 lp/mm. 1.6 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ “AA” ขนาด 1.5 โวลท 2 กอน 2. ขีดความสามารถในการมองเห็น 2.1 เปาหมายใตแสงดาวไดในระยะทาง 110 ม. 2.2 เปาหมายใตแสงจันทรไดในระยะทาง 150 ม. 3. การใชงาน ใชสําหรับชวยในการมองเห็นในเวลากลางคืนของนักบิน


41

กลองตรวจการณแบบวัดระยะได ยี่หอ LEICA รุน VECTOR 1500 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 7 เทา 1.2 น้ําหนัก 1.6 กิโลกรัม 1.3 ระบบเครื่องสง ความยาวคลืน่ ลําแสง (WAVELENGTH) 860 nm. (ไมเปนอันตรายตอสายตา) 1.4 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ชนิด Lithium ขนาด 6 โวลท 1 กอน 2. ขีดความสามารถ 2.1 ใชสําหรับวัดระยะ, ตรวจการณ, การวัดมุมภาคของทิศ, การวัดมุมลาดเอียง, การวัดระยะหาง ระหวาง 2 เปาหมาย และการวัดความสูง 2.2 วัดระยะไกลสุดไดไมนอยกวา 10,000 ม. + 5 %


42

กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)2 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 1.7 - 5 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6 x 15 1.3 น้ําหนัก 4.5 ปอนด 1.4 หลอดสรางภาพดวยรังสีความรอนแบบหลอเย็น (COOLED SYSTEM) ยาน 3 - 5 um 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ ชนิด , LITHIUM อายุใชงาน 1.5 ชม. 2. ขีดความสามารถ ในการมองเห็น มองผานหมอก ฝุน ควัน ได 2.1 เปาหมาย คน ในระยะทาง 1500 ม. 2.2 เปาหมาย ยานพาหนะ ในระยะทาง 4200 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอยและกองพัน ระยะปานกลางและระยะไกล, คนหาเปาหมาย, ประกอบอาวุธ ปนในการเล็งยิง

สวิทช เปด-ปด และปรับความสวาง

ปุมปรับความคมชัดของภาพ

ชองใสแบตเตอรี่

หวงปรับระยะสายตา

หวงปรับมุมมองภาพ


43

กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ RAYTHEON รุน AN/PAS-13B(V)3 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 3.3 - 10 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 6 x15 1.3 น้ําหนัก 5.0 ปอนด 1.4 หลอดสรางภาพดวยรังสีความรอนแบบหลอเย็น (COOLED SYSTEM) ยาน 3 - 5 um 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ ชนิด LITHIUM อายุใชงาน 1.5 ชม. 2. ขีดความสามารถ ในการมองเห็น มองผานหมอก ฝุน ควัน ได 2.1 เปาหมาย คน ในระยะทาง 2,800 ม. 2.2 เปาหมาย ยานพาหนะ ในระยะทาง 6,900 ม. 3. การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอยและกองพัน ระยะปานกลางและระยะไกล, คนหาเปาหมาย, ประกอบอาวุธ ปนในการเล็งยิง


44

กลองตรวจจับรังสีความรอน ยี่หอ SAGEM รุน MATIS 1.คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กําลังขยายของเลนส 9 เทา 1.2 มุมมองเห็น ( field of view ) 9 x 2 1.3 น้ําหนัก 5.0 ปอนด 1.4 หลอดสรางภาพดวยรังสีความรอนแบบหลอเย็น (COOLED SYSTEM) ยาน 3 - 5 um 1.5 ใชพลังงานจากแบตเตอรี่พิเศษ ชนิด LITHIUM 2.ขีดความสามารถ ในการมองเห็น มองผานหมอก ฝุน ควัน ได 2.1 เปาหมาย คน ในระยะทาง 3,600 ม. 2.3 เปาหมาย ยานพาหนะ ในระยะทาง 15,000 ม. 3.การใชงาน ใชตรวจการณในระดับกองรอยและกองพัน ระยะปานกลางและระยะไกล, คนหาเปาหมาย

ปุมปรับมุมมองภาพ

ปุมปรับความสวางของภาพ

ชองใสแบตเตอรี่

ปุมปรับความคมชัดของภาพ


45 ปญหาและอุปสรรคในการสนับสนุนหนวย 1. การฝกอบรมในการใชกลองตรวจการณกลางคืน กอนแจกจาย หนวยใชงานมักจัดเจาหนาที่ที่ไมเกี่ยวของ กับการใชงานมาทําการฝกอบรม หรือเจาหนาที่ที่ไมสามารถนําความรูกลับไปถายทอดใหกับผูใชงานไดอยาง มีประสิทธิภาพ ทําใหผูใชงานจริงนํากลองไปใชอยางไมถกู วิธี ซึ่งกอใหเกิดความเสียหายไดงาย ขอเสนอแนะ หนวยใชงานควรจัดนายทหารระดับ ผบ.มว., ผบ.หมู ที่รับผิดชอบตอยุทโธปกรณและ การฝกของหนวย เขารับการฝกเพื่อจะสามารถรับผิดชอบยุทโธปกรณและการถายทอดใหผูใชงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2. การแจกจายกลองฯ นัน้ เนื่องจากกลองมีลักษณะพิเศษ แตกตางจาก สป. ประเภทอื่นๆ กช. จึงงด การสงกลองไปใหหนวยใชทาง สขส. โดยจะมีวิทยุแจงใหหนวยสงเจาหนาที่ไปรับที่ กคช.กช. ซึ่งสวนใหญ ไดรับความรวมมือในการจัดเจาหนาที่ไปรับกลองฯ ดังกลาว แตปจ จุบนั มีบางหนวยไมไปรับกลองฯ ทั้งที่ได แจงเตือนแลว จึงทําให สป. ตกคางอยูที่ กคช.กช. จําหนึง่ 3. การใชงาน หรือการฝกอบรมกลอง ซึ่งอาจเกิดจากความบกพรอง หรือความรูเทาไมถึงการณของ เจาหนาที่หนวยใช โดยเปดฝาครอบเลนสในขณะที่มีแสงมากๆ ในเวลากลางวัน ทําใหหลอดภาพขยายแสง (Image Intensifier Tube) เกิดการไหม และชํารุดใชการไมได ขอเสนอแนะ เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ สป. ควรศึกษาคูมือการใชงานใหถองแท และระวังอยาใหผูอนื่ ที่ ไมเกี่ยวของกับ สป. มารับผิดชอบหรือฝกทดลองใชโดยที่ยังไมไดศึกษาคูมือการใชงานอยางชัดเจน 4. การเก็บรักษาของหนวยใชไมเหมาะสม เชน เก็บไวในที่ที่มีความชื่น, ในที่อุณหภูมิสูง หรือหลังจาก การใชงานแลวไมนําแบตเตอรี่ออกจากตัวกลองฯ และเมื่อระยะเวลาผานไป ทําใหแบตเตอรี่เกิดการรั่วซึม เปนเหตุทําใหกลองฯ เสียหายได ขอเสนอแนะ ควรศึกษาคูมือการใชงานใหเขาใจอยางถองแท และกํากับดูแลการใชงานใหเปนไปตามที่ คูมือกําหนด 5. การสงซอมกลองฯ หนวยสงซอม (หนวยใช) ไมสงแบบบันทึกจํานวนชั่วโมงการใชงานใหกับหนวยซอม เปนผลทําใหชางซอมไมสามารถตรวจสอบและวิเคราะหหาสาเหตุการชํารุดที่แทจริงได ขอเสนอแนะ หนวยใชตองกําชับเจาหนาที่ เพื่อใหบนั ทึกชั่วโมงการใชงานของกลองฯ เมื่อนําไปใชงาน จริงหรือทดสอบการทํางาน เพื่อเปนการเช็คจํานวนชัว่ โมงการทํางานของหลอดภาพ และวิเคราะหสาเหตุ ของการชํารุด 6. หนวยซอมฯ กลองของ กช. ยังไมมีเครื่องมือทดสอบมาตรฐานอายุการใชงานของหลอดภาพขยายแสง เพื่อใหเปนไปตามคุณลักษณะเฉพาะที่กําหนดไว เนื่องจากเครื่องมือดังกลาวมีราคาสูงถึงกวา 6 ลานบาท (ป 46) จึงทําใหไมไดรับการจัดสรรงบประมาณในการจัดหา แตเมื่อเปรียบเทียบกับความคุมคากับการ จัดหากลองตรวจการณกลางคืนมาใชงานแลว จะมีความคุมคาสูง ขอเสนอแนะ ควรพิจารณาอนุมัติให กช. จัดหาเครื่องดังกลาวเขามาใชงาน เพื่อการตรวจสอบมาตรฐาน ของกลองเพื่อใหเปนไปตามคุณลักษณะเฉพาะ และราคาในการจัดหา 7. การจัดหากลองตรวจการณกลางคืน : การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของกลองกวางเกินไป ทําใหมีหลาย บริษัทสามารถนํา สป. ที่มคี ุณภาพต่าํ เขามายื่นซองประกวดราคาได


46 ขอเสนอแนะ ควรกําหนดใหกลองตรวจการณกลางคืนมีลักษณะเชนเดียวกับยุทโธปกรณประจํากาย เชน ปลย. M16, ปนใหญ หรือรถถัง หรือใชวิธีพิเศษในการจัดหาเพื่อใหได สป. ที่มคี ณ ุ ภาพสูงเขามาใชงาน 8. เนื่องจากชิน้ สวนซอมหลอดภาพขยายแสง (Image Intensifier Tube) บางชนิดตองสั่งซื้อจากตางประเทศ ทําใหการซอมบํารุงตองใชระยะเวลานาน ขอเสนอแนะ หากไมมีขอจํากัดดานการสงกําลังบํารุง ควรพิจารณาใหหลอดภาพขยายแสงมีระดับสบสม ชิ้นสวนซอมดวย 9. เจาหนาที่ใชกลองตรวจการณกลางคืน สวนใหญขาดความรู, การอบรม และการใชงานอยางถองแท จึงเปนสาเหตุหลักการชํารุดของกลองฯ ขอเสนอแนะ หนวยควรมีการฝกอบรมถายทอดความรูใหผูรับผิดชอบการใชงาน และกําหนดตัวบุคคลที่ จะกลองฯ ไปใชงานใหชัดเจน โดยบุคคลดังกลาวตองมีคุณสมบัติที่ผานมาตรฐานการอบรมการใชงานกลอง อยางแทจริง 10. การสงซอม สป. ที่ซอมเสร็จคืนหนวย : หนวยมารับ สป. ชา ซึ่งไดรับการแจงวาไมมีงบประมาณใน การเดินทางมารับ สป. หรือใหสง สป. ทาง สขส. ซึ่งกลองฯ เปน สป. ที่มีความสําคัญ, ราคาสูงและชํารุด งาย และมีความสําคัญทางดานยุทธการ ขอเสนอแนะ ใหหนวยพิจารณางบประมาณสําหรับจัดเจาหนาที่มารับ สป. ดวยตนเอง 11. การพัฒนา และปรับปรุงโครงการพัฒนากลองตรวจการณกลางคืน, บุคคล (แบบตาเดียว และแบบ สองตา) โดยสงชิน้ สวนกลองฯ เพื่อนํามาประกอบเอง จะทําใหประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อจากตาง ประเทศโดยตรง ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับจํานวนในการประกอบ ซึ่งหากมีการประกอบจํานวนมากๆ ราคาชิ้นสวนก็ จะถูกลง แตการปฏิบตั จิ ริงยังขาดการสนับสนุนจากกองทัพบก ขอเสนอแนะ ควรมีการสนับสนุนโครงการพัฒนากลองฯ เพื่อการประหยัดงบประมาณ 12. กําลังพลของหนวยซอมฯ ไมสามารถซอมบํารุงกลองฯ รุนใหมๆ ที่มีเทคโนโลยีสูงได ขอเสนอแนะ เห็นควรมีขอกําหนดใหมีการบริการหลังการขายในเรื่องการซอมบํารุง และการถายทอด เทคโนโลยีในดานการซอมบํารุงใหกับหนวยซอมฯ 13. งบประมาณการซอมฯ ที่หนวยไดรับประจําปไมมีเพียงพอตอการปฏิบตั ิงาน ขอเสนอแนะ กองทัพควรพิจารณาสนับสนุนงบประมาณใหเพียงพอตอการซอมบํารุง


47 ขอเสนอแนะเพื่อประโยชน 1. การเสนอความตองการกลองตรวจการณกลางงคืนของแตละเหลา ควรพิจารณาถึงความจําเปนในการ ใชงาน ความสามารถ/คุณสมบัตขิ องผูใชงาน รวมทั้งขีดความสามารถในการซอมบํารุง 2. การพิจารณาความเรงดวนในการแจกจายกลองตรวจการณกลางคืน ควรมีการกําหนดในภาพรวมของ ทบ. เนื่องจากเปนยุทโธปกรณที่มีราคาแพง เจาหนาที่ตองมีความรู รวมทั้งอุปกรณมีอายุการใชงาน จึงควร กําหนดการแจกจายใหหนวยที่มีความจําเปนทางยุทธการของ ทบ. กอนหนวยเปาหมายที่ไมมีภารกิจทาง ยุทธการ 3. กลองตรวจการณกลางคืนตองเปน สป. ที่มีการปรับปรุงพัฒนาดานเทคโนโลยี และความเหมาะสมกับ การปฏิบตั ิภารกิจของหนวยทั้งในดานบุคคลและใชรวมกับยุทโธปกรณอื่นหรือเพิ่มขีดความสามารถประสิทธิภาพ ใหกับหนวยใชไดอยางแทจริง 4. การจัดหากลองตรวจการณกลางคืน ซึ่งเปนยุทโธปกรณที่ทุกเหลาเสนอความตองการเพื่อความทันสมัยใน แผนปรับปรุงหนวย/เหลา การจัดหาจึงควรใหมีลักษณะที่เหมาะสมในแตละเหลาและใหมีแบบเดียวกัน 5. การซอมบํารุงกลองตรวจการณกลางคืน เปนยุทโธปกรณที่มีอายุการใชงานคอนขางสั้น ดังนัน้ จึงควร มีการฝกอบรมเจาหนาที่ซอมบํารุงในสวนของ ทภ./บชร. ใหสามารถซอมบํารุงได รวมทั้งใหมีเครื่องมือ สําหรับทดสอบ และซอมบํารุงประจําในแตละสวน 6. กช. มีกําลังพลที่มีความรูความสามารถในการซอมบํารุงกลองตรวจการณกลางคืนทุกชนิดที่มีใชใน ทบ. ในระดับหนึ่ง ซึ่งยังไมมีความหลากหลายตอดานเทคโนโลยีของกลองฯ จึงเห็นควรใหมีการสงกําลังพลไป ศึกษาและดูงานจากบริษัทผูผลิตกลองฯ เพื่อเปนการเพิ่มขีดความสามารถของกําลังพลในการซอมบํารุงตอไป 7. หนวยใชควรมีมาตรการการควบคุม หรือกําหนดตัวบุคคลในการใชอยางชัดเจน มีบนั ทึกการใชงานใน รูปแบบที่เหมาะสม สะดวก เชื่อถือได เพื่อตรวจสอบอายุการใชงานของหลอดภาพไดอยางชัดเจน 8. หากมีระยะเวลาในการปฏิบตั ิและความตองการของหนวยมีความชัดเจน ควรจะมีการการจัดหากลองตรวจ การณกลางคืนโดยวิธี FMS เพื่อประโยชนสูงสุดของ ทบ. ตอไป


1

แบบบันทึกการใชงาน กลองตรวจการณกลางคืน ยี่หอ ............................................ รุน .....................................หมายเลข.....................................S/N……......................... ลําดับ

วัน, เดือน, ป, เวลา เริ่มใชงาน เลิกใชงาน

รวมชั่วโมง การทํางาน

งาน/ภารกิจ

หมายเหตุ - “เริ่มการใชงาน” หมายถึง เมื่อนํากลองออกมาใชงาน และเปดสวิทชไปตําแหนง “ON” - “เลิกการใชงาน” หมายถึง เมื่อปดสวิทชไปตําแหนง “OFF”

ผูใช

ผูอนุมัติ

หมายเหตุ


1

คูมือการใชงานและปรนนิบัตบิ าํ รุง กลองตรวจการณกลางคืน

โดย กรมการทหารชาง


2


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.