แนะนำหนังสือ

Page 1

แนะนำหนังสือ 95

พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์

หนังสือ เมื่อศาสนาต้องเผชิญกับสื่อสมัยใหม่ (When Religion Meets New Media) ของ ไฮดิ เอ. แคมเบล วิจารณ์โดย สตีเฟน การ์เนอร์ (Stephen Garner) แปลและเรียบเรียงโดย อ.พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ หนังสือ When Religion Meets New Media จัดพิมพ์ครั้งแรกปี 2010 โดยรูทเลดจ์ (Routledge) จำนวน 219 หน้า เป็นหนังสือ ที่รวบรวมบทความอันเกิดจากการค้นคว้าวิจัย ด้ า นสื่ อ ใหม่ แ ละสั ง คม (New Media and Society) ของไฮดิ แคมเบล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาการสื่อสาร แห่งมหาวิทยาลัย เทกซัส เอแอนด์เอ็ม (Texas A&M University) หรือย่อว่า TAMU ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาล ตั้งอยู่ในเมืองคอลเลจสเตชัน ในรัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลแห่ง แรกของรัฐเทกซัส มีชอ่ื เสียงในด้าน วิศวกรรม ศาสตร์ และเกษตรศาสตร์ (วิกพิ เี ดียไทย, 2556)

รองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ผู้สอนรายวิชาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม ผู้สอนรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ผู้สอนรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ผู้สอนรายวิชาโปรแกรมประยุกต์ด้านการออกแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร


96 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2013/2556

บทความต่างๆ ในหนังสือเล่มนี้ จึงเป็น การต่อยอดในเรื่องการสำรวจเกี่ยวกับชุมชน ทางศาสนาในสภาพแวดล้อมของสังคมออนไลน์ ก่อนหน้านี้ โดยขยายความเกี่ยวกับสภาวะที่ เป็นอยู่ พัฒนามุมมองทางสังคมและศาสนา เพื่อการพิจารณาถึงวิธีการที่ชุมชนแห่งความ เชื่อต่อรองกับการเลือกใช้และการปรับใช้ให้ เข้ากับเทคโนโลยีดิจิตอลสมัยใหม่ โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง กั บ เทคโนโลยี เ คลื่ อ นที่ (Mobile Technologies) และดิจิตอลที่ทันสมัยยิ่งขึ้น เช่น อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ง เป็นสภาวะเกี่ยวพันที่เผชิญอยู่ โดยแคมเบลท้ า ทายสมมติ ฐ านที่ ว่ า ศาสนาเป็นศัตรูกับเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยแท้ และการใช้เทคโนโลยีเป็นแนวคิดให้เกิดคำถาม ซึ่งเป็นขอบเขตของการวิจัย ประการแรก เมื่อ ผู้ใช้เทคโนโลยีที่นับถือศาสนาต้องเผชิญหน้า กั บ เทคโนโลยี แล้ ว อะไรจะเกิ ด ขึ้ น บ้ า ง? ประการที่สอง ชุมชนทางศาสนาโดยเนื้อแท้ แล้ ว เป็ น ศั ต รู ห รื อ แค่ เ ป็ น ความหวาดระแวง ต่อเทคโนโลยีสมัยใหม่? และประการสุดท้าย เป็นการตอบรับตามธรรมชาติของชุมชนแห่ง ความเชื่อที่จะปฏิเสธสื่อในรูปแบบใหม่หรือไม่? แคมเบลให้เหตุผลในเรื่องนี้ ความคิดเห็นที่ แท้ จ ริ ง ซึ่ ง เป็ น คำตอบของคำถามนั้ น ต้ อ ง สอดคล้องกับการต่อรองที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่ ง จะต้ อ งเกิ ด ขึ้ น ภายในชุ ม ชนทางศาสนา ทั้งที่เป็นส่วนตัว และโดยอิทธิพลภายนอก

ดังทีพ่ วกเขาต้องเผชิญ และปรับตัวให้เหมาะสม กับเทคโนโลยีและสื่อสมัยใหม่ กลุ่มชนทาง ศาสนาบางกลุ่มยังคงรักษาท่าทีต่อต้านมาก เกินไป แต่กลุ่มโดยส่วนใหญ่ยืนกรานว่า แท้ จริงมีสัมพันธภาพที่ซับซ้อนกว่านั้นมากนัก เพือ่ ทีจ่ ะสำรวจถึงสัมพันธภาพอันซับซ้อน นี้ และต้องเน้นกระบวนการต่อรองและการ บรรยายที่หลากหลายซับซ้อน ซึ่งจำเป็นต้อง เกิดขึ้นในบริบทเหล่านี้ แคมเบลได้พิจารณา ตัวอย่างจากชุมชนชาวยิว ชาวมุสลิม และ ชาวคริสต์ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นกลุ่มคนที่ยึดถือ พระคัมภีร์เป็นหลัก (People of the Book) มีอัตลักษณ์และแนวทางปฏิบัติที่มีต้นกำเนิด มาจากสัมพันธภาพทางประวัติศาสตร์กับตัว บททางศาสนา (Religious Texts) โดยเฉพาะ และเมื่อได้เจรจาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง สื่อเหล่านี้แล้ว นี่เป็นการเชื่อมโยงกับหัวใจ ของหนังสือ ซึง่ ยืนยันได้วา่ ชุมชนทางศาสนา เหล่านี้มิได้ต่อต้านเทคโนโลยีแต่อย่างใด แต่ เป็นการเผชิญหน้าต่อความท้าทายและโอกาส ที่ส่อื ในรูปแบบใหม่ได้พยายามนำเสนอออกมา แน่นอนว่า มีปัจจัยที่เป็นพื้นฐานทางความเชื่อ และสังคมซึ่งส่งผลต่อการตอบรับของพวกเขา ในบทแรกๆ ของหนั ง สื อ จะเห็ น ว่ า แคมเบลได้ร่างภูมิภาพซึ่งเกี่ยวกับสถานการณ์ ที่เป็นอยู่ รวมทั้งวิธีการที่จะบรรลุเป้าหมาย โดยการเชือ่ มต่อปัจจัยทีม่ พี น้ื ฐานทางความเชือ่ กับสังคมอย่างชัดเจน ซึ่งเป็นแนวทางนำไปสู่


แนะนำหนังสือ 97

การเจรจาทางสื่อ คือ 1) ประเด็นเกี่ยวกับ การตี ค วามของแก่ น ทางความเชื่ อ และการ ปฏิ บั ติ ที่ บ่ ง บอกถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ ข องชุ ม ชน 2) ความสำคั ญ ของปฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ผ่ า นมากั บ ตั ว บทพระคั ม ภี ร์ และ 3) ธรรมชาติ ข อง อิ ท ธิ พ ลทางศาสนาภายในชุ ม ชนเหล่ า นั้ น รวมทั้ ง ได้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น อย่ า งชั ด เจนว่ า มี ค วาม สนใจในศาสนาภายในบริบทของการแสดงออก การปฏิ บั ติ และประสบการณ์ ร่ ว มกั น ใน ชุมชนทางศาสนาที่จำเพาะเจาะจง ดังที่เกิด ความไม่เห็นด้วยต่อการพิจารณามุมมองทาง ศาสนาให้เป็นระบบทางวัฒนธรรมโดยทั่วไป สื่อสมัยใหม่ก็เช่นเดียวกัน มีสองรูปแบบ คือ 1) สื่ อ ที่ ไ ม่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ ชุ ม ชน กั บ 2) สื่อเทคโนโลยีเครือข่ายดิจิตอลรูปแบบใหม่ ทั้งสองรูปแบบถูกจัดระเบียบเป็นตัวหนังสือ เหมื อ นกั น แต่ รู ป แบบที่ ส องจะพบได้ บ่ อ ย มากขึ้น การพิจารณาถึงวิธีการที่แตกต่างกันใน การศึ ก ษาเรื่ อ งศาสนา แคมเบลเสนอว่ า วิธีการที่เรามองสื่อเป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันมานาน ในสังคม เป็นจุดเริ่มต้นที่ช่วยในการติดต่อ สื่อสารด้วยการแสดงออก การปฏิบัติ และ ประสบการณ์ ร่ วมกั นในชุม ชนทางศาสนาที่ จำเพาะเจาะจง สิ่งนี้มีความเกี่ยวพันกับการ พิจารณาทั้งคุณค่า ซึ่งเข้าไปถึงการผลิตสื่อ และลู่ทางที่ประชาชนจะได้รับสื่อในรูปแบบ และเนื้ อ หาต่ า งๆ กั น อั น จะนำไปสู่ ค วามเ

หมาะสมในวิธีการสร้างรูปแบบทางสังคมกับ เรื่องทั่วๆ ไปที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี เป็น การนำเสนอข้อมูลพื้นฐานเพื่อที่จะศึกษาวิธี การที่ ชุ ม ชนทางศาสนาต่ อ รองให้ เ กิ ด ความ เข้าใจในการใช้เทคโนโลยีและสือ่ เพือ่ จุดประสงค์ ของชุมชนเอง แคมเบลได้ขยายความเรื่องนี้ โดยให้ ค วามเห็ น ว่ า เราสามารถพบความ แตกต่างกันภายในชุมชนทางศาสนาเพียงเล็ก น้อย เช่น เรือ่ งการดำเนินชีวติ ในประวัตศิ าสตร์ ธรรมประเพณีที่ถูกตีความหมาย คุณค่าที่ดี กว่าในช่วงร่วมสมัย ทั้งหมดนี้มีส่วนสำคัญใน การทำความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ทางศาสนา กับสือ่ สมัยใหม่ โดยให้คำนิยามใหม่วา่ วิธกี าร สร้างสัมพันธ์ทางศาสนาและสังคม (Religious -social Shaping) ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย 1) ประวัตศิ าสตร์และธรรมประเพณี 2) แก่น ของความเชื่ อ และการปฏิ บั ติ 3) กระบวน การเจรจาต่อรอง และ 4) การอภิปรายและ การวางแผนร่วมกันแคมเบลสำรวจตรวจสอบ แต่ละองค์ประกอบตามวิธีการซึ่งอยู่ในส่วน แรกของหนังสือ ด้วยตัวอย่างของการเผชิญ หน้าและการปรับให้เหมาะสมเข้ากับสื่อสมัย ใหม่ภายในชุมชนทางศาสนาที่จำเพาะเจาะจง ในการมองประวัติศาสตร์และธรรมประเพณี โดยศึ ก ษากลุ่ ม ตั ว อย่ า งของชุ ม ชนชาวยิ ว ออร์โธดอกซ์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิธีการต่อรอง ในอดีตกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสื่อ เช่น การใช้ เทคโนโลยี ใ นวั น สะบาโต (Sabbath) การ


98 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2013/2556

ปรั บ เทคโนโลยี ใ ห้ เข้ า กั บ กฎหมายคั ม ภี ร์ ยิ ว โบราณ (Halacha) และการสร้างตัวบทพระ คัมภีร์ออนไลน์ เช่น คำแนะนำสำหรับการ ฉลองครบรอบการอพยพจากประเทศอียิปต์ (Seder) ในทำนองเดียวกัน การพิจารณาถึง แก่นความเชื่อและการปฏิบัติ แคมเบลได้ใช้ ตัวอย่างจากชุมชนอิสลาม ซึ่งแสดงวิธีการที่ จะทำให้ ธ รรมประเพณี อ ยู่ ใ นบริ บ ทตาม สถานการณ์ ท างวั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ าสตร์ และสังคมอีกครัง้ หนึง่ เช่น การใช้สอ่ื สมัยใหม่ ในการส่งเสริมเกี่ยวกับการใช้ชีวิตในโลกของ สื่ อ โดยยึ ด หลั ก ของคุ ณ ค่ า ทางสั ง คมและ ศาสนาโดยเฉพาะ ในการตรวจสอบองค์ ประกอบการต่ อ รองและการอภิ ป ราย ได้ ทำการขยายขอบเขตเพื่อมองดูว่าตัวอย่างจาก ทัง้ สามธรรมประเพณีนน้ั แสดงถึงธรรมประเพณี และคุณค่าที่เป็นแก่นโดยนำกระบวนการของ การเลือกใช้และการปรับใช้เทคโนโลยีอย่างไร จากนั้นจึงทำการแก้ต่างในแต่ละตัวเลือกที่ดี ที่สุดเหล่านั้น วิธีการสร้างสัมพันธ์ทางศาสนา และสังคมทีส่ มบูรณ์ คือ การเสริมความต่อเนือ่ ง ด้วยกรณีศกึ ษาเฉพาะกิจในเรือ่ งการใช้โทรศัพท์ เคลื่อนที่ในบริบทของชาวยิว โดยรวมแล้ว วิธีการของแคมเบลใน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสื่อ

สมัยใหม่ คือ การได้รับการแนะนำ การนำ เสนอขอบข่ายงานเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับ สถานการณ์ของชุมชนทางศาสนาที่ซับซ้อน และเป็นข้อขัดแย้งในการต่อรองและปรับให้ เหมาะสมกับเทคโนโลยีและสื่อสมัยใหม่ โดย วางแผนว่าในการอภิปรายนั้น ต้องมีปัจจัย ทั้งในประวัติศาสตร์ และปัจจัยร่วมสมัยเพื่อ การพิจารณาในเรื่องนี้ การใช้ตัวอย่างจากค่า ความแตกต่างระหว่างตัวแปร (พิสัย : range) ของธรรมประเพณี และที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เพื่อให้มีบริบทของโลกโดยรวม และเชื่อมโยง ความแตกต่างภายในธรรมประเพณีทางศาสนา ซึ่งเป็นจุดสำคัญในการสร้างความสัมพันธ์นี้ การเน้นไปทีก่ ลุม่ คนทีย่ ดึ พระคัมภีรเ์ ป็นหลักนัน้ หมายความว่า ผู้อ่านกำลังมองหาความสอด คล้องกับศาสนาอื่นๆ เช่น ศาสนาฮินดู และ ศาสนาพุทธ ซึ่งจะพบความเชื่อมโยงโดยตรง เพี ย งเล็ ก น้ อ ย ทั้ ง นี้ ได้ ใ ห้ ค วามสนใจไปที่ การแสดงออกของวิ ธี ก ารในความสั ม พั น ธ์ ต่อศาสนาและกลุ่มวัฒนธรรม ซึ่งไม่ได้ม่งุ เน้น ไปยั ง เอกสารที่ เขี ย นขึ้ น โดยเฉพาะเจาะจง แม้ว่าความสัมพันธ์นั้นจะเป็นรอง หนังสือคือ การส่งเสริมทีม่ ปี ระโยชน์มากต่อศาสนาและสือ่ ทัง้ จะมีประโยชน์มากในหลักสูตรระดับปริญญา ตรีขึ้นไป

*****


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.