แนะนำแผนผังความคิด (MindMap)

Page 1

FreeMind

Mind map速


Mind map® ความเป็ นมา • ผลงานของนักจิตวิทยาชาวอังกฤษ ชื่อ โทนี่ บู ซาน (Tony Buzan: www.mind-map.com) • ได้ รับการเผยแพร่ สู่ สาธารณะครั้งแรกทาง รายการ Use Your Head ของสถานีโทรทัศน์ บีบีซี และหนังสื อชื่อเดียวกันโดยสำ านักพิมพ์ บีบีซี เมือ่ ปี 2517

ข้ อมูลอ้ างอิงจากเว็บไซต์ www.mind-map.com


Mind map® Uses / Benefits Learning

ใช้ เป็ นเครื่องมือช่ วยในการเรียนรู้ การเรียนหนังสื อ เพือ่ การจดบันทึก แล้วนำากลับมาทบทวนเพือ่ สอบ

Over viewing

ช่ วยในการคิดและมองภาพรวมของเรื่องราวหรือปัญหา ทีเ่ รากำาลังเผชิญเพือ่ ให้ เห็นองค์ รวมแห่ งปัญญาทีแ่ ท้ จริง

Concentrating

การจับจ้ องทีป่ ระเด็นทีเ่ ราสนใจเพือ่ การใช้ ทกั ษะเชิงการวิพากษ์

Memorising

ช่ วยในการจำาข้ อมูลข่ าวสาร


Mind map® Uses / Benefits Organizing

การจัดการงานทีท่ าำ ด้ วยความะสะดวก เรียบง่ าย แต่ เต็มไปด้ วยความสามารถ

Presenting

การวางแผนในการนำาเสนอ หรือ การเตรียมการเพือ่ การนำาเสนออย่ างมืออาชีพ น่ าติดตาม มีชีวติ ชีวา

Communicating Planning

การสื่ อสารทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพมากขึน้ ด้ วย Mind Map? การวางแผนทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพบนกระดาษเพียงไม่ กหี่ น้ า รวมทั้ง สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมได้ อย่ างเต็มที่


Mind map® Uses / Benefits Meetings

การวางแผนการประชุ ม เริ่มจากกำาหนดการ การนำาการประชุ ม ใช้ เวลาสั้ น รวดเร็ว เสร็จสิ้นได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ

Training

การอบรม ตั้งแต่ ข้นั ตอนของการเตรียมการ ไปจนถึงการนำาเสนอ ช่ วยให้ การทำางานง่ ายขึน้ ไม่ ย่งุ ยาก วุ้นวาย

Thinking

การประยุกต์ ใช้ กบั งานทางความคิด เป็ นทางออกแห่ งความคิด จินตนาการ และการจัดระบบของความคิดทีห่ ลากหลาย

Negotiating Brain Blooming

การเจรจาต่ อรองด้ วยแผนภาพความคิดเพียงหน้ าเดียว ทีม่ พี ลัง ซึ่งเป็ นพลังแห่ งการมองภาพ มองปัญหาแบบองค์ รวม เครื่องมือช่ วยการระดมสมองที่มปี ระสิ ทธิภาพ เป็ นระบบ สะดวกในการประเมินความคิดความอ่าน


Mind map®

ตัวอย่าง


Mind map®

การเขียน

1. นำากระดาษขนาด A 4 วางแนวนอน และต้ องเป็ นกระดาษทีไ่ ม่ มเี ส้ น เพือ่ ไม่ ให้ ความคิดถูกตีกรอบ ตีเส้ น ให้ ความคิดลืน่ ไหลได้ โดยง่ าย 2. ใช้ ปากกาสี ปากตัด หลายๆ ขนาด หลายๆ สี รวมทั้งปากกาเน้ นคำา สี ของปากกาควรใช้ สีอย่ างน้ อย 3 สี ทแี่ ตกต่ างกัน 3. เลือกหัวข้ อหรือประเด็นปัญหาทีต่ ้ องการเขียนแผนภูมิความคิด โดยหัวข้ อดังกล่ าวเราเรียกว่า Subject of Mind Map


Mind map®

การเขียน

4. รวบรวมเอกสาร และข้ อมูล วัตถุดบิ ก่ อนการเขียน Mind Map ให้ มากทีส่ ุ ด 5. เริ่มต้ นการเขียนจากตรงกลางหน้ ากระดาษ โดยไม่ ต้องใส่ กรอบให้ ข้อความหรือ ขีดขอบเขต เพราะจะเป็ นการกรอบความคิด ทำาให้ ไม่ ลนื่ ไหล และเพือ่ ให้ แผนทีเ่ กิดความสวยงาม อ่านง่ าย และเป็ นระเบียบ ให้ แตกรัศมีออกไปโดยรอบ 6. พยายามให้ คาำ สำ าคัญ หรือการใช้ สีเน้ นเพือ่ เป็ นการดึงดูดความสนใจ และเชื่อมโยงความสั มพันธ์ ของแขนงความคิดให้ เกีย่ วเนื่องกัน


Mind map®

การเขียน

7. เลือกคำาสำ าคัญหรือเลือกคำาสั้ นๆ แทนข้ อความยาวๆ เช่ นคำาว่ า การศึกษา การเรียน งาน เลือกหัวข้ อเรียงลำาดับเพือ่ เป็ นการจัดลำาดับความคิดเห็นหรือลำาดับความสำ าคัญของคำา เช่ น คำาว่า การศึกษา มาก่ อนคำาว่ า ระดับการศึกษา และมาก่ อนคำาว่ า ประถม มัธยม มหาวิทยาลัย 8. เส้ นแขนงแต่ ละเส้ นจะต้ องเชื่อมโยงออกจากแกนกลางและแตกออกไปจากแขนงความคิด โดยเส้ นทีอ่ ยู่ ด้ านในจะหนากว่ าเส้ นทีอ่ ยู่รอบนอกจะยากออกไปเรื่อยๆ และแตกแขนงย่ อยๆ ลงไป ตามลำาดับสำ าหรับเนือ้ หาทีส่ ั มพันธ์ กนั 9. ใช้ รูปภาพให้ บ่อยทีส่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะทำาได้ แทนคำาหรือข้ อความ อาจใช้ ตวั เลข หรือสี กาำ หนดลำาดับวงรอบของการเขียนแขนงความคิด


Mind map®

การเขียน

10. คำาหรือข้ อความจะต้ องอยู่บนเส้ นเสมอ และเส้ นจะมีความยาวเท่ ากับคำาหรือรูปภาพ อย่ าเขียนไว้ ปลายเส้ นเพราะจะคล้ ายกับความคิดสิ้นสุ ด 11. ใช้ สีกาำ หนดความสำ าคัญหรือเน้ นข้ อความ ตามจินตนาการและความคิดของแต่ ละคน เพือ่ ให้ มคี วาม เป็ นเอกลักษณ์ ดังนั้นการเขียนแผนทีค่ วามคิดจึงเป็ นแบบของแต่ ละคน ทีม่ ีลลี าและศิลปะแตกต่ างกัน ลอกแบบกันไม่ ได้ 12. เก็บข้ อความให้ มาก จัดหมวดหมู่ เรียบเรียง ตกแต่ งให้ มคี วามสวยงาม


Downloadที่ • ftp://ftp.psu.ac.th/pub/freemind/


แบบฝึก หัด • จงเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) เพือ ่ จดบันทึกการขับรถยนต์ • จงเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) เพือ ่ จดบันทึกการประชุม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.