facebook

Page 1

78 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554

หมวดการศึกษา

Facebook:

เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ? พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ ปี ค.ศ. 2004 นักศึกษาหนุม่ ของ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard) นามว่า มาร์ค ซัคเคอร์เบิรก์ (Mark Zuckerberg) ต้องการทำหนังสือรุ่นออนไลน์เพื่อให้นักศึกษาใหม่ ได้ทำความรู้จักกัน แต่เมื่อนำ โครงการนี้ ไ ปเสนอมหาวิ ท ยาลั ย กลั บ ถู ก ปฏิ เ สธด้ ว ยนโยบายที่ นั ก ศึ ก ษาไม่ มี สิ ท ธิ์ เข้าถึงฐานข้อมูล เป็นผลให้มาร์คแก้เผ็ด โดยการเจาะระบบฐานข้อมูล แล้วดึงภาพ นักศึกษาสาวมาทำเป็นเกม “Hot or Not”

ให้เพือ่ นๆ เข้ามาโหวตภาพ 2 ภาพ ว่าใคร Hot กว่ากัน ภายในเวลาเพียง 4 ชัว่ โมงของ การเปิดโหวต มีนกั ศึกษาเข้ามาคลิกกว่าสอง หมื่นครั้ง ทำให้เห็นถึงพลังของเครือข่าย สังคมออนไลน์ (Social Network) มาร์คจึง ชวนเพือ่ นร่วมห้อง (Roommate) ทีช่ อ่ื ดัสติน มอสโควิตซ์ (Dustin Moskovitz) มาร่วมทำ ความฝันให้เป็นจริงและยิง่ ใหญ่ และนีเ่ ป็น จุดเริ่มต้นของเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ทห่ี ลายๆ คนรูจ้ กั ดีคอื Facebook ซึง่ มี

สำเร็จการศึกษาปริญญาโทด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้า ศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม อาจารย์พิเศษวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร รายวิชาโปรแกรม ประยุกต์ด้านมัลติมีเดีย และการออกแบบสิ่งพิมพ์ทางธุรกิจ

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


79

จำนวนสมาชิกมากทีส่ ดุ ในขณะนี้ (กว่า 500 ล้านคนทัว่ โลก ) จึงไม่ตอ้ งแปลกใจ หากลูกหลาน ของท่าน หรือแม้แต่ตวั ท่านเองที่ “ติด” เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่าง Facebook เข้าอย่างจัง (เพราะนัน่ ถือเป็นเรือ่ ง ปกติของคนปกติ) เหตุเพราะมนุษ ย์เป็น สัตว์สงั คมนัน่ เอง สำหรับในแวดวงคาทอลิก นั้ น มี เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ผ่ า นทาง Facebook จำนวนมาก ซึง่ ล้วนแล้วแต่เป็น ประโยชน์สำหรับงานแพร่ธรรม โดยเฉพาะ การประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร ซึง่ ทำได้อย่าง รวดเร็ว ขอยกตัวอย่าง Facebook ทีผ่ มมี โอกาสได้รจู้ กั ดังนีค้ รับ (ข้อมูล ณ 27 ธ.ค. 2010)

facebook.com/kaochristian เป็นส่วนขยายมาจากเว็บไซต์ข่าวคริสตชน www.KaoChristian.com ซึง่ เป็นศูนย์ขา่ ว ออนไลน์ ในแวดวงคริสตชนทุกคณะนิกาย และสังคมศาสนา เสรี อัปเดททุกวัน จึงทำ ให้มสี มาชิกคอยติดตามข่าวสารกว่า 5,001 คน

facebook.com/udomsarnfan club อุดมสารแฟนคลับ ภายใต้แนวคิดทีว่ า่ “ก้าวไปบนโลกดิจติ อล กับสิง่ พิมพ์ของพระศาสนจักรคาทอลิกไทย ที่ดำรงตนมาเนิ่น นาน นามอุดมสาร และอุดมศานต์” ซึง่ มี ข่าวสารและกิจกรรม Update อยูต่ ลอดเวลา จึงมีผตู้ ดิ ตามกว่า 1,449 คนทีถ่ กู อกถูกใจ

facebook.com/catholiclive เน้ น บอกเล่ า ข่ า วสารความเคลื่อ นไหวใน แวดวงคาทอลิกครับ มีการนำพระวาจามา ขึ้นให้ ได้ขบคิด มีภาพข่าวกิจกรรมต่างๆ ด้วยความหลากหลายนี้จึงทำให้มีสมาชิก (เพือ่ น) ทีค่ อยติดตามข่าวสาร จำนวน 860 คน Facebook ของบรรดากลุม่ เยาวชน ต่างๆ ก็มเี ป็นจำนวนมากครับ เป็นเครือข่าย สั ง คมออนไลน์ ท่ี บ รรดาเยาวชนแต่ ล ะที่ แต่ละแห่งใช้เป็นเสมือนหนึง่ ทีป่ ระชุม หารือ นัดแนะกัน เพือ่ ก่อให้เกิดกิจกรรมทีด่ แี ละ

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


80 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554

เป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมครับ เช่น face book.com/worldyouthday เป็น FB เครือ ข่ายวันเยาวชนโลก (World Youth Day: WYD) มีสมาชิกบน FB มากถึง 38,882 คน ทัว่ โลก facebook.com/ymph.2 เป็น FB ของเยาวชนพระมารดานิ จ จานุ เ คราะห์ คลองจัน่ มีเพือ่ นจำนวน 574 คน facebook. com/xaviercamp เป็น FB ค่ายฯบ้านเซเวียร์ ใครทีผ่ า่ นชีวติ นิสติ นักศึกษามาแล้วคง เคยได้สมั ผัส หรือได้รจู้ กั กับบ้านเซเวียร์ ซึง่ เป็นทีท่ น่ี สิ ติ นักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา ต่ า งๆ มาร่ ว มทำกิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมกั น ปัจจุบนั มีเพือ่ นจำนวน 542 คน ซึง่ น่าจะเป็น นักศึกษาคาทอลิกที่กระจัดกระจายอยู่ตาม สถาบันอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ พลังของกลุม่ บุคคลเหล่านี้สามารถสร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ ทีด่ งี ามได้มากมายครับ เหล่านี้เป็นเพียงตัวอย่างของการ ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์

ทีม่ าแรงทีส่ ดุ ในปัจจุบนั นี้ และหากรูจ้ กั ใช้ ให้ดีก็จะเป็นประโยชน์มากกว่าโทษอย่าง แน่นอนครับ ดังนัน้ ผูป้ กครอง หรือผูใ้ หญ่ จึงไม่ควรปิดกั้น และต้องทำความเข้าใจใน ธรรมชาติท่แี ตกต่างของคนในแต่ละช่วงวัย เพือ่ ความเข้าใจทีม่ ากขึน้ ขอกล่าวถึงระบบ นิเวศน์ของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันดังนี้ ครับ ปัจจุบันเราเข้าสู่ระบบนิเวศน์ดิจิตอล (Digital Ecosystem) อย่างเต็มตัว เป็น การอยู่ร่วมกันของคนกับสิ่งแวดล้อมทาง ดิจติ อล (ยืน ภูว่ รวรรณ, 2553) ลองมองไป รอบตัวซิครับ ทุกวันนีเ้ ราติดต่อสือ่ สารผ่าน โทรศัพท์มอื ถือ ส่งจดหมาย และเอกสาร ต่างๆ ผ่านอีเมล ทำงานผ่านเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล ฟัง เพลงผ่านเครือ่ งเล่น mp3 ดูภาพยนตร์จาก แผ่นดีวีดี ใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต พูดคุย สนทนาปรับทุกข์ผ่านทางเครือข่ายสังคม

ปัจจุบันเราเข้าสู่ระบบนิเวศน์ดิจิตอล (Digital Ecosystem) อย่างเต็มตัว เป็นการอยู่ร่วมกันของคนกับสิ่งแวดล้อมทางดิจิตอล

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


81

ออนไลน์ ไม่วา่ จะเป็น Hi5 MySpace Facebook ฯลฯ ทัง้ หมดทัง้ มวลนีล้ ะครับทีร่ วม อยู่ในระบบนิเวศน์ดจิ ติ อล ท่านผูอ้ า่ นบางท่าน อาจปฏิเสธว่า ไม่เห็นต้องใช้อเี มล ไม่ใช้โทรศัพท์มอื ถือ ไม่ใช้ Facebook แต่ปฏิเสธไม่ได้หรอกครับว่าท่าน ไม่ได้ใช้บตั รประชาชน Smart Card หรือ E-Passport ทีป่ กแข็งๆ ด้านหลังฝังชิปไว้ เก็บข้อมูลต่างๆ ปฏิเสธไม่ได้ว่าบัตรเครดิต เป็นส่วนหนึ่งของการใช้จ่ายประจำวันไป แล้ว ด้วยความสะดวก (รูดปืด๊ ๆ) ไม่ตอ้ ง กังวลเรือ่ งเงินทอน และเศษสตางค์ (แต่มา กังวลเรือ่ งหนีบ้ ตั รเครดิตแทน) ส่วนท่านที่ อ่อนวัยลงมาหน่อย 20-30 ปี ชีวติ นีค้ งขาด โทรศัพท์มือถือไม่ ได้เป็นแน่ (ไม่มีแล้วไม่ มัน่ ใจ) ชีวติ นีค้ งขาดอินเตอร์เน็ตไม่ได้เป็น แน่ (ไม่มแี ล้วไม่อยากทำงาน) และแน่นอน ว่ า เด็ ก หรื อ เยาวชนที่อ ายุ น้อ ยลงไป ซึ่ง พวกเขาเหล่านีเ้ กิดมาพร้อมกับระบบนิเวศน์ ดิจติ อลอย่างสมบูรณ์แบบ เกิดมาพร้อมกับ การแข่งขันในธุรกิจด้านเนือ้ หาดิจทิ ลั (Digital Content) ไม่วา่ จะเป็นข่าวสารข้อมูลที่ มากับโทรศัพท์มอื ถือ SMS ข่าวสาร Download ผ่านโทรศัพท์ เชือ่ มต่ออินเตอร์เน็ตไร้ สายผ่านเครือข่าย 3G (เฉพาะบางพืน้ ที)่ พูดคุยผ่าน BB Phone ชีวิตนี้สัมผัสแป้น

พิมพ์ (ทั้งบนโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์) มากกว่าจับดินสอ ปากกา ดังนัน้ เวลาแชท กั บ เพื่อ นจึ ง พิ ม พ์ ไ ด้ ร วดเร็ ว เท่ า ความคิ ด แต่ เ วลาให้ ขี ด เขี ย นอะไรบนกระดาษจะ เขียนไม่ค่อยรู้เรื่อง กลายเป็นเด็กสมาธิสั้น ทำอะไรหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน (แต่ทำอย่างละนิดอย่างละหน่อย) เช่น เปิด ทีวดี ลู ะคร นัง่ ทำการบ้าน เปิดเครือ่ งคอมพิวเตอร์ อ อนไลน์ Facebook คุ ย กั บ เพื่ อ น สิ่งเหล่านี้เป็นผลมาจากการถูกหล่อหลอม ในระบบนิเวศน์ดจิ ติ อลทัง้ สิน้ ดังนัน้ การจะปิดกัน้ หรือปฏิเสธ เทคโนโลยีเหล่านี้ จึงเป็นการแก้ปญ ั หาทีผ่ ดิ อย่างมหันต์ เพราะในท่ามกลางระบบนิเวศน์ ดิจิตอลนี้ เทคโนโลยีอยู่รอบตัวเรา และ ไหลบ่าเข้ามาทุกทิศทุกทาง ปิดกั้นอย่างไร ก็ ไม่สำเร็จ ทางออกที่ดีท่ีสุดน่าจะเป็นการ สอนให้ เ ด็ ก และเยาวชนได้ ใ ช้ เ ทคโนโลยี เหล่านีอ้ ย่างฉลาด (Smart) ใช้ให้เกิดประโยชน์ และรูเ้ ท่าทันภัยทีอ่ าจเกิดจากเทคโนโลยีเหล่านี้ เด็กรุน่ ใหม่ ยุคสมัยดิจติ อลนี้ เป็น เผ่าพันธ์ทช่ี อ่ื ว่า วงศ์ดจิ ติ อล (Digital Species) ดำรงชีวติ ในสิง่ แวดล้อมทีเ่ ต็มไปด้วย ความเปลีย่ นแปลง ดังนัน้ เพือ่ ความอยูร่ อด คนในเผ่าพันธ์นจ้ี ำเป็นต้องพัฒนาตนเองอยู่

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


82 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554

ตลอดเวลา การศึกษาในยุคนีจ้ งึ เปลีย่ นจาก Teaching Base ไปสู่ Learning Base โดย มีคณ ุ ครูคนสำคัญทีม่ บี ทบาทอย่างมาก 3 ท่าน คือ ท่านแรกคุณครู Google อยากรู้ อะไรถามได้ทกุ อย่าง คุณครูทา่ นนีจ้ ะสรรหา คำตอบให้ตาม “คำสำคัญ” ทีน่ กั เรียนถาม แต่คำตอบหน้าแรกๆ มักเป็นคำตอบในเชิง ธุรกิจ เพราะคุณครู Google อยู่ได้โดยอาศัย ค่าโฆษณา เป็นธุรกิจสือ่ โฆษณาทีม่ เี สิรซ์ เอ็น จิน้ เป็นหัวใจ ปัญหาของเด็กพันธ์ดจิ ติ อลคือ การคัดเลือกคำตอบที่ ได้มาว่าคำตอบใด ถูกต้อง และเหมาะสมทีจ่ ะนำไปใช้ประโยชน์ ส่วนท่านที่ 2 คือ คุณครู Wikipedia ครู ท่านนี้เปรียบเสมือนครูสอนภาษา ที่ ได้ให้ นิยาม ความหมายของคน สัตว์ สิง่ ของ ไว้ มากมายมหาศาล อยากทราบคำนิยามสิง่ ใด ขอให้เข้ามาถามคุณครู Wiki รับรองไม่ ผิดหวัง เพราะคุณครูทา่ นนี้ได้ความรูม้ าจาก มหาชนคนออนไลน์ อี ก ทอดหนึ่ ง นิ ย าม คำศัพท์ ใหม่ๆ จึงเกิดขึ้นอยู่เสมอๆ ส่วน ท่านสุดท้ายคือคุณครู Youtube เป็นคุณครู ที่ มี ส่ื อ การสอนที่ โ ดนใจวั ย รุ่ น มากที่ สุ ด เพราะสอนด้วยภาพเคลือ่ นไหว ไม่นยิ มให้ นักเรียนอ่าน คุณครูทา่ นนีม้ คี า่ ตัวสูงถึง 1.6 พันล้านเหรียญโดยถูกคุณครู Google ซือ้ เพื่ อ ให้ ม าเสริ ม ทั พ ในโลกเนื้ อ หาดิ จิ ทั ล

(Digital Content) ทีม่ อี ยูม่ ากมายมหาศาล บนอินเตอร์เน็ต และดูเหมือนคุณครู Google จะเป็นครูใหญ่ในยุคทีเ่ รียกกันว่า Web 2.0 เสียด้วย เนือ่ งจากครูใหญ่แห่งยุค Web 1.0 ซึง่ ก็คอื คุณครู Yahoo! เริม่ ล่าถอยไปเพราะ เทคโนโลยีในยุคเก่านั้นไม่ตอบสนองคนใน วงศ์ดจิ ติ อลได้อกี ต่อไป คุณครู Yahoo! นัน้ ให้ข้อมูลเพียงอย่างเดียว โดยไม่ ได้เรียนรู้ ที่จะรับข้อมูลจากผูอ้ น่ื (ซึง่ ก็คอื เว็บไซต์ใน ยุคแรกๆ ทีเ่ น้นให้ขอ้ มูล เว็บมาสเตอร์เป็น คนนำข้ อ มู ล ขึ้ น เว็ บ ไซต์ เ พื่ อ นำเสนอ) ส่วนคุณครู Google, Wikipedia และ Youtube นัน้ ในขณะที่ให้ขอ้ มูลก็รบั ข้อมูลไปด้วย ในเวลาเดียวกัน นักเรียนบางคนเข้ามาถาม คำถาม แต่นกั เรียนบางคนเข้ามาตอบ เข้า มาใส่เนือ้ หา โดยเฉพาะคุณครู Youtube รับ แต่เนือ้ หาทีเ่ ป็นภาพเคลือ่ นไหวโดยเฉพาะ คุ ณ ครู ทั้ ง หมดที่ ไ ด้ ก ล่ า วมานั้ น ทำให้เห็นสัจธรรมของโลกอยู่อย่างหนึ่งคือ การไม่เรียนรูท้ ำให้ลา้ หลัง และตามคนอืน่ ไม่ทัน เฉกเช่นเทคโนโลยี ในปัจจุบันที่เป็น แรงกดดันให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทางสังคม มนุษ ย์ ในยุคสมัยหลังนี้จึงไม่สามารถที่จะ ปฏิเสธ หรือไม่สนใจเรียนรูเ้ ทคโนโลยีเหล่านี้ ได้ คนรุน่ ใหม่จงึ ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อประโยชน์หลาย

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


83

ประการ คือ 1) เพือ่ ติดต่อสือ่ สาร 2) เพือ่ ร่วมมือกันทำงาน 3) เพือ่ หาและสร้างความ รู้ 4) เพือ่ ความทันสมัย และ 5) เพือ่ ให้เพือ่ น ยอมรับ (ยืน ภูว่ รวรรณ, 2553) หากแต่การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ ประโยชน์ท้ังหลายทั้งมวลนั้นต้องคำนึงถึง จริยธรรมทางคอมพิวเตอร์ดว้ ย (Computer Ethics) โดยการใช้คอมพิวเตอร์ควรคำนึง ถึงสิง่ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ (Association for Computing Machinery, 2007) 1. ใช้เพื่อสังคมและบุคคล การใช้ คอมพิวเตอร์จะต้องไม่ทำให้มผี ลทางลบกับ ผูใ้ ช้ ทัง้ ทางด้านสุขภาพ และความปลอดภัย รวมทั้งการป้องกันสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน และจะต้องคำนึงถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรม 2. ไม่ ท ำร้ า ยผู้ อื่ น การทำร้ า ย หมายถึงทำให้บาดเจ็บหรือเกิดผลทางด้าน ลบ ดังนัน้ ทางด้านระบบคอมพิวเตอร์จะ ต้องไม่ทำร้ายผูใ้ ช้ การกระทำกับฐานข้อมูล การทำให้ระบบเสียหาย การปรับเปลี่ยน โปรแกรม เป็นต้น 3. ซือ่ สัตย์และเป็นที่ไว้วางใจ เนือ่ ง จากความซื่อสัตย์เป็นสิ่งสำคัญของความ เชือ่ ถือ ยอมรับไว้วางใจ ถ้าไม่มกี ารยอมรับไว้

วางใจองค์กรหรือคนในวิชาชีพก็ไม่สามารถ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล 4. ยุตธิ รรม และไม่ทำการใดๆ ที่ เป็นการกีดกัน เนื่องจากสารสนเทศและ เทคโนโลยีอาจทำให้เกิดความไม่เท่าเทียม กันระหว่างกลุ่มประชากร ในสังคมที่ยุติธรรมทุกคนจะต้องมีความเท่าเทียมกันใน การเรียกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยไม่ คำนึงถึงเชือ้ ชาติ เพศ ความพิการ และอายุ 5. ให้การยอมรับสิทธิอนั ชอบธรรม ในทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา โดยการยกย่ อ ง ไม่ขโมย ทำลาย หรือนำมาใช้โดยไม่ได้รบั อนุญาต ในหลักการนีค้ ลอบคลุมทัง้ ทรัพย์สินทางกายภาพที่เป็นสิ่งของและทรัพย์สินทางปัญญา ต้องไม่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ของผูอ้ น่ื โดยไม่ได้รบั อนุญาต เช่น การใช้ เวลาของคอมพิวเตอร์ ต้องป้องกันทรัพย์สนิ ทางปัญญาโดยไม่รกุ ล้ำ หรือขโมยความคิด ของผูอ้ น่ื ต้องไม่นำผลงานของผูอ้ น่ื มาเป็น ผลงานของตนเอง ต้องไม่ละเมิดสิทธิบตั ร ลิ ข สิ ท ธิ์ หรื อ สั ญ ญาข้ อ ตกลง ต้ อ งไม่ ใ ช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีทำสำเนาผิดกฎหมาย ทัง้ นีร้ วมทัง้ ไม่สนับสนุนการทำสำเนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทม่ี ลี ขิ สิทธิ์ 6. เคารพต่อสิทธิทางปัญญาอย่าง เหมาะสม ปกป้องความซือ่ สัตย์ตอ่ สิทธิทาง

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


84 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554

ปัญญา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ต้องไม่เอาความ คิดหรืองานของผูอ้ น่ื ไปใช้ ถึงแม้ในกรณีท่ี งานหรือความคิดนั้นไม่ ได้ถูกปกป้องจาก การสงวนลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบตั ร ฯลฯ อย่าง ชัดเจนก็ตาม 7. เคารพต่อความเป็นส่วนตัวของ ผูอ้ น่ื เนือ่ งจากเทคโนโลยีดา้ นคอมพิวเตอร์ และการสือ่ สารสามารถรวบรวมและเปลีย่ น แปลงข้อมูลส่วนตัวด้วยขอบเขตที่ไม่เคยมี มาก่อนในประวัติศาสตร์ความเจริญรุ่งเรือง ดังนัน้ มีความเป็นไปได้มากขึน้ ทีจ่ ะมีการ ละเมิดความเป็นส่วนตัวทัง้ แบบส่วนตัวและ กลุม่ เป็นความรับผิดชอบของผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ท่ีจะต้องรักษาความเป็นส่วนตัวและ ความซื่อสัตย์ต่อข้อมูลเรื่องความเป็นส่วน ตัวไว้ ทัง้ นีต้ อ้ งระมัดระวังและต้องแน่ใจใน ความถูกต้องของข้อมูล รวมถึงการป้องกัน (ข้อมูล) จากการเข้าหาข้อมูลโดยไม่ ได้รับ

อนุญาต หรือการเปิดเผยแบบไม่ต้ังใจต่อ ความเป็นส่วนตัวที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ ขั้ น ตอนต้ อ งถู ก กำหนดให้ เ ฉพาะผู้ ไ ด้ รั บ อนุญาตในการตรวจสอบและแก้ ไขข้อมูล เท่านัน้ 8. เก็บรักษาความลับ เนื่องจาก หลักการของความซือ่ สัตย์ ขยายไปสูก่ ารพูด ถึงข้อมูลความลับ เมือ่ ใดก็ตามทีม่ ีใครกระทำ สัญญาที่ชัดเจนต่อการเก็บรักษาความลับ หรื อ แม้ แ ต่ ก ารบอกเป็ น นั ย ๆ เมื่ อ ข้ อ มู ล ส่วนตัวไม่ ได้ข้ึนอยู่ โดยตรงต่อหน้าที่ของ คนๆหนึง่ ทีแ่ สดงออกว่าสามารถใช้ ได้ จริยธรรมทีเ่ กีย่ วข้องคือ เคารพต่อสัญญาผูกมัด ทัง้ หมดของความลับ ต่อนายจ้าง ลูกค้า และ ผูใ้ ช้ เว้นเสียแต่วา่ ได้รบั อนุญาตให้ละเว้น ด้วยจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์ท้ัง 8 ข้อทีย่ กมานี้ เป็นเหมือนมารยาททางสังคม โดยเฉพาะบนโลกออนไลน์ ทีถ่ งึ แม้จะไม่ใช่

การใช้หรือไม่ใช้เทคโนโลยีจึงไม่ใช่ประเด็นปัญหา หากแต่การใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่างหาก ที่ควรเป็นสิ่งที่ต้องทบทวน ขบคิด เพื่อมิให้เทคโนโลยีเหล่านี้เป็นดาบสองคม

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


85

โลกแห่งความเป็นจริง (เสมือนจริง) แต่ก็ ปฏิเสธไม่ได้วา่ นับวันโลกเสมือนจริงนี้ เข้า ใกล้ความเป็นจริงเข้ามาทุกที เพราะสิง่ ต่างๆ ทีเ่ รานำขึน้ ไปไว้ในโลกเสมือนจริงนี้ วันหนึง่ สิ่งเหล่านี้อาจสะท้อนกลับมายังเรา ผู้ซ่ึง ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การกระทำทั้ ง หลาย ทั้งปวง ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ จึง ต้องตระหนักรู้มากขึ้นถึงผลกระทบที่อาจ ตามมา การใช้หรือไม่ใช้เทคโนโลยี อันเป็น เครื่องมือที่พระเจ้าประทานให้ผ่านทางการ สร้างสรรค์ของมนุษย์ จึงไม่ใช่ประเด็นปัญหา หากแต่การใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างไรให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่างหากที่ควรเป็นสิ่งที่ ต้องทบทวน ขบคิด เพื่อมิ ให้เทคโนโลยี เหล่านี้ เป็นดาบสองคม ทีด่ า้ นหนึง่ มีคณ ุ ประโยชน์ แต่อีกด้านหนึ่งเต็มไปด้วยโทษ เทคโนโลยีเครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีกล่าว มาก็เช่นเดียวกัน เป็นเครือ่ งมืออย่างดียง่ิ ใน การช่วยเผยแพร่ขา่ วสาร สามารถนำข่าวดี บทพระวาจา และข้อคิดต่างๆ ไปสูม่ หาชน ได้อย่างรวดเร็ว ประหยัด ด้วยความทีม่ ผี ใู้ ช้ เป็นเครือข่ายสังคมจำนวนมากมายนัน้ การ แสดงทัศนะ การพูดคุยของเรากับเพือ่ น จึง ไม่ได้เป็นเรือ่ งส่วนตัวอีกต่อไป แต่ทกุ สิง่ ทุกอย่างทีน่ ำเสนอ หรือโพสต์ขน้ึ ไปในเครือ-

ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เป็ น เสมื อ นข้ อ มู ล ที่ สาธารณชนสามารถเข้าถึงได้ ดังนัน้ จึงต้อง พึงระวังไว้เสมอ สำหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่ โพสต์ขน้ึ ไปนัน้ “ไม่จำเป็นทีจ่ ะต้องโพสต์ทกุ สิง่ ทีค่ ดิ แต่จงคิดทุกสิง่ ที่โพสต์” ไม่เช่นนัน้ สิ่งเหล่านี้จะสะท้อนกลับมาเล่นงานเราใน ภายหลังได้และขอให้เราในฐานะคริสตชนที่ ดี จงช่วยกันเผยแผ่ขา่ วดีของพระเจ้าผ่าน ทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ ดังที่ได้ทรง ตรัสไว้ ดังนี้ “จงอย่าพูดคำเลวร้ายใดๆเลย จง พูดแต่คำดีงามเพื่อช่วยกันเสริมสร้างผู้อ่ืน ตามโอกาส และเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ บรรดาผู้ ได้ยนิ ได้ฟงั ” (อฟ. 4: 29) “อย่าให้มที ง้ั การพูดหยาบคาย พูด ไร้สาระและตลกหยาบโลนซึ่งไม่เป็นการ สมควร แต่ให้มกี ารขอบพระคุณ” (อฟ. 5: 4) “จงหลีกเลีย่ งคำพูดเพ้อเจ้อไร้สาระ เพราะมีแต่จะทำให้หา่ งพระเจ้ามากขึน้ และ คำพู ด ของบุ ค คลเหล่ า นี้ จ ะแพร่ อ อกไป เหมือนกับเนือ้ ร้าย” (2ทธ. 2: 16-17) “อย่าให้ใครใช้คำพูดไร้สาระหลอก ลวงท่าน ผูท้ ่ีไม่ยอมเชือ่ ฟังและทำความผิด เหล่านีส้ มควรจะได้รบั โทษจากพระเจ้า จง อย่าสมาคมกับคนเหล่านีเ้ ลย” (อฟ. 5: 6-7)

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


86 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554

พระองค์ทรงสั่งสอนเรามากว่า 2 พันปีแล้ว และคำสอนเหล่านีส้ ามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในปัจจุบนั ได้เป็นอย่างดี ไม่เว้น แม้ ก ระทั้ ง เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ซึ่ ง หลายๆครัง้ เรามัวแต่ลมุ่ หลง มัวเมา สนุก สนานกับการแสดงความคิด และทัศนะที่ ไม่สร้างสรรค์ พูดจาด้วยคำที่ไม่เหมาะสม หยาบคาย และใช้เวลาไปกับสิง่ ต่างๆ เหล่านี้ อย่างเปล่าประโยชน์ จึงขอทิง้ ท้ายพระวาจา ของพระเจ้า ไว้สำหรับใครทีเ่ สียเวลาไปกับ สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ “จงบังคับให้คนพวกนี้ทำงานหนัก กว่าเดิม เขาจะได้ทำงานแทนทีจ่ ะไปคอยฟัง คำหลอกลวง” (อพย. 5: 9)

สุดท้ายนี้ ขอนำเสนอเว็บไซต์ทน่ี า่ จะเป็นประโยชน์ โดยเฉพาะสำหรับท่านที่ เป็นนักวิชาการ ทีต่ อ้ งการองค์ความรูใ้ นเรือ่ ง ของปรัชญา ศาสนา และเทววิทยา จึงขอ แนะนำเว็บไซต์ของศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม http:// www.saengtham.ac.th/2008-08-0917-47-13/2009-03-15-11-45-08 ซึง่ ใน หน้าเว็บนีจ้ ะมีผลงานวิจยั ปีการศึกษา 25512552 ฉบับเต็มให้ทา่ นได้ Download ไป ศึกษา อ้างอิงได้อย่างสะดวกครับ และถ้ามี ผลงานวิจยั ใหม่ๆ ทางศูนย์วจิ ยั ฯ ก็จะนำขึน้ ให้อยูเ่ สมอๆ ครับ ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ภาพแสดงเว็บไซต์ศนู ย์วจิ ยั ฯ วิทยาลัยแสงธรรม สำหรับ Download ผลงานวิจยั ฉบับเต็ม

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


87

นอกจากนี้ ยังมีหน้าเว็บไซต์สำหรับ Download วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ซึง่ ออกเผยแพร่ฉบับแรกตัง้ แต่ปกี าร ศึกษา 2551 เป็นวารสารทีร่ วบรวมผลงาน วิจยั ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการ ศึกษาจากทัว่ ทุกสารทิศ มีระบบการประเมิน บทความตามมาตรฐานวารสารวิ ช าการ (Peer Review) และวารสารนีจ้ ดั พิมพ์เผย แพร่ ไ ปยั ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั้ ว ประเทศ ครับ อย่างไรก็ตามท่านสามารถเปิดดูได้ จากเว็ บ ไซต์ อี ก ทางหนึ่ ง ครั บ ตามลิ ง ค์ น้ี

http://www.saengtham.ac.th/sc-journal ดังภาพที่ 2 และหากท่านใดสนใจสื่อการสอน ในรู ป แบบของหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Book) ทีค่ ล้ายหนังสือทัว่ ไป แต่อยูใ่ นรูป ของดิจติ อลไฟล์ ทีส่ ามารถใส่ตวั อักษร ภาพ เสียง คลิปวิดี โอ เข้าไปเพื่อเพิ่มความน่า สนใจให้กบั ตัวเนือ้ หาได้ ก็ขอเชิญเข้าไปชม ได้ที่เว็บไซต์ http://www.saengtham. ac.th/ebook1.html ตัวอย่างดังภาพที่ 3

ภาพที่ 2 ภาพแสดงเว็บไซต์วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม สำหรับดูวารสารวิชาการทุกฉบับ

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


88 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554

ภาพที่ 3 ภาพแสดงตัวอย่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ทีม่ ีไว้บริการทางวิชาการ

หากท่ า นใดมี โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ที่ สามารถอ่าน QRCode ได้ พร้อมต่ออินเตอร์เน็ต เชิญนำกล้องมาทดลองส่องได้เลยครับ

1) เว็บไซต์งานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ 2) เว็บไซต์ วารสารวิชาการ และ 3) เว็บไซต์ e-Book ตามลำดับครับ

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


89

ยืน ภูว่ รวรรณ. 2553. Social Media กับการศึกษายุคไอซีท.ี ICTEd2010, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เรืองโรจน์ พูนผล. 2551. บทเรียนธุรกิจร้อน ๆ จาก Silicon Valley. กรุงเทพฯ : เนชัน่ บุค๊ ส์. Association for Computing Machinery(ACM). 2007. Code of Ethics and Professional Conduct. [Online] Available from : http://www.acm.org/about/code-of ethics [2007, March 1]. DiGiacomo, J. J. 2000. Teaching Right from Wrong : The Moral Education of Today’s Youth. National Catholic Educational Association, Washington, DC.

Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.