Educational Innovation

Page 1

Educational Innovation

อ.พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม


นวัตกรรม(Innovation) •

“นวัตกรรม” หมายถึง

ความคิด การปฏิบัติ หรือ สิ่งประดิษฐ์ ใหม่ ๆ ที่ยั งไม่เคยมีใ ช้มาก่ อน หรือเป็นการพัฒนา ดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่ อ น านวั ต กรรมมาใช้ จ ะช่ ว ยให้ ก ารท างานนั้ น ได้ ผ ลดี มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลา และแรงงานได้ด้วย


Innovation 3.0

นวัตกรรมเพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน

+ • 5 ปีก่อนเริ่มใช้ PDA สั่งอาหาร • ปี 2552 เริ่มใช้หุ่นยนต์ • SWOT ม.กรุงเทพ มีหุ่นยนต์ MK ใช้ PDA • Touch Screen


+

1. คิดบวก ความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นได้หากเรามอง หลายสิ่งหลายอย่างในมุมมองที่เป็นบวก 2. คิดแปลก คิดให้แตกต่างจากคนอืน่ 3. คิดทา เพราะนวัตกรรมจะไม่เกิดขึ้น หากคิดแล้วไม่ สามารถทาอย่างที่คิดไว้ได้


Innovation 3.0

นวัตกรรมเพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน นวัตกรรมเครื่องดื่ม เสริมสุขภาพแนวใหม่ • Energy Drink (มีคาเฟอีน) • Functional Drink • 3 N New Product New Consumer New Market


Innovation 3.0

นวัตกรรมเพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน


Innovation 3.0

นวัตกรรมเพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน

• Add Text Here

ความเรียบง่าย


Innovation 3.0

นวัตกรรมเพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation • “นวั ต กรรมการศึ ก ษา” หมายถึ ง การน าเอาสิ่ ง ใหม่ ซึ่ ง อาจจะอยู่ในรูปของ ความคิด หรือ การกระทา รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ เข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่ เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วย ให้ประหยัดเวลาในการเรียน


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation ประเภทนวัตกรรม/สื่อสาหรับครู - คู่มือครู - เอกสารประกอบการสอน - ชุดการการสอน - สื่อประสมชนิดต่าง ๆ - เครื่องมือวัดผลประเมินผล - อุปกรณ์โสตทัศนวัสดุ - โครงการ - วิจัยในชั้นเรียน - การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล - วิธีสอนแบบต่างๆ

ประเภทนวัตกรรม/สื่อสาหรับนักเรียน - บทเรียนสาเร็จรูป - เอกสารประกอบการเรียน - ชุดฝึกปฏิบัติ - ใบงาน - หนังสือเสริมประสบการณ์ - ชุดเพลง - ชุดเกม - โครงงาน


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation 1. กระบวนการเรียนการสอนรูปแบบจิ๊กซอร์ (Jigsaw) เป็นเทคนิคการ เรียนรู้แบบร่วมมือ ใช้สอนนักเรียนได้ทั้งเล็กและโต เพื่อให้นักเรียนได้ เรียนรู้การทางานเป็นทีม 1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (กลุ่มละ 4-5 คน) Home Group 2. สมาชิกใน Home Group ได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาสาระคน ละ 1 ส่วน 3. สมาชิกใน Home Group แยกย้ายไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอื่น ๆ ซึ่ง ได้รับเนื้อหาเดียวกัน ตัวเป็น Expert Group 4. สมาชิกใน Expert Group กลับไปสู่ Home Group แล้วสอนเพื่อนใน กลุ่ม 5. ผู้เรียนทุกคนทาแบบทดสอบ


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation 2. กระบวนการเรียนการสอนรูปแบบ TAI (Team-Assisted Individualization)

1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ Home Group 2. สมาชิกใน Home Group ได้รับเนื้อหาสาระ และศึกษ่าเนื้อหา สาระร่วมกัน 3. สมาชิกใน Home Group จับคู่กันทาแบบฝึกหัด 3.1 ถ้าใครทาได้ 75% ขึ้นไป ให้ไปรับการทดสอบรวบยอดครั้ง สุดท้าย 3.2 ถ้าใครทาไม่ถึง 75% ให้ทาแบบฝึกหัดซ่อมจนกว่าจะได้ 4. สมาชิกใน Home Group แต่ละคนนาคะแนนทดสอบรวบยอดมา ร่วมกันเป็นคะแนนกลุ่ม


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation 3. กระบวนการเรียนการสอนรูปแบบ TGT (Team Games Tournament) เป็นเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ ใช้กับการเรียนการสอนที่ต้องการให้ นักเรียนได้สนุกสนานผ่านกระบวนการกลุ่ม 1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ Home Group 2. นักเรียนเตรียมความพร้อมให้สมาชิกกลุ่ม โดยการซักซ้อมความรู้ ความเข้าใจ ซักถามปัญหาที่ตั้งขึ้นเอง 3. จัดการแข่งขันระหว่างกลุ่ม โดยส่งชื่อผู้เข้าแข่งขัน 4. ประกาศผลการแข่งขัน ชมเชยนักเรียนที่ชนะ


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation 4. กระบวนการเรียนการสอบรูปแบบเกม “ชิงร้อย ชิงล้าน” เป็นเทคนิคการสอนแบบการเล่นเกม ใช้สอนในวิชาหลักได้และใช้สอน เด็กได้ทุกระดับ 1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6-8 คน 2. แจกใบความรู้ให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเอง 3. แต่ละกลุ่มตั้งคาถามจากเรื่องที่อ่านกลุ่มละ 10 คาถาม เป็นลักษณะ คาถาม "จริงหรือไม่" 4. นักเรียนคัดเลือกพิธีกรชาย 1 คน หญิง 1 คน 5. พิธีกรคัดเลือกคาถามจากกลุ่มต่างๆ ประมาณ 10-15 คาถาม 6. พิธีกรเริ่มรายการ ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ 7. ถ้ากลุ่มใดตอบผิด ให้กลุ่มตอบถูกเป็นผู้เฉลย 8. แต่ละกลุ่มช่วยบันทึกคะแนนที่ได้


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation 5. กระบวนการเรียนการสอบรูปแบบโครงงาน (Project) การจัดประสบการณ์เหมือนกับการทางานในชีวิตจริง เพื่อให้ เด็กมีประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา ทางานอย่างมี ระบบ มีการวางแผนในการทางาน ฝึกการคิดวิเคราะห์ และเกิด การเรียนรู้ด้วยตนเอง


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation • นั ก เรี ย นยั ง จั ด ระบบในการ ทางานไม่เป็น • ใ น ก า ร ท า ง า น ก ลุ่ ม ยั ง ไ ม่ รั บ ผิ ด ชอบงานในหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย • ยั ง ไม่ รู้ จั ก การวางแผนในการ ทางาน อาจเนื่องมาจาก นักเรียน ขาดทั ก ษะ การฝึ ก ฝนการท างาน อย่างเป็นกระบวนการ


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation วิชา ภาษาไทย ชั้นประถมปีที่ 5 เรื่อง แหล่งท่องเที่ยวหรือตานานท้องถิ่น สาระสาคัญ แหล่งท่องเที่ยวหรือตานานท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่มีอยู่มากมายหลาย แห่ง ซึ่งล้วนมีคุณค่าทางศิลปะและวัฒนธรรม ควรแก่การภาคภูมิใจ และเก็บรวบรวม ข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน การทาโครงงานเป็นกระบวนการหนึ่งของการศึกษา ค้นคว้า หา ความรู้ตามที่นักเรียนต้องการศึกษา และรวบรวมข้อมูลในรูป การเขียนรายงาน เพื่อให้ เกิดความภาคภูมิใจในถิ่นที่อยู่ของตน จุดประสงค์ 1. นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง 2. นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลและนามาเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าได้ 3. นักเรียนสามารถนาเอาผลงานที่ได้ศึกษาค้นคว้ามานาเสนอต่อที่ประชุมได้


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation กิจกรรมการเรียนการสอน การสอนแบบโครงงาน ขั้นนา 1. สนทนาถึงเรื่องปราสาทพนมรุ้ง 2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงเรื่อง การทาโครงงานแหล่งท่องเที่ยวหรือตานาน ท้องถิ่น (ขั้นตอนการทา ประโยชน์ วิธีการวัดผล ฯลฯ) ขั้นวางแผน 3. ให้นั กเรีย นรวมกลุ่มกั น อาศั ย อยู่ ในพื้ นที่ใกล้เ คี ย งกัน หรือ ชอบที่จะศึก ษาแหล่ ง ท่องเที่ยวหรือตานานท้องถิ่นเดียวกัน 4. ครูแจกรูปแบบการวางแผนในการทาโครงงาน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา และวางแผนการทางาน 5. ครูตรวจสอบการวางแผนงานอีกครั้งก่อนที่จะนาไปดาเนินการ


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation กิจกรรมการเรียนการสอน การสอนแบบโครงงาน ขั้นดาเนินการ 6. ให้เวลาในการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล 1 สัปดาห์ ขั้นการเขียนรายงาน 7. สนทนาซักถามถึงข้อมูลการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมเพื่อทารายงาน 8. ครูแจกแบบฟอร์มการเขียนรายงานอย่างง่ายให้นักเรียนศึกษาพร้อมครูอธิบาย 9. นักเรียนนาข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นรายงานตามรูปแบบที่กาหนดไว้หรืออาจเขียนสิ่งที่ ต้องการบอกนอกเหนือจากแบบฟอร์มก็ได้ 10. เมื่อนักเรียนเขียนรายงานเสร็จให้แต่ละกลุ่มตรวจทานความถูกต้องและอาจเพิ่มเติมใน สิ่งที่อยากเพิ่มเติม


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation กิจกรรมการเรียนการสอน การสอนแบบโครงงาน ขั้นนาเสนอผลงาน

11. ทุกกลุ่มเตรียมแผงโครงงาน และรายงานการทาโครงงาน ตลอดจนเตรียมตัวในการ นาเสนอ เตรียมสถานที่ เครื่องเสียง 12. ครูจับฉลากชื่อกลุ่ม เพื่อออกมานาเสนอทีละกลุ่ม และแจกแบบประเมินเพื่อใช้ในการ ประเมินโครงงานของเพื่อนที่มานาเสนอ 13. หลังจากที่ทุกกลุ่มนาเสนอผลงานแล้ว ร่วมกันสรุปถึงความสาเร็จ และข้อบกพร่อง ของการทาโครงงาน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการทางานในโอกาสต่อไป

ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 14. นักเรียนทุกกลุ่มนาแผงโครงงานมาจัดแสดงเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กัน โดยให้นักเรียน ในห้องเลือกศึกษาและจดบันทึกในโครงงานที่ตนเองสนใจ


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation

การพัฒนา

นวัตกรรมใหม่ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน


การพัฒนา

นวัตกรรมใหม่

1) ขั้นพัฒนา - ศึกษารายการนวัตกรรม และลักษณะเฉพาะของแต่ละ นวัตกรรม ตัวอย่างนวัตกรรม - ศึกษาหลักสูตร หลักการสอนรายวิชาต่างๆ เอกสารแนะนา หลักการสอนต่างๆ ตัวอย่างแนวการสอน แนวการจัดกิจกรรม - ศึกษาทบทวนทฤษฎีการสอน หลักจิตวิทยาการศึกษา - มีความริเริ่มสร้างสรรค์ด้วยตนเอง


การพัฒนา

นวัตกรรมใหม่ การพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชา วท. 100 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน โดยวิธีกระบวนการกลุ่มนาเสนอ Teaching and Learning Development “SC 100 Science in Everyday Life” by Presentation Group Process


การพัฒนา

นวัตกรรมใหม่

กระบวนการจัดการเรียนรู ตามทฤษฎีการเรียนรู แบบรวมมือ (Theory of Cooperative Learning) สลาวิน เดวิด จอหนสัน และโรเจอร จอหนสัน (ทิศนา แขมมณี, 2545 : 17-29) 1. วางแผนการจัดการเรียนรู 2. เตรียมกลุมเพื่อจัดการเรียนรูรวมกัน 3. กากับ ดูแล 4. วัดและประเมินผลการเรียนรู

การจัดการเรียนรูแบบ กลุมแกปญหา (Syndicate) (ไพฑูรย สินลารัตน, 2524 : 146)


การพัฒนา

นวัตกรรมใหม่

การ ประชุม ชี้แจง กิจกรรม รับ เอกสาร

กลุ่มย่อย ก.

ศึกษาปัญญา

กลุ่มย่อย ข. กลุ่มย่อย ค.

อ่านเอกสารคนละ ชุดอภิปรายร่วมกัน

ฯลฯ

ทารายงานสรุป

ประชุมรวม รายงานผลการ อภิปราย

แก้ปัญหา

อาจารย์ผู้สอน สรุปให้ คาแนะนา

แสดงการสอนแบบกลุ่มแก้ปัญหา (ไพฑูรย สินลารัตน, 2524 : 146)


การพัฒนา

นวัตกรรมใหม่ ขั้นที่ 5. ขั้นการให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เกี่ยวกับเนื้อหา เทคนิควิธีการ นาเสนอ และอื่น ๆ ขั้นที่ 4. ขั้นการนาเสนอ โดยการประมวลความรู้แล้วนาเสนอโดยเปิดให้ใช้ ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเสนอได้อย่างเต็มที่ (30 นาที)

ขั้นที่ 3. ขั้นการรวบรวมข้อมูล โดยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลในหัวข้อนั้น ๆ เพิ่มเติม ขั้นที่ 2. ขั้นการทบทวนความรู้ โดยการถอดการบรรยายในแต่ละหัวข้อออกเป็นเอกสารรายงาน (180 นาที) ขั้นที่ 1. ขั้นเตรียมความพร้อมด้านทฤษฎี โดยการรับฟังการบรรยายจากวิทยากรในแต่ละหัวข้อ (180 นาที) รูปแบบการใช้เทคนิคกระบวนการกลุ่มนาเสนอ (พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ และสุจิตตรา จันทร์ลอย, 2552)


การเรียนรู้แบบร่วมมือ (ทิศนา แขมมณี, 2544) 1. พึ่งพาอาศัยกันทางบวก

แบบกลุ่มแก้ปัญหา (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2524) 1. ประชุมชี้แจงกิจกรรม

แบบกระบวนการกลุ่มนาเสนอ (นาเสนอโดยคณะผู้วิจัย) 1. รั บฟั ง การบรรยายโดยวิทยากรใน แต่ละหัวข้อ (180 นาที)

2. แบ่งกลุ่ม

2. แต่ละกลุ่มทาการถอดการบรรยาย ออกเป็นเอกสาร รายงาน

การพัฒนา

2. ปฏิสัมพันธ์แบบเผชิญหน้า

นวัตกรรมใหม่

3. ทุกคนรับผิดชอบในการเรียนรู้ 3. อ่านปัญหาหรือกรณีเรื่อง 3. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลในหัวข้อนั้น ๆ - ศึ ก ษาเอกสารประกอบหรื อ เพิม่ เติมเพื่อใช้ในการนาเสนอ ค้นคว้าเพิ่มเติมคนละเรื่อง - อภิปรายเพื่อแก้ปัญหา - เขียนรายงาน 4. ทักษะความร่วมมือ

4. ประชุมรายงานผลและอภิปราย ทั่วไป

4. น าเสนออภิ ป ราย โดยไม่ จ ากั ด เทคนิ ค วิ ธี ก าร แต่ ต้ อ งมี สื่ อ ในการ นาเสนอ (30 นาที)

5. กระบวนการกลุ่ม

5. ผู้สอนสรุปวิจารณ์ให้ข้อคิดเห็น

5. อาจารย์ให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อ การพัฒนาปรับปรุง


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation 2) ขั้นทดลองใช้ การนานวัตกรรมที่สร้างเสร็จเรียบร้อย และมีการประเมินตรวจสอบ คุณภาพของนวัตกรรม ทั้งในด้านความเหมาะสมถูกต้องทางภาษา เนื้อหา ไป ใช้สอนในสภาพบรรยากาศของชั้นเรียนจริงๆ • วัตถุประสงค์ตัวแปรที่ศึกษา (ต้องการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง เช่น ความสนใจ ผลสัมฤทธิ์ หรือ เวลาที่ใช้) • กลุ่มตัวอย่าง (ระบุว่าไปทดลองกับนักเรียน ระดับชั้นใด โรงเรียนไหน จานวนเท่าใด) • เครื่องมือที่ใช้วัด (ได้แก่ แบบทดสอบ แบบบันทึกการสังเกตหรือแบบสัมภาษณ์) • วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลง่ายๆ (เช่นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือทดสอบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ฯลฯ) • กาหนดแนวทาง สรุปผลการทดลองใช้


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation 3) ขั้นประเมินผลและรายงาน หลังจากทดลอง ผู้ออกแบบนวัตกรรมได้นานวัตกรรมไปทดลอง ใช้และเก็บคะแนน วิเคราะห์ผลการทดสอบ แสดงสถิติเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยก่อนการทดลอง ผู้ออกแบบนวัตกรรมเขียนรายงานผลการ ทดลองเผยแพร่ให้ครู-อาจารย์อื่นๆ ทราบ อาจประกอบด้วย (1) แผนการสอนที่ใช้ทดลองนวัตกรรม (2) นวัตกรรมที่สร้าง หรือ พัฒนาขึ้น (3) คู่มือการใช้นวัตกรรม (4) แบบทดสอบ ก่อน-หลัง การใช้นวัตกรรม (5) รายงานผลการทดลอง


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation ตอนที่ 1. พั ฒ นารู ป แบบการ จัดการเรียนการสอนในรายวิชา วท 100 วิ ท ยาศาสตร์ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น โดยการ จั ด การเรี ย นการสอนแบบกระบวนการ กลุ่มนาเสนอ ตอนที่ 2. ทัศนคติของนักศึกษา ต่อการจั ด กิ จ กรรมการเรีย นการสอนใน ร า ย วิ ช า ว ท 1 0 0 วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ชีวิตประจาวัน


นวัตกรรมการศึกษาEducational Innovation

ตัวอย่าง นวัตกรรมการศึกษา เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.