07 เพราะรักจึงก่อเกิด

Page 1

[ หมวดการศึกษา ] [หมวดการศึกษา]

เพราะรักจึงก่อเกิด :

ก�ำเนิดแห่งเทคโนโลยี ก�ำเนิดแห่งซิลิคอน วัลเลย์ พิเชษฐ  รุ้งลาวัลย์

รองผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม  วิทยาลัยแสงธรรม ผู้สอนรายวิชาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา  และรายวิชาฝึกปฏิบัติการผลิตและการน�ำเสนอมัลติมีเดียเพื่อ การศึกษาสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา  สาขาวิชาคริสศาสนศึกษาวิทยาลัยแสงธรรม ผู้สอนรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้  สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น  วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ผู้สอนรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ  วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ผู้สอนรายวิชาการออกแบบสิ่งพิมพ์ทางธุรกิจ  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร


เพราะรักจึงก่อเกิด : ก�ำเนิดแห่งเทคโนโลยี ก�ำเนิดแห่งซิลิคอน วัลเลย์ 93

ความรักในทีน่ มี้ ไิ ด้หมายถึงความรักแบบ หนุ ่ ม สาว  หากแต่ มี พ ลั ง อานุ ภ าพไม่ แ พ้ กั น เป็นพลังทีช่ ว่ ยผลักดันให้เกิดสิง่ ใหม่ๆ  อันเป็น คุ ณู ป การแก่ โ ลกในยุ ค ปั จ จุ บั น   ความรั ก นี้ คื อ ความรั ก แห่ ง เทคโนโลยี   อั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ซิลคิ อน  วัลเลย์  (Silicon  Valley)  ศูนย์กลาง แห่งการปฏิวัติเทคโนโลยีและนวัตกรรมของ โลก ในอดีตมีผู้คนจ�ำนวนหนึ่งที่หลงใหลใน เทคโนโลยีเป็นอันมาก  และมุ่งมั่นทุ่มเทเพื่อ สร้างสรรค์นวัตกรรมและเทคโนโลยีทกี่ อ่ ให้เกิด ประโยชน์  (และโทษ)  จนกระทั้งเปลี่ยนวิถี การด�ำเนินชีวิตของคนทั้งโลก  หากย้อนกลับ ไปเมือ่ ปี  1934  ในเมืองเล็กๆ  ทีต่ งั้ อยูบ่ ริเวณ หุบเขาที่เรียกกันว่า  พาโล  อัลโท  เมืองซาน ฟรานซิสโก  รัฐแคลิฟอร์เนีย  สหรัฐอเมริกา ได้มบี ณ ั ฑิตหนุม่ สองคนจากมหาวิทยาลัยสแตน ฟอร์ด  (ซึง่ ตัง้ อยูต่ รงใจกลางของพาโล  อัลโท) แทนที่จะตระเวนหางานเป็นลูกจ้างเฉกเช่น บัณฑิตทัว่ ไป  กลับตัดสินใจหมกตัวอยูใ่ นโรงรถ แคบๆ  โดยแบกความฝันเล็กๆ  แต่ยิ่งใหญ่ เพือ่ ทีจ่ ะเป็นผูป้ ระกอบการและสร้างเทคโนโลยี ที่ ทั้ ง สองคนหลงรั ก และเชื่ อ มั่ น ให้ โ ลกได้ ประจั ก ษ์   สองบั ณ ฑิ ต ที่ ว ่ า นี้ คื อ   วิ ล เลี ย ม ฮิ ว เลตต์   (William  Hewlett)  และ เดวิ ด   แพคการ์ ด   (David  Packard) จากจุ ด เริ่ ม ต้ น เพี ย งโรงรถแคบๆ  กั บ เงิ น จดทะเบียนเพียงไม่กี่ร้อยดอลลาร์  บวกกับ


94 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2014/2557 ความรัก  ความทุ่มเท  จนก่อให้เกิดบริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด  (HP)  ผูผ้ ลิตคอมพิวเตอร์ อันดับหนึง่ ของโลก  และถือเป็นหนึง่ ในบรรดา ผูบ้ กุ เบิกซิลคิ อน  วัลเลย์  เมืองแห่งเทคโนโลยี นี้ อีก  60  ปีตอ่ มา  ในปี  1994  เจอร์รี หยาง  (Jerry  Yang)  และเดวิด  ฟิโล  (David Filo)  สองคูห่ ทู จี่ บจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ที่ ห ลงใหล  ตื่ น ตาตื่ น ใจไปกั บ โลกแห่ ง เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต  และพบว่าการเข้า เว็บไซต์ในยุคนัน้ ช่างสับสนอลหม่านเหมือนเขา วงกต  ทั้งสองจึงได้จัดหมวดหมู่เว็บไซต์ต่างๆ เพื่อให้สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้นตามหมวดหมู่ท่ี ต้องการ  และเรียกมันว่า  ไกด์บุ๊คของเจอร์รี ส�ำหรับท่องอินเตอร์เน็ต  (Jerry’s  Guide  to the  World  Wide  Web)  และได้พัฒนา ไปสู่เว็บท่า  (Web  Portal)  ที่ใหญ่ที่สุดใน โลกนามว่ า  Yahoo  ที่ ช ่ ว ยอ� ำ นวยความ สะดวกให้กับผู้ที่ต้องการจะเข้าเว็บไซต์โดยไม่ ต้องจ�ำ  URL  ของเว็บไซต์นนั้ ๆ  เพียงแต่คลิก เข้าไปตามหมวดหมูท่ ตี่ อ้ งการ  เช่น  การท่องเทีย่ ว การศึกษา  กีฬา  เป็นต้น คู่หูบันลือโลกอีกคู่หนึ่งคือ  วอซและ จอบส์  พบกันในขณะฝึกงานที่บริษัทฮิวเลตต์ -แพคการ์ด  โดย  สตีฟ  วอซนิแอค  (Steve Wozniak)  หนุ่มร่างใหญ่  ผู้มีความสามารถ ด้ า นวิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ ป็ น เลิ ศ   กั บ สตีฟ  จอบส์  (Steve  Jobs)  หนุ่มก�ำพร้า


เพราะรักจึงก่อเกิด : ก�ำเนิดแห่งเทคโนโลยี ก�ำเนิดแห่งซิลิคอน วัลเลย์ 95

ร่างเพรียวลม  ที่ได้รับการอุปการะจากพ่อแม่ บุญธรรม  ที่มีภูมิล�ำเนาอยู่ใน  พาโล  อัลโท ผู้เป็นอัจฉริยะด้านการสร้างสรรค์นวัตกรรม ล�้ำโลก  ทั้งสองได้ร่วมกันสร้าง  Apple  Inc. บริษัทผู้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ล�้ำๆ  ที่คนทั่ว โลกอยากจับจอง  ไม่ว่าจะเป็น  เครื่องเล่น เพลง  mp3  แบบพกพาอย่าง  iPod,  Tablet อุ ป กรณ์ ที่ มี ห น้ า จอใหญ่   เพื่ อ การเข้ า ถึ ง โลกอินเตอร์เน็ตได้อย่างสะดวกทุกที่ทุกเวลา อย่ า ง  iPad,  SmartPhone  ที่ ท� ำ ให้ การสื่ อ สารนั้ น ง่ า ยขึ้ น   ทั้ ง คุ ย   แชท  แชร์ อย่าง  iPhone,  Application  ทีท่ ำ� ลายก�ำแพง แห่งค่ายเพลง  สามารถ  Download  เพลง จากค่ายต่างๆ  ได้ตามชอบใจรวบรวมไว้ในที่ เดี ย วกั น อย่ า ง  iTune,  Notebook คุณภาพสูงทั้งวัสดุ  รูปแบบ  และสมรรถนะ อย่ า ง  Macbook  ที่ จ ะช่ ว ยส่ ง เสริ ม ภาพ ลักษณ์ของเจ้าของให้ดูดีมีชาติตระกูลได้เป็น อย่างดี  นวัตกรรมอันสุดเลิศหรูเหล่านี้เริ่มต้น จากโรงรถในบ้านของจอบส์นั่นเอง จากนัน้ ในปี  1998  แลร์ร ี เพจ  (Larry Page)  และ  เซอร์ เ กย์   บริ น   (Sergey Brin)  ทัง้ คูไ่ ด้มอบเทคโนโลยีทมี่ ผี ใู้ ช้งานมากที่ สุดในโลก  จากโครงงานวิจัยปริญญาเอกจาก มหาวิ ท ยาลั ย สแตนฟอร์ ด ของทั้ ง คู ่   สู ่ Search  Engine  อันดับหนึ่งของโลกอย่าง Google  อั น เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการเข้ า ถึ ง อิ น เตอร์ เ น็ ต แบบเดิ ม ๆ  ผ่ า นเว็ บ ท่ า อย่ า ง


96 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2014/2557

Yahoo  สู ่ ก ารค้ น หาผ่ า นค� ำ ส� ำ คั ญ   (Keyword)  และการคิดค้นวิธีการหารายได้ผ่าน การประมูลค�ำส�ำคัญต่างๆ  แทนการโฆษณา และจ่ายตามจ�ำนวนครั้งที่คลิก  (Cost  per Click)  ท�ำให้หน้าแรกของเว็บไซต์  Google เรียบง่ายปราศจากโฆษณาต่างๆ  นอกจาก Search  Engine  ที่ท�ำงานได้อย่างฉลาดล�้ำ แล้ว  ยังมีแผนที่  Google  Map  ที่มีการ ปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ให้ ทั น สมั ย อยู ่ ต ลอดเวลา มี  Google  Doc  ที่ท�ำให้งานด้านเอกสาร ออนไลน์ท�ำได้อย่างสะดวกในทุกที่ทุกเวลา ฯลฯ  นอกจากนี้ ยั ง ควบรวมกิ จ การของ Youtube  เว็ บ ไซต์   Video  Sharing อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลกไว้ อี ก ด้ ว ย เรี ย กได้ ว ่ า

Google  กลายเป็นจุดเริม่ ต้นและผูน้ ำ� แห่งโลก ของ  Web  2.0  อย่ า งแท้ จ ริ ง   โลกของ ข้อมูลข่าวสารที่ผู้ใช้ทั่วโลกเป็นผู้น�ำเสนอด้วย ตนเอง  นอกจากนี้ยังได้พัฒนาระบบปฏิบัติ การบนมือถือทีม่ ผี ใู้ ช้มากทีส่ ดุ อย่างแอนดรอยด์ (Android)  แนวคิดที่เด่นชัดของ  Google นั้นคือผู้ใช้ไม่ต้องจ่ายค่าบริการ  หากแต่จะจัด เก็บจากผู้ประกอบการที่ได้รับประโยชน์อีกที หนึง่   อันเป็นแนวคิดทีป่ ระเสริฐทีส่ ดุ ในสายตา ผู้ใช้บริการอย่างเราๆ  ท่านๆ มาร์ก  ซักเคอร์เบิรก์   (Mark  Zuckerberg)  นักศึกษามหาวิทยาลัยฮาวาร์ด  อัจฉริยะ ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์  พอเรียน ชั้นปีที่  2  เขาสร้างโปรแกรมที่ชื่อ  “คอร์ส


เพราะรักจึงก่อเกิด : ก�ำเนิดแห่งเทคโนโลยี ก�ำเนิดแห่งซิลิคอน วัลเลย์ 97

แมตช์”  ที่ให้ผู้ใช้สามารถตัดสินใจเรื่องการ เลือกเรียนรายวิชาจากการตัดสินใจของเพื่อน นักศึกษาคนอื่นๆ  และยังช่วยให้พวกเขารวม กลุ่มการเรียนได้ง่ายขึ้น  ต่อจากนั้นไม่นาน เขาสร้างโปรแกรมที่แตกต่างกันออกไป  เรียก ว่า  “เฟซแมช”  โดยจะมีการสุม่ วางรูป  2  รูป อาจเป็นรูปของผู้ชาย  2  คน  หรือผู้หญิง  2 คน  ผู้เยี่ยมเยือนเว็บไซต์จะเลือกว่า  ใครร้อน แรงกว่ากัน  (Hot  or  Not)  และรวบรวม จัดอันดับเป็นผลโหวต  เว็บไซต์เปิดในช่วงวัน หยุด  แต่พอถึงเช้าวันจันทร์  เว็บไซต์ก็ถูกปิด โดยมหาวิทยาลัย  เว็บไซต์ดังกล่าวได้รับความ นิยมอย่างมากในช่วงเวลาอันสั้น  จนท�ำให้ เซิรฟ์ เวอร์ของฮาวาร์ดล่ม  นักศึกษาจึงถูกห้าม

เข้าเว็บไซต์  นอกจากนั้นมีนักศึกษาหลายคน ร้องเรียนเรื่องภาพที่ไม่ได้รับอนุญาต  มาร์กจึง ถูกพักการเรียน  และได้ตัดสินใจลาออกจาก มหาวิทยาลัยในทีส่ ดุ   โดยออกมาก่อตัง้ เว็บไซต์ Facebook  ซึ่งผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลส่วน ตัว  เพิ่มรายชื่อผู้ใช้อื่นในฐานะเพื่อนและแลก เปลีย่ นข้อความ  รวมถึงได้รบั แจ้งโดยทันทีเมือ่ พวกเขาปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว  นอกจากนั้น ผูใ้ ช้ยงั สามารถร่วมกลุม่ ความสนใจส่วนตัว  จัด ระบบตาม  สถานที่ ท� ำ งาน  โรงเรี ย น มหาวิทยาลัย  ฯลฯ  เว็บโซเชียลเน็ตเวิร์กนี้มี ผู ้ ค นเข้ า ใช้ ม ากที่ สุ ด ในปั จ จุ บั น   กลายเป็ น เว็บไซต์ที่ทรงอิทธิพลที่สุด  ที่อาจท�ำให้ใคร หลายๆ  คนต่ า งเสพติ ด การโพสต์ ข ้ อ ความ


98 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2014/2557 รูปภาพ  และการเข้าไปสอดส่องหน้าวอลล์ ของเพื่ อ นๆ  คนรู ้ จั ก   หรื อ คนที่ อ ยากรู ้ จั ก อย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน  เว็บไซต์ที่ท�ำให้ ข้อมูลข่าวสารไร้ซงึ่ ขีดจ�ำกัดอย่างแท้จริง  เปิด โลกแห่งการแชร์ข้อมูลอย่างมากมายมหาศาล ความมหัศจรรย์ของหมูบ่ า้ นเล็กๆ  ทีช่ อื่ ซิ ลิ ค อน  วั ล เลย์   นั้ น อยู ่ ต รงที่ ว ่ า  บริ ษั ท ไฮเทคหลั ก ๆ  ในโลกนั้ น ล้ ว นแล้ ว แต่ มี ส�ำนักงานใหญ่หรือศูนย์วิจัยอยู่ที่นี่  และยัง เป็นแหล่งก�ำเนิดของต�ำนานผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั ยักษ์ ใหญ่ โ ดยเริ่ ม ก่ อ ร่ า งสร้ า งตั ว จากโรงรถ  (Garage  Entrepreneur)  เริม่ จากสิง่ เล็กๆ  ทีม่ อี ยู่ สู่ความยิ่งใหญ่ที่ ส ร้ า งสรรค์ ขึ้ น ด้ ว ยความรั ก ความหลงใหลในโลกแห่งเทคโนโลยีนี้  เขา เหล่านี้จึงเป็นต�ำนานแห่งยุคสมัย  ยุคที่ทุกสิ่ง ทุกอย่างล้วนอยูใ่ นรูปแบบดิจติ อล  หลอมรวม

ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งมาบรรจบกั น   (Digital Convergence)  ทั้ ง กล้ อ งดิ จิ ต อล  พี ดี เ อ เครื่องเล่นเพลงmp3  ทีวี  โทรศัพท์  จีพีเอส และเล่นอินเตอร์เน็ตได้ในเครื่องๆ  เดียวกัน อย่าง  SmartPhone  ท�ำให้ผใู้ ช้สามารถสัมผัส ประสบการณ์ ดิ จิ ต อลได้ อ ย่ า งหลากหลาย สะดวกสบายยิง่ ขึน้   การเกิดขึน้ ของ  Youtube, Wiki,  Blog,  Facebook  ฯลฯ  ท�ำให้ผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตธรรมดาๆ  สามารถแสดงความคิดเห็น และมีสว่ นร่วมในการน�ำเสนอหรือรายงานข่าว แบบมือสมัครเล่นที่มาจากประชาชนทั่วๆ  ไป (Citizen  Journal)  ได้อย่างฉับไว  ไร้ขอบเขต การสูญหายไปของอุปสรรคขวางกั้นนี้  ท�ำให้ เกิดข้อมูลข่าวสารมากมายในโลกอินเตอร์เน็ต กลายเป็ น วั ฒ นธรรมแห่ ง มื อ สมั ค รเล่ น (The  Cult  of  the  Amateur)  ที่ท�ำให้


เพราะรักจึงก่อเกิด : ก�ำเนิดแห่งเทคโนโลยี ก�ำเนิดแห่งซิลิคอน วัลเลย์ 99

คุณภาพของข้อมูลข่าวสารนั้นต�่ำลงตามความ ชาญฉลาดและภูมิปัญญาของคนในสังคมนั้นๆ ซึ่ ง ย่ อ มส่ ง ผลเสี ย หายหากผู ้ รั บ ข่ า วสารมิ ไ ด้ แสวงหาข้อมูลข่าวสารอย่างรอบด้าน  หรือ ตั้งใจที่จะเปิดรับเฉพาะข่าวสารที่ตนเองเชื่อ และชืน่ ชอบ  ดังจะเห็นได้จากปัญหาทางสังคม การเมืองในประเทศของเราในขณะนี้  ที่ซึ่ง ข่าวสารถูกบิดเบือนอย่างจงใจ  ผูท้ เี่ สพข่าวสาร จากอินเตอร์เน็ตจึงต้องใช้อย่างมีวิจารณญาณ และรู้เท่าทัน เทคโนโลยีและนวัตกรรมเหล่านีล้ ว้ นเกิด ขึ้นจากความรัก  ความทุ่มเทของบุคคลผู้เป็น ต�ำนานดังกล่าวข้างต้น  ดังนั้นจึงควรใช้เพื่อ ประโยชน์ในด้านความรักเป็นส�ำคัญ  อย่าได้ใช้

เพื่อการประหัตประหารซึ่งกันและกัน  เพราะ นั่นจะน�ำพาทั้งเทคโนโลยีและผู้ใช้สู่ความเสื่อม แห่งยุคดิจิตอล  ยุคที่ผู้คนใช้ข้อมูลข่าวสารมา ท�ำลายล้างกันผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายอันทัน สมัยแทนการใช้อาวุธยุทโธปกรณ์เฉกเช่นอดีต ยุคทีส่ งครามจะก่อตัวขึน้ จากโลกเสมือน  ผ่าน การสร้างกระแสในสังคมออนไลน์  จนขยายวง กว้างสู่โลกแห่งความเป็นจริง  หากเป็นเช่นนี้ จริ ง   ความรั ก จะกลายเป็ น ความเกลี ย ดชั ง เทคโนโลยีจะกลายเป็นอาวุธ  ข้อมูลทีบ่ ดิ เบือน จะกลายเป็ น กระสุ น ที่ ใ ช้ ยิ่ ง ต่ อ สู ้ กั น จน แหลกลาญไปด้วยกันทั้งสองฝ่าย  ขออย่าให้ เป็นเช่นนั้นเลย...


กาญจนา  แก้วเทพ.  2553.  แนวพินิจใหม่ในสื่อการศึกษา.  กรุงเทพฯ  :  โครงการเมธีวิจัย อาวุโส  ฝ่ายวิชาการ  ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.  (สกว.) ฉัฏฐา  ภะรตะศิลปิน.  2554.  การใช้อนิ เตอร์เน็ตของผูท้ เี่ กิดก่อนยุคคอมพิวเตอร์.  กรุงเทพฯ  : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Buckingham,  D.  2004.  The  Media  Literacy  of  Children  and  Young  People.  London  :  McGraw  Hill. Golsmith,  J.,  &  Tin  Wu.  2006.  Who  Controls  the  Internet.  Oxford  University Press.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.