การขึ้นรูปโหละในสภาพร้อน

Page 1

หนวยที่ 9 ชื่อเรื่อง การขึ้นรูปโลหะสภาพรอน (Hot working of metal) หัวขอเรื่องยอย 9.1 การรีดขึ้นรูป 9.2 การตีขึ้นรูป 9.3 การอัดรีด 9.4 กรรมวิธีการผลิตทอ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายการขึ้นรูปโลหะสภาพรอนได 2. อธิบายการรีดขึน้ รูปได 3. อธิบายการตีขึ้นรูปได 4. อธิบายการอัดรีดได 5. อธิบายกรรมวิธีการผลิตทอได กิจกรรมหลัก 1. ครูนําเขาสูบทเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน - แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน - ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียน - อภิปรายหนาชั้นเรียน - ใบสั่งงานที่ 6 - ครูสรุปเนื้อหาสาระการเรียนประจําหนวย 4. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 5. ครูและนักเรียนตรวจแบบทดสอบ


153

การขึ้นรูปโลหะในสภาพรอน (Hot working of metal) การขึ้นรูปโลหะสภาพรอน โลหะจะตองอยูในสภาวะรอนพอที่จะนําไปขึ้นรูปได คือ จะตอง ใหอุณหภูมิโลหะประมาณ 500 ถึง 700 องศาเซลเซียส ซึ่งเปนชวงการเปลี่ยนแปลงผลึกโลหะจะมี ความออนงายตอการขึ้นรูป เชน รางรถไฟ ตะขอ ประแจ เปนตน การขึ้นรูปโลหะสภาพรอน มีขอดีดังนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงรูปรางใชพลังงานกระทํานอย 2. รูพรุนในเนื้อโลหะจะหมดไป 3. สิ่งเจือปนถูกขจัดออกไปบางสวน สิ่งเจือปนที่เหลือจะกระจายไปทั่วเนื้อโลหะ 4. เนื้อโลหะจะถูกบีบถูกตี จะทําใหเนื้อโลหะละเอียดแนนมากขึ้นและทําใหโลหะแข็งแรง มากขึ้นดวย 5. คุณสมบัติทางกลของโลหะจะดีขึ้น เนื่องจากเนื้อโลหะมีความละเอียดจนเปนเนื้อโลหะ เดียวกัน มีความแข็งแรงความตานทานตอแรงกระแทกแรงดึงดี การขึ้นรูปโลหะสภาพรอน มีขอเสียดังนี้ 1. เมื่อใชอณ ุ หภูมิในการขึ้นรูปสูง ก็จะทําใหเกิดตกสะเก็ด ผิวสําเร็จไมดี ไมสวย 2. ขนาดที่ไดไมแนนอน 3. คาใชจายในการขึ้นรูป การบํารุงรักษา ราคาแพง การขึ้นรูปโลหะสภาพรอนกระทําไดหลายวิธี ดังนี้ 9.1 การรีดขึ้นรูป (Rolling) การรีดขึน้ รูป เปนกรรมวิธีการผลิตที่จะตองทําการอบโลหะใหรอน ซึ่งมีโครงสรางเม็ดเกรน โลหะจะหยาบเมื่อผานลูกกลิ้ง เม็ดเกรนโลหะจะละเอียดและยาวขึ้น จนกระทั่งโลหะเย็นตัวจะได โครงสรางใหมที่เนื้อละเอียดตลอดเนื้อโลหะ เม็ดเกรนยาว โครงสรางเดิม

ผลึกที่ไดใหม

รูปที่ 9.1 โครงสรางของโลหะที่ผานการรีดรอน


154 การรีดขึ้นรูปจะมีขั้นตอนการทํา 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การรีดแทงเหล็ก (Ingot) ไดจากเหล็กหลอเปนเหล็กบลูม (bloom) เหล็กบิลเล็ท (billet) และเปนเหล็กสเลบ (Slab) ตามลําดับ - เหล็กบลูม (bloom) รีดเหล็กเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดอยางต่ํา 150x150 มม. - เหล็กบิลเล็ท (billet) รีดเหล็กเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหลายขนาดจาก 40x40 มม. จนถึงขนาดบลูม (bloom) - เหล็กสเลบ (Slab) รีดเหล็กเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาดความหนา 40 มม. ความกวาง 250 มม. ขั้นตอนที่ 2 นําเหล็กแทงจากขั้นตอนที่ 1 มารีดขึ้นรูป เปนแบบงานตางๆ ตามขนาดที่ตองการ เชน เหล็กสี่เหลี่ยม เหล็กแบน หรือโลหะแผนบาง เปนตน การรีดขึ้นรูปเหล็กจะตองเริ่มตนดวยการใหความรอนกับแทงเหล็กประมาณ 1,100 องศา เซลเซียส แลวผานลูกกลิง้ ขนาดตางๆ เพื่อลดขนาดใหไดชิ้นงานสําเร็จตามที่ตองการ

ลูกกลิ้งขาง

รูปที1่ . ลูกกลิ้ง 2 ลูก

รูปที2่ . ลูกกลิ้ง 4 ลูก

รูปที3่ . ลูกกลิ้ง 3 ลูก

รูปที่ 9.2 การจัดกลุมลูกกลิ้งรีดโลหะ ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 147

รูปที4่ . ลูกกลิ้งเปนกลุม


155 รูปที่ 1. เปนการรีดขึ้นรูปโดยการใชลูกกลิ้ง 2 ลูก โดยการรีดชิ้นงานเดินหนาหรือถอยหลัง กลับไป-กลับมา หลายๆครั้งจนไดขนาดชิ้นงานที่ตองการ รูปที่ 2. เปนการรีดขึ้นรูปโดยการใชลูกกลิ้งทั้งหมด 4 ลูกโดย 2 ลูกกลิ้งดานหลังเปนตัวชวยกด ใชสําหรับการรีดขึ้นรูปโลหะมีความกวาง รูปที่ 3. เปนการรีดขึ้นรูปโดยการใชลูกกลิ้งทั้งหมด 3 ลูก การทํางานก็เหมือนแบบใชลูกกลิ้ง 2 ลูก โดยการรีดขึ้นรูปจนสุดชิ้นงาน แลวก็ใสลูกกลิ้งดานลางอีกรอบหนึ่ง จนกวาจะไดขนาดตามที่ ตองการ รูปที่ 4. เปนการรีดขึ้นรูปโดยการใชลูกกลิ้งทั้งหมด 4 ลูก โดย 2 ลูกกลิ้งดานหลังเปนชวยกด ออกแรงมากขึ้น การรีดขึ้นรูปแบบบิลเลท (Billet) เปนการรีดขึ้นรูปขนาดใหญ ขนาด 100x100 มม. ใหไดเหล็ก กลมจะตองผานลูกกลิ้งรูปทรงตางๆ และตองผานการรีดขึ้นรูปถึง 10 ขั้นตอน ลูกกลิ้ง

รูปที่ 9.3 การรีดเหล็กบิลเลท (Billet) เปนเหล็กกลม


156 9.2 การตีขึ้นรูป (Forging) งานตีขึ้นรูป คือ การเปลี่ยนแปลงรูปรางโลหะเพื่อใหเหมาะสมที่จะนําไปใชงาน เนือ้ โลหะ จะละเอียดขึ้น รูพรุนตางๆในเนื้อโลหะจะมีขนาดเล็กลงทําใหคุณสมบัติโลหะดี ตัวอยางที่ไดจาก การตีขึ้นรูป เชน เพลา ตะขอ ประแจ และเครื่องมือตางๆ การตีขึ้นรูปแบงออกไดหลายกรรมวิธี ดังนี้ 1) การตีดวยคอน (Hammer or smith forging) กอนการตีขึ้นรูปจะตองใหความรอนกับ โลหะกอนจากนั้นก็นํามาตีขึ้นรูปบนทั่งดวยคอน โดยการใชคอนตีดวยแรงมือหรือใชแรงจาก เครื่องจักรก็ได ตัวอยางงานที่ตีขึ้นรูปดวยแรงมือ เชน มีด จอบ สกัด เปนตน ถาเปนชิ้นงาน ขนาดใหญๆ ก็ตีขึ้นรูปดวยเครื่องจักรดวยคอนขนาดใหญที่เปนแมพิมพ (die) ตีลงไปบนชิ้นงาน จากแรงไฮโดรลิก แรงสปริงหรือแรงลมก็ได ฝาปดปลอดภัย กระบอกสูบ

วาลว

โครง

แขนควบคุม

แกนเลื่อน ดาย ทั่งรอง

รูปที่ 9.4 เครื่องอัดไอน้ํา

ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 148


157

2) การทุบกระแทกขึ้นรูป (Drop Forging) การตีขึ้นรูปแบบนี้จะมีแมพิมพเหมือนกับ ชิ้นงาน แมพิมพสวนหนึ่งติดอยูกับคอน อีกสวนหนึ่งยึดติดกับโตะงานของเครื่องจักร กอนการตี เหล็กจะตองใหความรอนกับเหล็กอุณหภูมิประมาณ 1,100–1,250 องศาเซลเซียส จากนั้นนําเหล็ก วางลงบนแมพิมพตัวลางที่อัดติดกับโตะงานเครื่องจักร เปดเครื่องจักรตีอัดแมพิมพลงเบาๆแลวเพิ่ม แรงอัดมากขึ้นจนกระทั่งไดชิ้นงานตามขนาดที่ตองการ ดังภาพรูปที่ 9.5 กระบอกสูบหลัก

เพลาลูกสูบ

แนวบังคับแกนเลื่อน แกนเลื่อน

ตูควบคุม

แมพิมพบน แมพิมพลาง ทั่งรองแมพิมพ ที่เหยียบ 1. เครื่องอัดกระแทกแบบแรงโนมถวง ชิ้นงาน

แมพิมพ

2. ขั้นตอนการทุบกระแทก

รูปที่ 9.5 เครื่องอัดกระแทกและขั้นตอนการตีอัดขึ้นรูป ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 149


158 3) การตีอัดขึ้นรูป (Press Forging) การตีอัดขึ้นรูปเนนการใชแรงกดอัดลงบนชิ้นงาน ซึ่ง อยูในแมพิมพ แมพิมพอาจจะเปนแบบ 2 สวนหรือสวนเดียวก็ตาม โดยการอัดจากแรงนอยๆอัดลง ในแบบและเพิ่มแรงมากขึ้นๆจนไดชิ้นงานสําเร็จ ชิ้นงานที่ไดจะมีขนาดเทากันและผิวเรียบ ซึ่งแรง กดอาจจะไดมาจากระบบไฮดรอลิก หรือระบบกลไกที่มีกําลังอัดสูง

รูปที่ 9.6 ภาพเครื่องจักรกระแทกแนวนอน ที่มา:ทวี,กรรมวิธีการผลิต,หนา 290

รูปที่ 9.7 ภาพ แสดงแบบพิมพที่ใชตีขึ้นรูป ที่มา:ทวี,กรรมวิธีการผลิต,หนา 291


159 4) การตียน (Upset forging) การตียน เริ่มตนโดยการนําชิ้นงานที่ตองการตีขึ้นรูป ที่มี รูปรางเปนขอบหรือบา เชน สกรูหัวฝงเรียว หางเหยี่ยวหมุดย้ํา สกรูหัวจม เปนตน โดยการให ความรอนกับชิ้นงานแลวนําชิ้นงานใสเขาไปในแมพิมพ จากนั้นแทงอัดจะดันชิ้นงานเขาไปใน แมพิมพ 2-3 ครั้งก็จะไดชิ้นงานสวนหัว ชิ้นงาน

แทงอัด

แมพิมพ

1. การตีขึ้นรูปสวนหัวของงาน ชุดอุปกรณขึ้นรูป

งาน

สวนทายและเศษวัสดุที่ดันออก ภาพตัดกระบอกสูบ 2. การตีขึ้นรูปกระบอกสูบ

รูปที่ 9.8 การตียน (Upset forging) ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 151


160

5) การตีหมุนขึ้นรูป (Roll forging) การตีหมุนขึ้นรูปเริ่มตนจะตองใหความรอนกับชิน้ งาน กอนพอไดความรอนที่พอเหมาะแลวก็นําชิ้นงานใสเขาไปในลูกกลิ้ง โดยที่ชิ้นงานก็หมุนอยูด วย ตลอดเวลาจนไดขนาดชิ้นงานที่ตองการ เชน สกัด ทอเรียว ลอรถไฟ ใบมีด ชะแลง เพลา เปนตน ขั้นตอนแรก

ชิ้นงาน

ขั้นตอนสมบูรณ ลูกกลิ้ง

งานสําเร็จ

1. หลักการตีหมุนขึ้นรูป งาน

ลูกกลิ้งบังคับ

ลูกกลิ้งขึ้นขอบ

ลูกกลิ้งกด

ลูกกลิ้งหลักขับ

2. การตีหมุนขึ้นรูปลอ

รูปที่ 9.9 การตีหมุนขึ้นรูป

จากรูปที่ 9.9 เปนการแสดงการตีหมุนขึ้นรูปเพลา (wheel) โดยการนําชิ้นงานไปอบความรอน แลวนําเขาเครื่องรีด ลูกกลิ้งจะตีรีดจากขอบในออกมายังขอบนอกและชิ้นงานก็จะหมุนอยู ตลอดเวลา ทําแบบเดียวกันหลายๆรอบจนไดขนาดตามที่ตองการ 9.3 การอัดรีด (Extrusion) การอัดรีด เปนกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะสภาพรอน โดยการใชแรงอัดลงบนชิ้นงานออกมาเปน รูปทรงหนาตัดตางๆ เชน รูกลมหรือแทงตันก็ได ขั้นตอนการผลิตโดยการใชแทงตันดันโลหะผาน แมพิมพดวยแรงดันสูงๆจากระบบไฮดรอลิก ขอดีของชิ้นงานที่ไดจากการอัดรีด คือ ผิวเรียบ ไดขนาดถูกตอง แข็งแรง การอัดรีดชิ้นงาน ขนาดใหญๆจะตองมีการหลอลื่น โดยการใชผงฟอสเฟท ทาที่ผิวงานกอนที่จะทําการอัดรีดทุกครั้ง ซึ่งจะทําใหชิ้นงานไมติดแมพิมพ การอัดรีดสามารถแบงออกได 3 แบบ คือ 1) การอัดรีดโดยตรง (Direct extrusion) กรรมวิธีการอัดรีดโดยตรงเริ่มตนดวยการให ความรอนกับชิ้นงานใหไดอุณหภูมิพอเหมาะแลวนําใสเขาแมพิมพ จากนั้นก็ดันดวยแทงตันเพื่อให ชิ้นงานไหลผานแมพิมพออกมาขางหนา


161 แผนยึดแมพิมพ

แมพิมพ กระบอก แกนเลื่อน

งาน

แทงอัด

รูปที่ 9.10 การอัดรีดโดยตรง 2) การอัดรีดสวนทาง (Indirect extrusion) กรรมวิธีการอัดรีดสวนทางเริ่มตนดวยการให ความรอนกับชิ้นงานไดอุณหภูมิพอเหมาะ จากนั้นก็นําชิ้นงานใสเขาแมพิมพ แลวก็นําแทงอัด เคลื่อนที่ดันชิน้ งานเขาไปในแมพิมพ ชิ้นงานจะไหลสวนทางออกมาทางดานหลัง ซึ่งวิธีนี้จะใชแรง ขับนอยกวา เนื่องจากไมมีแรงเสียดทานระหวางแทงเหล็กกับผนังหองอัด ดังรูปที่ 9.11 แผนปด

กระบอก แกนเลื่อน

งาน แมพิมพ

รูปที่ 9.11 การอัดรีดสวนทาง 3) การอัดรีดแบบกระแทก (Impact extrusion) กรรมวิธีการอัดรีดแบบกระแทกเริ่มตนดวย การใหความรอนกับชิ้นงานใหไดอุณหภูมิพอเหมาะ จากนัน้ ก็นําชิน้ งานใสแมพิมพ และก็เคลื่อน แทงอัดกระแทกชิ้นงาน เขา-ออก ชิ้นงานจะวิ่งสวนกลับมาตามชองวางของแมพิมพ กรรมวิธีนี้จะ ไดชิ้นงานเปนทอหรือแทงก็ได

รูปที่ 9.12 ขั้นตอนการอัดรีดแบบกระแทก ที่มา:ธนรัตน,มณฑล,กรรมวิธีการผลิต,หนา 151


162

9.4 กรรมวิธีการผลิตทอ (Pipe and Tube manufacture) ทอที่ใชสําหรับงานตางๆมีมากมายหลายชนิดดวยกัน เชน ทอสงน้ํา ทอสงน้ํามัน ทอสงกาช ทอที่ใชสําหรับงานตางๆยอมมีความแตกตางกันไปตามความเหมาะสมอาจจะทําดวยเหล็ก อลูมิเนียม พลาสติก ทองแดง ก็ได การผลิตทอมีดวยกันหลายวิธีดังนี้ 1) การเชื่อมตอชน (Butt welding) กรรมวิธีแบบนี้จะตองใหความรอนกับแผนเหล็กแลว นําเขาเครื่องรีด ชวงการรีดจะตองใหความรอนอยางตอเนื่อง แผนเหล็กจะถูกบังคับดวยลูกกลิ้ง บังคับมวนใหกลมหรือเปนทอ และรีดผานกรวยเชื่อม จนทําใหขอบของทอเชื่อมประสานติดได ดังรูป แผนโลหะรอน

ทอที่เชื่อมแลว กรวยเชื่อม

1. การทําทอขนาดเล็ก ลูกกลิ้งทําหนาที่กรวยเชื่อม

2. การทําทอขนาดใหญ

รูปที่ 9.13 การผลิตทอแบบการเชื่อมตอชน 2) การเชื่อมตอชนดวยไฟฟา (Electric butt welding) กรรมวิธีนี้ จะตองใหความรอนกับ เหล็กแผน จากนั้นนําเขาเครื่องรีดบังคับใหเปนทอกอนที่ลูกกลิ้งจะบังคับใหติดกัน จะมีขดลวด ไฟฟา ซึ่งทําหนาที่เปนตัวเชื่อมประสานใหแผนเหล็กติดกัน จากนัน้ ก็จะตัดออกเปนทอน ยาวทอน ละ 6 เมตร ใชมีดกลึงปาดหนาปากทอใหเรียบ ทําเกลียวแลวชุบดวยสังกะสี จากนั้นก็ปดหัวดวยฝา พลาสติกทั้งสองขางเพื่อเกลียวจะไมเสียหาย


163 ลูกกลิ้งอิเล็กโทรด

เชื่อม

ลูกกลิ้งบีบ

ทอ

รูปที่ 9.14 การเชื่อมตอชนดวยไฟฟา ที่มา:ธนรัตน,มณฑล,กรรมวิธีการผลิต,หนา 153

3) การเชื่อมตอเกย (Lap welding) กรรมวิธีนี้กอนอื่นจะตองนําเหล็กแผนที่บากมุมทั้งสอง ขาง นํามาเขาเครื่องรีดดวยลูกกลิ้งออกมาเปนทอมีขนาดไมเที่ยงตรง จากนั้นนําเขาลูกกลิ้งบังคับ โดยมีแกนกลางที่มีขนาดเทากับรูในของทอ แลวนําเขาลูกกลิ้งบังคับใหความรอนพอที่จะใหเหล็ก ติดกันไดขอบของแผนเหล็กจะเกยกันแลวรีดทับจนเปนเนื้อเดียวกัน จากนั้นก็นํามาตัดเปนทอน ตามขนาดความยาวที่ตองการ ดังรูปที่ 9.15

ทอที่เชื่อมตอแลว

ลูกกลิ้งเชื่อม สวนโคงทอ

แทงแกน

รูปที่ 9.15 กรรมวิธีการผลิตทอแบบการเชื่อมตอเกย


164 4) การแทงขึ้นรูปหรือการผลิตทอที่ไมมีตะเข็บ (Piercing) การผลิตทอดวยกรรมวิธีนี้จะให คุณภาพสูงทนตอแรงอัดไดดี โดยการอบใหความรอนกับชิ้นงานอยูตลาดเวลาแลวผานลูกกลิ้ง โดยจะมีแทงเหล็กแกนกลางจะแทงทะลุชิ้นงานตลอด แลวผานแกนกลางแตงรูในใหเรียบ และผาน ลูกกลิ้งเพื่อปรับขนาดความโตนอกใหไดขนาดเดียวกัน กรรมวิธีแบบนี้สามารถทําทอไรตะเข็บ ไดเสนผาศูนยกลางรูถึง 150 มม.

แทงเหล็กกลม

ลูกกลิ้งเจาะรู

ลูกกลิ้งกัดขนาด ลูกกลิ้งแตงรูในเรียบ ลูกกลิ้งปรับขนาดนอก รูป 1 การทําทอไรตะเข็บขนาดเล็ก

ลูกกลิ้ง ชิ้นงาน

แกนกลาง

รูป 2 การทําทอไรตะเข็บขนาดใหญ

รูปที่ 9.16 แสดงขั้นตอนการทําทอไรตะเข็บ ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 154

การทําทอไรตะเข็บที่มีรูขนาดเสนผาศูนยกลางรูใหญ 360-600 มม. เวลาผลิตจะตองเปลี่ยน แกนกลางใหใหญขนึ้ เรื่อยๆ รวมทั้งใหความรอนกับชิ้นงานตลอดเวลาและลูกกลิ้งก็หมุนตลอด


165 5) การอัดรีดทอ (Tube extrusion) การอัดรีดทอ เปนกรรมวิธีการผลิตอีกวิธีหนึ่งที่ใช สําหรับผลิตทอไรตะเข็บ นิยมใชผลิตทอจากเหล็กกลาคารบอนต่ํา โดยการใหความรอนกับชิ้นงาน ประมาณ 1,300 องศาเซลเซียส จากนั้นก็ใชแทงเหล็กแกนกลมเปนตัวทํารูทออัดชิ้นงานเขาไปใน แมพิมพ โลหะจะไหลออกมา พรอมกับแทงเหล็กแกนกลางก็จะหมุนอยูตลอดดวยความเร็วขอบ ประมาณ 180 เมตร/นาที เพื่อจะทําใหรูทอเรียบและไดขนาดตามตองการ ทอ

แมพิมพ ทอพักรอน แกนอัด

รูปที่ 9.17 การอัดรีดทอ 6) การดึงขึ้นรูป (Drawing) การดึงขึ้นรูปเปนการทําทอโลหะกนตัน เชน ทีบ่ รรจุกาซตางๆ โดยมีวิธีการผลิตดังนีใ้ หความรอนกับโลหะแลวนําใสลงในแมพิมพตัวลาง จากนั้นก็เคลื่อนแทน แกนหรือแทงแมพิมพตัวบนลงมากดชิ้นงานลงไปในแมพิมพตัวลาง จนไดขนาดตามที่ตองการ

โลหะเหลว

พั้นชเจาะ

ทอกลวง

แมพิมพ แทงดันงาน

แมพิมพ

ทอรอน

ทอสําเร็จ

รูปที่ 9.18 แสดงการดึงขึ้นรูปทรงกระบอก


166

7) การหมุนขึ้นรูปรอน (Hot Spinning) กรรมวิธีนี้เปนการขึ้นรูปโดยการหมุนโลหะแลวใช ลูกกลิ้งรีดขึ้นรูปใหไดงานตามที่ตองการ อาจจะทําเปนขอบงานใหญๆ หรือการลดขนาดของทอ เชน ถังแกส คอขวด กระทะเหล็กขนาดใหญ เปนตน ชิ้นงาน

อุปกรณใหความรอน

ลูกกลิ้ง

รูปที่ 9.19 การหมุนขึ้นรูป

ที่มา:http://www.sakaekogyo.co.jp/thai/hot_spining.htm

8) กรรมวิธีผลิตเฉพาะ (Special method) เปนการผลิตชิ้นงานเฉพาะอยาง เชน การทํา อะลูมิเนียมแผน ดวยวิธีการรีดจากเม็ดอะลูมิเนียม โดยการนําอะลูมิเนียมไปหลอมเหลวจากนั้น ก็นํามาทําเปนเม็ดผานขบวนการจนถึงลูกกลิ้งแลวรีดออกมาเปนแผนยาวๆ

หลอ

อุน

รีดเปนแผน แผนอะลูมิเนียม

มวนเก็บ

รูปที่ 9.20 แสดงการทําแผนอะลูมิเนียม ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 156


167

หรือ การใชแมพิมพตัวผูหรือพั้นช (Punch) ทําการเจาะรูบนชิ้นงานในขณะที่กําลังตีขึ้นรูป พรอมกัน พั้นชเจาะ งาน

แมพิมพ

รูปที่ 9.21 การใชพั้นชชวยเจาะรู


172

แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ประจําหนวยที่ 9 เรื่อง การขึ้นรูปโลหะสภาพรอน ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย √ ลงในคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1. การขึ้นรูปโลหะสภาพรอนจะตองใหอุณหภูมิโลหะประมาณเทาไร ก. 300 – 500 C° ข. 500 – 700 C° ค. 700 – 900 C° ง. 900 – 1,100 C° 2. ขอใดคือขอดีของการขึ้นรูปโลหะสภาพรอน ก. แข็งแรงดี ข. เหนียวมากขึ้น ค. มีรูพรุนในเนื้อโลหะมาก ง. ผิวงานเรียบ 3. ลักษณะของโครงสรางของงานที่ขึ้นรูปโลหะสภาพรอนเปนอยางไร ก. สิ่งเจือปนแยกตัว ข. เม็ดเกรนสลับกัน ค. เม็ดเกรนละเอียด ง. เม็ดเกรนเรียงเปนระเบียบ 4. การรีดขึ้นรูปเหล็กจะตองใหความรอนกับเหล็กประมาณกี่องศา ก. 700 C° ข. 900 C° ค. 1,000 C° ง. 1,100 C° 5. สกรูหัวฝงเรียวที่ใชงานไดจากกรรมวิธีขอใด ก. การรีดขึ้นรูป ข. การตีขึ้นรูป ค. การทุบกระแทกขึ้นรูป ง. การตียน 6. ขอใดคือขอดีของการอัดรีด (Extrusion) ก. ผิวหยาบ ข. ผิวเรียบ ค. เหนียว ง. แข็ง 7. การอัดรีดชิ้นงานขนาดใหญๆ จะตองใชสารอะไรในการหลอลื่น ก. น้ํามันเครื่อง ข. น้ํามันหลอเย็น ค. ผงฟอสเฟท ง. จารบี 8. กรรมวิธีในขอใดที่ใชแทงเหล็กแกนกลางเปนตัวทํารูทอ ก. การเชื่อมตอเกย ข. การแทงขึ้นรูป ค. การอัดรีด ง. การดึงขึ้นรูป


173

9. กรรมวิธีการทําถังแกส กระทะเหล็กขนาดใหญ จะตองใชวิธีการในขอใด ก. การหมุนขึ้นรูปรอน ข. การดึงขึ้นรูป ค. การเชื่อมตอเกย ง. การเชื่อมตอชน 10. ขอใดไมใชกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะสภาพรอน ก. การรีดขึ้นรูป ข. การตีขนึ้ รูป ค. การอัดรีด ง. การย้ําหมุด ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้โดยการอธิบายสั้นๆพอเขาใจ 1. การขึ้นรูปโลหะสภาพรอนหมายถึงอะไร .................................................................................... ............................................................................................................................................................ 2. จงบอกขอดีของการขึ้นรูปโลหะสภาพรอนมา 3 ขอ ..................................................................... ............................................................................................................................................................ 3. จงบอกขอเสียของการขึ้นรูปโลหะสภาพรอนมา 2 ขอ ................................................................. ............................................................................................................................................................ 4. จงบอกกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะสภาพรอนมา 3 วิธ.ี ..................................................................... ............................................................................................................................................................. 5. วัตถุประสงคของการตีขึ้นรูป คือ ................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 6. การผลิตชิ้นงานที่เปนทอหรือแทงตัน จะใชวิธีใดจึงเหมาะสม ...................................................... 7. จงบอกชื่อ กรรมวิธีการผลิตทอ มา 3 วิธี ........................................................................................ ............................................................................................................................................................. 8. กรรมวิธีการผลิตทอวิธีใดใหคุณภาพสูงทนตอแรงอัดไดดีคือ …………………………………… 9. ทอบรรจุแกส ซึ่งเปนทอโลหะกนตัน ใชวิธีทําอยางไร .................................................................. 10. จงอธิบายการหมุนขึ้นรูปรอน ...................................................................................................... .............................................................................................................................................................


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.