หนังสือพิมพ์เราคิดอะไร ฉบับที่ 314 กันยายน 2559

Page 65

เกินความพอดีพอเพียงของมนุษย์ซึ่งมีแต่จะเพิ่ม มากขึน้ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลกระทบจากวิกฤติ ภาวะโลกร้อนที่ท�ำให้ภูมิอากาศทั่วโลกแปรปรวน อย่างสุดขั้ว และก�ำลังจะกลายเป็นปัญหาทาง ระบบนิเวศน์ทคี่ กุ คามความอยูร่ อดของอารยธรรม มนุษย์ ปัญหา (P) MSC

al Utility) อรรถประโยชน์ที่เกิดจากการบริโภค ผลผลิ ต หน่ ว ยหลั ง สุ ด จะค่ อ ยๆ ลดน้ อ ยลงโดย ล�ำดับ เหมือนคนที่ก�ำลังหิว การกินก๋วยเตี๋ยว ชามที่ 1 จะให้อรรถประโยชน์หรือให้ประโยชน์ สุขแก่คนผู้นั้นมากที่สุด แต่เมื่อกินก๋วยเตี๋ยวชาม ที่ 2,3,4 ต่อไป ประโยชน์สุขหรืออรรถประโยชน์ ที่คนผู้นั้นได้รับจากการกินก๋วยเตี๋ยวชามหลังสุด จะลดน้อยลงโดยล�ำดับเมือ่ เทียบกับก๋วยเตีย๋ วชาม แรกๆ ที่กินเข้าไป ท�ำให้เส้น MSB มีลักษณะ ลาดลงในลักษณะเป็นเส้นโค้ง

T

MSB

ความเติบโตทางเศรษฐกิจ (S)

ถ้าน�ำกรอบการวิเคราะห์หน่วยสุดท้าย (marginal analysis) มาช่วยอธิบายเรื่องนี้ จากกราฟ ให้เส้น MSC เป็นเส้นต้นทุนทางสังคมโดยรวม หน่วยหลังสุดหรือหน่วยสุดท้ายในการวิเคราะห์ (marginal social cost) และเส้น MSB เป็นเส้น ประโยชน์สุขโดยรวมทางสังคมหน่วยหลังสุดหรือ หน่วยสุดท้ายในการวิเคราะห์ (marginal social benefit) ถ้าปราศจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจเพือ่ เพิม่ ผลผลิต (S) ให้เพียงพอต่อการบริโภคของผูค้ น ปัญหา (P) ของระบบสังคมการเมืองนั้นๆ ก็จะอยู่ ในระดับสูง (ตามสมการ P = D/S) ฉะนัน้ การสร้าง ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มผลิตผล มวลรวมประชาชาติแต่ละหน่วย จึงท�ำให้ระดับ ปัญหาของสังคมมนุษย์ลดน้อยลงโดยรวมตามเส้น MSB ที่ลาดลง แต่ตามกฎการถดถอยของอรรถประโยชน์ หน่วยสุดท้าย (Law of Diminishing Margin-

ขณะเดี ย วกั น การสร้ า งความเจริ ญ เติ บ โต ทางเศรษฐกิจแต่ละหน่วยก็มีต้นทุนทางสังคมโดย รวมแฝงอยู่ เช่น ต้องน�ำทรัพยากรที่มีจ�ำกัดของ ประเทศมาใช้ในการสร้างผลผลิต รวมถึงก่อให้เกิด มลภาวะที่เป็นโทษต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์อัน เป็นผลตกค้างจากกระบวนการผลิต เป็นต้น ยิ่ง ทรัพยากรที่มีจ�ำกัดถูกน�ำมาใช้เพื่อการผลิตจนมี ปริมาณเหลือน้อยลงเท่าไร มูลค่าของทรัพยากร หน่ ว ยต่ อ ๆ ไปที่ เ หลื อ น้ อ ยลงก็ จ ะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ๆ เท่านั้น ดังเช่นน�้ำมันที่สมัยก่อนมีราคาถูก แต่ เมื่อน�้ำมันในโลกทุกวันนี้เหลือน้อยลง ราคาน�้ำมัน ปัจจุบันก็เพิ่มสูงขึ้นตามกลไกตลาด จนกลาย เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ดึงให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและ บริการต่างๆ เพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้เส้น MSC มี ลักษณะลาดชันขึ้น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ต้ น ทุ น ทางสั ง คมของ มลภาวะทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิตและการบริโภค ซึ่งปรกติมักจะซ่อนตัวอยู่ในรูปภาวะแฝง (potentiality) ของต้นทุนความเสี่ยงต่อภัยพิบัติจาก วิกฤตการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ เมื่อสะสมตัว จนถึงจุดมวลวิกฤติของปัญหาที่ระบบนิเวศน์ของ โลกไม่สามารถรองรับได้ ก็จะเป็นเสมือนระเบิด เวลาแต่ละลูกที่ระเบิดขึ้น และสร้างความเสีย หายรุนแรงปรากฏตัวสู่ภาวะจริง (actuality) ให้ เห็นเป็นรูปธรรม ดังกรณีวิกฤติปัญหาภาวะโลก ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๓๑๔ กันยายน ๒๕๕๙

63


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.