ฉบับที่ 43 ประจ�ำเดือนสิงหาคม 2556
หน้า 12
สัม ภาษณ์พิเศษ โชคชะตา ฟ้าลิขิต ไม่มีใครจะเลือกเกิดได้ บางคนจะ เกิดอยู่ในชนบทห่างไกล ทุรกันดาร ในครอบครัวยากจน แต่การก�ำหนดอนาคต สามารถสร้างด้วยตัวเองได้ด้วย ความมุมานะไฝ่เรียน ไม่เอาความท้อแท้ น้อยเนือ้ ต�ำ่ ใจมา เป็นอุปสรรค จนท�ำให้หลายคนก้าวไปสู่ความส�ำเร็จใน ชีวิต ดังเช่นท่านลัดดาวรรณ หลวงอาจ ท่านลัดดาวรรณ หลวงอาจ ผู้พิพากษาศาลแพ่ง เป็นหนึง่ ในบุคคลตัวอย่างของรางวัลแห่งความทุม่ เท บาก บั่น แม้เส้นทางการศึกษา นับตั้งแต่ ม.1 จนถึง ม.6 เป็น นักเรียนของ กศน.มาโดยตลอด และเข้าท�ำงานในโรงงาน
คอยรับ ภาพทีย่ งั จ�ำได้ตดิ ตาคือ เจ้าหน้าทีค่ อยตะโกนบอก เราด้วยเสียงดัง ให้จับกลุ่มกันไว้ กลัวจะหลงทาง จนคน แถวนัน้ หันมามองด้วยสายตาเวทนาสงสาร บางคนถามว่า เพิ่งมากรุงเทพครั้งแรกเหรอ จากนั้นเจ้าหน้าที่ของโรงงานก็รับไปส่งที่โรงงาน ให้ พักร่วมกับพนักงานคนอื่นที่อยู่ก่อนแล้ว ห้องละ 8 คน ไป ท�ำงานวันแรกก็เป็นลมเพราะเหม็นปลาทููน่ามาก สภาพที่ นี่ล�ำบาก อึดอัด มาวันแรกก็คิดถึงบ้านใจแทบขาด ยายไม่ เคยปล่อยให้ล�ำบากเลย แต่ก็คิดได้ว่าเราไม่ได้มาเพื่อ หาความสบาย แต่มาเพือ่ หาอนาคตทีด่ กี ว่า ชอบทีน่ เี่ พราะ ได้ทำ� งานกะกลางคืน จะได้มเี วลาไปหาทีเ่ รียนในตอนกลาง วัน แต่ท�ำงานได้แค่เดือนเดียวโรงงานต้องเลิกกิจการ เลย ต้องไปหางานที่ใหม่ พอไปท�ำงานที่อื่น เข้างานสามกะ เช้า บ่าย ดึก เวียน
พอหายเหนื่อย ก็พาแม่มาท�ำงานก่อสร้าง เหตุที่มา ท�ำงานก่อสร้างเพราะมีทพี่ กั เราจะได้ไปหางานโรงงานท�ำ และหาที่ เ รี ย นต่ อ ได้ ต่ อ มาก็ ไ ด้ ง านโรงงานแถว สมุทรปราการ เลยส่งแม่กลับบ้านนอก ตอนนัน้ ตัง้ ใจว่าจะ เรียนรัฐศาสตร์ เพราะมีคนแนะน�ำว่าเป็นสาขาเดียวที่เด็ก กศน.เรียนจบ แต่ก็ไม่ได้เรียน เพราะ โรงงานมีนโยบายไม่ จ้างพนักงานประจ�ำ ท�ำงาน 4 เดือน เขาก็ไม่จ้างต่อ แต่ จ้างคนใหม่แทน โครงการเรียนเลยต้องพักไว้ก่อน ต่อมาได้งานใหม่ทโี่ รงงานเครือ่ งแฟกซ์แถวบางปะกง ตอนนี้คิดจะสมัครเรียนรามฯอีกครั้ง หลังจากศึกษาข้อมูล ก็เชือ่ ตัวเองว่าเราจะเรียนนิตศิ าสตร์ได้ดกี ว่ารัฐศาสตร์ เลย สมัครเรียนนิติฯ สองปีแรกก็ยังท�ำงานด้วยเรียนด้วย แต่ พอปีที่สามได้กู้เงินของ กยศ. จึงเรียนอย่างเดียว ใช้เวลา เรียนรามฯ 3 ปี จากนัน้ ก็ไปเรียน เนติฯ อีก 1 ปีกจ็ บ ช่วง
สนใจจะฟังหรืออ่าน เช่น มาเรียนหนังสือก็ทอ่ งตัวบทอย่าง เดียว เพราะคิดว่าตัวบทส�ำคัญทีส่ ดุ พอจ�ำตัวบทได้แล้วเรา ก็เอาไปปรับใช้ได้เลย แต่ไม่เคยสนใจว่าคนอื่นเค้าปรับใช้ กฎหมายกันยังไง กฎหมายมีทมี่ ามีแนวคิดยังไง มีตวั อย่าง ที่คนอื่นเคยเอากฎหมายแบบนี้ไปปรับใช้หรือเปล่า ที่เรา คิดตรงกับที่คนอื่นคิดหรือเปล่า มีคนแบบเราหรือเปล่า แล้วผลของการคิดแบบนี้ มีข้อดีข้อเสียยังไง คนที่คิดเป็นไม่ใช่คิดอะไรใหม่ขึ้นมาทั้งหมดในคราว เดียวกัน แต่คนที่คิดเป็น จะศึกษาหาข้อมูลอย่างรอบด้าน มองข้อดีและข้อเสียของสิ่งนั้น น�ำความคิดดีๆของคนอื่น มาคิดต่อ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ปรับปรุงให้ดียิ่งๆขึ้นไป คติในการด�ำรงชีวิต และการท�ำงาน ในช่วงต้นของชีวติ คิดว่าตัวเองเรียนอะไรก็ได้ ท�ำงาน อะไรก็ได้ ขอให้มเี งินส่งเสียครอบครัวละกัน พอมาเรียนกฏ
“ลัดดาวรรณ หลวงอาจ” จากเด็กบ้านนอก-สาวโรงงาน สู่...ท่านผู้พิพากษา
หน ้าคณะนิตศ ิ าสตร์ ม.รามฯ
“
ที่เรียนเนติฯ ยังได้เงินกู้ของกยศ.อยู่ เพราะเป็นช่วงคาบเกียวกัน พอจบ เนติฯแล้วก็สอบบรรจุเข้ารับราชการ ได้ที่ ป.ป.ช. ท�ำงานอยู่ ป.ป.ช. เกือบ 4 ปี แล้วไปสอบผู้พิพากษาได้ในการ สอบครั้งที่ 2
การได้ช่วยคนอื่นที่ก�ำลังมีทุกข์ ได้แบ่งปันความรู้ความสุขที่มีให้แก่ผู้อื่น อสู้ชีวิต ท�ำให้ชีวิตมีค่ามีความหมายและมีความสุข มาจนถึแรงบังทุกนวัดาลใจในการต่ นนี้
“
ส่งเสียตัวเองเรียนม.รามฯ แต่มีสิ่งส� ำคัญที่ผลักดันไปสู่ ประสบความส�ำเร็จในชีวติ ก็คอื นิสยั รักการอ่าน ติดตัวมา ตั้งแต่เยาว์วัย ท่านลัดดาวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2519 ใน ครอบครั ว ค่ อ นข้ า งยากจน ที่ ห มู ่ บ ้ า นทุ ่ ง เทิ ง ต.โป่ ง อ.ด่านซ้าย จ.เลย พ่อแม่ยึดอาชีพท�ำการเกษตร ปลูก ข้าวโพด และเลี้ยงวัว ผูพ้ พิ ากษาแห่งบ้านทุง่ เทิงเล่าประวัตชิ วี ติ ผ่านเฟซบุค๊ เพจ “กฎหมายกับธรรมะ” ว่า ดิฉันเกิดที่หมู่บ้านเล็กๆ ในจังหวัดเลย คนในหมูบ่ า้ นมีอาชีพท�ำไร่ ท�ำนา ทีห่ มูบ่ า้ น ไม่คอ่ ยมีแหล่งน�ำ้ ท�ำการเกษตร ต้องอาศัยน�ำ้ ฝนเพียงอย่าง เดียว ท�ำนาได้ปีละครั้ง ต้องไปยืมเงิน ธ.ก.ส. มาลงทุน ท�ำ ไร่ขา้ วโพด ไร่ขา้ ว ตัง้ แต่เล็กจนโตก็เห็นพ่อแม่ทำ� งานหนัก แต่รายได้ต�่ำ เป็นหนี้ ธ.ก.ส. รายได้ไม่พอกับรายจ่าย ก็ เลยอยากจะแบ่งเบาภาระของพ่อแม่บ้าง แต่โดยส่วนตัว แล้วเป็นคนท�ำงานหนักไม่ไหว ท�ำไร่ท�ำนา ไม่เป็น เพราะ ยายเลี้ยงมาแบบทนุถนอม ไม่เคยท�ำงานบ้านเอง ไม่เคย ซักผ้าเอง ยายท�ำให้ตลอด หลังจบประถมศึกษา พ่อแม่ก็ ให้ออกมาช่วยท�ำไร่ ท�ำนา แต่ท�ำได้ไม่ดีพอ พ่อแม่ให้ไป เลี้ยงวัวเลี้ยงควาย ก็ท�ำได้ไม่ดีอีก เพราะมัวแต่ฟังละคร วิทยุ จนวัว ควาย แอบไปกินพืชไร่ของชาวบ้าน ชาวบ้าน ชอบพูดกันว่า ดิฉนั เป็นคนท�ำอะไรไม่ได้เรือ่ ง ถ้าไม่มพี อ่ แม่ คอยดูแลแล้วจะเอาตัวรอดได้ไง พอได้ฟงั แบบนัน้ ก็เสียใจ นะ และคิดว่าตัวเองคงไม่เหมาะกับการท�ำไร่ท�ำนา เรา อยากเรียนหนังสือมากกว่า อยากไปหางานอื่นท�ำและส่ง เงินมาให้พ่อแม่ แต่ก็เข้าใจนะว่าพ่ออยากส่งเรียนแต่ไม่มี เงิน พอดีฟังวิทยุเค้าบอกว่ามีการเรียนทางไกล ที่ศูนย์การ ศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดเพชรบูรณ์ เรียนวันอาทิตย์วัน เดียวก็ได้วฒ ุ เิ ทียบเท่า ม.ต้น เลยขอพ่อไปเรียน แม่กบั ยาย ไม่อนุญาต เพราะเป็นห่วง แต่ได้ไปเรียนเพราะพ่ออนุญาต ถึงยายจะไม่เห็นด้วยที่ดิฉันจะไปเรียนแต่ในเมื่อห้าม ไม่ได้ ยายก็ไม่ได้ว่าอะไร การไปเรียนต้องเดิงลงเขาระยะ ทาง 3 กิโลเมตรเพื่อมาขึ้นรถเมล์ที่ถนนใหญ่ ยายก็แค่ขอ ตามไปส่ง เพราะทางเข้าหมู่บ้านมันเปลี่ยว ยายเป็นห่วง โดยส่วนตัวไม่อยากให้ยายไปรับส่งเลยเพราะอายเพือ่ น คน อืน่ เค้าไปไหน มาไหน เขาก็ไปคนเดียวได้ ไม่เห็นต้องมีใคร คอยตาม ถนนเส้นนี้ไม่ได้เปลี่ยวอะไรเลย มีคนผ่านไปมา ตลอด แต่วา่ ไม่จะพูดยังไงยายก็ไม่ยอม สุดท้ายตลอดระยะ เวลา หนึง่ ปีทไี่ ปเรียน ยายก็จะเดินตามไปส่งทีป่ ากทางเข้า หมู่บ้าน และไปนั่งรออยู่ที่บ้านภารโรงของโรงเรียนที่อยู่ ปากทางเข้าหมู่บ้าน จนกระทั่งดิฉันกลับมาในตอนเย็น พออายุครบ 15 ปี ก็มีความคิดอยากไปท�ำงานและ หาที่เรียนในเมืองใหญ่ ก็ไปขออนุญาตพ่อแม่ แม่และยาย ไม่อนุญาตเหมือนเดิม ที่ได้ไปเพราะพ่ออนุญาต จากนั้น ก็ไปหางานที่ส�ำนักจัดหางานอ�ำเภอด่านซ้าย เขาก็ส่งดิฉัน และเพื่อนในหมู่บ้าน ไปท�ำงานที่โรงงานปลากระป๋อง ที่ จังหวัดนครปฐม นับเป็นครั้งแรกในชีวิตที่ได้ออกจากบ้าน นอก เดินทางโดยรถทัวร์ไปลงที่หมอชิต มีเจ้าหน้าที่จาก ส�ำนักจัดหางานคอยดูแล และมีเจ้าหน้าที่จากโรงงานมา
กันตลอด วันหยุดก็ไม่แน่นอน ท�ำให้เรียนหนังสือไม่ได้ ก็ ต้องไปหางานใหม่อีก และมีเงื่อนไขอีกอันคือ ความเป็น เด็กบ้านนอก ไปไหนต้องมีเพื่อนหมู่บ้านเดียวกันไปด้วย พอท�ำงานจะลงตัว ก�ำลังจะได้ที่เรียน เพื่อนบอกว่าทน ความล�ำบากไม่ไหวละ กลับบ้านดีกว่า เราก็ตอ้ งตามเพือ่ น กลับบ้าน เพราะไม่กล้าอยู่คนเดียว เป็นอยู่แบบนี้หลาย ครั้ ง จนครั้ ง สุ ด ท้ า ยก็ ก ลั บ ไปท� ำ งานโรงงานปลา กระป๋อง ที่ที่เคยท�ำที่แรก และได้ที่เรียน ม.ปลาย ครั้งนี้ เพื่อนจะกลับบ้านอีก เลยตัดสินใจขอพ่อแม่ อยู่คนเดียว และเรียนต่อจนได้วุฒิ ม.ปลาย มาด้วยความเหนื่อยล้า ท้อใจ ไม่รจู้ ะเอาวุฒไิ ปใช้ทำ� อะไร ประกอบกับตอนนัน้ คน ทีช่ อบพอกันอยูท่ บี่ า้ นนอก เค้ารอเราไม่ไหว หนีไปแต่งงาน เลยยิ่งท้อหนักเข้าไปอีก ตอนนั้นคิดว่าถ้าย้อนเวลาได้ จะ ไม่รงไม่เรียนมันแล้ว กลับไปท�ำไร่ท�ำนาดีกว่า แต่คิดได้ก็ สายเกินไป มาจนถึงขนาดนี้แล้ว ต้องเดินหน้าต่อไป แต่ กลับบ้านนอกพักเอาแรงก่อน
สมัยเด็ก กับยาย แม่ และน ้องสาว
แรงบันดาลใจที่ส�ำคัญที่สุด คง เป็นครอบครัวค่ะ เพราะตั้งแต่เด็กเห็นพ่อแม่ท�ำงานหนัก แต่รายได้ไม่พอกับรายจ่าย เราจะคิดเสมอว่า อยากเรียน สูง ท�ำงานดีๆ เพื่อให้พ่อแม่สบาย และแรงบันดาลใจอีก อย่างคือ เป็นคนไม่ชอบใช้กำ� ลังในการท�ำงาน คิดว่าตัวเอง ท�ำไร่ท�ำนาไม่ไหว และไม่ชอบ เลยต้องหาสิ่งที่เราชอบท�ำ เพื่อพิสูจน์ว่าเราก็มีดีเหมือนกันนะ เคล็ดลับในการเรียนนิติศาสตร์ ต้องฝึก มากๆ ฝึกเขียน ฝึกท�ำข้อสอบเก่า ปัญหาหลัก ของนักกฎหมายในตอนนี้ คือ เราเน้นอ่าน เน้นท่องจ�ำกัน มากเกินไปจน ท�ำให้ไม่สามารถถ่ายทอดความรูท้ มี่ อี อกไป ได้ ถ้าเราได้ฝึกท�ำโน๊ตย่อ สรุปสาระส�ำคัญวิชากฎหมาย ให้เป็นภาษาของเราเอง ฝึกเขียนค�ำตอบข้อสอบเก่าบ่อยๆ จะท�ำให้ความคิดเราเป็นระบบ สามารถถ่ายทอดสิ่งที่รู้ให้ คนอื่นเข้าใจได้ ปัญหาหลักๆที่ท�ำให้ไม่เราไม่ประสบความส�ำเร็จใน การเรียนคือเราเน้นส่วนใดหนึง่ มากเกินไป เช่นบางคนเน้น ส่วนรับข้อมูลคืออ่านและฟังมามาก พยายามที่จะจ�ำให้ได้ ทุกอย่าง แต่ขอ้ มูลในหัวเยอะมาก จึงไม่สามารถจ�ำอะไรได้ เมื่อเรามุ่งแต่จะจ�ำ ท�ำให้เราไม่สามารถคิดได้เอง เวลาเจอ ปัญหาใหม่ก็ท�ำอะไรไม่ถูก เพราะไม่เคยเรียนรู้ที่จะคิด ในทางตรงข้ามบางคนก็เน้นทีจ่ ะถ่ายทอดข้อมูลอย่าง เดียว คือพยายามคิด พยายามพูด พยายามเขียนแต่ไม่เคย
ชุดสาวโรงาน กับเพือ ่ นๆ
้ ครูณรงค์ ช่วยชาติ อดีตครูประจ�ำชัน
หมายคิดว่าทีส่ ดุ ของสายกฎหมายก็คอื การเป็นผูพ้ พิ ากษา เป้าหมายก็ชัดเจนนับแต่นั้น จากนัน้ ศึกษาหาข้อมูล วางแผนหาวิธกี ารทีจ่ ะเดินไป สู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ ต่อมาก็สอบได้ตอนอายุยี่สิบเจ็ดปี พอ สอบได้แล้วรูส้ กึ ไม่รจู้ ะท�ำอะไรต่อเพราะสิง่ ทีเ่ ราตัง้ ใจไว้มนั ส�ำเร็จแล้ว เคว้งคว้างไปสักพัก สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการ ด�ำเนินชีวิตที่ผ่านมาอย่างหนึ่งก็คือ เราอยากได้อะไร เรา จะได้สิ่งนั้น ถ้าเราต้องการมันจริงๆ เราก็จะมีใจหาวิธีการ ให้ได้มาจนได้ แต่ปัญหาคือ ที่เราอยากได้นั้น เป็นสิ่งที่เรา ต้องการจริงๆหรือไม่ และถ้าเราได้มันมาแล้ว มันจะท�ำให้ เรามีความสุขจริงๆอย่างที่คิดหรืิอเปล่า ตอนนี้ ค้นพบเป้า หมายใหม่ คือ ท�ำยังไงจะมีแนวทางการด�ำเนินชีวิตที่ถูก ต้ อ งและมี ค วามสุ ข จนสามารถส่ ง ผ่ า นความสุ ข และ แนวทางนั้นให้แก่ผู้อื่นได้ ตอนนี้ก�ำลังศึกษาเส้นทางนี้อยู่ นับแต่ได้ศึกษาเส้นทางนี้รู้สึกว่าการได้ท�ำหน้าที่คนกลาง ยุติข้อพิพาทให้คนอื่น การได้ช่วยคนอื่นที่ก�ำลังมีทุกข์ ได้ แบ่งปันความรู้ความสุขที่มีให้แก่ผู้อื่น ท�ำให้ชีวิตมีค่ามี ความหมายและมีความสุข คติในการด�ำรงชีวิตในตอนนี้ คือ การใช้ชวี ตให้สงบเย็นและเป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและ ผู้อื่นค่ะ ท่านลัดดาวรรณกล่าว ทัง้ นี้ ทีมข่าวเลยไทม์พลัสนิวส์ได้เดินทางไปทีบ่ า้ นของ ท่านลัดดาวรรณที่หมู่บ้านทุ่งเทิง ต.โป่ง อ.ด่านซ้าย มี โอกาสได้คยุ กับครูณรงค์ ช่วยชาติ อดีตครูประจ�ำชัน้ ของ ท่านลัดดาวรรณ เมื่อครั้งเรียนอยู่ชั้น ป.6 โรงเรียนบ้านทุ่ง เทิง ครูณรงค์เล่าว่า ท่านลัดดาวรรณชอบอ่านหนังสือ มาก เวลาว่างมักจะอยูใ่ นห้องสมุด ไม่ออกไปวิง่ เล่นเหมือน เพื่อนๆ คนอื่นในชั้นเรียน ครูเล่านิทานให้ฟังแล้วติดขัด เพราะครูจ�ำไม่ค่อยได้ ท่านลัดดาวรรณก็จะลุกขึ้นเล่าต่อ ได้จนจบ เพราะนิทานเรื่องที่ครูเล่า ท่านลัดดาวรรณอ่าน จบมาหมดแล้วหลายรอบ “น่าเสียดายทีส่ มัยนัน้ ไม่มชี อ่ งทางส่งเสริมสนับสนุน หรือมีทุนให้ไปเรียนต่อในที่ดีๆ เพราะโรงเรียนบ้านทุ่งเทิง อยู่ในถิ่นทุรกันดาร โอกาสน้อยกว่าโรงเรียนในเมือง” ครูณรงค์เล่าอีกว่า หลังได้ทราบว่าท่านลัดดาวรรณ ได้เป็นผูพ้ พิ ากษาก็รสู้ กึ ยินดี ปลืม้ ใจเป็นอย่างมาก เมือ่ ปีที่ ผ่านมานี้ ท่านลัดดาวรรณได้กลับมาเยี่ยมบ้าน พร้อมกับ นัดเพือ่ นๆ ทีเ่ รียนรุน่ เดียวกันมาจัดงานศิษย์เก่า ระดมเงิน บริจาคให้โรงเรียนด้วย ซึง่ งานนีไ้ ม่เคยเกิดขึน้ นับตัง้ แต่ตงั้ โรงเรียน ครูณรงค์กล่าว เรื่องราวของท่านลัดดาวรรณ นับเป็นตัวอย่างที่ดี ของเยาวชนทีน่ า่ น�ำไปปรับใช้กบั ชีวติ อนาคตทีด่ ี อาชีพ การงานทีม่ นั่ คง อยูไ่ ม่ไกลเกินความสามารถ หากมีความ พยายาม มุ่งมั่น.