การตกแต่งผิว

Page 1

หนวยที่ 14 ชื่อเรื่อง กรรมวิธีการตกแตงผิวชิ้นงาน (Metallic coating) หัวขอเรื่องยอย 14.1 การชุบดวยไฟฟา 14.2 วิธีอะโนไดซ (Anodizing) 14.3 วิธีพารคเคอรไรซ (Parkerizing) 14.4 การทําใหผิวแข็ง 14.5 การเคลือบชิ้นงานดวยน้ํายาแกว 14.6 การรมดํา 14.7 การเคลือบผิวดวยพลาสติก 14.8 การขัด 14.9 การอาบน้ํามัน 14.10 การทาสี จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายกรรมวิธีการตกแตงผิวชิ้นงานได 2. อธิบายการชุบดวยไฟฟาได 3. อธิบายวิธีอะโนไดซ (Anodizing) และวิธีพารคเคอรไรซ (Parkerizing) ได 4. อธิบายการทําใหผิวแข็งการเคลือบชิ้นงานดวยน้ํายาแกวได 5. อธิบายการรมดําและการเคลือบผิวดวยพลาสติกได 6. อธิบายการขัดและการอาบน้ํามันได 7. อธิบายการทาสีได 8. นักเรียนสามารถทํางานกลุมได


238

กิจกรรมหลัก 1. ครูนําเขาสูบทเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน - แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน - ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียน - อภิปรายหนาชั้นเรียน - ใบสั่งานที่ 8 - ครูสรุปเนื้อหาสาระการเรียนประจําหนวย 4. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 5. ครูและนักเรียนตรวจแบบทดสอบ


239

กรรมวิธีการตกแตงผิวของชิ้นงาน (Metallic coating) กรรมวิธีการตกแตงผิวของชิ้นงาน เปนสิ่งจําเปนและยอมรับในวงการอุตสาหกรรมปจจุบัน เปนอยางยิ่ง ซึง่ มีประโยชนคือเพื่อความสวยงามของชิ้นงานเพิ่มคุณคาใหกบั ชิ้นงาน นอกจากนั้น ยังชวยในการปองกันการกัดกรอน ทําใหชิ้นงานมีความทนทานตอสภาพการใชงานยาวนานยิ่งขึ้น กรรมวิธีการตกแตงผิวของชิ้นงานนั้นมีหลายวิธีการดวยกัน ดังตัวอยางตอไปนี้ 14.1 การชุบดวยไฟฟา (Electroplating) กรรมวิธีนี้เปนการเคลือบผิวชิ้นงานดวยโลหะอื่น เชน โครเมียม นิกเกิล ทองแดง เงิน สังกะสี ทอง ดีบุก เปนตน โดยการใชกระบวนการทางไฟฟาเพื่อทําใหผิวชิ้นงานสวยงามทนตอการ กัดกรอนและมีความแข็งแรงตามชนิดของโลหะที่นํามาเคลือบผิว วิธีการทําลําดับแรกนําชิ้นงานที่ตองการชุบทําความสะอาดใหเรียบรอย แขวนลงในถังชุบที่มี น้ํายาอิเล็กโทรไลท (Electrolyte) โดยใหอยูในขั้วลบ (Cathode) จากนั้นนําแทงโลหะบริสุทธิ์ ที่ตองการใหเคลือบผิวชิ้นงานแขวนอยูในขั้วบวก (Anode) แลวเปดกระแสไฟฟาตรง (DC Current) ขนาด 6-24 โวลท แทงโลหะบริสุทธิ์จากขั้วบวกก็จะละลายในรูปของอะตอมที่มีประจุไฟฟาวิ่งไป เกาะผิวชิ้นงาน ความหนาของผิวเคลือบจะหนามากหรือนอยขึ้นอยูกับความเขมของกระแสไฟฟา อุณหภูมิของน้ํายาอิเล็กโทรไลท ความสะอาดของชิ้นงานและคุณสมบัติของชิ้นงานเปนสําคัญ

ตัวลอ

ชิ้นงาน

อิออนบวก

อิออนบวก

อิออนลบ

อิออนลบ

ตัวลอหรือโลหะบริสุทธิ์ น้ํายาอิเล็กโทรไลท

รูปที่ 14.1 การชุบดวยไฟฟา


240

ตัวอยางการชุบเคลือบผิว ซึ่งมีหลักการเชนเดียวกับการชุบดวยไฟฟา เชน การชุบดวยสังกะสี (Galvanizing) เปนวิธีการที่ใชสําหรับชุบเหล็กแผนคารบอนต่ํา เชน แผนเหล็กสังกะสี เสาหอสูง แผนปายจราจร เปนตน การชุบดวยดีบุก (Tin coating) เปนวิธีการที่ใชสําหรับชุบเหล็กแผนบางเพื่อนํามาทํากระปอง บรรจุอาหารและเครื่องดื่ม การชุบโครเมียม (Chrome plating) เปนวิธกี ารชุบผิวโลหะเพื่อประโยชนของชิ้นงานทําให ผิวชิ้นงานทนตอการกัดกรอน ทนตอการขีดขวน เพราะโครเมียมมีคุณสมบัติแข็งแรงและทนตอ การกัดกรอนไดดี และการชุบเคลือบผิวชิ้นงานใหมีความหนาเพียงแค 0.05 มม. ก็เหมาะสมกับการ ใชงานไดแลว 14.2 วิธีอะโนไดช (Anodizing) เปนวิธีการชุบเคลือบผิวอะลูมิเนียม โดยการนําชิ้นงานอะลูมิเนียมมาแขวนที่ขั้วบวกและใช แทงตะกั่วเปนขั้วลบ สําหรับน้ํายาอิเล็กโทรไลทจะเปนกรดกํามะถันเจือจาง กรดออกชะลิก (Oxalic) หรือกรดโครมิก แลวปลอยกระแสไฟฟาเขาไประยะเวลาหนึ่งก็จะทําใหผิวชิ้นงานเปลี่ยนเปน อลูมิเนียมออกไซดคือเปนแผนฟลมบางๆ ปกคลุมและมีรูพรุนเล็กๆ จากนั้นทําใหชิ้นงานแหงและ นําไปพนสีหรือยอมสี สําหรับรูพรุนเล็กๆ จะทําใหสีติดแนนมากขึ้น วิธีการนี้ทําใหชิ้นงานอลูมิเนียมออกไซดทนตอการกัดกรอน มีความแข็งกวาเนื้ออะลูมิเนียม ที่อยูภายในและเปนตัวนําไฟฟา สําหรับการปองกันการกัดกรอนของโลหะที่ใชงานในความรอนสูงๆ เชน เตาเผา เตากลั่น น้ํามันและอุปกรณเตาเผาโลหะ ก็จะใชฟลมของอะลูมิเนียมออกไซดปกคลุมผิวโลหะซึ่งวิธีการนี้ เรียกวา เคโลไลช (Calorizing) แทงตะกั่ว (ขั้วลบ)

หมอแปลงไฟฟา น้ํายาอิเล็กโทรไลท

ชิ้นงานอะลูมิเนียม (ขั้วบวก)

รูปที่ 14.2 แสดงวิธีอะโนไดช


241

ปนโต

ชิ้นสวนเครื่องกล

รูปที่ 14.3 ตัวอยางชิ้นงานดวยวิธีอะโนไดช 14.3 วิธีพารคเคอรไรซ (Parkerizing) เปนวิธีการชุบเคลือบผิวโลหะดวยน้ํายาฟอสเฟต (Phosphate coating) วิธีการทําโดยการนํา ชิ้นงานจุมลงในน้ํายาฟอสเฟตที่มีสวนผสมของกรดฟอสเฟต แมงกานีส หรือฟอสเฟต ที่ความรอน อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียสทิ้งไวนานประมาณ 45 นาที ก็จะทําใหเกิดปฏิกิริยาทีผ่ ิวโลหะและโลหะ จะเปลี่ยนเปนฟลมสีเทาดํา และมีรูพรุนเล็กๆสามารถปองกันการกัดกรอนไดในระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้นเวลานําชิ้นงานไปใชงาน จึงจําเปนจะตองทาสีเพิ่มเติม เพื่อประโยชนตอการใชงานได ยาวนานขึ้น เชน ฝาตูเย็น ตูโลหะตางๆ เปนตน น้ํายาฟอสเฟต(ทีอ่ ุณหภูมิ 90 องศาเชลเซียส) ชิ้นงาน(ทิ้งไว45นาที)

รูปที่ 14.4 ภาพแสดงวิธีพารคเคอรไรซ (Parkerizing)

ฝาตูเย็น

ตูโลหะ

รูปที่14.5 ตัวอยางชิ้นงานดวยวิธีพารคเคอรไรช


242 14.4 การทําใหผิวแข็ง (Hard surfacing) เปนการชุบแข็งเฉพาะบริเวณผิวหนาชิ้นงานเทานั้น สวนเนื้อโลหะภายในใตผิวชิ้นงานจนถึง ใจกลางยังคงสภาพเดิม เพื่อประโยชนทําใหผิวชิ้นงานทนตอการกัดกรอน ทนแรงบิด หรือ กระแทกอยางรุนแรงไดโดยไมแตกหรือหัก เชน ขอเหวี่ยง เพลา เฟอง รางเลื่อนของเครื่องจักรกล หรือเครื่องมือวัดและตรวจสอบ การทําให ผิวชิ้นงานแข็งสามารถทําไดหลายวิธี ดังนี้ 14.4.1 การชุบโลหะ (Heat treatment) มีวิธีตางๆ ดังนี้ 1) วิธีเหนี่ยวนําไฟฟา (Induction hardening) วิธีการนีเ้ ปนการใหความรอนกับชิ้นงาน ดวยไฟฟา จากนั้นก็นําชิ้นงานจุมลงในสารตัวกลางอยางรวดเร็ว ชิ้นงาน ขดลวดไฟฟา กระแสไฟ ความถี่สูง ฝกบัว

น้ํา

รูปที่ 14.6 การชุบแข็งดวยวิธีเหนี่ยวนําไฟฟา 2) การชุบดวยเปลวไฟ (Flame hardening) วิธีการนี้เปนการใหความรอนกับชิ้นงานดวย เปลวไฟจากนั้นก็นําชิ้นงานจุมลงในสารตัวกลางอยางรวดเร็ว ออกชิเจน แกสเชื้อเพลิง

น้ําเขา

เปลวไฟ ฝกบัว งาน

รูปที่ 14.7 การชุบแข็งดวยเปลวไฟ ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 218


243

3) วิธีทําผิวแข็งพิเศษ (Special case-hardening) วิธีการนี้เปนการใหความรอนกับชิ้นงาน ที่ใสไวภายในกลองเหล็กที่บรรจุของเหลวหรือแกสไนโตรเจนหรือคารบอน 4) วิธีเติมคารบอน (Carburizing) วิธีการนี้เปนการใหความรอนกับชิ้นงานที่ใสไวภายใน กลองเหล็กที่บรรจุธาตุคารบอนที่เปนของแข็ง ของเหลวหรือแกส 14.4.2 การเคลือบโลหะดวยไฟฟา (Metal plating) วิธีการนี้เปนการชุบดวยไฟฟา เพื่อ ตองการเคลือบผิวชิ้นงานใหมีความแข็งมากขึ้น เชน การเคลือบโครเมียมหรือวัสดุที่มีความแข็งกวา 14.4.3 การพนโลหะ (Metal spray) วิธีการนี้เปนการใชหัวยิงโลหะที่หลอมละลายใหไปติด บนชิ้นงาน 14.4.4 กระบวนการเชื่อม (Welding process) วิธีการนี้เปนการเพิ่มความหนาใหกับชิ้นงาน ที่ตองการทําใหผิวแข็งดวยการใชลวดเชื่อมที่แข็งกวาเชื่อมทับลงไปบนชิ้นงาน เชน เหล็กคารบอน สูง หรือโลหะผสมจะเชื่อมแบบทับกันดวยวัสดุที่แข็งกวา เชน โครเมียม หรือแมงกานีส เปนตน แตถาเปนโลหะทีไ่ มใชเหล็กจะใชวัสดุโคบอลต แมงกานีส หรือ ทังสเตน 14.5 การเคลือบชิ้นงานดวยน้ํายาแกว (Glass enameling) วิธีการทําเริ่มตนดวยการทําความสะอาดผิวชิ้นงานใหปราศจากไขมัน ดวยวิธีการใชเปลวไฟ หรืออบไลความชื้นและไขมัน จากนั้นนําชิ้นงานจุมลงในกรดเพื่อกัดผิวชิ้นงานใหสะอาดแลวปลอย ใหชิ้นงานแหง แลวนําชิ้นงานไปจุม พน หรือ ทาดวยน้ํายาแกว แลวนําชิ้นงานไปอบดวยความรอน ประมาณ 600-900 องศาเซลเซียส น้ํายาแกวจะแข็งตัวเคลือบติดชิ้นงาน การเคลือบชิ้นงานดวยน้ํายาแกว สวนมากนิยมใชเคลือบภาชนะตางๆ เชน ถวย อาง ปนโต ที่ทําจากแผนเหล็ก ภาชนะที่เคลือบน้ํายาแกวแลวจะมีความใสเหมือนแกว มีคุณสมบัติทนตอความ รอนและทนตอปฏิกิริยาเคมีตางๆไดดี แตก็มีขอเสีย คือ เปราะ

ถวย

กระปุกแกว

รูปที่ 14.8 ตัวอยางชิ้นงานการเคลือบชิ้นงานดวยน้ํายาแกว


244

14.6 การรมดํา (Metal blackening) วิธีการทํารมดําเริ่มตนดวยการทําความสะอาดชิ้นงาน ดวยวิธีการขัดผิว หรือการพนทราย จากนั้นนําชิ้นงานจุมลงในสารละลายของโซเดียมไฮดรอกไซด (โซดาไฟ) หรือโซเดียมคารบอน เนต (โซดาแอช) แลวนําชิ้นงานมาตมในน้ําเดือดและลางในน้ําสะอาดและทําใหแหง วิธีการนี้นิยมใชกับชิ้นงานที่มีราคาแพงและมีคุณคา เชน เหรียญที่ระลึก อาวุธปน ชิ้นงาน ที่ผานการรมดําแลวจะมีสีดําคล้ําเพราะเกิดเปนฟลมดําบางๆ ปกคลุมผิวชิ้นงานไว เพื่อเปนการ ปองกันผิวเหล็กมิใหถูกการกัดกรอนไดงาย

อาวุธปน

เหรียญพระ

รูปที่ 14.9 ตัวอยางชิ้นงานรมดํา 14.7 การเคลือบผิวดวยพลาสติก (Plastic coating) วิธีการทําเริ่มตนดวยการทําความสะอาดชิ้นงานใหปราศจากไขมันหรือสนิม จากนั้นก็นํา ชิ้นงานไปอบที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส แลวนําชิ้นงานเขาถังเคลือบพลาสติกที่มีเม็ดพลาสติก อยูแลวใชลมเปาเม็ดพลาสติก เพื่อใหเม็ดพลาสติกติดผิวชิ้นงานพรอมกับกําหนดเวลาในการแช ชิ้นงานในถังเคลือบ เพื่อใหไดความหนาพลาสติกตามที่ตองการ ความหนาของพลาสติกที่ พอเหมาะจะอยูประมาณ 0.8-1.2 มม. จากนั้นนําชิ้นงานออกจากถังเคลือบและนําไปอบที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส เพื่อทําใหพลาสติกเคลือบผิวเปนไปอยางสม่ําเสมอตลอดชิ้นงาน


245

ชิ้นงาน

ใหความรอนชิ้นงาน

ชุบชิ้นงานถังพลาสติก

อบชิ้นงาน

รูปที่ 14.10 แสดงขั้นตอนการเคลือบผิวดวยพลาสติก วิธีการนี้ปจจุบันนิยมทํากันมาก เชน ไมแขวนเสื้อ ชั้นวางของตะแกรงในตูเย็น นอกจากให ความสวยงามแลวยังสามารถปองกันสนิมไดอีกดวย พลาสติกที่ใชในการเคลือบจะเปนพลาสติก แบบเทอรโมพลาสติกหรือพลาสติกออนที่เปนเม็ดหรือผงผสมแมสีและสารประกอบอื่นๆ

ไมแขวนเสื้อ

ชั้นวางของตะแกรงในตูเย็น

รูปที่ 14.11 ตัวอยางงานการเคลือบผิวดวยพลาสติก


246 14.8 การขัด (Brushing) กรรมวิธีนี้เปนการทําใหผิวงานเรียบรอยสวยงาม กอนที่จะนําชิ้นงานไปชุบเคลือบหรือทาสี หรือนําชิ้นงานออกจําหนาย การขัดสามารถทําไดหลายวิธี เชน การขัดดวยกระดาษทราย สําหรับ ผิวงานที่ผานการปาดหนาดวยเครื่องจักรมาแลว หรือการขัดดวยแปรงลวดสําหรับผิวงาน ที่เปนผิว ดิบหรือผิวหลอ แตสําหรับในงานอุตสาหกรรมนิยมใช เครื่องพนทรายถังหมุน

ตัวประคอง

ผาทราย ตัวปรับ

ตัวประคองงาน

รูปที่ 14.12 การขัดดวยกระดาษทรายดวยเครื่องเลื่อยสายพาน 14.9 การอาบน้ํามัน วิธีการนี้เริ่มตนดวยการทําความสะอาดชิ้นงานใหปราศจากไขมัน จากนั้นชโลมผิวชิ้นงานดวย น้ํามันเครื่อง ไขพาราฟน วาสลีน น้ํามันกันสนิม ใหทั่วผิวเพื่อปองกันผิวชิ้นงานไมใหเกิด การกัด กรอนไมเปนสนิม ตัวอยางชิ้นงานที่ตองทําการชโลมน้ํามันทุกครั้งหลังจากการใชงาน เชน เครื่องมือวัดและตรวจสอบ สลักเกลียว และชิ้นสวนเครื่องมือกล เปนตน

1. ทําความสะอาด

2. ชโลมน้ํามัน

รูปที่ 14.13 แสดงการชโลมน้ํามัน


247 14.10 การทาสี (Spraying) วิธีการนี้เปนการทาสีเพื่อปองกันผิวโลหะไมใหเกิดการกัดกรอนและเพิ่มความสวยงาม โดยมีขั้นตอนการทําดังนี้ 1) ทําความสะอาดชิ้นงานใหปราศจากไขมัน สนิม หรือรอยขีดขวนตางๆ โดยการขัดผิว ใหเรียบ การลางไขออกดวยสารละลายหรือน้ํามันละลายหรือไตรคอลโรเอดทีลีน จากนั้นอบชิ้นงาน ใหแหงก็จะไดชิ้นงานที่พรอมจะทาสีได ขอหามสําคัญอยาใหมือสัมผัสกับผิวชิ้นงาน 2) ทาสีพื้นหรือเรียกวาสีปองกันสนิม สีพื้นจะมีองคประกอบ คือ สังกะสีโครเมต เหล็ก ออกไซด และน้ํามันซักแหง เชน น้ํามันลินสีด ทําใหติดผิวชิ้นงานไดเหนียวแนนและปองกันไมให ชิน้ งานเปนสนิมไดดีแลวปลอยใหสีพื้นแหง 3) ทาสีสําเร็จ ซึ่งควรจะทาใหหมดและตองเปนสีน้ํามันลินสีดเชนเดียวกัน มิฉะนั้น สีจะลอกได ผิวชิ้นงานที่ตองการจะลงสีแล็กเกอร เพื่อทําใหผิวชิ้นงานมีความสวยงาม ผิวเรียบรอย จึงจําเปนอยางยิ่งทีจ่ ะตองขัดผิวชิ้นงานใหเรียบจริงๆ ซึ่งการขัดขั้นสุดทายตองขัดดวย กระดาษทรายน้ํา การลงสีแล็กเกอรอาจจะใชวิธี การพน ทา จุม หรืออาบก็ได จากนั้นก็นําไปอบ ที่อุณหภูมิ 120-400 องศาเซลเซียส สีจะแหงสนิทใชเวลาประมาณ 50-60 นาที แตถาปลอยใหสีแหง ในอากาศปกติจะตองใชเวลานานถึง 5-6 ชั่วโมง

1.ทําความสะอาด

2.ทาสีพื้น

รูปที่ 14.14 ขั้นตอนการทาสี

3.ทาสีสําเร็จ


252

แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ประจําหนวยที่ 14 เรื่อง กรรมวิธีการตกแตงผิวชิ้นงาน ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย √ ลงในคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1.หลักการสําคัญประการแรกของกรรมวิธีการตกแตงผิวชิ้นงานคืออะไร ก. การทําความสะอาดชิ้นงาน ข. การใหความรอนกับชิ้นงาน ค. การเพิ่มแรธาตุตางๆ ง. การอบใหแหง 2. วัสดุอะไรที่มคี ุณสมบัติแข็งแรงและทนตอการกัดกรอนไดดี จึงนิยมนําโลหะมาชุบเคลือบดวย วัสดุดังกลาว ก. นิเกิล ข. โครเมียม ค. แคดเมียม ง. สังกะสี 3. การชุบดวยไฟฟา ชิ้นงานที่ตองการชุบใสลงในถังชุบซึ่งมีน้ํายาอะไร ก. น้ํามันกาด ข. น้ํายาหลอเย็น ค. น้ํายาอิเล็กโทรไลท ง. น้ํายารีชีสแตนท 4. กระปองบรรจุอาหารและเครื่องดื่มใชวัสดุขอใดในการชุบผิว ก. โครเมียม ข. อะลูมิเนียม ค. นิเกิล ง. ดีบุก 5. วิธีทําใหเกิดออกไซดที่หนาผิวอะลูมิเนียม เพื่อปองกันการกัดกรอนและมีความแข็งมากขึน้ คือ วิธีการผลิตตรงกับขอใด ก. วิธชี ุบดวยไฟฟา ข. วิธีพารคเคอรไรซ ค. วิธีอะโนไดช ง. วิธีทําใหผิวแข็ง 6. วิธีการเติมคารบอนลงในเนื้อโลหะจะทําใหโลหะมีคุณสมบัติอยางไร ก. เหนียว ข. เปราะ ค. ยืดหยุน ง. แข็ง 7. ผลิตภัณฑ ถวย อาง ปนโตที่ทําจากเหล็กแผนจะใชวิธีการเคลือบชิ้นงานดวยน้ํายาอะไร ก. น้ํายาอิเล็กโทรไลท ข. กรดกํามะกันเจือจาง ค. น้ํายาแกว ง. น้ํายาชุบแข็ง


253

8. ขอใดไมใชขั้นตอนกรรมวิธีการรมดํา ก. การอบใหแหง ข. จุมน้ํายารมดํา ค. ตมชิน้ งานในน้ําเดือด ง. ทาและพนสีดํา 9. พลาสติกที่ใชในการเคลือบผิวชิ้นงานจะเปนพลาสติกประเภทอะไร ก. อีพอกซี ข. ยูเรเทน ค. เทอรโมเซตติง ง. เทอรโมพลาสติก 10. ขอใดไมใชน้ํามันที่ใชสําหรับชโลมผิวชิ้นงานเพื่อปองกันไมเปนสนิม ก. น้ํามันแร ข. วาสลีน ค. น้ํามันพืช ง. ไขพาราฟน ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้โดยการอธิบายสั้นๆพอเขาใจ 1. วัตถุประสงคของการตกแตงผิวชิ้นงานคืออะไร ........................................................................... ............................................................................................................................................................. 2. จงบอกกรรมวิธีการตกแตงผิวชิ้นงานมา 3 วิธี ............................................................................... ............................................................................................................................................................. 3. การชุบดวยไฟฟา จะใชกระแสไฟฟาประเภทไหน ........................................................................ 4. การใหความรอนกับชิ้นงานดวยเปลวไฟจากแกสแลวจุมลงในสารตัวกลางอยางรวดเร็วเรียก กรรมวิธีนี้วา ........................................................................................................................................ 5. การชุมโครเมียม ชิ้นงานที่ตองการเคลือบจะตองแขวนอยูในขั้วไฟฟาขั้วใด .................................. 6. จงยกตัวอยางชิ้นงานที่ทําการชุบผิวแข็ง มา 2 ตัวอยาง ................................................................... 7. ปน อาวุธ หรือเหรียญที่ระลึก จะใชกรรมวิธีการตกแตงผิวชิ้นงานดวยกรรมวิธีอะไร ................... 8. จงยกตัวอยางชิ้นงานการเคลือบผิวดวยพลาสติกมา 3 ตัวอยาง ....................................................... ............................................................................................................................................................. 9. ประโยชนของการทาสีคืออะไร ...................................................................................................... 10. จงบอกประโยชนของการทาสีมาเปน 2 ขอ ..................................................................................


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.