เครื่องเจาะและเครื่องคว้าน

Page 1

หนวยที่ 3 ชื่อเรื่อง เครื่องเจาะและเครื่องควาน (Drilling and Boring machine) หัวขอเรื่องยอย 3.1 ชนิดของเครื่องเจาะ 3.2 เครื่องมือที่ใชในการเจาะ 3.3 ขั้นตอนการใชเครื่องเจาะ 3.4 ขั้นตอนการรีมเมอร 3.5 ชนิดเครื่องควาน จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายชนิดของเครื่องเจาะได 2. อธิบายชื่อเครื่องมือที่ใชในการเจาะได 3. อธิบายขั้นตอนการใชเครื่องเจาะได 4. อธิบายขั้นตอนการรีมเมอรได 5. อธิบายชนิดของเครื่องควานได 6. นักเรียนสงแบบทดสอบไดตามเวลาที่กําหนด กิจกรรมหลัก 1. ครูนําเขาสูบ ทเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน - แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน - ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียน - อภิปรายหนาชั้นเรียน - ใบสั่งงานที่ 2 - ครูสรุปเนื้อหาสาระการเรียนประจําหนวย 4. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 5. ครูและนักเรียนตรวจแบบทดสอบ


34 เครื่องเจาะและเครื่องควาน (Drilling and Boring machine) เครื่องเจาะ (Drilling machine) เปนเครื่องจักรชนิดหนึ่งที่มีความสําคัญตออุตสาหกรรม ใชสําหรับเจาะรูบนชิ้นงาน มีทั้งแบบเจาะทะลุและไมทะลุ หรือเปนรูเรียว หรือใชจับดอกรีมเมอร เพื่อควานรูเรียบ ปจจุบันไดมีการพัฒนานําระบบควบคุมดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการ ทํางานใหความเที่ยงตรงสูง เครื่องควาน (Boring machine) เปนเครื่องจักรสําหรับควานรูขนาดใหญๆ ที่ดอกสวานไม สามารถเจาะได โดยสวนใหญแลวจะเปนการควานรูบนชิ้นงานขนาดใหญ 3.1 ชนิดของเครื่องเจาะ สามารถแบงตามสภาพการใชงานนั้นๆ และตามลักษณะเครื่องดังนี้ 1) สวานมือ (Portable drill) เปนเครื่องเจาะขนาดเล็กใชมือจับเจาะ สามารถนําไปเจาะรู ชิ้นงานไดทุกสถานที่ โดยทั่วๆไปจะใชสําหรับเจาะรูที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางไมเกิน 12 มม.

ดอกสวาน มือถือ สวิตชเปด-ปด

รูปที่ 3.1 สวานมือ 2) เครื่องเจาะตั้งโตะ (Bench-model Sensitive drilling) เปนเครื่องเจาะขนาดเล็ก ที่ฐาน เครื่องจับยึดอยูบนโตะทํางานอีกทีหนึ่ง ใชสําหรับเจาะรูชิ้นงานขนาดเล็ก เสนผาศูนยกลางโตไมเกิน 13 มม. ซึ่งมีประสิทธิภาพในการทํางานไมสูง การเจาะปอนเจาะดวยมือ


35

สายพาน มอเตอร ตัวปรับระยะมอเตอร

แกนเจาะ หัวจับ แขนปอนเจาะ โตะงาน ฐาน

ตัวล็อกโตะ ดามล็อกโตะ เสา

รูปที่ 3.2 เครื่องเจาะตั้งโตะ 3) เครื่องเจาะหลายหัว (Gang drilling machine) เปนเครื่องเจาะแบบที่มีหัวจับดอกสวาน หลายหัวและสามารถจับดอกสวานไดหลายขนาด จึงทําใหการเจาะงานเปนไปไดอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ยังสามารถจับดอกรีมเมอรไดอีกดวย มอเตอร

หัวเจาะ ดอกสวาน

โตะงาน

ฐาน

รูปที่ 3.3 เครื่องเจาะแบบหลายหัว ที่มา:ศจ.บุญญศักดิ,์ ท.งานเครื่องมือกล,หนา 82


36 4) เครื่องเจาะเสา (Upright drilling machine) เปนเครื่องเจาะขนาดใหญ มีความมั่นคง แข็งแรงและสามารถปรับความเร็วรอบไดมาก การปอนดอกสวานเจาะงานสามารถปอนดวย อัตโนมัติและปอนดวยมือ

มอเตอร เพลาจับดอกสวาน โตะงาน

แขนปอน เสาเครื่อง

ฐาน

รูปที่ 3.4 เครื่องเจาะเสา

ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา27

5) เครื่องเจาะรัศมี (Radial drilling machine) เปนเครื่องเจาะขนาดใหญเหมาะสําหรับงาน เจาะชิน้ งานขนาดใหญที่ไมสามารถเคลื่อนที่ได หัวจับดอกสวานสามารถเคลื่อนที่ไปยังตําแหนง ที่จะเจาะไดตามความยาวของแกนเครื่องเจาะโดยที่ชิ้นงานอยูกับที่ ชุดหัวเจาะ เสาเครื่อง แขน

มอเตอร

ชุดควบคุม เพลาจับดอกสวาน ฐาน

รูปที่ 3.5 เครื่องเจาะรัศมี

ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา27


37

6) เครื่องเจาะหลายเพลา (Multi – Spindle drilling machine) เปนเครื่องเจาะที่มีเพลาจับ หัวจับดอกสวานหลายเพลา สามารถเจาะรูไดหลายๆขนาดในเวลาเดียวกัน มอเตอร

ดอกสวาน เสา โตะงาน

ฐานเครื่อง

รูปที่ 3.6 เครื่องเจาะหลายเพลา ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา28

7) เครื่องเจาะเทอเรท (Turret machine) เปนเครื่องเจาะแบบมีหลายหัวสามารถจับ ดอกสวานไดหลายขนาด และชุดหัวจับดอกสวานสามารถหมุนไดรอบตัวและควบคุมดวยระบบ ตัวเลข (Numerical control:NC) ที่สามารถเลือกเครื่องมือตัดและปอนเจาะโดยอัตโนมัติ

แผงปอนขอมูล โตะงาน

รูปที่ 3.7 เครื่องเจาะเทอเรท ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 28


38 3.2 เครื่องมือทีใ่ ชในงานเจาะรู มีอยูหลายชนิดและหลายรูปแบบดังนี้ 3.2.1 ดอกสวาน (Drill) เปนเครื่องมือที่ใชในการเจาะรู มีรูปรางลักษณะเปนรูป ทรงกระบอก มีคมตัดและมีรองคายเศษโลหะ ดอกสวานมีหลายชนิด คือ 3.2.1.1 ดอกสวานคมเลื้อย (Twist drill) เปนดอกสวานที่นิยมใชทั่วไป มีลักษณะ ทรงกระบอก มีรองคายเศษโลหะและมีคมตัดที่ปลายดอกสวาน 2 ขาง

คมเลื้อย คมตัด

คมตัด

รูปที่ 3.8 ดอกสวานคมเลื้อย กานดอกสวานมี 2 ลักษณะ - ดอกสวานขนาดเล็ก เสนผาศูนยกลางไมเกิน 13 มม. กานดอกสวานจะเปน กานตรง (Straight)

รูปที่ 3.9 ดอกสวานกานตรง - ดอกสวานขนาดใหญเสนผาศูนยกลางเกิน 13 มม. ขึ้นไป กานดอกสวานจะเปน กานเรียว (taper)

รูปที่ 3.10 ดอกสวานกานเรียว


39

3.2.1.2 ดอกสวานรองตรง (Gun drill) เปนดอกสวานที่มีลักษณะทรงกระบอก แตมีรอง ตรงเพียงรองเดียวทีป่ ลายดอกสวานจะติดคมตัดโลหะแข็ง (Carbide tipped) ใชสําหรับงานเจาะรู ลึกๆ และที่แกนสวานจะเจาะรูสําหรับใหน้ําหลอเย็นดันเศษโลหะออกจากรู

มุมนอก

ขอบคมตัด รอง

Carbide tipped รองน้ําหลอเย็น

ปลอก

มุมใน

รูปที่ 3.11 ดอกสวานรองตรง ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา30

3.2.1.3 ดอกสวานพิเศษ (Special drill) เปนดอกสวานที่ไดรับการออกแบบขึ้นมา โดยเฉพาะงานเจาะพิเศษ เชน การเจาะรูบนแผนโลหะ การเจาะรูโลหะแข็ง การเจาะรูขนาดใหญ มีดวยกันหลายชนิดดังนี้ - ใบเลื่อยตัด (Saw cutter) ใชสําหรับเจาะรูบนแผนโลหะ หรือทอโลหะ

ใบเลื่อย ดอกสวาน

รูปที่ 3.12 ใบเลื่อยตัด


40

- ใบมีดตัด (Fly cutter) ใชสําหรับตัดแผนโลหะที่เปนรูปขนาดใหญ

ใบมีดตัด

รูปที่ 3.13 ใบมีดตัด - ใบเจาะ (Spade drill) ใชสําหรับงานเจาะที่เปนโลหะแข็ง ใบเจาะจะประกอบเขากับ ดามจับอีกทีหนึ่ง

เสนผาศูนยกลาง ความหนา

รูปที่ 3.14 ใบเจาะ

ใบเจาะ


41

มุมดอกสวาน ดอกสวานที่เจาะรูไดดีและมีประสิทธิภาพ จะตองมีมุมตางๆของดอกสวาน ที่ถูกตองรวมทั้งมีความคมที่คมตัดสวานดวย โดยมีมุมตางๆดังนี้ - มุมเลื้อย (Helix angle) เปนมุมสําหรับคายเศษโลหะ มีมุมอยูระหวาง 10-40 องศา ถาเจาะ วัสดุแข็งเปราะมุมนอย วัสดุออนมุมมาก แตถาเจาะวัสดุโดยทั่วไป เชน เหล็กเหนียว เหล็กหลอ จะมีมุมอยูระหวาง 20-30 องศา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัสดุที่ใชทําดอกสวาน - มุมปลายดอกสวาน (Point angle) เปนมุมรวมของปลายดอกสวานที่จะตองลับใหไดขนาด ตามความเหมาะสมกับวัสดุที่จะเจาะ ดังรายละเอียดตามตารางขางลางนี้ ตารางที่ 3.1 มุมปลายดอกสวานสําหรับเจาะวัสดุตางๆ วัสดุงาน มุมปลายดอกสวาน ยางแข็ง 30 ํ – 50 ํ วัสดุอัดขึ้นรูป 50 - 60 ํ แมกนีเซียมผสมเทอรโมพลาสติก 100  เหล็กเหนียว เหล็กหลอเหนียว เหล็กหลอสีเทา 116 ํ – 118 ํ ทองเหลือง บรอนซ เหล็กไรสนิม เหล็กชุบแข็ง ทองแดง สังกะสีผสม อลูมิเนียมผสม 130 - 140 ํ - มุมคมขวาง (Dead center) เปนมุมที่จะตองลับใหไดขนาดประมาณ 55 ํ และลับใหถูกทาง กับคมตัดดวย ถาลับไมถูกทางดอกสวานจะเจาะไมเขา - มุมฟรี (Heel Angle) เปนมุมที่เกิดจากการลับผิวฟรีหลังคมตัดเพื่อไมใหเกิดการถูกับผิวงาน มุมปลายดอกสวาน

มุมคมขวาง

มุมฟรี

มุมเลื้อย 10-40

รูปที่ 3.15 มุมตางๆของดอกสวาน


42

การหลอเย็นเปนการชวยระบายความรอนในขณะที่ทําการเจาะรู และชวยรักษาคมตัดของดอก สวานทําใหผิวของรูเจาะเรียบ ดังตารางการแนะนําการใชน้ําหลอเย็น ตารางที่ 3.2 การแนะนําการใชน้ําหลอเย็น วัสดุที่เจาะ การหลอเย็น อลูมิเนียม ทองแดง เหล็กหลอ แมงกานีสแข็ง แหง เหล็กเหนียว เหล็กเครื่องมือ เหล็กแข็ง น้ํามันหลอเย็น(Soluble Oil) แมกนีเซียม แหงหรือน้ํามันแร แกว Terpentin หินออน น้ํา (ที่มา:กรรมวิธีการผลิต ศสว.2546:33)

3.2.2 ดอกเจาะนําศูนย (Center drill) ใชสําหรับเจาะนํา เพื่อใหดอกสวานเจาะตามอีกครั้ง หนึ่งหรือเพื่อสําหรับยันศูนยชิ้นงานกลึงที่มีความยาว ซึง่ จะทําใหการเจาะรูไดเที่ยงตรง และ ดอกสวานไมหัก ยันศูนย

คมตัด

กาน

รอง รอง

รูปที่ 3.16 ดอกเจาะนําศูนย ที่มา:มานพ,กรรมวิธีการผลิต,หนา191

ดอกเจาะนําศูนย

รูปที่ 3.17 การเจาะยันศูนย

ปลายคม


43 3.2.3 ดอกเจาะผายปากรู เปนเครื่องมือสําหรับผายปากรู เพื่อฝงหัวสกรูที่หัวเปนมุม จะมีอยูดวยกันหลายลักษณะ คือ 1) ดอกเจาะผายปากรูทรงกระบอก (Counter bore) ใชสําหรับผายปากรูที่เปน รูปทรงกระบอก 2) ดอกเจาะผายปากรูเรียว (Countersink) ใชสําหรับผายปากรูที่เปนรูปทรงกรวย 3) การปาดผิวปากรู เปนการปาดผิวหนาพื้นที่ปากรูเฉพาะจุดที่มีพื้นที่เอียงใหราบเรียบ เพื่อที่จะฝงหัวสกรู

1.การเจาะทรงกระบอก 2.การเจาะรูเรียว

3.การปาดผิวปากรู

ดอกเจาะรูเรียว

ดอกเจาะรูทรงกระบอก และปาดผิวปากรู ดอกเจาะทรงกระบอก

รูปที่ 3.18 ดอกเจาะผายปากรู 3.2.4 ดอกรีมเมอร (Reamer) งานรีมเมอรจะทําเมื่อตองการควานรูใหไดขนาด มีผนังรูเรียบ จะเปนงานรูปทรงกระบอกหรือรูปทรงเรียวหรือรูที่มีขนาดเล็กที่ทําการเจาะมากอน จะนํามาควานรู เรียบดวยมือหรือเครื่องเจาะ ฟนของรีมเมอรจะมีทั้งฟนตรงและฟนเฉียง ดามของรีมเมอร จะมีทั้ง ดามตรงที่ใชทํางานดวยมือและดามเรียวสําหรับใชกับเครื่องจักรกลตางๆ เชน เครื่องเจาะหรือ เครื่องกลึง คมตัด

คมนําตัด

กาน

คมปาดผิวเรียบ

รูปที่ 3.19 รูปรางโครงสรางของรีมเมอร


44

มุมฟรี มุมลิ่ม มุมคายเศษ

รูปที่ 3.20 การแบงมุมของคมตัดรีมเมอร

ทิศทางการหมุน

ผนังรู คมนําตัดเรียว รูที่กอนเจาะ ขนาดรูที่รีมเมอรแลว

รูปที่ 3.21 การรีมเมอรใหไดขนาดที่ตองการ

ทิศทางการปอน ควาน

รูปที่ 3.22 ลักษณะงานและวิธีการรีมเมอร

ที่มา:มานพ,กรรมวิธีการผลิต,หนา227

การรีมเมอรเพื่อจะใหไดผิวงานที่ดีและยืดอายุการใชงานของรีมเมอรยาวนานขึ้น จะตองใช สารหลอเย็นหลอเย็นใหเพียงพอ สวนการรีมเมอรดวยเครื่องจักรกลจะตองใชความเร็วรอบ ประมาณ 1/3 ของความเร็วดอกสวาน ดอกรีมเมอรมีดวยกันหลายชนิด ดังนี้ - รีมเมอรมือแบบคมเลื้อย เหมาะสําหรับงานรูที่มีรองลิ่ม เปนรีมเมอรที่ใชทํางานดวยมือ มีทั้งแบบฟนตรงและแบบฟนเรียว ซึ่งที่ปลายของรีมเมอรจะเรียวเล็กนอยเพื่อสะดวกในการสวมใส ในรูไดงาย - เซลลรีมเมอร (Shell reamer) เหมาะสําหรับงานปาดผิว สามารถทํางานไดอยางรวดเร็ว - เซลลรีมเมอรแบบใชรองพา จะเหมาะกับการเซลลรีมเมอรชนิดตางๆไดดี - รีมเมอรเรียว (Taper reamer) ใชกับงานรูเรียว สําหรับสวมสลักเรียวบนชิ้นงาน


45

- รีมเมอรแบบปรับได (Adjustable reamer) เหมาะสําหรับงานที่มขี นาดเสนผาศูนยกลางโต เปนชวงๆ เชน 10, 12, 14 มม. และสามารถถอดใบตัดมาลับใหมได

รีมเมอรมือแบบคมเลื้อย

รีมเมอรเรียว

รีมเมอรเครื่อง(แบบปกติ)

รีมเมอรมือแบบปรับได คมตัดถอดเปลี่ยนได

เซลลรีมเมอร(Shell reamer) ตัวพา รองพา ภาพขยาย

รูปที่ 3.23 ชนิดของรีมเมอร ที่มา:มานพ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 228

3.2.5 อุปกรณนําเจาะ (Drill jig) เปนเครือ่ งมือจับชิ้นงานและมีปลอกนําเจาะสําหรับ ประคองดอกสวานหรือรีมเมอร ทํางานไดอยางรวดเร็วและตรงกันทุกชิ้น ปลอกนําเจาะ

งาน

รูปที่ 3.24 อุปกรณนําเจาะ

ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา35


46 3.3 ขั้นตอนการใชเครื่องเจาะ 1) วางแผนและตอกนําศูนยตําแหนงที่จะเจาะ 2) จับชิ้นงานดวยอุปกรณจับยึด เชน ปากกา แคลมป สลักเกลียว เปนตน 3) จับดอกสวานดวยหัวจับดอกสวานหรือถาเปนดอกสวานกานเรียวก็จับโดยตรงกับรูเรียว ของเพลาเครื่องเจาะ 4) คํานวณความเร็วรอบของดอกสวาน 5) ทําการเจาะรูโดยคอยๆปอนดอกสวานลงเจาะงานและคอยถอยดอกสวานขึ้น เพื่อคายเศษ โลหะ พรอมทั้งหลอเย็นชิ้นงานขณะทําการเจาะ จนเจาะทะลุชิ้นงาน

ปากกาจับงาน

งาน

แทงขนาน

รูปที่ 3.25 การจับชิ้นงานเจาะ

หัวจับดอกสวาน

เพลาจับดอกสวาน ดอกสวาน

ดอกสวาน 1. สวานกานตรงจับดวยหัวจับดอกสวาน

2. สวานกานเรียวจับดวยเพลาจับดอกสวาน

รูปที่ 3.26 การจับดอกสวาน ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 36


47 3.4 ขั้นตอนการรีมเมอร 1) กอนทําการเจาะรูชิ้นงาน จะตองมีการคํานวณขนาดสําเร็จหลังจากรีมเมอรจากสูตรดังนี้ dB = ขนาดเสนผาศูนยกลางของรูเจาะ dF = ขนาดเสนผาศูนยกลางของรีมเมอรสําเร็จ Z = ความหนาที่ตองการปาดผิวออก นั่นคือ dB = d F – Z หนวย mm

เมื่อ Z =

   2 2

สูตรนี้มีความจําเปนอยางมากสําหรับการใชรีมเมอรที่ขนาดเสนผาศูนยกลางแบบตายตัว จึงมีการกําหนดขนาดความหนา (Z) ที่จะตองปาดผิวออก ดังตามตารางขางลางนี้ ตารางที่ 3.3 ขนาดความหนา Z ที่ตองปาดผิวออก ขนาดเสนผาศูนยกลาง ความหนา Z ที่ตองการ จํานวนของคมตัด ของรูรีมเมอรสําเร็จ (mm) ปาดผิวออก (mm) อยางนอยที่สุด ถึง 5 0,1 6 5...10 0,1...0,2 6 11...20 0,2…0,3 8 21...30 0,3 10 31...43 0,3...0,4 12 เกินกวา 43 0,4...0,5 14 ที่มา:มานพ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 229

2) วัดขนาดความโตของรีมเมอรดวยไมโครมิเตอรเสมอ กอนลงมือทํา 3) ใชฉากตายชวยประคองใหรีมเมอรตั้งฉากกับรู 4) การรีมเมอรจะตองหมุนไปตามเข็มนาฬิกาเสมอ หามหมุนยอนทิศทางเพราะจะทําใหคมตัด แตกหักได


48

ฉาก ความหนาที่ปาดผิวออก

(3)

(1) ไมรโครมิเตอร

(2)

ดามหมุน หมุน

การหมุนยอนทิศทางคมตัด จะทําใหคมตัดหัก

ดอกรีมเมอร

(4)

ชิ้นงาน

รูปที่ 3.27 ขั้นตอนการรีมเมอร ที่มา:มานพ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 230

3.5 ชนิดของเครื่องควาน (Boring machine) เครื่องควานเปนเครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง ซึ่งจะทํางานตอเนื่องจากการเจาะรูแลวเพื่อขยายรู ใหมี ขนาดใหญตามทีต่ องการ ซึ่งมีอยูดวยกันหลายชนิด คือ 3.5.1 เครื่องควานจิ๊ก (Jig boring machine) เปนเครื่องจักรกลที่มีหัวจับมีดควานติดตั้งอยูใน แนวตั้งสามารถเคลื่อนที่ขึ้น-ลงได และชิ้นงานควานจะติดอยูกับอุปกรณจับยึด (Jig and fixture) จึงทําใหการทํางานรวดเร็วเที่ยงตรง


49

เสา

มีดควาน

ชิ้นงาน อุปกรณจับยึด โตะงาน ฐานเครื่อง

รูปที่ 3.28 เครื่องควานจิ๊ก

ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 37

3.5.2 เครื่องควานแนวตั้ง (Vertical boring machine) เปนเครื่องจักรกลชนิดหนึ่งชิ้นงาน ควานจะถูกจับยึดอยูบนโตะงานซึ่งสามารถหมุนได และจะมีมดี ตัดหนึ่งหรือสองตัวสามารถเลื่อน ขึ้น-ลง เขา-ออกจากชิ้นงานในการปอนกินงาน

มีดแนวตั้ง เสาเครื่อง แทนเลื่อนขวาง

ปุมควบคุม

มีดดานขาง โตะหมุน ฐาน

รูปที่ 3.29 เครื่องควานแนวตั้ง ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา37


50

3.5.3 เครื่องควานแนวนอน (Horizontal boring machine) เปนเครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง โดยที่มีดควานสามารถเคลื่อนที่ขึ้น-ลงในแนวดิ่งได และชิน้ งานจะถูกจับยึดอยูที่โตะงานเคลื่อนที่ เลื่อนเขา-ออก ซาย-ขวาได เสาเครื่อง เพลาจับมีดตัด

ชุดหัวเครื่อง

เสาชวย

เพลาจับมีด ตัด โตะงาน

รูปที่ 3.30 เครื่องควานแนวนอน ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 27

3.5.4 มีดควาน (Boring tools) เปนเครื่องมือตัดที่ใชในการควานรูเพื่อใหรูมีขนาดใหญขึ้น หรือขนาดรูที่ดอกสวานไมสามารถทําได มีดควานมีอยูดวยกันหลายชนิด ดังนี้ 3.5.4.1 มีดตัดคมเดียว (Single point) เปนมีดควานประเภทมีคมเดียว เชน มีดกลึง มีดควาน โดยการจับยึดกับเพลาของเครื่องควานอีกทีหนึ่ง เสาชวย เพลาจับมีด

งาน

ชุดหัวเครื่อง

มีดตัด

โตะงาน เพลาจับมีด

มีดตัด เกลียวยึด

แทงยึดมีดตัด

รูปที่ 3.31 มีดควานบนเครื่องควาน ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 38

เพลาหมุน


51 3.5.4.2 มีดควานสําหรับใชกับเครื่องจักรกลทั่วไป เชน เครื่องกลึง เครื่องเจาะ สวนมาก จะใชแบบคมตัดเดียว เชน 1) มีดควานที่มตี ัวยึดกับดามจับมีด 2) มีดควานมีดามจับมีดโดยตรง 3) มีดควานสําหรับงานควานหนัก ที่มีมีดกัดขางเดียว 4) มีดควานสําหรับงานควานหนัก ที่มีมีดกัดสองขาง 5) ดอกผายปากรูที่มีแกนนํา 6) มีดควานหลายฟน

1. มีดควานที่มีตัวยึดกับดามจับมีด

2. มีดควานมีดามจับมีดโดยตรง

3. มีดควานงานหนักมีมีดกัดขางเดียว

4. มีดควานงานหนักมีมีดกัดสองขาง

5. ดอกผายปากรูที่มีแกนนํา

6. มีดควานหลายฟน

รูปที่ 3.32 มีดควานขนาดเล็ก ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 39

3.5.4.3 ชุดหัวควาน (Offset boring head) ใชกับเครื่องกัดแนวตั้ง สามารถปรับขยาย ขนาดของรูควานไดตามที่ตองการ หัวควาน

มีดควาน

รูปที่ 3.33 ชุดหัวควาน ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 27


56 แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ประจําหนวยที่ 3 เรื่อง เครื่องเจาะและเครื่องควาน ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย √ ลงในคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1. สวานมือ (Portable drill) เปนเครื่องเจาะขนาดเล็กโดยทั่วๆ ไปใชเจาะรูที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ไมเกินเทาไร ก. 11 มม. ข. 12 มม. ค. 13 มม. ง. 14 มม. 2. การเจาะชิ้นงานที่มีรูขนาดเล็กกวา 13 มม. ควรใชเครื่องเจาะชนิดไหนจึงเหมาะสม ก. เครื่องเจาะรัศมี ข. เครื่องเจาะหลายหัว ค. เครื่องเจาะเสา ง. เครื่องเจาะความเร็วสูง 3. การเจาะชิ้นงานที่มีรูเจาะหลายรู จะใชเครื่องเจาะชนิดไหนจึงทํางานไดอยางรวดเร็ว ก. เครื่องเจาะความเร็วสูง ข. เครื่องเจาะเสา ค. เครื่องเจาะหลายหัว ง. เครื่องเจาะรัศมี 4. การเจาะชิ้นงานขนาดใหญและมีรูเจาะโตๆ จะตองใชเครื่องเจาะชนิดใดจึงเหมาะสม ก. เครื่องเจาะหลายหัว ข. เครื่องเจาะเสา ค. เครื่องเจาะหลายเพลา ง. เครื่องเจาะรัศมี 5. การเจาะรูลึกๆ จะตองใชดอกสวานชนิดใดเจาะ ก. ดอกสวานคมเลื้อย ข. ดอกสวานรองตรง ค. ดอกสวานพิเศษ ง. ดอกรีมเมอร 6. ใบมีดตัด (Fly Cutter) ใชสําหรับงานเจาะในลักษณะใด ก. ตัดแผนโลหะขนาดใหญ ข. ทอโลหะ ค. โลหะแข็ง ง. รูเจาะลึกๆ 7. การเจาะเหล็กเหนียว เหล็กหลอสีเทา ดอกสวานจะตองมีมุมปลายดอกสวานเทาไร ก. 90 องศา ข. 110 องศา ค. 118 องศา ง. 130 องศา


57

8. การรีมเมอรดวยเครื่องจักรกล จะตองใชความเร็วรอบประมาณเทาไรของความเร็วดอกสวาน ก. ค.

1 2 1 4

ข. ง.

1 3 1 5

9. เครื่องควานเปนเครื่องจักรที่ใชสําหรับงานในลักษณะใด ก. ลดขนาดชิ้นงาน ข. ขยายรูเจาะ ค. การทํารูเจาะใหเรียบ ง. ลดขนาดบาฉาก 10. มีดควานที่ใชกับเครื่องจักรกลทั่วไป เชนเครื่องกลึง เครื่องเจาะ สวนมากจะใชมีดควานในขอใด ก. มีดควานหลายคม ข. มีดควานคมตัดเดียว ค. มีดควานแบบมีมีดกัดสองขาง ง. ใชไดทุกอยาง ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้โดยการอธิบายสั้นๆพอเขาใจ 1. เครื่องเจาะมีประโยชนอยางไร ........................................................................................................ 2. เครื่องควานมีประโยชนอยางไร....................................................................................................... 3. จงบอกชนิดของเครือ่ งเจาะมา 2 ชนิด............................................................................................... 4. ดอกสวานโดยทั่วไปทํามาจากเหล็กอะไร ....................................................................................... 5. ดอกเจาะนําศูนย (Center drill) มีมุมเจาะกี่องศา............................................................................... 6. ดอกเจาะผายปากรูทรงกระบอก (Counter bore) มีประโยชนอยางไร............................................. ............................................................................................................................................................. 7. ดอกรีมเมอร (Reamer) มีประโยชนอยางไร .................................................................................... 8. อุปกรณที่ใชจับงานเพื่อใหการเจาะรูไดตําแหนงเดียวกันคืออะไร .................................................. 9. จงบอกชนิดของเครื่องควานมา 1 ชื่อ .............................................................................................. 10. ประโยชนของมีดควานคืออะไร ....................................................................................................


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.