ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเจรจาไกล่เกลี่ย

Page 1

ปจจัยแหงความสําเร็จในการเจรจาไกลเกลี่ย1 -------------------------------------------เกริ่นนํา การเจรจาไกลเกลี่ยมีความแตกตางจากการไกลเกลี่ยคนกลางอยางชัดเจน กลาวคือการเจรจาไกล เกลี่ยเปนการที่คูกรณีพูดคุยเพื่อหาขอตกลงหรือยุติปญหาดวยกันเองโดยไมตองพึ่งพิงบุคคลที่สาม ในขณะ ที่การไกลเกลี่ยคนกลาง เปนกระบวนการที่บุคคลที่สามเขามาชวยกํากับกระบวนการและกระตุนใหคูกรณี ตัดสินใจหาขอตกลงรวมกัน เบอรนารด เมเยอร ผูสอนและผูไกลเกลี่ยที่มากดวยประสบการณจาก CDR Associates ซึ่งเปนองคกรดานการจัดการความขัดแยงที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เห็นวาการเจรจาไกลเกลี่ย (negotiation) เปนวิธีการที่คูกรณีมักเลือกใชในการจัดการปญหาเปนอันดับแรก นอกเสียจากวาปญหามี ระดับที่รุนแรงมากขึ้นจนควบคุมไดยาก คูกรณีจึงจะเลือกใชวิธีการไกลเกลี่ยคนกลาง (mediation) ดวยการ แสวงหาความชวยเหลือจากภายนอกหรือบุคคลที่สาม (เมเยอร,2553) บทความนี้มุงนําเสนอถึงปจจัยที่ทําใหการจัดการความขัดแยงดวยการเจรจาไกลเกลี่ยประสบ ความสําเร็จ เพื่อทําใหไดรูวาการเจรจาไกลเกลี่ยจะประสบความสําเร็จไดนั้น ประกอบดวยหลายๆ ปจจัย ประกอบกันไป ไมไดมีเพียงปจจัยใดปจจัยหนึ่ง และคงไมไดมีสูตรสําเร็จตายตัวในการจัดการความขัดแยง ดวยการเจรจาไกลเกลี่ย แตอยางนอยนาจะเปนประโยชนกับผูที่ตองทําหนาที่เจรจาไกลเกลี่ยไดเห็นถึง ภาพรวมที่จะทําใหความขัดแยงลุลวงไปได และนําไปประยุกตใชตามความเหมาะสม นอกจากปจจัยดาน บวกในการจัดการความขัดแยงแลว ยังไดนําเสนอถึงปจจัยดานลบหรือปจจัยที่ทําใหการจัดการความขัดแยง ดวยการเจรจาไกลเกลี่ยไมประสบความสําเร็จไวดวย เพื่อจะไดเขาใจวาการเจรจาไกลเกลี่ยไมประสบ ความสํ า เร็จ ด ว ยเหตุ ผ ลใด บทความชิ้ น นี้ ไ ด ศึก ษาแนวคิ ด ทฤษฎีดา นการเจรจาไกลเ กลี่ ย จากประเทศ ตะวันตก โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา และแคนาดาโดยนํามาผสมผสานกับกรณีศึกษาที่ประสบความสําเร็จ ในการไกล เ กลี่ย ของประเทศไทย อาทิ กรณีผาตัด ต อ กระจกแล ว ทํา ใหผูปว ยติด เชื้อ โรงพยาบาลศูน ย ขอนแกน กรณีการไกลเกลี่ยคนกลางที่ประสบความสําเร็จจากกลุมชาติพันธุภาคเหนือ 6 เผา กรณีระบบเจา โคตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพระครูวิบูลสิทธิธรรมซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจของชาวชุมแสงสงคราม จังหวัดพิษณุโลก

1

ชลัท ประเทืองรัตนา อาจารยสํานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกลา


1.ความสําเร็จของการไกลเกลี่ยคนกลาง (mediation) คืออะไร ความสําเร็จของการไกลเกลี่ยคนกลางคืออะไร ถาหากสอบถามผูที่ทําหนาที่ดานการเจรจาไกล เกลี่ยก็จะไดรับคําตอบที่แตกตางกันไป แตละคนมีความเขาใจที่แตกตางกันไปตามความรู มุมมองและ ประสบการณของตน แคทเธอรีน มอริส ผูเชี่ยวชาญในการจัดการความขัดแยงจากประเทศแคนาดา และ เปนผูสอนดานการจัดการความขัดแยงใน University of Victoria และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดประมวล ไวดังนี้ (มอริส, 2004) 1.การชนะหรือตนเองไดมากที่สุด 2.การแกปญหาชั่วคราว เชน การหยุดยิงจากการสูรบกัน 3.การไดขอตกลงที่มั่นคงและยั่งยืน 4.การทําในสิ่งที่ถูกตอง รวมถึงการชดใช หรือการซอมแซมปรับปรุง แกไข 5.การกลับมาคืนดีกันอยางถาวร 6.การสรางหรือพัฒนาสัมพันธภาพจนมีบรรยากาศที่ชวยใหการเจรจาดําเนินไปได ขณะที่เมเยอรเห็นวาการไกลเกลี่ยคนกลางที่ประสบความสําเร็จไมจําเปนตองบรรลุขอตกลง รวมกัน โดยเฉพาะในกรณีที่มีขอขัดแยงกันรุนแรง ยืดเยื้อ มีผูเกี่ยวของเปนจํานวนมาก การทําขอตกลงนั้น เปนเพียงขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการแกไขปญหาความขัดแยง และตั้งขอสงสัยตอนักไกลเกลี่ยที่กลาว อางวาการไกลเกลี่ยสวนมากมักจะบรรลุขอตกลง อัตราความสําเร็จที่สูงเกินไปอาจเกิดขึ้นจากการใชวิธีการ บังคับก็เปนได แตอัตราความสําเร็จที่ต่ําเกินไปก็เปนปญหาเชนกัน เมเยอรเห็นวาเปาหมายของการไกลเกลี่ย คนกลางนาจะเนนที่การชวยใหคูกรณีเขารวมการจัดการความขัดแยงไดอยางสรางสรรค (เมเยอร, 2553) ไมวาจะมีการนิยามความสําเร็จแตกตางกันไป แตความสําเร็จของการไกลเกลี่ยคนกลางจะเกิดขึ้น ไดนาจะประกอบดวย 1.การทําในสิ่งที่ถูกตอง รวมถึงการชดใช หรือการซอมแซมปรับปรุง จากผูที่กระทําผิด ผูที่กระทํา ผิดตองยอมรับวาไดทําผิดไป 2.การกลับมาคืนดีกัน โดยแกไขความสัมพันธที่แตกราวใหเกิดความเขาอกเขาใจกันมากขึ้น


3.การสรางหรือพัฒนาสัมพันธภาพจนมีบรรยากาศที่ชวยใหการเจรจาดําเนินไปได เนื่องจากผูที่ ขัดแยงกันมักจะมีอารมณทรี่ ุนแรงตอกัน การสรางบรรยากาศในการพูดคุยที่ดจี ึงมีความสําคัญมาก 4.การไดขอตกลงที่มั่นคงและยั่งยืน ซึ่งมาจากความคิด จากขอเสนอแนะของคูขัดแยงอยางแทจริง อันจะทําใหคกู รณีปฏิบัติตามขอตกลงนั้นอยางจริงจัง 2.ความเปนไปได ของการเจรจาไกลเกลี่ยหรือการไกลเกลี่ยคนกลาง การเจรจาไกลเกลี่ยงายหรือยาก มีปจจัยจํานวนมากที่สามารถชี้ใหเห็นถึงระดับความยากในการ แกปญหาความขัดแยง ดังนี้ (มอริส, 2004) -คูกรณีมีอะไรที่เหมือนกันมากนอยเพียงใด -คุณภาพของความสัมพันธในอดีตของคูกรณีเปนอยางไร -จํานวน ความชัดเจน และประเด็นทีแ่ ยกแยะออกไปได -จํานวนของคูก รณี -ความเพียงพอของทรัพยากร หรือทางเลือกในการแกไขปญหา -ระดับของความมุงมั่นตั้งใจหรือแรงจูงใจของคูกรณีที่จะแกปญหาขอพิพาท -ความสําคัญของประเด็นตางๆ ตอคูกรณี -ระยะเวลาของขอพิพาท -ระดับความลึกซึ้งของขอพิพาท -ความสัมพันธเชิงอํานาจระหวางคูกรณี และหนทางที่คกู รณีใชอํานาจ -ระดับความสนใจของสาธารณชนและความเห็นโตแยง ในทางกลับกัน ปจจัยบางอยางสามารถบงชี้ใหเห็นถึงความงายในการแกไขปญหาขอพิพาทคือ -คูกรณีมีจาํ นวนนอย -คูกรณีมีสวนเหมือนกันมาก


-ประเด็นความขัดแยงมีจํานวนนอยและสวนใหญชัดเจน -ทางเลือกและทรัพยากรมีมาก -ความมุงมั่นและตั้งใจในการแกปญหามีมาก -ประเด็นความขัดแยงมีความสําคัญนอยตอคูกรณี -ขอพิพาทมีความผิวเผินอยูม าก -คูกรณีมีความตั้งใจที่จะใชอาํ นาจอยางเสมอภาคและอยางยุติธรรม -มีการโตแยงนอยจากมุมมองของสาธารณชนในขอพิพาทที่เกิดขึน้ 3.ปจจัยที่ทําใหการจัดการความขัดแยงดวยการเจรจาไกลเกลี่ยและการไกลเกลี่ยคนกลางประสบ ความสําเร็จ มีหลากหลายปจจัยที่ทําใหการเจรจาไกลเกลี่ยและไกลเกลี่ยคนกลางประสบความสําเร็จ แตละ ปจจัยลวนมีความสําคัญทั้งสิ้น ซึ่งยากทีจ่ ะสรุปวาปจจัยใดสําคัญกวาปจจัยใด บทความนี้ไดรวบรวมปจจัย ดังกลาวจากหนังสือ งานวิจยั ตํารา ทั้งของประเทศตะวันตกและจากบางตัวอยางของกรณีศึกษาในประเทศ ไทย ประมวลสรุปไดดังตอไปนี้ 1.คนกลาง คนกลางที่จะมาทําหนาที่ดาํ เนินการเจรจามีความสําคัญอยางยิ่ง โดยเฉพาะในบรรยากาศที่ยังมี ความตึงเครียดระหวางคูก รณีอยูมาก คนกลางจะตองเปนที่ยอมรับของคูกรณี และไมมีสวนไดสวนเสียกับ เรื่องนั้นๆ คุณสมบัติของคนกลางที่สําคัญคือ 1.ทักษะในการฟง ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท ผูเชี่ยวชาญในดานการเจรจาไกลเกลีย่ ใหความสําคัญ กับ ทักษะในการสื่อสารของคนกลาง ซึ่งองคประกอบของการสื่อสารสามารถแบงไดเปน การพูด การฟง ภาษาทาทาง ภาษาเขียน ทักษะที่สําคัญมากคือการฟง การฟงอยางตั้งใจ (active listening) จะทําใหการ สื่อสารในการเจรจานั้นประสบความสําเร็จ การฟงอยางตั้งใจหรืออยางมีปฏิสัมพันธจะเปนการฟงที่ผูฟง แสดงปฏิสัมพันธกับผูพูดดวยภาษาทาทาง เชน พยักหนา สบตา สงเสียง อือ! ฮึ! เพือ่ ใหผูพูดเขาใจวาฟงอยู ถามคําถามรวมถึงกลาวทวนคําพูด (paraphrase) ในสิง่ ที่ผูพูดไดพดู ออกไป รวมถึงกลาวทวนอารมณ ความรูสึก เพื่อยืนยันในความถูกตองของเนือ้ หา (วันชัย วัฒนศัพท, 2550) 2.ทักษะในการคนหา BATNA ทักษะอีกประการหนึ่งของคนกลางคือคนหาใหไดวาทําไมคูกรณี จึงไมตองการไกลเกลี่ย คูกรณีอาจยังไมเห็นความจําเปนที่จะตองมาเจรจาเพราะคิดวาวิถีทางอื่นที่ทําอยู


นาจะเกิดผลดีกวา เชนการฟองรองกัน การประทวง ดังนั้น คนกลางควรจะตองทําความเขาใจและชี้ใหเห็น ความจําเปนของการมารวมโตะเจรจา และทําใหคูกรณีคิดวาการใชวิธีการอื่นอาจจะไมประสบผลสําเร็จ อยางที่คิดไวก็ได วันชัย วัฒนศัพท ไดแปลและบัญญัติศัพทจากงานของวิลเลียม ยูริ คือ BATNA “วิถีทาง ออกที่ดีที่สุดแทนการหาขอตกลงดวยการเจรจาไกลเกลี่ยหรือทดตก” (Best Alternative to a Negotiated Agreement: BATNA) 3.ทักษะในการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ คนกลางเปลี่ยนแปลงโครงสรางของปฏิสัมพันธ ดวย การเอื้ออํานวยใหผูอื่นซึ่งไมไดอยูในความขัดแยงเขามามีสวนรวม และเมื่อคูกรณีเขามารวมแลว คนกลางก็ จะพยายามทําใหคูกรณีลดพฤติกรรมตอตานลง โดยหันมารวมมือกันมากขึ้น (เมเยอร, 2553) 4.คนกลางตองแสดงความมุงมั่นใหเห็นวาการไกลเกลี่ยสามารถชวยคูกรณีจัดการความขัดแยงได และทําใหคูกรณีเห็นประโยชนที่จะไดรวมกันจากการไกลเกลี่ย (เมเยอร, 2553) 5.คนกลางใชทักษะและดําเนินการเปนขั้นเปนตอน โดยนักไกลเกลี่ยจะตองมีความรู มีทักษะ สามารถวางแผน วิเคราะหความขัดแยงที่เกิดขึ้น ทักษะในการสื่อสารอยางเปนระบบ ความรูเหลานี้อาจได จากการฝ ก อบรมหรื อ จากประสบการณ และบางครั้ ง อาจเป น พรสวรรค ห รื อ ความสามารถพิ เ ศษตาม ธรรมชาติ การดําเนินการอยางเปนขั้นตอนจะชวยใหคนกลางสามารถควบคุมกระบวนการพูดคุยได เชน การระบุ ป ระเด็ น ป ญ หาร ว มกั น การค น หาความต อ งการ การสร า งทางเลื อ กร ว มกั น (เมเยอร , 2553) ยกตัวอยางเชนกรณีผาตัดตอกระจกแลวคนไขติดเชื้อ ณ คุณพิมพวรา อัครเธียรสิน พยาบาลผูมากดวย ประสบการณของโรงพยาบาลศูนยขอนแกน ไดรับความรูและทักษะในดานการจัดการความขัดแยงและการ เจรจาไกลเกลี่ยจากหนวยงานที่เชี่ยวชาญดานการจัดการความขัดแยงและการไกลเกลี่ย และไดนําความรู และทักษะที่ไดรับไปใชในการทํางานอยางตอเนื่อง ประกอบกับบุคลิกและจิตใจที่มีความเขาใจในความ เปนมนุษย ทําใหนั่งอยูในหัวใจของคนไขไดดวยการใชทักษะฟงอยางตั้งใจ ขอโทษอยางแทจริง (True apology) การขอโทษอยางจริงใจ ทําใหบรรเทาความเจ็บปวดทั้งกายและใจของคนไข รวมถึงการดูแลคนไข อยางตอเนื่อง ใกลชิด การสัมผัสคนไขอยางจริงใจ รับรูความรูสึกของคนไข ทําใหคนไขไมรูสึกวาถูก ทอดทิ้ง 6.คนกลางยึดคานิยมที่สนองความตองการของแตละฝาย เชน คนกลางเอื้ออํานวยชวยเหลือคูกรณี ในการแสวงหาผลลัพธที่สนองความตองการของแตละฝายไดอยางเหมาะสม เมื่อคนกลางมุงมั่นใชคานิยม


ดังกลาวเปนแนวทางในการดําเนินการไกลเกลี่ย คูกรณีก็จะตองมุงมั่นแสวงหาผลลัพธดังกลาวเชนกัน (เม เยอร, 2553) 7.คุณธรรม จริยธรรมของคนกลาง ชุมชนตางๆ ในสังคมไทยโดยเฉพาะชุมชนดั้งเดิม จะมีบริบท ที่คอนขางแตกตางออกไปจากสังคมเมือง และหลักการไกลเกลี่ยคนกลางของประเทศตะวันตก ผูทําหนาที่ เปนคนกลางจะคอนขางมีบารมี มีคุณธรรม ศีลธรรม มีความซื่อสัตยเปนแบบอยางที่ดีใหกับคนในชุมชน เมื่อผูนําแนะนําอะไรคนในชุมชนก็มักจะยอมรับ ดังเชน เจาโคตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือภูมิปญญา ทองถิ่นที่ทําหนาที่ระงับความขัดแยงในชุมชน แกเหมืองแกฝายที่เปนผูจัดการความขัดแยงการใชน้ําใน ภาคเหนือ อีกกรณีคือบทบาทของพระสงฆ พระครูวิบูลสิทธิธรรม เจาอาวาสวัดหนองพยอม ตําบลชุมแสง สงคราม อําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลก ผูกอตั้งกลุมสัจจะสะสมทรัพยเพื่อแกปญหาความยากจน และผู แก ไ ขความขัด แย ง จากการเลื อ กตั้งทอ งถิ่น พระครู วิ บูลสิท ธิ ธรรมเป น ศูน ยร วมจิต ใจของชาวชุม แสง สงคราม เมื่อทานพูดแลวคนก็มักจะปฎิบัติตามเนื่องจากการสั่งสมความดีและทํากิจกรรมรวมกับชุมชนมา อยางตอเนื่อง นอกจากบทบาทพระสงฆยังมีผูนํากลุมชาติพันธุตางๆ ในภาคเหนือซึ่งเปนผูนําที่คนในชุมชน ใหความเคารพเชื่อฟงเปนอยางดี การทําหนาที่คนกลางของกลุมชาติพันธุ จะมีลักษณะที่คอนขางแตกตาง ออกไปจากการทําหนาที่ของคนกลางของประเทศตะวันตกและคนกลางที่ทําหนาที่ในศาลยุติธรรมหรือ หนวยงานที่ไดรับการฝกอบรมอยางเฉพาะเจาะจง กลาวคือจะไมไดมีความรู ทักษะในการไกลเกลี่ยคนกลาง แบบตะวันตก ที่ตองเนนทักษะการฟงอยางตั้งใจ (active listening) ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการกลาวทวน (paraphase) ทักษะในการคนหา BATNA หรือทางเลือกที่คูกรณีคิดวาดีที่สุดแทนการไกลเกลี่ยคนกลาง รวมถึงทักษะการตั้งกฎ กติกา รวมกันถึงสิ่งที่ควรพูด ไมควรพูด การไมมาเอาแพชนะ การไมดวนตัดสินใจ การสร างทางเลื อกตางๆ รวมกัน แตจะเนนระบบอาวุโส รวมถึงความสัมพัน ธแ บบเครือญาติ การใช วัฒนธรรม และระบบความเชื่อเขามาผสมผสาน 2.คูกรณี การที่คูกรณีพรอมที่จะใหมีการจัดการความขัดแยงดวยการเจรจาหรือการไกลเกลี่ยคนกลางเมื่อ คูกรณีตระหนักวาสถานการณสุกงอม (ripeness) กลาวคือไมสามารถเอาชนะซึ่งกันและกันไดดวยวิธีการใช ความรุนแรงอีกตอไป (Mutually Hurting Stalemate (MHS) และตนทุนของการใชความรุนแรงมีสูงกวาการ ยุติความรุนแรง ถาคูกรณียังไมพรอมเขาสูการเจรจาอยางเปนทางการ จะใชการสนับสนุนผูที่อยากใหเกิด สันติภาพขึ้น เพื่อใหสงผลตอการจัดการความขัดแยง เชน การกดดันดวยวิธีการตาง ๆ จนทําใหอํานาจเกิด ความสมมาตร (Bercovitch, 2009) นอกจากนี้ จํานวนของคูกรณีที่ไมมาก มีความมุงมั่นและตั้งใจในการ


แกปญหามาก ประเด็นความขัดแยงมีความสําคัญนอยตอคูกรณี และคูกรณีมีความตั้งใจที่จะใชอํานาจอยาง เสมอภาคและอยางยุติธรรม นําไปสูความสําเร็จในการจัดการความขัดแยงได นอกจากที่กลาวมายังอีกหลาย ปจจัยเกี่ยวกับคูกรณีที่นําไปสูความสําเร็จในการจัดการความขัดแยง ประกอบดวย 1.เปาหมายหรือวัตถุประสงครวมกัน (Some common objective or Goal) คือคูกรณีเห็นวาจะได ประโยชนรวมกันดวยวิธีการทํางานรวมกันมากกวาการมุงเอาแพชนะ ดีกวาการแยกกันทําเพียงลําพัง แมวา จะไดรับผลเหมือนกันหรือแตกตางกันไป เชน เห็นพองถึงการสรางโรงงานในชุมชนรวมกัน แตอาจเห็นแยง กันในรายละเอียดของการจายภาษีจากโรงงานสูเทศบาล บางครั้ง เห็นพองกันวาทํางานรวมกันได แตจะ ไดรับประโยชนไมเทากันเนื่องจากจํานวนชั่วโมงที่ทํา และความพยายามที่ทํามากนอยตางกัน (Lewicki, 2001) 2.ความศรัทธาตออีกฝาย (Faith in One ‘s Own Problem-Solving ability) คูกรณีเชื่อวาสามารถ ทํางานรวมกันไดก็จะทําใหงานบรรลุ แตถาไมเชื่อมั่นซึ่งกันและกันก็จะรูสึกเสียเวลาในการมาพูดคุยและ ทํางานรวมกัน (Lewicki, 2001) 3.ความเชื่อในอีกฝายและการเคารพมุมมองอีกฝาย (A Belief in the Validity of One’s Own Position and in the Other’s Perspective) ในการเจรจาแบบแบงสันปนสวน จะพยายามใชเวลาไปในการทํา ใหความเห็นของตนเองไดรับการยอมรับ และจะไมเชื่อถืออีกฝาย แตการเจรจาแบบบูรณาการจะตองยอมรับ ความเห็นของอีกฝาย มิใชเชื่อหรือยึดมั่นแตความเห็นของตนเองเทานั้น (Lewicki, 2001) (การเจรจาแบบ แบงสันปนสวนนั้นคูกรณีจะเชื่อวาถาตนไดทรัพยากรมากขึ้น อีกฝายจะไดทรัพยากรนอยลง) 4.คูกรณีมีแรงบันดาลใจในการทํางานรวมกัน (The Motivation and Commitment to Work Together) มากกวาที่จะมุงเนนแขงขันกัน และทําเพื่อบรรลุในเปาหมายรวมกัน ไมใชเปาหมายตนเอง เทานั้น และเนนการเปดใจมากกวาการปดกั้น (Lewicki, 2001) 5.การแสดงความรับผิดชอบ กรณีที่ยอมรับวาตนเองไดกระทําผิดไปตอคูกรณี ไมปฏิเสธถึงสิ่งที่ ไดทําไป และพรอมที่จะแสดงความรับผิดชอบอยางเต็มที่เพื่อเยียวยาความรูสึกของคูกรณี ตัวอยางเชน กรณี โรงพยาบาลศูนยขอนแกน ที่มีคนไขติดเชื้อจากการผาตัดตอกระจกทําใหสูญเสียดวงตาถาวร 7 ราย และ มองเห็นเลือนราง 3 ราย ซึ่งผูอํานวยการโรงพยาบาลไดแสดงความรับผิดชอบตอคนไขอยางเต็มที่ และ เยียวยาความรูสึกของคนไขไดเปนอยางดี ทําใหคนไขไมฟองรองโรงพยาบาลและมีความเขาใจตอสิ่งที่ เกิดขึ้น กลาวไดวาเปนความพึงพอใจของคูกรณีตอการดําเนินการของบุคลากรของโรงพยาบาล ทําใหคนไข ไมคิดจะฟองรองโรงพยาบาล ประกอบกับ คนไขมีความคิดวาตองพึ่งโรงพยาบาลตลอดชีวิต ไมวาจะเปน การเกิด การรักษาอาการเจ็บปวย แมกระทั่งการเสียชีวิตก็ลวนแตตองอาศัยโรงพยาบาล และคิดวาการ ฟองรองโรงพยาบาลเปนการสรางเวร สรางกรรม และเปนการทําบาป


6.ความเคารพเชื่ อ ฟง ของคูก รณี จากงานวิ จัย กรณี ก ารจัด การความขั ด แย ง ของกลุ ม ชาติ พั น ธุ ภาคเหนือโดยระบบคนกลางทําใหทราบวา กลุมชาติพันธุมีความเคารพเชื่อฟงผูนําสูงทั้งผูนําที่เปนทางการ และไมเปนทางการ ถาเกิดขอพิพาทแลวผูนําตัดสินใจอยางไรก็มักจะกระทําตามอยางเครงครัด เพราะถาไม ปฏิบัติตามก็อาจจะถูกมาตรการทางสังคมกดดันทําใหใชชีวิตในชุมชนอยางยากลําบาก เชน ชาวกะเหรี่ยงมี ความเคารพเชื่อฟงผูนําทั้งที่เปนทางการและทางประเพณีสูงมาก ซึ่งเปนธรรมชาติของชาวกะเหรี่ยงที่มี อุปนิสัยเชนนั้น ชาวมงมีความเคารพในผูนําตระกูลของตนมักจะปฏิบัติตามคําแนะนําของผูอาวุโสประจํา ตระกูลของตน ชาวลาหูก็เชนกันเมื่อผูนําตามประเพณี และผูนําของหมูบานใหคําแนะนําหรือตัดสินแกไข ปญหาให เรื่องที่ขัดแยงก็มักจะยุติลงในหมูบาน 3.การสรางความสัมพันธและความไววางใจ สัมพั นธภาพหรือความสัมพัน ธระหวางกันมีความสําคัญมาก หากวาสั มพันธภาพระหวางผูที่ ขัดแยงกันยังไมดี แทบจะไมสามารถนําคูกรณีมาหาขอยุติรวมกันได ความสัมพันธเปนปจจัยที่สําคัญมาก ของการเกิดหรือไมเกิดความขัดแยง Furlong เนนพิจารณาความขัดแยงใหครบทั้ง 3 ดาน ทั้งในดานของ เนื้ อ หา (substance) วิ ธี ก าร (procedure) และความสั ม พั น ธ (relationship) ซึ่ ง เห็ น ว า ทั้ ง วิ ธี ก ารและ ความสัมพันธที่ใชมีความสําคัญมาก ไมควรคํานึงถึงแตเนื้อหาหรือเปาหมายเทานั้น ความสัมพันธระหวาง คู ก รณี อ าจช ว ยเอื้ อ อํ า นวยให ก ารจั ด การความขั ด แย ง เป น ไปได ม ากขึ้ น คํ า ถามที่ ค วรต อ งพิ จ ารณาคื อ ความสัมพันธระหวางคูกรณีหลักและผูมีสวนไดสวนเสียเปนอยางไร มีความเปนมาดวยดีกอนหนานี้ หรือไม เคยมีปญหาถึงขั้นตัดความสัมพันธกันหรือไม ตลอดจนที่ผานมาเคยมีปจจัยใดบางที่ทําใหเกิดปญหา หรือความบาดหมางระหวางกันหรือไม และมีการแบงออกเปนฝกฝายหรือรวมกลุมกันอยางไรหรือไม (Furlong, 2005) สอดคลองกับที่มอริส เนนในการจัดการความขัดแยง ซึ่งเห็นวาเมื่อคนมีความสัมพันธกัน ยอมมีความขัดแยงอันเปนเรื่องธรรมดา ความสัมพันธรวมถึงความตองการที่เปนรูปธรรมและนามธรรม ความปรารถนาสวนลึก ความสนใจในประเด็นเฉพาะ ความกลัว ความกังวล ฯลฯ และเนนวาการแกปญหา จะไมสามารถแยกเนื้อหา วิธีการและความสัมพันธออกจากกันไดอยางเด็ดขาด แตตองพิจารณาไปอยาง คํานึงถึงทุกองคประกอบ (มอริส, 2004) ประเด็ น ความสั ม พั น ธ ที่ ค วรพิ จ ารณาคื อ ความสั ม พั น ธ ใ นอดี ต ที่ ผ า นมาเป น อย า งไร มี ความสัมพันธอันดีตอกันมากอนหรือไม มีการแบงออกเปนฝกฝายหรือรวมกลุมกันอยางไร ถาความสัมพันธ ระหวางคูกรณีดี ปญหาความขัดแยงมักจะไมคอยเกิดขึ้น และหรือเมื่อเกิดขึ้นแลวการแกปญหาก็จะทําไดงาย


กวา หากความสัมพันธไมดีก็จําเปนตองฟนความสัมพันธขึ้นมาใหม และความสัมพันธจะดีหรือไมดีก็อยูที่ ความไววางใจหรือความไมไววางใจ ถาไมไววางใจกันความขัดแยงก็อาจกลายไปสูการทําลายกันและ แกปญหาไดยาก ความขัดแยงที่รุนแรงมักจะทําลายความเชื่อถือ ความไววางใจและเพิ่มความไมไววางใจทํา ใหการแกปญหาความขัดแยงยาก แตสัมพันธภาพจะแข็งแกรงขึ้น ถาสามารถสรางความไววางใจแบบอิงอัต ลักษณ โดยสรางความเปนพวกเราใหเกิดขึ้น หลักการที่สําคัญประการหนึ่งคือ ความเปนพวกเดียวกันก็คือ การรูจักเอาใจเขามาใสใจเรา เขาใจถึงความทุกข ความเจ็บปวดที่มีอยู (empathy) (วันชัย วัฒนศัพท, 2550) การสรางความสัมพันธสามารถทําไดผานการสรางโครงการรวมกัน วิลเลียม ยูริ ผูมีชื่อเสียงใน การเจรจาไกลเกลี่ยระดับนานาชาติ เห็นวาการทํากิจกรรมรวมกันนําไปสูการสรางความสัมพันธที่ดี เชน การใหเด็กสองคนมาทําความรูจักกันอาจจะกอใหเกิดความรูสึกอึดอัด แตถาใหเด็กทํางานรวมกัน จะชวย สรางมิตรภาพไดอยางมีประสิทธิภาพ และที่สําคัญคือ โครงการรวมกันจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น หากมี กระบวนการสนทนาเกิดขึ้นกอน ผูที่เกี่ยวของมาพบกัน พูดคุยกัน มาเรียนรูรวมกัน สรางความเขาใจกัน จากนั้นจึงนําไปสูการเสนอโครงการและทํากิจกรรมรวมกัน (ยูริ, 2547) ความไววางใจ (Trust) นําไปสูความรวมมือ และในทางกลับกันความไมไววางใจนําไปสูการ ไมใหความรวมมือ ไมใหขอมูล ปกปดซอนเรน และมักจะโจมตีอีกฝาย หาทางโจมตีจุดยืนฝายตรงขาม การ สรางความไววางใจมีความซับซอน ขึ้นอยูกับพฤติกรรมและบุคลิกของอีกฝายดวย เมื่อคนไววางใจการ สื่อสารตอกันก็มักจะบอกถึงความตองการที่แทจริง และพูดถึงสถานการณจริง แตถาไมไววางใจก็จะใชการ ขมขู (Lewicki, 2001) กรณีผาตอกระจกคนไขติดเชื้อโรงพยาบาลศูนยขอนแกน ผูอํานวยการโรงพยาบาลเนนย้ําวา สัมพันธภาพมีความสําคัญมาก สรางสัมพันธภาพไดทุกอยางจะสําเร็จตามมา เสียอะไรก็เสียได แตอยาเสีย สัมพันธภาพ โดยโรงพยาบาลไดแสดงความรับผิดชอบ การขอโทษ และการเอาใจใสดูแล ไมทอดทิ้งคนไข เยียวยาทั้งทั้งกายและทางใจ แมกระทั่งความสัมพันธภายในโรงพยาบาลเองไดเกิดความสัมพันธอันดีตอกัน มีทีมงานดูแลเยี่ยมนายแพทย พยาบาล เจาหนาที่ เพื่อใหขวัญกําลังใจ พูดจาปลอบโยน ไมชี้หนาวากันวา ใครเปนตนเหตุของความผิดพลาด แมแตสัมพันธภาพที่ดีกับโรงพยาบาลเครือขาย ทําใหการสงตอคนไขไป รักษาเปนไปดวยความสะดวกราบรื่น


4.บริบทสภาพแวดลอม บริบทสภาพแวดลอม หมายรวมถึง สถานที่ การนัดหมาย และกฎ กติกา ซึ่งมีสวนในการทําให การเจรจาไกลเกลี่ยประสบความสําเร็จ ก) สถานที่และการนัดหมาย สถานที่เจรจาตองมีความเปนกลางไมทําใหฝายใดฝายหนึ่งไดเปรียบ หรือเสียเปรียบ ตองไมมีการ กดดันใด ๆ ระหวางการเจรจา เชน ไมมีการการชุมนุมประทวงอยูนอกหองเจรจา แมแตโตะเจรจาก็จําเปนที่ จะตองใหมีลักษณะของความเสมอภาคเทาเทียมกัน ที่นิยมใชคือโตะกลม (Round Table) เพื่อมองเห็นหนา กันทุกๆ คน สําหรับหองประชุมควรมีขนาดพอเหมาะ และมีพื้นระดับเดียวกันที่ไมใชหองประชุมแบบเวที ฟงบรรยาย (วันชัย วัฒนศัพท, 2550) Lewicki เห็นวาสถานที่ในการเจรจา ไมควรทําใหใหเกิดการไดเปรียบ เสียเปรียบ และควรทําใหรูสึกสบายใจในการพูดคุย อาจเปนสถานที่เปนกลางในการพูดคุย จะเปนทางการ หรือไมเปนทางการขึ้นอยูกับความเหมาะสม ถามีความเปนทางการเชน ในหองประชุม หรือไมเปนทางการ เชน ในภัคตาคาร สําหรับการนัดหมาย และเวลาในการเจรจา จะเริ่มเมื่อไหร ใชเวลายาวนานเพียงใด เมื่อไหรจะยุติการเจรจา จะพักการเจรจาอยางไร นั้นขึ้นอยูกับความพึงพอใจและขอตกลงรวมกันจากทั้งสอง ฝายเปนสําคัญ ข) กฎ กติกาในการพูดคุย เมื่อคนกลางและคูกรณีไดเขาสูโตะเจรจา ในขั้นตอนแรกสุด คือการกลาวทักทาย แนะนําตัวกัน โดยสังเขป จากนั้นคนกลางกลาวเปดการเจรจา พูดถึงเปาหมายของการมาเจรจารวมกัน เชน ใชวิธีการ สื่ อ สารกั น อย า งสร า งสรรค ปฏิ บั ติ ต อ กั น ด ว ยความเคารพ หลี ก เลี่ ย งการทํ า ใด ๆ ที่ จ ะนํ า มาซึ่ ง ความ หวาดระแวงซึ่งกันและกัน การพูดจะตองผลัดกันพูด เมื่อคนหนึ่งพูดอีกคนหนึ่งควรจะตองฟง โดยไมดวน ตัดสิน พยายามเอาใจเขามาใสใจเรา ทุกคนมีความเทาเทียมกัน ไมเนนการมุงเอาชนะกัน การมุงสราง ทางเลือกหลายๆ ทางเลือกรวมกัน มองหาจุดรวมมิใชเนนจุดตาง โดยกฎ กติกาดังกลาวควรจะมาจากการมี สวนรวมที่คูกรณีเปนผูเสนอแนะดวยความเห็นพองตองกัน (วันชัย วัฒนศัพท, 2550) 5.การสื่อสารที่ชัดเจนและถูกตอง (Clear and Accurate Communication) การสื่อสารตองเริ่มที่คูเจรจาบอกถึงขอมูลของตนเองอยางชัดเจน บอกวาตนเองตองการอะไร เหตุผลที่ตนเองตองการอยางชัดเจน และคูกรณีควรจะเขาใจถึงสิ่งที่เราสื่อสารไป การใชการสื่อสารสอง ทางจะเปนประโยชน ทั้งชองทางที่เปนทางการและไมเปนทางการ เชน ในชวงพักดื่มกาแฟ การพบกันอยาง ไมเปนทางการระหวางผูเจรจาระดับรองลงไป หรือเมื่อฝายหนึ่งฝายใดมีโอกาสในการครอบงําการเจรจา อาจจะตองสรางกฎเกณฑ ใหทุกคนไดพูด เชน คนละไมเกิน 5 นาที (Lewicki, 2001) 6.กระบวนการมีสวนรวมของทีมงานและเครือขาย


กรณีผาตัดตอกระจกติดเชื้อ ผูบริหารและบุคลากรทุกฝายในโรงพยาบาล รวมแรงรวมใจในการฝา ฟนวิกฤตใหผานพนไปได ตั้งแตการรวมกันวิเคราะหหาสาเหตุที่เกิดขึ้น การแบงทีมงานเปนทีมตาง ๆ ทั้ง ทีมรักษาพยาบาล ทีมเยียวยา ทีมสอบสวนสาเหตุ มีการประชุมติดตามอยางตอเนื่อง และยังไดเชิญบุคลากร ผูเชี่ยวชาญทางการแพทยจากภายนอกโรงพยาบาลมาดําเนินการมารวมวิเคราะหสาเหตุ นอกจากนี้ยังมี โรงพยาบาลเครือขายที่ชวยรับผูปวยไปทําการรักษาตออยางรวดเร็วและตอเนื่อง 7.ทรัพยากรที่เพียงพอ ทรัพยากรที่เพียงพอ หมายรวมถึงงบประมาณ วัสดุอุปกรณ และบุคคล กรณีผาตัดตอกระจกติด เชื้อ ใชเกณฑ มาตรา 41 ของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติพ.ศ.2545 จายเงินชวยเหลือใหกับ ผูรับบริการที่ไดรับความเสียหายจากการใชบริการในสถานพยาบาล สําหรับคนที่ไมเขาเกณฑดังกลาวหรือ ถามีปญหาเงินชดเชยไมเพียงพอ ไดใชเงินกองทุนของโรงพยาบาลศูนยขอนแกน เงินชวยเหลือเยียวยา ใหกับผูเสียหายทําใหชวยเหลือคนไขไดในระดับหนึ่ง ประกอบกับเมื่องบประมาณดังกลาวไมเพียงพอ คนไขตองการมากกวาที่กฎหมายใหได ทางโรงพยาบาลก็ไดใชงบประมาณจากกองทุนของโรงพยาบาลเขา มาสมทบเพิ่มเติมทําใหปญหาลุลวงไปได 8.ระบบความเชื่อดานจิตวิญญาณ งานวิจยั กรณีการจัดการความขัดแยงของกลุมชาติพันธุภาคเหนือ 6 เผา ทําใหทราบวาระบบความ เชื่อดานจิตวิญญาณของกลุมชาติพันธุในปจจุบันก็ยังคงมีอยู แตความเครงครัดในความเชื่อดานจิตวิญญาณมี ความแตกตางกันไป กลุมที่ยังมีความเชื่ออยางเครงครัด จะเนนบูชาเทพ ผี (Animism) ซึ่งเชื่อวามีวิญญาณสิง สถิตอยูในสรรพสิ่งตางๆในธรรมชาติ แมน้ํา ตนไม ภูเขา ในหมูบาน ในบาน (วิญญาณบรรพบุรุษ) และ จําเปนจะตองทําพิธีเซนไหวบวงสรวงกันอยูเสมอ กลุมชาติพันธุเชื่อวาสาเหตุของการเจ็บปวยทุกชนิดเชื่อวา เกิดมาจากสาเหตุ 2 ประการ ประการแรกเกิดจากการทําของผีซึ่งเปนผีราย ผีตายโหง ผีหิวโหย จับเอาขวัญ ไปเปนตัวประกันเพื่อแลกเปลี่ยนกับอาหารของคน ประการที่สองเกิดจากการพฤติกรรมของมนุษย การทํา ผิดกฎของหมูบ าน สังคม เชนการผิดลูกเมียผูอื่นๆ การแตงงานในสกุลเดียวกันทําใหผูปวยหรือญาติพี่นอง ผูปวยไมสบาย การแกไขปญหาในชุมชนที่เกิดขึ้นกรณีทีเปนเรื่องเกีย่ วกับการทําผิดประเพณี ก็จะแกไขดวย วิธีทางประเพณีผานผูนําทางประเพณีและวัฒนธรรม ในกรณีที่ผูนําดานศาสนาใหคาํ แนะนํา และใหผูทําผิด จารีตประกอบพิธีกรรมขอขมา ก็มักจะใหความรวมมือและทําตาม ปญหาที่เกิดขึน้ ก็จะยุติไดดว ยดี การทํา พิธีเซนไหวผีเพื่อขอขมาโทษ จะทําใหคนในหมูบานดํารงชีวิตไดอยางปกติสุข คนที่กระทําผิดก็มักจะปฏิบัติ


ตามเพราะมีระบบความเชื่อควบคุมอยู ทุกคนในชุมชนจะมีความเชือ่ เหมือนกันหมดและใหความเคารพยํา เกรง แมกระทั่งความขัดแยงทั่วไป เชนการทะเลาะวิวาทกัน แลวไมสามารถตกลงกันไดดวยระบบที่เปน ทางการ ผูนําหมูบานก็จะมีการผสมผสาน เชิญผูอาวุโส หมอผีของหมูบานมาทําพิธี ทําใหคกู รณีสามารถ ตกลงรวมกันได แตการแกไขปญหาโดยยึดโยงระบบความเชื่อเรื่องวิญญาณจะใชไดดียิ่งขึน้ ภายใตกลุมชาติ พันธุเดียวกัน เนื่องจากมีการนับถือในเทพ วิญญาณเหมือนกัน ซึ่งการประยุกตใชกับสังคมทั่วไปอาจปรับใช กับเรื่องความคิด ความเชื่อทีค่ นในชุมชนนัน้ ใหความเคารพและมีความเห็นสอดคลองกัน 9.ระบบเครือญาติ จากงานวิจัยกรณีการจัดการความขัดแยงของกลุมชาติพันธุภาคเหนือโดยระบบคนกลาง ทําใหทราบ วา กลุมชาติพันธุตาง ๆ จะมีลักษณะความเปนเครือญาติที่แตกตางกันออกไป มีทั้งลักษณะที่เนนเฉพาะ ความสัมพันธตามระบบตระกูลแซ เชน มง เมี่ยน ลีซอ คือเนนเฉพาะญาติพี่นองของตน ขณะที่บางกลุมเชน ลาหูเนนวาทุกคนในหมูบานเปนพี่นองกันทุกคน ทําใหลักษณะและผลของการแกไขปญหามีความแตกตาง กันออกไป ถากลุมชาติพันธุที่เนนความเปนตระกูลแซ การแกปญหาจะเนนไปที่ผูนําตระกูลแตละตระกูล เขามามีสวนรวม แตถากลุมชาติพันธุที่เนนวาทุกคนในหมูบานเปนพี่นองกันหมด การแกปญหาจะเนนการ รวมศูนยไวที่ผูนําหมูบาน ผูนําที่เปนทางการในหมูบานที่มีความเขาใจธรรมชาติดังกลาว ก็มักจะเชิญผู อาวุ โ สของแตล ะตระกู ล เขา มาร ว มแก ไ ขป ญ หา ดั งนั้ น การแก ป ญ หาความขั ด แย ง ของกลุ ม ชาติ พั น ธุ โดยเฉพาะในกลุมชาติพันธุเดียวกันมักจะประสบความสําเร็จ ดวยความเปนเครือญาติเดียวกันมีเชื้อสาย เดียวกัน เมื่อผูอาวุโสจากตระกูลเดียวกันไกลเกลี่ยเรื่องก็จะยุติลงได

4.ปจจัยที่ทําใหการเจรจาไกลเกลี่ยไมประสบความสําเร็จ การเจรจาไกลเกลี่ยไมใชจะประสบความสําเร็จเสมอไป มีปจจัยหลาย ๆ อยางที่จะตองพิจารณาวามี สวนในการทําใหการเจรจาประสบความสําเร็จหรือไม ซึ่งวันชัย วัฒนศัพท และ Lewicki ไดระบุไว ถึงปจจัย ที่ทําใหการเจรจาไกลเกลี่ยไมประสบความสําเร็จ รวมถึงจากประสบการณการทําหนาที่ไกลเกลี่ยของ ผูเขียนเองในบางสวน ประมวลไดดังนี้ คือ 1) คูเจรจายึดจุดยืนสุดโตง ถึงแมคนกลางจะพยายามใหคูเจรจาเนนพิจารณาผลประโยชน (Interest) ซึ่งคือ ความตองการ ความหวัง ความหวงกังวล ความกลัว แตก็ยังคงดึงดันยึดจุดยืนที่ประกาศไว (ตัวอยาง ของจุดยืนเชน ตองเปดหรือปดประตูระบายน้ํา) อาจจะเพราะความรูสึกเสียหนาที่จะถอยหรือขยับจากจุดยืน


2) ขาดทรัพยากรหรือปจจัยที่จะเขารวม การเจรจานั้นจําเปนตองใชงบประมาณ รวมทั้งปจจัยหลาย ๆ อยางที่จะทําใหคนที่เกี่ยวของมามีสวนรวมในการเจรจา การขาดทรัพยากรหรือปจจัยก็อาจจะทําใหการ เจรจาดําเนินไปไดไมตลอด 3) ขาดแรงจูงใจของคูเจรจาบางกลุม เมื่อบางกลุมที่มาเจรจาเห็นวาถาไมเจรจาจะไดรับประโยชน มากกวา ก็จะไมใชแนวทางเจรจาในการแกไขปญหารวมกัน แตใชวิธีอื่นที่คิดวาจะเปนวิธีการที่ดีกวา 4) ผูเจรจาขาดเปาหมายที่ชัดเจน ทําใหเมื่อคูเจรจายื่นขอเสนอใหมมาให ก็ไมสามารถปรับเปลี่ยน หรือรับขอเสนอได ผลก็คืออาจจะรับหรือไมรับขอเสนอ ถารับขอเสนอไปก็อาจไมใชสิ่งที่ตนเองตองการ อยางแทจริง 5) ผูเจรจาไมไดเตรียมตัว ขาดการวางแผน หรือไมไดทําการบาน จึงไมเขาใจจุดออนจุดแข็งของ คูกรณี จึงไมสามารถเขาใจความตองการที่แทจริงของคูกรณี 6) ขาดขอมูลสําคัญ ขอมูลมีความสัมพันธอยางมากตอความสําเร็จของการเจรจา ฉะนั้นคูเจรจาตอง ไดรับขอมูลที่ถูกตองชัดเจนเทาเทียมกันเพื่อประกอบการสรางทางเลือกและเลือกทางเลือก 7) การสื่อสารที่ไมดี กระบวนการสื่อสารที่ไมดีก็กอใหเกิดความเขาใจผิดได หรือยิ่งสรางความ ขัดแยงเพิ่มไปอีกจึงตองระมัดระวังกระบวนการสื่อสารทั้งโดยตรงและโดยออมระหวางคูเจรจาใหดี รวมทั้ง การใหขาวผานสื่อมวลชนดวย 8) ไมไดตระหนักถึงทางออกที่จะเปนไปได การเจรจาที่จะประสบความสําเร็จคงจะตองพอจะ มองเห็นทางออกที่จะนําคูเจรจามาเห็นพองตองกันอยางนอยในบางประเด็น 9) การขาดความรูที่จะดําเนินการตอไป ความรูในศาสตรของการไกลเกลี่ย และศิลปที่จะทําใหการ เจรจาผานอุปสรรค จําเปนที่จะตองดําเนินควบคูกันไปเสมอ 10) คูกรณีที่มาเจรจาไมมีอํานาจตัดสินใจ อํานาจของคูกรณีมีความสําคัญในการตัดสินใจ การเจรจา ไกลเกลี่ยหลายครั้งผูมีอํานาจตัดสินใจไมไดมารวมเจรจา อาจจะสงทนายความหรือผูแทนมารวมพูดคุย ซึ่ง จะทําใหคูกรณีตัวจริงที่มีอํานาจตัดสินใจรูสึกไมพอใจที่คูก รณีอีกฝายที่ตัด สินใจไดไมมา และถาตอง ตัด สิ น ใจ ทนายความหรื อผู แ ทนก็ มัก จะตั ด สิ น ใจไม ไ ด ทํ า ได เ พี ย งนํ า ข อ เสนอไปนํา เสนอผูมี อํ า นาจ ตัดสินใจอีกครั้ง บางครั้งจากประสบการณในการไกลเกลี่ยของผูเขียนเอง ไดพบวา ไมมีผูมีอํานาจตัดสินใจ มาเขารวมเลยทั้งสองฝาย ตางฝายตางสงทนายความมารวมเจรจา ซึ่งนําไปสูความไมสําเร็จของการพูดคุย 11) บุคคลแวดลอมผูเจรจา ไมวาจะเปนเครือญาติ ทนายความ เพื่อนฝูงที่มักจะเสนอแนะตาม ความรูสึกที่ตนเองคิดวาดี หรือเพื่อรักษาผลประโยชนเฉพาะพวกพองของตน


สรุป เราไดทราบถึงปจจัยที่ทําใหการจัดการความขัดแยงดวยการเจรจาไกลเกลี่ยประสบความสําเร็จ และไมประสบความสําเร็จแลว วาประกอบไปดวยหลายๆ ปจจัย ไมไดมีเพียงปจจัยใดปจจัยหนึ่งเทานั้น อยางนอยในบทความนี้ก็ไดนําเสนอถึงปจจัยที่หลากหลายของความสําเร็จ ประกอบดวย คนกลาง คูกรณี ความสัมพันธและความไววางใจ บริบทสภาพแวดลอม การสื่อสารที่ถูกตองชัดเจน กระบวนการมีสวนรวม ทรัพยากรที่เพียงพอ ระบบความเชื่อดานจิตวิญญาณ และระบบเครือญาติ ดังนั้นนักจัดการความขัดแยง ก็ นาจะเขาใจถึงภาพรวมที่จะทําใหความขัดแยงลุลวงไปไดดวยการเจรจาไกลเกลี่ย และนําไปประยุกตใชตาม สถานการณที่เกิดขึ้น และปจจัยที่ทําใหการเจรจาไกลเกลี่ยประสบความสําเร็จที่ไดรวบรวม ก็เปนเพียง ความรูบางสวน อาจเปนเพียงภูเขาน้ําแข็งของความรูที่โผลพนน้ําขึ้นมา ยังคงมีปจจัยตางๆ อีกมากมายที่ ผูเขียนเห็นวายังคงมีความรูที่ซอนอยูใตน้ําใหคนหากันเพื่อความสมบูรณขององคความรูที่มากยิ่งขึ้นตอไป เอกสารอางอิง ชลัท ประเทืองรัตนา. กระบวนการและปจจัยแหงความสําเร็จในจัดการความขัดแยงกรณีประตูกั้นน้ําจืดน้ําเค็ม แพรกหนามแดง อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และกรณีผาตัดตอกระจกติดเชื้อ โรงพยาบาลศูนยขอนแกน. ไดรับการตอบรับตีพิมพในวารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปที่ 31 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม พ.ศ.2555 . ชลัท ประเทืองรัตนา. (2552) งานวิจัย การจัดการความขัดแยงของกลุมชาติพันธุภาคเหนือโดยระบบคน กลาง . สถาบันพระปกเกลา . พระมหาบุญเลิศ ชวยธานี. บทบาทของพระสงฆในการจัดการความขัดแยงทางการเมืองในทองถิน่ : ศึกษา เฉพาะกรณี พระครูวิบูลสิทธิธรรม เจาอาวาสวัดหนองพยอม ตําบลชุมแสงสงคราม อําเภอบาง ระกํา จังหวัดพิษณุโลก. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลาครั้งที่ 11 ประจําป 2552 . ฟชเชอร, โรเจอร และ ยูริ, วิลเลียม (2545). กลยุทธการเจรจาตอรอง. (ดร.กองเกียรติ โอภาสวงการ, ผูแปล). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. มอริส, แคธเธอรีน. (2004). การจัดการความขัดแยงและการขอโทษ. (วันชัย วัฒนศัพท, ผูแปล). กรุงเทพฯ: โรงพิมพศาลาแดง.


เมเยอร, เบอรนารด . (2553). พลวัตรการจัดการความขัดแย ง. (นายแพทย บรรพต ต นธีรวงศ , ผูแปล). กรุงเทพฯ: คบไฟ. ยูริ, วิลเลียม. (2544). เอาชนะคําวาไมใชเรื่องยาก. (วันชัย วัฒนศัพท, ผูแปล). ขอนแกน: ศิริภัณฑออฟเซ็ท. วันชัย วัฒนศัพท. (2550). ความขัดแยง: หลักการและเครื่องมือแกปญหา....พิมพครั้งที่ 3. ขอนแกน: ศิริ ภัณฑออฟเซ็ท. อุดม บัวศรี และชอบ ดีสวนโคก. (2546). เจาโคตร : การระงับความขัดแยงในวัฒนธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศการพิมพ. Bercovitch, Jacob, Kremenyuk, Victor, and Zartman, I. William. (2009). The Sage Handbook of Conflict Resolution. London: SAGE Publications Ltd. Furlong, T. Gary. (2005). The conflict resolution toolbook models and maps for analyzing, diagnosing and resolving conflict. Canada: John wiley and sons Canada, ltd. Lewicki J. Roy, Saunders M. David, and Minton W. John. (2001) Essentials of Negotiation, New York.Irwin/Mcgraw-Hill.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.