2 minute read

E-Talk

EDITOR TALK

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Advertisement

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th

คณะที่ปรึกษา

ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�านวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�าพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก กรรณิการ์ ศรีวรรณ์ โรงพิมพ์ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today

www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

กระทรวงสาธารณสุขตั้งเป้า ต.ค. นี้ ฉีดวัคซีนให้คนไทยทั้งหมด 24 ล้านโดส มั่นใจสิ้นปีนี้คนไทย 60 ล้านคน ฉีดวัคซีนเข็มแรก 85%

ท่ามกลางสถานการณ์เชื้อไวรัส COVID-19 ที่ยังแพร่ระบาดในไทยและ ทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง ส�าหรับประเทศไทยมีเรื่องที่น่ายินดีที่ยอดฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 ในไทยก็เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน โดยเฉพาะเดือนกันยายน เพียงเดือนเดียวมียอดการฉีดวัคซีนสะสมทะลุ 21,184,811 โดส แบ่งเป็น เข็มแรก 8,782,734 โดส เข็มที่ 2 จ�านวน 11,625,824 โดส และเข็มที่ 3 จ�านวน 776,253 โดส ส่งผลให้นับตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์-30 กันยายน 2564 ที่ผ่านมา ไทยมียอดฉีดวัคซีนสะสมทั้งสิ้น 53,784,812 โดส แบ่งเป็นเข็มแรก จ�านวน 32,577,832 โดส เข็มที่ 2 จ�านวน 19,838,574 โดส และเข็มที่ 3 จ�านวน 1,368,406 โดส ส่วนแผนการจัดหาวัคซีนในเดือนตุลาคมนั้น รัฐบาลได้ตั้งเป้าวัคซีนทั้ง 3 ชนิด จ�านวน 24 ล้านโดส และจะมีซิโนฟาร์มเพิ่มเข้ามาอีก 6 ล้านโดส รวมเป็น 30 ล้านโดส โดยมีแผนจัดสรรและฉีดวัคซีน (1-31 ตุลาคม) เข็มแรก ด้วย ซิโนแวค 6 ล้านโดส ไฟเซอร์ 4 ล้านโดส เข็มที่ 2 แอสตราเซเนกา 9 ล้านโดส ไฟเซอร์ 3 ล้านโดส เข็มที่ 3 แอสตราเซเนกา 1 ล้านโดส ไฟเซอร์ 1 ล้านโดส พร้อมตั้งเป้า 31 ธันวาคม 2564 นี้จะมีคนไทย 60 ล้านคน ได้รับ วัคซีนเข็มแรกคิดเป็น 85% ส่วนเข็มที่ 2 จะมียอดรวมที่ 52 ล้านโดส หรือ 74% มากกว่าแผนที่เคยตั้งไว้ที่ 70% ขณะเดียวกันการผลิตวัคซีนของคนไทย โดย บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ากัด มีความคืบหน้าไปมาก โดยใบยา ไฟโตฟาร์ม ได้พัฒนาวัคซีนจากต้นยาสูบพันธุ์ ที่มีปริมาณนิโคตินต�่า ด้วยการใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ จากการผลิตเฉพาะ โปรตีน หรือชิ้นส่วนของไวรัสที่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ ที่เรียกว่าซับยูนิตวัคซีน หรือโปรตีนวัคซีน และท�าการส่งถ่ายยีนเฉพาะชิ้นส่วนที่สามารถน�าไปเป็นโปรตีน ของไวรัสที่ต้องการได้ ในปัจจุบันบริษัทฯ มีโรงงานผลิตวัคซีนและยาชีววัตถุด้วย พืชที่ได้มาตรฐาน ซึ่งจะใช้ผลิตส�าหรับมนุษย์เป็นแห่งแรกในเอเชีย ทั้งนี้ วัคซีน COVID-19 ที่ใบยา ไฟโตฟาร์ม ผลิตขึ้นจะน�าเข้าทดสอบ ในมนุษย์ระยะที่ 1 ในช่วงสิ้นเดือนกันยายนนี้ ในขณะเดียวกันก็ได้มีการเตรียม วัคซีนรุ่นที่ 2 ที่มีการปรับสูตรที่ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น ซึ่งจะต้องรอดู ผลการศึกษาในเฟส 1 เพื่อน�าไปพัฒนาปรับปรุงต่อไป โดยคาดว่าประมาณ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2565 จะมีวัคซีนฉีดให้คนไทยได้ นับเป็นก้าวส�าคัญ ของอุตสาหกรรมยาและวิทยาศาสตร์ของไทย

Engineering Today CONTENTS

September • October 2021 Vol.5 No.185

10 E-Talk กระทรวงสาธารณสุขตั้งเป้า ต.ค. นี้ ฉีดวัคซีนให้คนไทยทั้งหมด 24 ล้านโดส มั่นใจสิ้นปีนี้คนไทย 60 ล้านคน ฉีดวัคซีนเข็มแรก 85% • กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Report 12 นักวิชาการแนะใช้ AI ให้เหมาะสมในงานแต่ละด้าน สร้างโอกาสในการพัฒนาประเทศ • กองบรรณาธิการ 16 ใบยา ไฟโตฟาร์ม พร้อมทดสอบวัคซีนในมนุษย์เฟส 1 สิ้นเดือนกันยายน คาดไตรมาส 3 ปีหน้า มีวัคซีนฉีดให้คนไทยได้ • กองบรรณาธิการ 20 Cover Story

RADAR IS THE BETTER ULTRASONIC • VEGA 22 Technology สกาย ไอซีที จับมือพันธมิตรพัฒนา “การสแกนหน้า” ตอบโจทย์ธุรกิจในไทย รับเทรนด์ “Face Recognition” พลิกโฉมธุรกิจโลก • กองบรรณาธิการ 24 Industry 4.0 ถึงเวลาขับเคลื่อน SME สู่โรงงานแห่งอนาคต • เหลียง ยิง ชุน 27 AI ฟีโบ้ พัฒนา “หุ่นยนต์ขนส่งอาหารและยา” ให้ รพ. ใช้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ลดความเสี่ยงบุคลากรทางการแพทย์ติดเชื้อ • กองบรรณาธิการ

16

30 Innovation นาโนเทค พัฒนา nSPHERE หมวกแรงดัน บวก-ลบ ลดการแพร่กระจายเชื้อ รับมือวิกฤต COVID-19 • กองบรรณาธิการ 33 Environment คพ. จับมือ สวทช. ใช้ Super Computer คาดการณ์แนวโน้มฝุ่น PM2.5 ได้เร็วขึ้น 15 เท่า รู้ล่วงหน้า 3 วัน • กองบรรณาธิการ 34 Big Data เพิ่มประสิทธิภาพให้ “Big Data” ด้วยฐานข้อมูลขนาดเล็กและกว้าง • มร.จิม ฮาเร่

IT Update 36 ความปลอดภัยของการท�างาน รูปแบบ Hybrid ในปัจจุบัน • ปีเตอร์ แชมเบอร์ส 39 แคสเปอร์สกี้ เผยองค์กรในไทย โดนภัยคุกคามผ่านมือถือเป็นอันดับ 2 ของอาเซียน รับกระแส Remote Working • กองบรรณาธิการ 42 Management Tools Today พระพุทธธรรมค�าสอน : พุทธวิธีเพื่อการ ดูแลตนเองในสถานการณ์โควิด-19 • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล