Computer Network

Page 1

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Data Communication and Computer Network

อ.พิเชษฐ รุง้ ลาวัลย์ วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร 17 กรกฎาคม 2554


• การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) คือ การรับ-ส่ง โอน ย้าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร ต่าง ๆ ผ่านสื่อนาข้อมูล • เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือ การนาเครื่อง คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อ เพื่อใช้ในการ สื่อสารข้อมูล


การสื่อสารในอดีต

Torch Relay Voice Relay Smoke Relay Letter


องค์ประกอบของการสื่อสาร 1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยัง จุดหมายที่ต้องการ 2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่ง มาให้ 3. ข้อมูล (Data) คือ สิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับ อาจจะอยู่ ในรูปของข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และอื่น ๆ BC424 Information Technology

4


องค์ประกอบของการสื่อสาร (ต่อ) 4. สื่อนาข้อมูล (Medium) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการ ขนถ่ายข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น สายเคเบิ้ล อากาศ น้า ฯลฯ 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ กฎหรือวิธีที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อการ สื่อสารข้อมูล ซึ่งทั้งผู้ส่งและผู้รับต้องตกลงกันไว้ก่อน


การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

Protocol

Protocol Data Medium

Sender

Receiver


เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Computer Networks หมายถึ ง การเชื่ อ มต่ อ คอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง แต่ 2 เครื่องขึ้นไป เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศและใช้ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน

7


ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Kind of Computer Networks 1. Local Area Network (LAN) 2. Metropolitan Area Network (MAN) 3. Wide Area Network (WAN) • Storage Area Network(SAN)


ระบบเครือข่ายท้องถิ่น

Local Area Network (LAN)

• • • • •

เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบท้องถิ่น ระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ ไม่เกิน 10 กิโลเมตร มีความเร็วในการแลกเปลี่ยนข้อมูลสูง ใช้ในองค์กร สานักงาน เชื่อมต่อการเครือข่าย อินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้


LAN

WAN DMZ

Outside resources

Data network Firewall

Gateway

Hub/Switch Media Server

Printer

PC Workstation/Clients

LAN


ระบบเครื อ ข่ า ยระดั บ เมื อ ง Metropolitan Area Network (MAN) • • • •

เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 50 กิโลเมตร ครอบคลุมพืน้ ที่อาณาบริเวณทั้งตาบล หรือ อาเภอ อาจเกิดจากการเชื่อมต่อของ LAN หลาย ๆ เครือข่าย


MAN


ระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง

Wide Area Network (WAN)

• เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาก • ภายในเครือข่ายประกอบด้วย LAN และ MAN • พื้นที่ครอบคลุมทั้งประเทศ หรือทั่วโลก หมายเหตุ Internet เป็นเครือข่าย WAN


WAN


Storage Area Network(SAN) • เป็นระบบโครงสร้างที่มีการเชื่อมต่อข้อมูลข่าวสารระหว่าง กลุ่มของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล • ทาหน้ า ที่ ดู แ ลการจั ด เก็ บ และปลดปล่ อ ยข้ อ มู ล เพื่ อ สนองตอบกลุ่ม Server ซึ่งลักษณะข้อมูลเป็นข้อมูลที่มี ขนาดใหญ่มาก • การเชื่อมโยงจะเชื่อมต่อด้วยระบบ Fiber Channel Hub หรือ Switch หรือเทคโนโลยีใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต


Storage Area Network(SAN)


Storage Area Network(SAN)


ทิศทางการส่งข้อมูล

(Transmission Mode)

1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว Simplex transmission 2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน Half-duplex transmission 3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน Full-duplex transmission


1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว Simplex Transmission ระบบนี้จะมีผู้ส่งผู้เดีย ว โดยสามารถส่งสัญญาณออกไปได้ โดยไม่มีการรบกวนจากผู้รับ ผู้รับก็ทาหน้าที่รับสัญญาณอย่างเดียว ไม่สามารถส่งสัญญาณออกไปได้ วิธีนี้จะไม่ซับซ้อน มีเป้าหมายใน การส่งข้อมูลออกไปทิศทางเดียว พบมากในระบบวิทยุกระจายเสียง


2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน Half-duplex transmission ระบบนี้ช่วยให้สามารถสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งสองได้ เพราะ ต่า งก็สามารถส่ง และรับข้ อความของฝ่า ยตรงข้า มได้ แต่จะต้อง สลับกันส่งสัญญาณ


3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน Full-duplex transmission ระบบนี้ ส ามารถรั บ และส่ ง ได้ พ ร้ อ ม ๆ กั น ซึ่ ง จะต้ อ งใช้ ช่องสัญญาณ 2 ช่องด้วยกัน โดยแต่ละช่องใช้สาหรับส่งข้อมูลไปยัง อีกฝั่งหนึ่ง ข้อดีคือ ทาให้การสื่อสารเป็นธรรมชาติมากขึ้น สามารถ โต้ตอบได้ทันที แต่ข้อเสียคือ เปลืองช่องสัญญาณ เช่น โทรศัพท์


อุปกรณ์เครือข่าย Network Devices อุ ป กรณ์ ที่ มี ห น้ า ที่ ใ นการจั ด การเกี่ ย วกั บ การ รับ ส่ง ข้อ มู ล เครื อ ข่ า ย หรื อ ใช้ สาหรั บ ทวนสั ญญาณ เพื่อ ให้ก ารส่งข้อ มูล ได้ในระยะที่ไกลขึ้น หรือ ขยาย เครือข่ายให้มีขนาดใหญ่ขึ้น


โปรโตคอล(Protocol)

คาศัพท์ควรรู้

เป็นข้อตกลงสาหรับการรับส่งข้อมูลในระบบสื่อสาร ซึ่งมีอยู่หลายชนิด แต่โปรโตคอลที่ใช้งานในระบบอินเตอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) โดยจะทาหน้าที่เกี่ยวกับ – การระบุอุปกรณ์รับและส่งข้อมูล – การเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลระหว่างการรับและส่งข้อมูล


แบนด์วิดท์ (Bandwidth)

คาศัพท์ควรรู้

เป็นคาที่ใช้วัดความเร็วในการส่งข้อมูลของ อินเตอร์เน็ตซึ่งโดยมากเรามักวัดความเร็วของ การส่งข้อมูลเป็น bps (bit per second)


หน่วยของแบนด์วิดท์ หน่วย

ความเร็ว

1 bps

1 บิตต่อวินาที (bit per second)

1 Kbps

1,000 บิตต่อวินาที (thousand bits per second)

1 Mbps

1,000,000 บิตต่อวินาที (million bits per second)

1 Gbps

1,000,000,000 บิตต่อวินาที (พันล้านบิต) (billion bits per second)


คาศัพท์ควรรู้ บิตทอร์เรนต์ (BitTorrent) เป็น Potocol รูปแบบ peer-to-peer ในการ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง เ ค รื่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ ด้ ว ยกั น โดยตรง ผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต


อุปกรณ์เครือข่าย LAN Connecting Devices 1. ฮับ (Hub) หรื อ รี พี ต เตอร์ (Repeater) มี ห น้ า ที่ รั บ ส่ ง เฟรม ข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ (ทาให้ แบนด์วิ ธ หรืออัตราข้ อมู ลเครื อข่ า ย ลดลง)


อุปกรณ์เครือข่าย LAN Connecting Devices 2. สวิตช์ (Switch) อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยัง เฉพาะพอร์ตปลายทางเท่านั้น ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในพอร์ตที่เหลือสามารถส่งข้อมูล อื่นได้ในเวลาเดียวกัน อัตราแบนด์วิธของเครื่องคอมพิวเตอร์จะเท่ากับแบนด์วิธ ของสวิตซ์


อุปกรณ์เครือข่าย LAN Connecting Devices 3. เราท์เตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดไปยังปลายทาง ได้ และถ้าเส้นทางหลักเกิดขัดข้องเราท์เตอร์ก็สามารถเลือกเส้นทาง ใหม่ได้ สามารถเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอื่น ๆ ที่อยู่ระยะไกล ๆ ได้ (WAN)


Modem


ชนิดของสัญญาณข้อมูล 1. Analog Signal เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่องมีลักษณะเป็นคลื่นไซน์(sine wave) โดยแต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน


ชนิดของสัญญาณข้อมูล 2. Digital Signal เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง มีค่าเพียง 2 ค่า คือ 0 และ 1


โมเด็ม (MODEM) (MOdulation and DEModulation) – โมดูเลชัน (modulation) หมายถึง กระบวนการในการเปลี่ยน สัญญาณดิจิทัลเป็นอนาล็อก – ดีโมดูเลชัน (demodulation) เป็นกระบวนการเปลี่ยนสัญญาณ อนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิทัล

Modulation Digital

Demodulation

Analog


โมเด็ม (MODEM) (MOdulation and DEModulation)


ประเภทของ MODEM 1. โมเด็มภายนอก (External MODEM) เชื่อมต่อกับ คอมพิวเตอร์ทาง Serial Port 2. โมเด็มภายใน (Internal MODEM) เป็นการ์ดที่ใช้เสียบกับ แผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ 3. โมเด็มไร้สาย (Wireless MODEM) สื่อสารโดยใช้คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า


ประเภทของ MODEM 1. โมเด็มภายนอก (External MODEM) เชื่อมต่อ กับคอมพิวเตอร์ทาง Serial Port


ประเภทของ MODEM 2. โมเด็มภายใน (Internal MODEM) เป็นการ์ด ที่ใช้เสียบกับแผงวงจรหลักของ คอมพิวเตอร์


ประเภทของ MODEM 3. โมเด็มไร้สาย (Wireless MODEM) สื่อสารโดยใช้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


ตัวกลางการสื่อสาร

• สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media) • สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media)

(Communication Media)


สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media) • สายคูบ่ ิดเกลียว (Twisted-pair cable : UTP,STP) • สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) • สายใยแก้วนาแสง (Fiber - optic cable)


สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media)

สายคูบ่ ิดเกลียว (Twisted-pair cable : UTP,STP) • ประกอบด้วยสายทองแดงที่ห่อหุ้มฉนวน จานวน 2 เส้น • บิดเป็นเกลียวเพื่อลดสัญญาณรบกวน • สายโทรศัพท์ (2 คู่) ส่วนหัวเรียกว่า หัว RJ-11 • สาย UTP (Unshielded Twisted Pairs) (4 คู่) ส่วนหัวเรียกว่า หัว RJ-45 • สาย STP (Shielded Twisted Pairs) นิยมใช้แทนสาย UTP ในที่ๆ มีสัญญาณ รบกวนมาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ


UTP

STP


สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) • คล้ายกับสายเคเบิลทีวี • มีแกนกลางเป็นทองแดงห่อหุ้มด้วยฉนวน • แล้วหุ้มด้วยใยตาข่ายโลหะ

สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media)


LAN Adaptor

สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media) RJ-45 connector

BNC connector


สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optics Cable)

สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media)

• ใช้แสงเป็นสัญญาณ โดยมีแก้วหรือพลาสติกใสเป็นสื่อนาสัญญาณ • ไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (จึงส่งข้อมูลได้ในอัตราสูง และ ระยะทางไกลกว่า) • 2 Km


ความเร็วในการส่งข้อมูล ชนิดของสือ่

ความเร็ว

สาย UTP

1-100 Mbps

สายโคแอกเชียล

1-100 Mbps

สายใยแก้วนาแสง

2 Gbps


สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media) • ไมโครเวฟภาคพื้นดิน (Terrestrial Microwave) • ดาวเทียม (Satellite) • อินฟราเรด(Infrared)


ไมโครเวฟภาคพื้นดิน (Terrestrial Microwave) 

สามารส่งข้อมูลออกไปด้วยความเร็วในการส่งข้อมูล 200-300 Mbps ระยะทาง 20-30 mile สัญญาณ ไมโครเวฟเดินทางเป็นแนวเส้นตรง จึงเรียกว่าเป็นสัญญาณทิศทาง เดีย ว การวางตาแหน่งและทิศทางของเสาอากาศจึง มีผลโดยตรงต่อ คุณภาพสัญญาณที่รับเข้ามา


ดาวเทียม (Satellite)  

ดาวเทียม 1 ดวงจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินอย่างน้อย 2 สถานี สถานีพื้นดินถูกนามาใช้เพื่อการรับและส่งสัญญาณไปยังดาวเทียมซึ่ง จะท าหน้ า ที่ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ท วนสั ญ ญาณ ซึ่ ง จะถู ก ส่ ง กลั บ มายั ง พื้นผิวโลกในตาแหน่งที่สถานีพื้นดินแห่งที่สองตั้งอยู่ ดาวเทียมส่วนใหญ่ จะสูงจากพื้นโลกประมาณ 23,300ไมล์ (35,680 กิโลเมตร) ซึ่งเป็นระยะที่เหมาะสมทาให้ดาวเทียมใช้เวลาโคจรรอบโลก 24 ชั่วโมงพอดี


อินฟราเรด(Infrared) 

เครือข่ายไร้สายที่ใช้แสงอินฟราเรดนี้ถูกพัฒนาในยุคแรกๆ แต่ไม่เป็นที่ นิยมใช้ ก็เพราะมีความเร็วในการทางานต่า และอุปกรณ์ค่อนข้างแพง

แต่สาเหตุสาคัญที่ไม่มีการนามาใช้งานในทางปฏิบัติก็คือ อุปกรณ์เครื่องรับ และเครื่องส่งจะต้องอยู่ในแนวสายตา (Line of Sight) เพื่อให้สามารถรับ และส่งสัญญาณได้ หากอยู่นอกระยะสายตาแล้วก็แทบรับสัญาณไม่ได้เลย

ความเร็วประมาณ 4 เมกะบิตต่อวินาที

ทางานได้ระยะไกลสุดเพียง 2 เมตรเท่านั้น


ความเร็วในการส่งข้อมูล ชนิดของสือ่

ความเร็ว

ไมโครเวฟ (บนพื้นดิน)

45 Mbps

ไมโครเวฟ (ดาวเทียม)

50 Mbps

อินฟราเรด

1-4 Mbps


Applied Data Communication and Network  WAP  Wi-Fi  Bluetooth


WAP(Wireless Application Protocol) • เป็นโปรโตคอลสาหรับอุปกรณ์พกพา • ออกแบบเพือ่ ให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายไร้สายที่มี ความเร็วต่า • สามารถทาให้อุปกรณ์เคลื่อนที่สามารถทางานได้กับ Internet, Intranet, และระบบ IT ขององค์กร • พัฒนาภาษาขึ้นมาใหม่สาหรับการใช้งานเรียกว่า Wireless Markup Language (WML)


IEEE 802.11

Wireless LAN


Wireless LAN โครงข่าย Wireless LAN หรือ WLAN เป็นโครงข่าย สื่อสารข้อมูลความเร็วสูงระดับท้องถิ่นที่ยอมให้แต่ละสถานี (Station) สามารถสื่อสารถึงกันได้โดยตรงแบบไร้สาย

โครงข่าย WLAN เป็นผลลัพธ์ของการนาโครงข่าย LAN มาปรับปรุง โดยเปลี่ยนสื่อที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางรับส่ง ซึ่งเดิมโครงข่าย LAN มีการใช้สายเคเบิลแบบต่าง ๆ


Wireless LAN Wi-Fi • Wi-Fi ย่อมาจากคาว่า Wireless Fidelity เป็นเครื่องหมาย ทางการค้าของชุดมาตรฐานเครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11 (Institute of Electrical and Electronic Engineer 802.11) • มาตรฐานนี้กาหนดเทคโนโลยีที่ใช้สร้างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ไร้สาย (WLAN) โดยใช้คลื่นวิทยุย่านความถี่ UHF (Ultra High Frequency)


มาตราฐานของ Wireless LAN IEEE 802.11 a

-เป็นมาตรฐานเก่าที่เป็นตัวมาพร้อมมาตรฐาน 802.11 b ตั้งแต่ปี 1999 แต่ไม่ค่อยมี ผู้นิยมใช้ -เนื่องจากใช้ความถี่ย่าน 5 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งเป็นย่านที่ไม่ได้เปิดให้ใช้อย่างเสรีในหลาย ๆ ประเทศ ในประเทศไทยย่านความถี่นี้ก็ไม่เปิดให้ใช้เช่นกัน -อุปกรณ์เครือข่ายมาตรฐานนี้จึงไม่มีจาหน่ายในประเทศไทย -ข้อดีของมาตรฐานนี้ก็คือ มีความเร็วในการทางานสูงถึง 54 เมกะบิต -ข้อเสียคือ ใช้งานได้ไกลสุดประมาณ 50 เมตร -นอกจากนี้ยังไม่สามารถทางานร่วมกับอุปกรณ์ในมาตรฐาน 802.11 b g และ n ได้ เนื่องจากใช้ความถี่ต่างกัน


มาตราฐานของ Wireless LAN IEEE 802.11 b -เป็นมาตรฐานเครือข่ายไวร์เลสแลนที่ได้รับความนิยม -เพราะใช้ความถี่ย่าน 2.4 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งเป็นความถี่เสรีที่ทุกประเทศเปิดให้ใช้โดย อิสระ -ประกาศเป็นมาตรฐานตั้งแต่ปี 1999 จึงมีผู้รู้จักมากกว่ามาตรฐานอื่นๆ -ข้อเสียคือ มีความเร็วต่าที่สุดในมาตรฐานต่าง ๆ -และมีปัญหาสัญญาณรบกวนค่อนข้างสูง เนื่องจากช่วงความถี่ย่าน 2.4 GHz ซึ่งมี อุปกรณ์ใช้งานอยู่มาก ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ไร้สาย เตาไมโครเวฟ และบูลทูธ เป็นต้น -มีความเร็วในการทางาน 4 ระดับคือ 11, 5.5, 2 และ 1 เมกะบิตต่อวินาที


มาตราฐานของ Wireless LAN IEEE 802.11 b ตารางแสดงค่าระยะและความเร็วการรับส่งข้อมูลโดยประมาณ ระยะทาง (โดยประมาณ) ความเร็ว 39 เมตร 60 เมตร 80 เมตร 103 เมตร

11 Mbps 5.5 Mbps 2 Mbps 1 Mbps

ค่าระยะทางในตารางได้จากการหาค่าเฉลี่ยระยะทางเทียบกับความเร็วการรับส่งข้อมูลของ อุปกรณ์แลนการ์ดไร้สายจากบริษัท Linksys, Compaq, Cisco และ D-Link (ในพื้นที่โล่งไม่มีสิ่งกีดขวาง และสัญญาณรบกวน)


มาตราฐานของ Wireless LAN ตารางตัวอย่างวัสดุหรือสิ่งกีดขวางที่มีผลกระทบต่อการรับ-ส่งคลื่น สิ่งกีดขวาง

การลดทอนสัญญาณ

ตัวอย่าง

ไม้

น้อย

ผนังไม้, พาร์ตชั่น

พลาสติก

น้อย

พาร์ติชัน

แก้วหรือกระจก

น้อย

ผนังกระจก, พาร์ติชัน, หน้าต่าง

น้า

ปานกลาง

ตู้เลี้ยงปลา, ไม้เปียกน้า

ก้อนอิฐ

ปานกลาง

กาแพงอิฐ

หิน

ปานกลาง

กาแพงหิน

กระดาษ

สูง

ม้วนกระดาษขนาดใหญ่

คอนกรีต

สูง

กาแพงคอนกรีต, พื้นคอนกรีต

โลหะ

สิ่งกีดขวางใดมี ่สุดต(UHS) สูงมากผลต่อการรับส่งคลื่นความถี ผนัง, ลิ่มฟากที ต์, พาร์ ิชัน


มาตราฐานของ Wireless LAN IEEE 802.11 g -เป็นมาตรฐานเครือข่ายไวร์เลสแลนที่เปิดตัวเมื่อปลายปี 2003 -มีข้อดี คือ มีความเร็วในการทางานสูง 54 เมกะบิต -และมีระยะไกลสุดเท่ากับมาตรฐาน 802.11 b ประมาณ 100 เมตร -นอกจากนี้ยังใช้ความถี่ย่าน 2.4 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งที่เป็นช่วงความถี่ที่ใช้งานได้เสรี -มีความสามารถทางานร่วมกันกับเครือข่ายไวร์เลสตามมาตรฐาน 802.11 b ได้โดยไม่ มีปัญหา


มาตราฐานของ Wireless LAN IEEE 802.11 n -ระบบนี้มีความเร็วสูงสุดถึง 100-200 เมกะบิตต่อวินาที - ระบบนี้ใช้เสาอากาศหลายเสา เราเรียกเทคโนโลยีนี้ว่า “MIMO (Multiple Input Multiple Output)” -เทคนิคแบบนี้จะช่วยทาให้รับ-ส่งสัญญาณได้ความเร็วสูงมาก -รองรับการใช้งานโทรศัพท์ที่ใช้เทคโนโลยี Voice-over-Internet Protocol (VoIP) สามารถใช้งานได้อย่างราบรื่นขึ้น


IEEE 802.11Specifications Standard Approved Maximum Data rate Frequencies

Distance

802.11b

802.11a

802.11g

July 1999

July 1999

June 2003

11Mbps

54Mbps

54Mbps

2.4-2.497 GHz 100 M

5.15-5.35 GHz 5.425-5.675 2.4-2.497 GHz GHz 100 M

ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/IEEE_802.11n-2009

50M

802.11n October 2009 100-200 Mbps 2.4/5 250M


Local Area Network (LAN) Wireless LAN (WLAN) as an extension to wired LAN Hub

Hub

Server

Internet

Switch

Access Point


Wireless LAN

คุณประโยชน์ของระบบสื่อสารไร้สาย • ไม่มีข้อจากัดในเรื่องตาแหน่งที่สามารถใช้บริการ

ติดต่อสื่อสาร • ในขณะก าลั ง ติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถ เคลื่อนที่ได้ • โครงข่ายติดต่อสื่อสารสามารถสร้างขึ้นใช้ งานได้ ง่าย รวดเร็ว และต้นทุนถูกกว่าโครงข่ายที่ใช้สาย


WIMAX Technology Worldwide Interoperability for Microwave Access


WIMAX Technology Worldwide Interoperability for Microwave Access

• เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สาย ซึ่งจะถูกนามาใช้งานในอนาคตอันใกล้นี้ • เป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบน

มาตรฐาน IEEE 802.16 • มีรัศมีทาการที่ 30 ไมล์ หรือเป็นระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร

• มีอัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps)


Bluetooth

คือ ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดย ปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ และ ไม่ จ าเป็ น จะต้ อ งใช้ ก ารเดิ น ทางแบบเส้ น ตรงเหมื อ นกั บ อินฟราเรด


3G Third Generation Mobile Network มาตรฐาน 3G 1. ในสภาวะอยู่กบั ที่หรือขณะเดิน มีความเร็วอย่าง น้อยที่สุด 2 เมกะบิต/วินาที 2. ในสภาวะเคลือ่ นที่โดยยานพาหนะ มีความเร็วอย่าง น้อยที่สุด 384 กิโลบิต/วินาที 3. ความเร็วอย่างมากที่สุด 14.4 เมกะบิต/วินาที


3G Third Generation Mobile Network


การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตขององค์กร เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รสามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ โลกของ อินเตอร์เน็ตได้ โดยจะมีวิธีต่าง ๆ ที่องค์กรใช้เชื่อมต่อไป ยังผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต หรือ ISP (Internet Service Provider) มีหลายวิธี ซึ่งวิธีที่พบเห็นกันมาก ได้แก่

1.

56K Modem ลีสไลน์(Leased Line) ADSL(Asymmetric Digital Subscriber Line) ระบบแลนไร้สาย (Wireless LAN)


1. 56K Modem • • • •

เป็นการใช้โมเด็มแบบอนาล็อกเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลไม่เกิน 56 กิโลบิตต่อวินาที(Kbps) ด้วยความเร็วที่ต่า จึงไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในองค์กร มักมีปัญหาสายหลุดบ่อย ๆ ทาให้ต้องหมุนโมเด็มเชื่อมต่อใหม่ (เสียค่าโทรศัพท์ครัง้ ละ 3 บาท)


2. ลีสไลน์(Leased Line) • เป็นวงจรเช่าความเร็วสูง หรือการเช่าคู่สาย • เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดที่มีการกาหนดต้นทางและปลายทางที่แน่นอน คือเชื่อมโยงจากองค์กรไปยังผู้ให้บริหารอินเตอร์เน็ตโดยตรงผ่านสายโทรศัพท์ หรือสายใยแก้วนาแสง • สามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอด 24 ชั่วโมง • มีความเร็วในการเชื่อมต่อคงที่ ตั้งแต่ 64 Kbps ถึง 2 Mbps หรือมากกว่า • ไม่ต้องแชร์กับเครือข่ายใด ๆ จึงมีความปลอดภัยสูง • มีหมายเลข IP Address แบบคงที่ • ราคาค่าเช่าคู่สายและอุปกรณ์มีราคาแพง เหมาะกับองค์กรขนาดกลางขึ้นไป


3. ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) • หรือที่เรียกว่า อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง • เป็ น เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารข้ อ มู ล ความเร็ ว สู ง บนคู่ ส ายโทรศั พ ท์ ท องแดง ธรรมดา • มีอัตราการรับข้อมูล (Downstream) ไม่เกิน 8 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) • มีอัตราการส่งข้อมูล (Upstream) สูงสุด 1 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) • ADSL จะใช้สัญญาณบนย่านความถี่ (ตั้งแต่ 30 KHz ถึง 1.1 MHz) ซึ่งสูงกว่า ความถี่ของโทรศัพท์ (0-4 KHz) • สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา (Always On)





http://speedtest.adslthailand.com/

6 กรกฎาคม 2553


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.