การไกล่เกลี่ยคนกลางและการแก้ไขความขัดแย้ง

Page 1

การไกลเกลี่ยคนกลางและการแกไขความขัดแยง1 (Mediation and Conflict Resolution) ************************ 1.บทนํา บทความเรื่องการไกลเกลี่ยคนกลางและการแกไขความขัดแยง มุงเนนอธิบายความหมายของการ ไกลเกลี่ยคนกลาง ทําใหทราบนิยามรวมกันของการไกลเกลี่ยคนกลางวาคืออะไร นอกจากนี้ เมื่อเกิดความ ขัดแยงขึ้น เรามีวิธีแกไขความขัดแยงไดหลายวิธีการ การไกลเกลี่ยคนกลาง (Mediation) เปนวิธีการหนึ่งใน การแกปญหาความขัดแยงที่นํามาสูความพึงพอใจรวมกันของคูกรณีไดหรือไม อยางไร สําหรับแนวทางใน การศึกษาการไกลเกลี่ยคนกลางนั้น สามารถศึกษาทางทฤษฎีหลายวิธีการทั้งการศึกษาทฤษฎีเปนการทั่วไป กับการศึกษาอยางเฉพาะเจาะจงในแตละกรณี แลวความแตกตางกันในแนวทางดังกลาวคืออะไร อนึ่ง การศึกษาแรงจูงใจของคนกลางและคูกรณีในการไกลเกลี่ยมีความสําคัญและจําเปนมากนอยเพียงใดในการ แกปญหาความขัดแยง นอกจากนี้ บทบาทของคนกลางในการจัดการความขัดแยงควรเปนอยางไร ยุทธวิธีที่ ใชในการจัดการความขัดแยง ประกอบดวยวิธีการใดบาง การจะเลือกใชยุทธวิธีแบบใดตองพิจารณาและ วิเคราะหความขัดแยงที่เกิดขึ้นวาเปนอยางไร แตไมวาจะใชวิธีใดในการไกลเกลี่ยก็ตาม เราจะไมสามารถ มองขามการนิยามความสําเร็จในการไกลเกลี่ยคนกลาง ซึ่งแมวาจะมีการใหคุณคาที่แตกตางกันออกไป แต อยางนอยก็จะมีลักษณะรวมกันถึงความสําเร็จดังกลาว บทความนี้ จะไดนําเสนอรายละเอียดตามหัวขอที่ได กลาวมา 2.ความหมายของการไกลเกลี่ยคนกลาง Jacob Bercovitch ศาสตราจารยดานความสัมพันธระหวางประเทศ ของมหาวิทยาลัย Canterbury in Christchurch ประเทศนิวซีแลนด ไดเขียนบทความเรื่อง Mediation and Conflict Resolution ในหนังสือ เรื่อง The SAGE Handbok of Conflict Resolution ซึ่ง Bercovitch ไดเปนบรรณาธิการในหนังสือดังกลาว ดวย ในบทความเรื่องการไกลเกลี่ยและการแกไขความขัดแยง ไดอธิบายถึงขอจํากัดของการศึกษาการไกล เกลี่ยคนกลางวาขาดขอมูลและการศึกษาที่เพียงพอ นอกจากนี้ ทั้งนักวิชาการและนักปฏิบัติ ไมวาจะเปนใน ระดับทองถิ่นหรือระหวางประเทศ เห็นวาการไกลเกลี่ยคนกลางเปนศิลปะเฉพาะแหง ไมนาจะพัฒนาขึ้นมา เปนการวิเคราะหไดอยางเปนระบบ หรือพัฒนาขึ้นมาเปนการทั่วไปได ตัวอยางที่จะอธิบายไดชัดเจนขึ้นคือ นักปฏิบัติที่มีชื่อเสียงชาวอเมริกันสองคนคือ Arthur Meyer (1960) เห็นวาบทบาทของผูไกลเกลี่ย เปรียบได กับการลองเรือในทะเลที่ไมสงบ ไมมีการเดินเรือที่เปนสูตรสําเร็จ ไมสามารถใชประสบการณจากคนอื่นได 1

ชลัท ประเทืองรัตนา นักวิชาการสํานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกลา

1


แตตองขึ้นอยูกับแตละบุคคล ในขณะที่ William Simkin (1971) ก็เห็นเชนเดียวกันวาไมมีประโยชนที่การ ไกลเกลี่ยคนกลางจะตองไปพิจารณาถึงการพัฒนามาเปนทฤษฎีที่ใชไดเปนการทั่วไป (Bercovitch, 2009) การไกลเกลี่ยคนกลางมาจากลาตินวา แบงครึ่ง (Halve) แตนิยามและการอธิบายการไกลเกลี่ยก็มี ความแตกตางกันไปคือ 1) ยึดสิ่งที่ผูไกลเกลี่ยทําหรือหวังวาจะบรรลุผล 2) ความแตกตางระหวางการไกล เกลี่ยคนกลางและการแทรกแซงจากบุคคลที่สาม เชน อนุญาโตตุลาการ 3) การอธิบายคุณลักษณะของนัก ไกลเกลี่ย (Attributes) มีรายละเอียดคือ (Bercovitch, 2009) 1) อะไรที่นักไกลเกลี่ยหวังวาจะไดรับ และพวกเขาทําอยางไรในการบรรลุเปาหมาย (What Mediator Hope to Achieve and How They May Go About Achieving It) Oran Young (1967) อธิบายวาการไกลเกลี่ย เปนการกระทําโดยผูที่ไมใชคูกรณีโดยตรง เพื่อลด ปญหาดานความสัมพันธ Chris Mitchell (1981)ใหคําจํากัดความวาการไกลเกลี่ยเปนการใชคนกลางโดย มุงหวังใหไดขอยุติรวมกันระหวางคูกรณี หรืออยางนอยที่สุดเปนการยุติพฤติกรรมความขัดแยงระหวางกัน ในขณะที่ Blake and Mouton (1985) นิยามวา เปนกระบวนการการแทรกแซงโดยบุคคลที่สาม โดยเขาไป คนหาและนิยามปญหา และใชวิธีการแยกการพูดคุยเพื่อหาขอเสนอแนะ เพื่อนําไปสูการยอมรับรวมกัน 2) การไมเนนผลลัพธที่ไดและเนนที่การดําเนินการแทรกแซง (Less Outcome-Oriented and Focus On the Act of the Intervention Itself) Douglas (1957) เห็นวาเปนรูปแบบของการทําใหเกิดขอตกลงสันติภาพ (Peacemaking) ซึ่ง บุคคลภายนอกเขามาดําเนินการเอง หรือการการเชิญชวนจากคูกรณี เพื่อมาชวยทําใหเกิดขอตกลงรวมกัน Moore (1986) เห็นวาเปนกระบวนการที่บุคคลที่สามไมมีอํานาจตัดสินใจ แตชวยใหคูกรณีนํามาสูขอตกลงที่ ยอมรับรวมกัน Singer (1990) ก็เห็นวาเปนการชวยเหลือจากบุคคลที่สามซึ่งไมมีอํานาจในการตัดสินใจ 3) การนิยามที่เนนความเปนกลางและไมลําเอียง (Focus on Neutrality and Impartiality) Bingham (1985) เห็นวาเปนกระบวนการที่เขามาชวยจากฝายที่สามที่มีความเปนกลาง ขณะที่ Folberg และ Taylor (1984) เห็นวาเปนกระบวนการที่ผูเกี่ยวของโดยการชวยเหลือจากบุคคลที่เปนกลาง แยกประเด็นความขัดแยงเพื่อสรางทางเลือก พิจารณาทางเลือกรวมกัน และนํามาสูขอตกลงที่สนองความ ตองการของฝายตางๆ นอกจากที่ Bercovitch ไดประมวลความหมายของการไกลเกลี่ยคนกลางไว ดร.เบอรนารด เม เยอร (2553) แหง CDR Associates องคกรดานการจัดการความขัดแยงในสหรัฐอเมริกา เห็นวาการไกลเกลี่ย คนกลาง ก็คือการจัดการความขัดแยง เปนเครื่องมือในการแทรกแซงความขัดแยงที่เกิดขึ้น โดยมีบุคคลที่ สามใหความชวยเหลือคูกรณีจัดการกับความขัดแยง ไมใชผูตัดสินใจหรือกําหนดวิธีแกปญหา เปนทั้งวิถี ชีวิตและใชไดในการทํางานกับวงการอาชีพตางๆ สอดคลองกับที่ ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท (2550) เห็นวาการ

2


ไกลเกลี่ยคนกลางเปนการที่คูกรณี พยายามที่จะแกปญหาความแตกตางระหวางกันโดยความชวยเหลือของ บุคคลหรือกลุมบุคคลที่สามที่เปนที่ยอมรับทุกฝาย สรุปไดวาการไกลเกลี่ยเปนกระบวนการจัดการความขัดแยง ที่ไมใชการเจรจากันเองโดยตรง แต ใชคนกลางเขามาชวยเหลือ ซึ่งไดรับการยอมรับจากคูกรณี ไมเปนผูมีสวนไดสวนเสีย ไมมีอํานาจตัดสินใจ โดยคนกลางเขาไปแทรกแซง เปลี่ยนมุมมอง พฤติกรรมดวยการพูดคุยที่ไมใชการบังคับทางกายภาพหรือ ไมไดบังคับใชทางกฎหมาย 3.การแกไขความขัดแยงดวยแนวทางสันติวิธีและการไกลเกลี่ยคนกลาง ความขัดแยงเปนทั้งดานบวกและดานลบ แตก็ควรจัดการความขัดแยงใหเปนไปในทิศทางที่ สรางสรรค ความขัดแยงที่เกิดขึ้นเราสามารถจัดการไดทั้งการใชความรุนแรง และในทิศทางที่ไมใชความ รุนแรง (Non-Violent) วิธีการแกไขความขัดแยงดวยแนวทางสันติวิธีในความขัดแยงระหวางประเทศ มี หลายวิ ธี ก าร ดั ง ที่ ป รากฏในมาตรา 33 ของกฎบั ต รสหประชาชาติ (Charter) ไม ว า จะเป น การเจรจา (Negotiation) การไตสวน (Inquiry) การไกลเกลี่ยคนกลาง (Mediation) การแยกเจรจา (Conciliation) การ อนุญาโตตุลาการ (Arbitration) รวมถึง การใชตัวแทนประจําภูมิภาค (Resort to Regional Agencies) หรือ วิธีการสันติวิธีอื่นๆ (Bercovitch, 2009) ในกฎบัตรสหประชาชาติกลาวถึงการแกไขความขัดแยงระหวางประเทศไว 3 วิธีการ (Bercovitch, 2009) 1.การเจรจาโดยตรงระหวางคูกรณี 2.การไกลเกลี่ยคนกลางดวยวิธีการตางๆทั้งการอํานวยความสะดวกดวยจัดเตรียมสถานที่และการ แยกเจรจา 3.ขอผูกพัน (Binding) ตามกฎหมาย จากฝายที่สาม เชน การอนุญาโตตุลาการและการวินิจฉัยชี้ ขาดโดยศาล (Adjudication) เปนตน แตละวิธีการมีจุดแข็งและจุดออนที่แตกตางกันไป และเหมาะกับความขัดแยงที่แตกตางกันไป ซึ่ง ในบทความนี้จะเนนที่การแกไขความขัดแยงดวยการไกลเกลี่ยคนกลาง เพื่อทําความเขาใจถึงการไกลเกลี่ย คนกลาง การทํางานของการไกลเกลี่ยคนกลาง (How It Work) ใครสามารถใชการไกลเกลี่ยคนกลาง ปญหา ที่ผูไกลเกลี่ยประสบ และประเมินวาการไกลเกลี่ยคนกลางสามารถปองกันและแกไขความขัดแยงไดอยางไร นอกจากการแกปญหาความขัดแยงระหวางประเทศที่กลาวมา วันชัย วัฒนศัพท (2550) เห็นวาการ แกไขความขัดแยงทั่วไปสามารถกระทําไดในรูปแบบตางๆ โดยผลที่ทําใหคูกรณีหรือฝายตางๆ รูสึกวาชนะ ทั้งคู (Win-Win) คือการไกลเกลี่ยคนกลางและการเจรจา ซึ่งประกอบไปดวย 1.หลีกหนีปญหา (Avoidance )เปนการไมหยิบปญหามาพูดกัน บางครั้งไปนินทาลับหลัง 2.การใชคนกลางในการไกลเกลี่ย มีความแตกตางกันระหวางสังคมตะวันตกกับตะวันออก 3


3.การเจรจาไกลเกลี่ยกันเอง ซึ่งคูกรณีใชวิธีการพูดคุยกันเองโดยตรง 4.อนุญาโตตุลาการ เปนกระบวนการใชคนกลางมาทําหนาที่ตัดสิน 5.การฟองรองกัน (Litigation) โดยมีผูพิพากษามาตัดสินในขอพิพาท 6.การใชกระบวนการทางนิติบัญญัติเพื่อแกปญหาขอขัดแยง (Legislation) ผานการออกกฎหมาย จากสภาผูแทนราษฎร 7.การใชการชุมนุมประทวงอยางสันติ (Civil Disobedience) เปนการเรียกรองใหไดสิ่งที่ตองการ อยางสงบ 8.การใชความรุนแรง (Violence) โดยเชื่อวาความรุนแรงสามารถยุติปญหาได แตปญหาก็ไมไดรับ การจัดการอยางแทจริง ปญหายังคงดํารงอยู ลักษณะสําคัญของการไกลเกลี่ยคนกลาง เปนการแทรกแซงของบุคคลภายนอก ไมวาจะมีคู ขัดแยงเพียงสองหรือมากกวานั้น รวมถึงไมใชการบังคับ ใชแนวทางสันติวิธี และไมผูกพันทางกฎหมายให ตองปฏิบัติตาม (Non-Binding) โดยนักไกลเกลี่ยเขาไปในความขัดแยง เพื่อเปลี่ยนแปลง แกไข หรือมี อิทธิพลตอความขัดแยง นอกจากนั้น การไกลเกลี่ยคนกลางเปนความสมัครใจ คูกรณีเปนผูควบคุมผลลัพธ และเลือกเองวาจะยอมรับหรือปฏิเสธการไกลเกลี่ยคนกลาง (Bercovitch, 2009) สรุปไดวาการไกลเกลี่ยคนกลาง เปนหนึ่งในแนวทางการแกไขความขัดแยงดวยแนวทางสันติวิธี สามารถใชไดทั้งในระดับปจเจก ระดับรัฐ ระหวางประเทศ เมื่อการไกลเกลี่ยคนกลางประสบความสําเร็จ จะทําใหคูกรณีลดความขัดแยงลง เปนเครื่องมือในการยุติความเปนปฏิปกษ นํามาสูขอตกลง หรือการยุติ ความขัดแยง 4.แนวทางในการศึกษาการไกลเกลี่ยคนกลาง (Approaches in The Study of Mediation) การศึกษาแนวทางการไกลเกลี่ยคนกลางระหวางประเทศ (International Mediation) จําแนกไดเปน การศึกษาทฤษฎีทั่วไป (General Theory) ทฤษฎีจากบริบท (Context –Specific Theory ) และการขยายทฤษฎี จากบริบท (Extend Context Theory) (Bercovitch, 2009) 1.ศึกษาเพื่อการเสนอแนะสิ่งที่จะนําไปสูการจัดการความขัดแยงที่ดี ดังตัวอยางที่ โรเจอร ฟชเชอร และวิลเลียม ยูริ ผูปฎิบัติงานในโปรแกรมการเจรจา แหงมหาวิทยาลัยฮารวารด ไดเสนอแนะไว มีหนังสือ และคูมือแนะนําวาผูไกลเกลี่ยและนักเจรจาควรจะทําอยางไร อะไรบางที่จะนําไปสูการเจรจาและการไกล เกลี่ยที่ดี และความขัดแยงจะไดรับการแกไขไดอยางไร 2. เปนการศึกษาบริบทการจัดการความขัดแยงที่มีความแตกตางกัน การศึกษาดังกลาว มาจากทั้ง นักวิชาการและนักปฏิบัติ เปนการศึกษาเพื่อทดสอบทฤษฎีและพัฒนาทฤษฎีเพื่อแกไขความขัดแยงในสังคม ทฤษฎีจะไดรับการพัฒนาขึ้นมาจากการทดลอง จากเทคนิคการแกปญหาความขัดแยงตางๆ ในแตละบริบท 4


สังคมที่แตกตางกัน และนําทฤษฎีดังกลาวที่ไดไปใชจัดการกับปญหาความขัดแยงไดแทบทุกเรื่อง ผูที่ศึกษา แนวทางนี้คือ Burton, Dobb, Fisher, Kelman, และ Walton 3.เปนการศึกษาที่มาจากกรณีการไกลเกลี่ยตางๆ เนนวาแตละกรณีจะมีความแตกตางกันไป ไมวา จะเปนสภาพสังคม ผูไกลเกลี่ยที่มีอัตลักษณแตกตางกัน ลักษณะของความขัดแยงที่ไมเหมือนกัน การศึกษา ดังกลาวเปนการศึกษาเพื่อพัฒนาทฤษฎี และเสนอแนะแนวทางดวยการ ก)ศึกษารายละเอียดการไกลเกลี่ย ระหวางประเทศแตละกรณี ข) ทดลองในการไกลเกลี่ยเพื่อคนหาวานักไกลเกลี่ยทําอยางไรในการควบคุม สถานการณ ค) ใชกรอบความคิดที่ไมแนนอน (Contingency Framework) ขึ้นอยูกับแตละบริบท แนวทางนี้ เนนการศึกษากรณีการไกลเกลี่ยระหวางประเทศจํานวนมาก เพื่อกําหนดและทดสอบวาการไกลเกลี่ยที่มี ประสิทธิภาพ และประเมินวาภายใตเงื่อนไขใด ทําใหการไกลเกลี่ยทํางานไดดี ดังเชน งานของ Bercovitch , Rubin, Touval และZartman ซึ่ง Bercovitch เห็นวาแนวทางนี้ นํามาสูความเขาใจอยางลึกซึ้งและใชในการ ไกลเกลี่ยไดดีกวาอีกสองแนวทาง 5.เหตุผลและแรงจูงใจของการไกลเกลี่ยคนกลาง เหตุผลและแรงจูงใจในการไกลเกลี่ยคนกลางระหวางคนกลางและคูกรณี มีความแตกตางกันไป ทั้งประเด็นการใชระยะเวลาในการไกลเกลี่ยคนกลาง ความเสี่ยงในผลลัพธที่ไมแนนอน อยางไรก็ตาม การ ไกลเกลี่ยคนกลางมีความเหมาะสมหรื อถูกพิจารณานํามาใชไดมากกวาวิธีการอื่นเมื่อ ก) ความขัดแย ง ยาวนาน หรือซับซอน ข) คูกรณีมาถึงทางตัน ค) คูกรณีไมสนับสนุนจากตนทุนที่เกิดขึ้นและการสูญเสียชีวิต ง) คูกรณีเตรียมตัวจะรวมมือกัน ยุติสถานการณที่ยุงยาก (Bercovitch, 2009) แรงจูงใจของคนกลาง คนกลางแตละคนมีแรงจูงใจที่แตกตางกันออกไป แรงจูงใจในการไกลเกลี่ยที่ไมเปนทางการใน ระดับปจเจกบุคคล (Unofficial Individual) อาจประกอบไปดวยความตองการ ก) ใชเปนเครื่องมือในการ เปลี่ยนแปลงความขัด แยงที่ข ยายตัว หรือยาวนาน ข) เขาถึงผู นํ าหรื อเป ด ช องทางในการสื่อสาร ค) นํ า ความคิดสูการปฏิบัติในการจัดการความขัดแยง ง) เผยแพรความคิดของตนเอง เพื่อแสดงสถานะความเปน มืออาชีพ สําหรับแรงจูงใจในการไกลเกลี่ยที่เปนทางการ (Official Representative of a government or an organization) ระดับรัฐบาลหรือองคกร ประกอบดวย ก) ภาระหนาที่ที่ชัดเจนในการแทรกแซงความขัดแยง เชน African Union เปนตน ทําหนาที่ไกลเกลี่ยความขัดแยงในภูมิภาค ข) ตองการทําบางสิ่งเกี่ยวกับความ ขัดแยง ความขัดแยงที่ตอเนื่องตอไปอาจจะสงผลกระทบตอผลประโยชนทางการเมือง ค) อาจไดรับการรอง ขอจากคูกรณีหรือฝายใดฝายหนึ่งใหมาทําหนาที่ไกลเกลี่ย ง) เพื่อไมทําใหโครงสรางถูกกระทบกระเทือน เพราะอยูในโครงสรางเดียวกัน เชน สหรัฐอเมริกาเขามาไกลเกลี่ยขอพิพาทระหวางกรีซและตุรกี ซึ่งตางก็ เปนสมาชิกของ NATO จ) การใชการไกลเกลี่ยเปนวิธีในการขยายอิทธิพล เพื่อใหคูกรณีเห็นวามีความ 5


จําเปนอยางยิ่งกลาวคือจะขาดเขาไมได เชน กรณีอาหรับกับอิสราเอล มีการไกลเกลี่ยโดยสหรัฐอเมริกา กลาวไดวานักไกลเกลี่ยเปนตัวแสดงทางการเมือง เขามาเกี่ยวของในการไกลเกลี่ยคนกลางและใชทรัพยากร เนื่องจากคาดหวังวาจะแกไขความขัดแยง และไดรับบางสิ่งจากการกระทําดังกลาว แรงจูงใจของคูกรณี คูกรณีมีแรงจูงใจในการเขารวมการไกลเกลี่ย คือ ก) การไกลเกลี่ยอาจจะชวยพวกเขาใหลดความ เสี่ยงในการขยายตัวของความขัดแยง และอาจนําไปสูขอตกลงรวมกัน ข) แตละฝายหวังวาคนกลางจะชวย ใหตนมีอิทธิพลเหนืออีกฝาย ค) การไกลเกลี่ยจะเปนการสื่อสารตอสาธารณะวาพวกเขาจัดการความขัดแยง ดวยแนวทางสันติ ง) ตองการใหคนนอกเขามาชวยประณามวาความพยายามการสรางสันติภาพลมเหลว จ) ผู ไกลเกลี่ยสามารถเขาไปตรวจสอบ และใหหลักประกันวาจะนํามาสูขอตกลง อยางไรก็ตาม เมเยอร (2553) เนนแรงจูงใจของคูกรณีในประเด็นคูกรณีตองการใหนักไกลเกลี่ย ชวยใหตนเองบรรลุความตองการ โดยเปนจุดเนนมากที่สุดเพื่อชวยเหลือตนเอง คูกรณีตองการใหนักไกล เกลี่ยหาวิธีการสรางความกดดันใหอีกฝายเพื่อใหประนีประนอมและทําขอตกลง ไมวาเราจะศึกษาการไกลเกลี่ยภายในหรือระหวางประเทศ เราควรเขาใจวาการไกลเกลี่ยไมได เปนเหตุผลเพียงมนุษยธรรมเทานั้น หรือผูไกลเกลี่ยอาจไมไดยึดแตประโยชนของคูกรณีเปนที่ตั้งเทานั้น แต อาจมีผลประโยชนของผูไกลเกลี่ยรวมอยูดวยก็เปนได 6.บทบาทหนาที่ของคนกลาง ดังที่เราไดทราบแลววาการไกลเกลี่ยคนกลางจะเหมาะสมกับสถานการณที่คูกรณีไมสามารถ พูดคุยกันไดเอง จึงมีความจําเปนตองใชบุคคลที่สามเขามาชวยกํากับกระบวนการ คนกลางจะมีหนาที่ชวย ใหคูกรณีหรือคูเจรจาหาทางออกรวมกัน ซึ่งเปนที่ยอมรับกันทั้งสองฝายหรือหลายฝาย อันจะนําไปสู ทางออกของความขัดแยงระหวางกัน โดยพยายามไมใหกระบวนการเปลี่ยนไปในทางที่จะเอาชนะกันจน เกิดวาฝายหนึ่งแพฝายหนึ่งชนะ โดยสรุปคนกลางจึงมีบทบาท (วันชัย วัฒนศัพท, 2550) 1. ทําหนาที่สนับสนุนกระบวนการใหดําเนินไปโดยสงเสริมการสื่อสารอยางสรางสรรคของคูเจรจา 2. มีความรูสึกรวมกับคูเจรจาทั้งหลาย 3. ทําหนาที่อยางเปนกลาง 4. แสดงใหเห็นแงมุมทั้งบวกและลบของแตละฝาย 5. ชวยใหคูเจรจาเขาใจธรรมชาติของขอพิพาทและเหตุผลที่ซอนอยู 6. สงเสริมใหคูเจรจาพิจารณาทางเลือก 7. ถามวิถีทางเลือกอื่นที่คิดวาดีที่สุดที่จะทําหากไมมาเจรจาหาขอตกลง (BATNA: Best Alternative To a Negotiated Agreement หรือ ทดตก : ทางเลือกอื่นที่ดีที่สุดแทนการหาขอตกลงจากการเจรจาไกลเกลี่ย) 6


8. ชวยใหคูเจรจาหาทางออกที่ตอบสนองความตองการทุกฝาย 9. ชวยคูเจรจารางขอตกลงที่เปนไปไดจากทางออกตาง ๆ 10. ปกปองความนาเชื่อถือของกระบวนการเจรจาไกลเกลี่ย 7.ยุทธวิธีของการไกลเกลี่ย (Mediation Strategies) อะไรบางที่ผูไกลเกลี่ยทําเมื่อไกลเกลี่ย ยุทธวิธีของการไกลเกลี่ยที่ใชในการไกลเกลี่ยระหวาง ประเทศประกอบดวย 3 วิธีคือ (Bercovitch, 2009) 1.ยุทธิวิธีการสื่อสารและอํานวยความสะดวก (Communication – Facilitation Strategies) เปน พฤติกรรมในระดับต่ําที่สุดของการแทรกแซง ผูไกลเกลี่ยใชบทบาทแบบตั้งรับ (Passive) ดวยการใหขอมูล แกคูกรณี เนนการสรางความรวมมือ (Facilitating Cooperation) มีการเขาไปควบคุมการไกลเกลี่ยคนกลาง นอยมาก เชน กรณีบทบาทการไกลเกลี่ยของนอรเวย ในขอตกลง Oslo (Oslo Agreement) ระหวางอิสราเอล และ PLO ในป 1993 ยุทธวิธีนี้เปรียบไดกับการเอื้ออํานวยใหคูกรณีไดมีโอกาสมาพูดคุยกัน และปลอยให กระบวนการพูดคุยเกิดขึ้นโดยคูกรณีเอง 2.ยุ ท ธิ วิ ธี ก ระบวนการ (Procedural Strategies) นั ก ไกล เ กลี่ ย ใช วิ ธี นี้ เ ป น การเข า ไปควบคุ ม กระบวนการไกลเกลี่ยมากยิ่งขึ้น โดยกําหนดโครงสรางของการประชุม การควบคุมผูสามารถมีอิทธิพลตอ กระบวนการ การเผยแพร ต อ สื่ อ มวลชน การให ข อ มู ล ข า วสาร การสื่ อ สาร ดั ง กรณี ข องบทบาทของ นิวซีแลนดใน Bougainville ในป 1995 ในการนําคูกรณีไปในคายนิวซีแลนด 3. ยุทธวิธีชี้แนะ (Directive Strategies) เปนรูปแบบการแทรกแซงที่เขมขนที่สุด ผูไกลเกลี่ยจะ สง ผลและควบคุ มต อเนื้อ หาของการเจรจาโดยการให ผลประโยชนต อคู กรณี ยุท ธวิธี เ ชน นี้เ ปน การมี เปาหมายในการเปลี่ยนแปลงประเด็น และพฤติกรรมของคูกรณี ดังเชนที่ Richard Holbrook เขาไปมีบทบาท กรณี Dayton การจะเลือกใชวิธีการใดในการไกลเกลี่ยคนกลางถึงจะเหมาะสมคงจะไมสามารถบอกได แตคง ขึ้นอยูกับผูไกลเกลี่ยแตละกรณี วาจะเลือกใชวิธีการแบบใด การใชทางเลือกใดยังขึ้นอยูกับความสัมพันธ (Relationship) ระหวางคูกรณี บริบทของความขัดแยง ประวัติศาสตรที่ผานมา แตก็อาจเปนไดวาความ ขัดแยงที่เขมขนมากๆ อาจตองการการแทรกแซงมากกวา (Intense Intervention) ความขัดแยงที่ไมมาก วิธีการที่ใชควบคุมและจัดการความขัดแยง เมเยอร (2553) เห็นวาหัวใจสําคัญของวิธีการที่นักไกลเกลี่ยใชควบคุมความขัดแยงไมใหขยายตัว มี 4 วิธี ประกอบดวย 1.เปลี่ยนแปลงโครงสรางของปฏิสัมพันธ เพื่อทําใหคูกรณีเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความขัดแยง เปลี่ยนวิธีการนําเสนอประเด็นปญหา การสื่อสาร การแสดงความรูสึก ซึ่งคูขัดแยงจะผอนปรนพฤติกรรม ตอตานสวนใหญของตน 7


2.ใชความมุงมั่น วิสัยทัศนและใชความเปนมนุษยในการปฏิสัมพันธ นักไกลเกลี่ยตองสรางความ เชื่ อ มั่ น แสดงความมุ ง มั่ น ทุ ม เทให กั บ กระบวนการจั ด การความขั ด แย ง รวมถึ ง การแสดงวิ สั ย ทั ศ น ที่ สรางสรรคตอการแกไขความขัดแยง อีกทั้งการแสดงตัวตนของความเปนมนุษยที่มีความอบอุน อารมณขัน และมีความสามารถในการสานสัมพันธกับคูขัดแยง 3.ใชทักษะและดําเนินการเปนขั้นตอน ไดแกความสามารถในการสื่อสาร การวิเคราะหความ ขัดแยง การวางแผนจัดการความขัดแยง กําหนดขั้นตอนตางๆในการไกลเกลี่ย เชน การระบุประเด็นปญหา การคนหาความตองการ การสรางทางเลือก เปนตน 4.ใช ค า นิ ย มและจริ ย ธรรม นั ก ไกล เ กลี่ ย จะมี ม าตรฐานจริ ย ธรรมของตน เช น นั ก ไกล เ กลี่ ย โดยทั่วไปจะมุงมั่นชวยเหลือคูกรณีในการแสวงหาผลลัพธที่ตอบสนองความตองการของแตละฝายไดอยาง เหมาะสม ถื อ ได ว า จริ ย ธรรมนี้ เ ป น พื้ น ฐานสํ า หรั บ คู ก รณี ใ นการสร า งความเชื่ อ ถื อ และการสร า ง ความสัมพันธ 8.ปจจัยที่กระทบตอการเลือกยุทธวิธี (Factors Affecting the Choice of a Strategy) การจะใชยุทธวิธีแทรกแซง แกไขปญหาแบบใด วาจะเปนแบบเขมขน ปานกลางหรือนอย มีหลาย ปจจัย ปจจัยที่กระทบตอการเลือกทางเลือกใดในการไกลเกลี่ย ประกอบไปดวย (Bercovitch, 2009) 1.ความเขมขนของความขัดแยง (The Intensity of a Conflict) เปนปจจัยหลักที่กระทบตอการ จัดการความขัดแยง และรูปแบบที่ใชในการไกลเกลี่ย ความเขมขนของความขัดแยงพิจารณาไดจาก ความ รุนแรงที่เกิดขึ้น ระดับของการเปนปฏิปกษ จํานวนผูเสียชีวิต ระดับของความโกรธ และความเขมขนของ ความรูสึก รวมถึงประเภทหรือประเด็นผลประโยชน และมุมมองดานลบตอกันของคูกรณี Rubin (1980) เห็นวาเมื่อความขัดแยงต่ํา คูกรณีหวงเรื่อง “การซอมรั้วของตนเอง” และไมตองการบุคคลที่สามเขามา แทรกแซง คูกรณีตองการจัดการความขัดแยงดวยตัวเอง แตถาคูกรณีไมสามารถจัดการปญหาได นักไกล เกลี่ยจะเขามาชวยเรงกระบวนการเจรจา ในทางกลับกัน ความขัดแยงที่เขมขน จําเปนตองไมทําใหความ ขัดแยงขยายตัวออกไป นักไกลเกลี่ยจะตองใชการแทรกแซง สอดคลองกับที่เมเยอร (2553) เห็นวาคูกรณีจะ คอยจนกวาความขัดแยง รุนแรงขึ้นจนควบคุมไมได จึงจะแสวงหาความชวยเหลือจากภายนอก 2.ประเภทของประเด็นที่ขัดแยง (The Type of Issues In Conflict) ประเภทของประเด็นที่ขัดแยง จะสงผลตอการเลือกวิธีการใด เชน เปนความขัดแยงภายในรัฐหรือระหวางรัฐเมื่อเปนความขัดแยงภายในรัฐ ก็จะเนนไปที่ประเด็นอัตลักษณ อํานาจปกครองตนเอง (Autonomy) และเชื้อชาติ ประเด็นเหลานี้เปนเรื่อง ความรูสึก รวมถึงความกลัว ความไมพอใจ ความไมไววางใจ ซึ่งยากตอการไกลเกลี่ย นักไกลเกลี่ยอาจใช วิธีการเจรจาดวยการใชยุทธวิธีการสื่อสารและอํานวยความสะดวก เพื่อสรางความเชื่อมั่นและไววางใจ และ สรางสิ่งจูงใจใหนําไปสูการจัดการความขัดแยงดวยแนวทางสันติวิธี แตในทางตรงขาม ความขัดแยงใน ประเด็น ความมั่นคง ทรัพยากร การปองกันประเทศ เปนประเด็นที่ชัดเจนและงายกวาในการแกไข นักไกล 8


เกลี่ยอาจใชการกดดันเพื่อใหเกิดการยอมกันหรือขอตกลง ในประเด็นที่เห็นได ชัดเจน (Tangible) เพื่อ นําไปสูการแกไขความขัดแยงไดลุลวง 3.ลักษณะภายในของคูกรณี (The Internal Characteristics of The Parties) คูกรณีที่มีความ เหมือนกันในระบบการเมือง โครงสรางทางสังคม (ชาติพันธุ , วัฒนธรรม, ศาสนา) อาจจะยินดีใหความ รวมมือ แกไขความขัดแยงไดดีกวา ในทางกลับกันคูกรณีที่มีความแตกตางทางระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อาจจะไมไววางใจซึ่งกันและกัน อาจจะรูสึกวาอีกฝายคุกคามตออัตลักษณของอีกฝาย ผูไกลเกลี่ย อาจตองใชยุทธิวิธีการสื่อสาร สรางชองทางในการสื่อสาร ใหความรูตอคูกรณีในดานทักษะการเจรจา และ ชวยพวกเขามองเห็นเขาใจปญหาไดชัดเจนขึ้น 4.ความสัมพันธกอนหนาและประสบการณของคูกรณี (The Previous Relationship and Experience of The Parties) พิจารณาวาในอดีตมีความขัดแยงและการจัดการความขัดแยงหรือไม ความสั ม พั น ธ ใ นป จ จุ บั น ขึ้ น อยู กั บ ในอดี ต ว า มี ค วามสั ม พั น ธ ต อ กั น อย า งไรระหว า งคู ก รณี ในสภาพ บรรยากาศที่มีความเสี่ยง และไมแนนอน นักไกลเกลี่ยอาจอาจใชขอมูลขาวสารจากกอนหนานี้ หรือพิจารณา วาเคยมีการผูกมิตรตอกันหรือไม 5.ตําแหนงและอัตลักษณของผูไกลเกลี่ย (Mediator and Rank) ใชในการอธิบายตําแหนงที่เปน ทางการของผูไกลเกลี่ย อันสงผลตอการเลือกยุทธวิธีในการไกลเกลี่ย ผูไกลเกลี่ยบางคนอาจมีศักยภาพใน การใชทรัพยากร มีอํานาจและอิทธิพล แตผูไกลเกลี่ยบางคนก็มีแตเพียงชื่อเสียง แตไมมีอํานาจ ยุทธวิธีใน การไกลเกลี่ยแตกตางกันไปตามสถานะที่แตกตางกันของผูไกลเกลี่ย บางคนมีทรัพยากรเต็มที่ จึงใชยุทธวิธี แบบเขมขนที่สุด ในขณะที่องคการพัฒนาเอกชน (NGO) ใชไดเพียงยุทธวิธีการสื่อสาร ซึ่งไมสามารถมี ทรัพยากรที่จะใหคูกรณีได 6.การเริ่มตนและเวลาในการแทรกแซงการไกลเกลี่ย (The Initiation and Timing of Mediation Intervention) การไกลเกลี่ยเปนกระบวนการที่เนนความสมัครใจ การเริ่มหรือริเริ่มอาจเกิดขึ้นจาก คูกรณี เอง ผูไ กลเ กลี่ย หรือคู กรณีอื่น ๆ ใครจะเป น ผูริเ ริ่ม กระบวนการและเวลาใดอาจขึ้ นอยู กับ อํา นาจและ ความชอบธรรมในการไกลเกลี่ย 7.สภาพแวดลอมของการไกลเกลี่ย (The Mediation Environment) การเลือกสภาพแวดลอมใดใน การไกลเกลี่ย อาจจะกําหนดโดยความตองการของคูกรณี อํานาจของคูกรณี ทรัพยากรและเปาหมาย และ ความเต็มใจในการเจรจา รวมถึงการกดดันจากสื่อมวลชน 9. ความคิดของความสําเร็จในการไกลเกลี่ยคนกลาง (The Notion of Success in Mediation) เราจะทราบไดอยางไรวาการไกลเกลี่ยประสบความสําเร็จหรือไม? ขอตกลง Dayton ขอตกลง Oslo ถือวาประสบความสําเร็จแลวหรือไม? การพิจารณาหรือใหคํานิยามมีความแตกตางกันออกไป การไกล เกลี่ยระหวางประเทศไมไดเปนรูปแบบเดียว ไมไดมีกฎเกณฑเดียว การไกลเกลี่ยที่มีสถานนะจากปจเจก 9


(Individual mediators) อาจเนนที่วิธีการสื่อสาร และเนนที่การปฎิสัมพันธและสรางสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น ในขณะที่การไกลเกลี่ยโดยผูมีอํานาจรัฐ (Mediating states) อาจตองการเห็นการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรม อยางไรก็ตาม การพิจารณาความสําเร็จสามารถทําไดทั้งจากความรูสึกที่เปนอัตวิสัยและตัวชี้วัดที่ชัดเจนที่ เปนภววิสัย (Objective) (Bercovitch, 2009) เกณฑอัตวิสัย (Subjective Criteria) เกณฑอัตวิสัยประกอบไปดวย 4 ปจจัยคือ ปจจัยแรก เนนที่มุมมองของคูกรณีหรือผูไกลเกลี่ย เมื่อ คูกรณีรูสึกวาพึงพอใจ (Satisfaction) ตอกระบวนการหรือผลลัพธของการไกลเกลี่ย หรือรูสึกวามีความเปน ธรรม หรือวาผลลัพธที่ไดถูกมองวาเปนธรรม หรือมีประสิทธิภาพ ความเปนธรรม (Fairness) อาจจับตอง ไมได แตนัก วิชาการหลายคนพยายามสรางตัวชี้วัดความเปนธรรม เชน กระบวนการที่เ ปนกลาง การ ควบคุมการโตเถียง ความเทาเทียม ความเห็นพองตองกันในผลลัพธ การเห็นพองตองกันในการยอมรับ บรรทัดฐาน นอกจากนี้ ยังรวมถึง การปรับปรุงกระบวนการ การเขาถึงขอมูล โอกาสที่เทาเทียมกันในการ แสดงความคิดเห็น ปจจัยที่สอง ความรูสึกหรือตระหนักวากระบวนการเปนธรรม (Perceive Fairness in Proceeding) ในกระบวนการจากคูกรณี คูกรณีตองเห็นวากระบวนการมีความเปนธรรม ถากระบวนการมี ความไมเปนธรรม ผลลัพธที่ไดก็จะถูกมองวาไมประสบความสําเร็จ บางครั้งอาจพิจารณาจากความพึง พอใจ (Participant Satisfaction ) เปนตัวชี้วัดความสําเร็จ ถาคูกรณีพึงพอใจกระบวนการหรือผลลัพธ พวก เขาก็จะเห็นวาประสบความสําเร็จ ปจจัยที่สามคือ คุณภาพของประสิทธิผล (Quality of Effectiveness) เปน รูปแบบใหมของพฤติกรรมที่เห็นพองตองกัน เกิดการเปลี่ยนแปลงในบางสิ่ง อยางนอยก็เปนไปในดานบวก เปนการเปลี่ยนแปลงจากความรุนแรงมาสูพฤติก รรมการไมใชความรุนแรง หรือการลงนามในบันทึก ขอตกลง การยอมรับการหยุดยิง การเห็นดวยกับกองกําลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ หรือมาตรการ ตางๆ ปจจัยที่สี่คือ ประสิทธิภาพ (Efficiency) เนนที่กระบวนการ ประสิทธิภาพเนนที่ตนทุนของการจัดการ ความขัดแยง ทรัพยากรที่ใช และเวลา ขอตกลงที่ไดถาหากใชเวลาที่รวดเร็วเกินไป หรือเนิ่นนานเกินไปก็ ถือวาเปนปญหา ประสิทธิภาพจึงมีความสําคัญควบคูไปกับประสิทธิผล สรุปไดวามุมมองแบบอัตวิสัยนั้น ความเปนธรรม และการปรับปรุงบรรยากาศในการสรางความสัมพันธ ก็มีความสําคัญ การที่กลาววาเปนอัต วิสัยเนื่องจากขึ้นอยูกับ มุมมอง (Perception) ของคูกรณีในความขัดแยง เกณฑภววิสัย (Objective Criteria) เกณฑภววิสัยแตกตางจากมุมมองและความรูสึกของแตละบุคคล แตเนนที่ตัวชี้วัดที่ชัดเจน เห็นได ในเชิงประจักษ เชน เกิดความรุนแรงนอยลง การเสียชีวิตนอยลง พฤติกรรมหยุดการใชความรุนแรง คูกรณี มาสานเสวนากัน หรือขอตกลงที่ได เปนตน เกณฑแบบภววิสัยจับตองไดชัดเจน จากจํานวนเดือนที่ไดหยุด ยิง การลดจํานวนผูเสียชีวิตระหวางที่มีการไกลเกลี่ยคนกลาง การยอมรับกองกําลังของสหประชาชาติ หรือ มาตรการอื่นๆ 10


แตการใชแตเกณฑอัตวิสัยที่เห็นไดชัดเจนมาพิจารณา ก็อาจจะไมเพียงพอ เนื่องจากนักไกลเกลี่ย และคูกรณีมีความแตกตางกันในเปาหมายในใจ นักไกลเกลี่ยอาจจะเนนที่เนื้อหาสาระระหวางกัน หรืออาจ เนนที่บรรยากาศ สถานที่ บรรทัดฐานในการตัดสินใจ เปาหมายเหลานี้มีความแตกตางกันไป จึงควรประเมิน โดยเนนที่ผูมีสวนรวมในกระบวนการของแตละคน วามีเปาหมายอะไรและวัตถุประสงคใด นอกจากเกณฑอัตวิสัยและภววิสัยที่ไดกลาวมาขางตน ความสําเร็จของการไกลเกลี่ยคนกลางคือ อะไร แคทเธอรีน มอริส (2547) ผูเชี่ยวชาญในการจัดการความขัดแยงจากประเทศแคนาดา และเปนผูสอน ดานการจัดการความขัดแยงใน University of Victoria และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดประมวลไวดังนี้ 1.การชนะหรือตนเองไดมากที่สุด 2.การแกปญหาชั่วคราว เชน การหยุดยิงจากการสูรบกัน 3.การไดขอตกลงที่มั่นคงและยั่งยืน 4.การทําในสิ่งที่ถูกตอง รวมถึงการชดใช หรือการซอมแซมปรับปรุง แกไข 5.การกลับมาคืนดีกันอยางถาวร 6.การสรางหรือพัฒนาสัมพันธภาพจนมีบรรยากาศที่ชวยใหการเจรจาดําเนินไปได ขณะที่เมเยอร (2553) เห็นวาการไกลเกลี่ยคนกลางที่ประสบความสําเร็จไมจําเปนตองบรรลุ ขอตกลงรวมกัน โดยเฉพาะในกรณีที่มีขอขัดแยงกันรุนแรง ยืดเยื้อ มีผูเกี่ยวของเปนจํานวนมาก การทํา ขอตกลงนั้นเปนเพียงขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการแกไขปญหาความขัดแยง และตั้งขอสงสัยตอนักไกล เกลี่ยที่กลาวอางวาการไกลเกลี่ยสวนมากมักจะบรรลุขอตกลง อัตราความสําเร็จที่สูงเกินไปอาจเกิดขึ้นจาก การใชวิธีการบังคับก็เปนได แตอัตราความสําเร็จที่ต่ําเกินไปก็เปนปญหาเชนกัน เมเยอรเห็นวาเปาหมายของ การไกลเกลี่ยคนกลางนาจะเนนที่การชวยใหคูกรณีเขารวมการจัดการความขัดแยงไดอยางสรางสรรค และ การที่คูกรณีตระหนักวาตนตองการความชวยเหลือ ถือวาเปนที่มาแหงความสําเร็จที่สําคัญที่สุดของนักไกล เกลี่ย ไมวาจะมีการนิยามความสําเร็จแตกตางกันไป แตความสําเร็จของการไกลเกลี่ยคนกลางจะเกิดขึ้น ไดนาจะประกอบดวย 1.ความรูสึกพึงพอใจและรูสึกวากระบวนการมีความเปนธรรม 2.การเปลี่ยนแปลงจากความรุนแรงมาสูพฤติกรรมการไมใชความรุนแรง 3.ประสิทธิภาพทางดานเวลา และทรัพยากรที่ใช 4.การทําในสิ่งที่ถูกตอง รวมถึงการชดใช หรือการซอมแซมปรับปรุง จากผูที่กระทําผิด ผูที่กระทํา ผิดตองยอมรับวาไดทําผิดไป 5.การกลับมาคืนดีกัน โดยแกไขความสัมพันธที่แตกราวใหเกิดความเขาอกเขาใจกันมากขึ้น 6.การสรางหรือพัฒนาสัมพันธภาพจนมีบรรยากาศที่ชวยใหการเจรจาดําเนินไปได เนื่องจากผูที่ ขัดแยงกันมักจะมีอารมณทรี่ ุนแรงตอกัน การสรางบรรยากาศในการพูดคุยที่ดจี ึงมีความสําคัญมาก 11


7.การไดขอตกลงที่มั่นคงและยั่งยืน ซึ่งมาจากความคิด จากขอเสนอแนะของคูขัดแยงอยางแทจริง อันจะทําใหคกู รณีปฏิบัติตามขอตกลงนั้นอยางจริงจัง 10.บทสรุป บทความเรื่องการไกลเกลี่ยคนกลางและการแกไขความขัดแยง ทําใหเขาใจความหมายของการ ไกลเกลี่ยคนกลางวาเปนกระบวนการจัดการความขัดแยง ที่ไมใชการเจรจากันเองโดยตรง แตใชคนกลาง เขามาชวยเหลือ ซึ่งไดรับการยอมรับจากคูกรณี ไมเปนผูมีสวนไดสวนเสีย ไมมีอํานาจตัดสินใจ โดยคน กลางเขาไปแทรกแซง เปลี่ยนมุมมอง พฤติกรรมดวยการพูดคุยที่ไมใชการบังคับทางกายภาพหรือไมได บังคับใชทางกฎหมาย นอกจากนี้ บทความไดนําเสนอวาการไกลเกลี่ยคนกลาง เปนหนึ่งในแนวทางการ แกไขความขัดแยงดวยแนวทางสันติวิธีที่จะทําใหคูกรณีรูสึกวาไดรับความพึงพอใจ กลาวคือชนะ-ชนะทั้งคู และยังสามารถใชไดทั้งในระดับปจเจก ระดับรัฐ และระหวางประเทศ สําหรับแนวทางในการศึกษาการไกลเกลี่ยคนกลางนั้น สามารถศึกษาทางทฤษฎีหลายวิธีการทั้ง การศึกษาทฤษฎีเปนการทั่วไปกับการศึกษาอยางเฉพาะเจาะจงในแตละกรณี แนวทางแรก เปนการใช ทฤษฎีเพื่อเสนอแนะวา อะไรบางที่จะนําไปสูการเจรจาและการไกลเกลี่ยที่ดี และความขัดแยงจะไดรับการ แกไขไดอยางไร อีกแนวทางหนึ่ง เปนทฤษฎีที่มาจากการศึกษากรณีการไกลเกลี่ยตางๆ เนนวาแตละกรณีจะ มีความแตกตางกันไป ตามแตสภาพสังคม และไมมีทฤษฎีใดที่แนนอนหรือเปนสูตรที่ตายตัว อนึ่งการศึกษา แรงจูงใจของคนกลางและคูกรณีในการไกลเกลี่ย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การไกลเกลี่ยระหวางประเทศ ไมได เปนเหตุผลเพียงมนุษยธรรมเทานั้น ผูไกลเกลี่ยอาจไมไดยึดแตประโยชนของคูกรณีเปนที่ตั้งเทานั้น แตอาจ มีผลประโยชนของผูไกลเกลี่ยรวมอยูดวยก็เปนได สําหรับคูกรณีก็อาจจะหวังใชคนกลางเปนเครื่องมือ โดย ใหคนกลางเขาขางฝายตนเอง ในประเด็นยุทธวิธีที่ใชในการจัดการความขัดแยง ประกอบดวยวิธีการใดบาง การทําหนาที่เปน เพียงผูอํานวยความสะดวกใหเกิดการพูดคุยกัน หรือจะเนนการแทรกแซงเนื้อหาการเจรจาโดยแลกกับ ผลประโยชน วิธีหลังนี้ผูไกลเกลี่ยจะมีทรัพยากรและอํานาจที่สามารถกําหนดทั้งเนื้อหาและกระบวนการได การจะเลือกใชวิธีการใดในการไกลเกลี่ยคนกลางถึงจะเหมาะสมคงจะไมสามารถบอกได แตคงขึ้นอยูกับผู ไกลเกลี่ยแตละกรณี วาจะเลือกใชวิธีการแบบใด การจะใชยุทธวิธีแทรกแซง แกไขปญหาแบบใด วาจะเปน แบบเขมขน ปานกลางหรือนอย ขึ้นอยูกับ ความขัดแยงเขมขนมากหรือไม ขัดแยงกันเรื่องอะไร คูกรณีมี ความเหมือนกันทางชาติพันธุ วัฒนธรรม ศาสนามากนอยเพียงใด ความสัมพันธตอกันกอนหนาดีหรือไม อํานาจและทรัพยากรของผูไกลเกลี่ยมีสูงหรือไม รวมถึง เวลาและสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของ แตไมวาจะใชวิธีใดในการไกลเกลี่ยก็ตาม เราจะไมสามารถมองขามการนิยามความสําเร็จในการ ไกลเกลี่ยคนกลาง ซึ่งแมวาจะมีการใหคุณคาที่แตกตางกันออกไป แตอยางนอยก็จะมีลักษณะรวมกันถึง ความสําเร็จดังกลาว ซึ่งประกอบไปดวยเกณฑอัตวิสัยและภววิสัย เกณฑอัตวิสัยเปนมุมมองและความรูสึก 12


ของแตละบุคคล ประกอบดวย 1)ความรูสึกวาพึงพอใจของคูกรณี 2) ความรูสึกหรือตระหนักวากระบวนการ เปนธรรม กลาวคือ คูกรณีตองเห็นวากระบวนการมีความเปนธรรม 3) คุณภาพของประสิทธิผล เปนการ เปลี่ยนแปลงจากความรุนแรงมาสูพฤติกรรมการไมใชความรุนแรง เชน การลงนามในบันทึกขอตกลง การ ยอมรับการหยุดยิง เปนตน 4)ประสิทธิภาพ เนนที่ตนทุนของการจัดการความขัดแยง ทรัพยากรที่ใช และ เวลา ขอตกลงที่ไดถาหากใชเวลาที่รวดเร็วเกินไป หรือเนิ่นนานเกินไปก็ถือวาเปนปญหา สําหรับเกณฑภว วิสัยแตกตางจากมุมมองและความรูสึกของแตละบุคคล แตเนนที่ตัวชี้วัดที่ชัดเจน เห็นไดในเชิงประจักษ เชน เกิดความรุนแรงนอยลง การเสียชีวิตนอยลง พฤติกรรมหยุดการใชความรุนแรง คูกรณีมาสานเสวนากัน หรือ ขอตกลงที่ได เปนตน บรรณานุกรม ฟชเชอร, โรเจอร และ ยูริ, วิลเลียม. (2545). กลยุทธการเจรจาตอรอง. (ดร.กองเกียรติ โอภาสวงการ). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. มอริส, แคธเธอรีน. (2547). การจัดการความขัดแยงและการขอโทษ. (วันชัย วัฒนศัพท,ผูแปล). กรุงเทพฯ: โรงพิมพศาลาแดง. เมเยอร , เบอรนารด . (2553). พลวัตรการจัดการความขัดแยง. (นายแพทยบรรพต ตนธีรวงศ, ผูแปล). กรุงเทพฯ: คบไฟ. ยูริ, วิลเลียม. (2544). เอาชนะคําวาไมใชเรื่องยาก. (วันชัย วัฒนศัพท, ผูแปล). ขอนแกน: ศิริภัณฑออฟเซ็ท. ยูริ, วิลเลียม. (2547). กลยุทธการสมานไมตรีเพื่อบรรลุสันติรวมกัน. (เบญจรัตน แซฉั่ว,ผูแปล). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสวนเงินมีมา. วันชัย วัฒนศัพท. (2550). ความขัดแยง: หลักการและเครื่องมือแกปญหา....พิมพครั้งที่ 3. ขอนแกน: ศิริ ภัณฑออฟเซ็ท. ศูนยสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกลา. (2547). ศัพทบัญญัติเกี่ยวกับการแกปญหาและความ ขัดแยง. กรุงเทพฯ: ศูนยการพิมพแกนจันทร จํากัด. Bercovitch, Jacob, Victor Kremenyuk, and I. William Zartman (2009). The Sage Handbook of Conflict Resolution. London: SAGE Publications Ltd. Bercovitch, Jacob. (2009). “Mediation and Conflict Resolution” In The Sage Handbook of Conflict Resolution. eds. Bercovitch, Jacob., Kremenyuk, Victor and Zartman, I. William. 2009. London: SAGE Publications Ltd. Lewicki, Roy.J, David M. Saunders, and John W. Minton. (2001). Essentials of Negotiation, New York. Irwin/Mcgraw-Hill. 13


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.