Unit 2 3

Page 1

72

2.8 กฎของไซนและโคไซน กฎของไซนและโคไซน เปนกฎทางคณิตศาสตรที่นํามาใชหาความยาวของดานหรือ ขนาดของมุมของรูปสามเหลี่ยมใดๆ ซึ่งจะกลาวถึงความสัมพันธระหวางความยาวของดาน ขนาดของมุมและฟงกชนั ตรีโกณมิติ ของรูปสามเหลี่ยม ดังนี้ 2.8.1 กฎของไซน กฎของไซน รูปสามเหลี่ยม ABC ใดๆ ถา a, b, c เปนความยาวของดานตรงขาม มุม A, B และ C ตามลําดับจะได a b c   sin A sin B sin C

พิสูจนกฎของไซน

รูป 2.14 ABC เปนรูปสามเหลี่ยมใดๆ รูป 2.14 (1) มุม B เปนมุมแหลม รูป 2.14 (2) มุม B เปนมุมปาน พิจารณารูป  มุมฉาก ACD จากรูป 2.14 (1) และ 2.14 (2) h = b sin A

(เพราะวา sin A

h ) b

จากรูป 2.14 (1) จะได

h = a sin B

(เพราะวา sin B

h ) a

จากรูป 2.14 (2) จะได

 h = a sin CBD

(เพราะวา

จะได พิจารณารูป  มุมฉาก BCD

นั่นคือ ดังนั้น

h h จะได h a sin B

= = = =

  h) sinCBD a

a sin (180– B) a sin B a sin B ทั้งสองรูป b sin A

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 6


73 a sin A

หรือ

=

b sin B

ในทํานองเดียวกัน ถาลากเสนตรงจากจุด B ไปตัง้ ฉากกับดาน AC a c  sin A sin C

จะได

a b c   sin A sin B sin C

สรุปไดวา

กฎของไซน ใชหาสวนตางๆ ของรูปสามเหลี่ยมเมื่อ 1. กําหนดความยาวของดานหนึ่งดาน และขนาดของมุมสองมุม 2. กําหนดความยาวของดานสองดาน และขนาดของมุมตรงขามกับดาน ที่กําหนดใหหนึ่งมุม ตัวอยาง 2.11 รูปสามเหลี่ยม ABC มีดาน b ยาว 10 หนวย มุม A และมุม B มีขนาด 30 และ 70 องศาตามลําดับ จงหาขนาดของมุม C และความยาวของดาน ที่เหลือ วิธีทํา

70

30

 C

= =

ขนาดของมุม C โจทยกําหนดคา

 B  A,

180– (30+ 70) 80 องศา

และ b หาความยาว a a sin A a

จากกฎของไซน

sin 30

a

ดังนั้น

a

= = =

b sin B 10

sin 70 10. sin 30 sin 70

=

1 2 0.9397

5.32

10 

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

หนวย ประจําสัปดาหที่ 6


74 หาความยาว C จากกฎของไซน

c sin C c

=

c

=

sin 80

ดังนั้น

c

=

b sin B 10

sin 70 10. sin 80 sin 70

=

10  0.9848 0.9397

10.48

หนวย

ตัวอยาง 2.12 รูปสามเหลี่ยม ABC มีดาน b และ c ยาว 5 และ 5 3 หนวย ตามลําดับ ถามุม B เทากับ 30 จงหาขนาดของมุม A และมุม C วิธีทํา โจทยกําหนดคา b, c และ จากกฎของไซน

 B

หาขนาดของ

b sin B

5

sin 30

=

c sin C

=

5 3 sin C

sin C = = sin C = เนื่องจาก

sin 60 =  C

=

5 3 sin 30 5 1 3 2 3 2

sin 120 =

3 2

60 หรือ 120

b=5

จะได

 C

30 c5 3

ดังนั้น ถา หรือ ถา

 C  C

= 60 แลว = 120 แลว

 A  A

= 180– (30+ 60) = 90 = 180– (30+ 120) = 30

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 6


75 ตัวอยาง 2.13 ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ถา a = 2 6 หนวย , b = 4 หนวย และ A = 60 จงหาขนาดของมุม B และ มุม C วิธีทํา โจทยกําหนดคา a, b และ จากกฎของไซน

 A

หาขนาดของ B

a sin A

=

b sin B

2 6

=

4 sin B

sin 60

sin B =

4. sin 60

= sin B เนื่องจาก

=

sin 45 =

2 6

2 6 1

3 2

2

sin 135 =

1 2

 จะได B = 45 หรือ 135 แตถา B = 135 แลว A  B = 60+ 135 = 195 ซึ่งมากกวา 180 ทําใหหา C ไมได ดังนั้น B = 45 และ C = 180– (60+ 45) = 75

2.8.2 กฎของโคไซน กฎของโคไซน รูปสามเหลี่ยม ABC ใดๆ ถา a, b, c เปนความยาวของดาน ตรงขามมุม A, B และ C ตามลําดับ จะได a2 = b2 + c2 – 2bc cos A b2 = a2 + c2 – 2ac cos B c2 = a2 + b2 – 2ab cos C พิสูจนกฎของโคไซน

รูป 2.15 บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 6


76 พิจารณารูป  มุมฉาก BCD และรูป  ABC จากรูป 2.15 (1) จะได a2 = h2 + DB2 = h2 + (c – AD)2 = h2 + c2 – 2cAD + AD2 = (h2+AD2) + c2– 2cb cos A a2 = b2 + c2 – 2bc cos A

( AD = b cos A)

พิจารณารูป  มุมฉาก BCD และรูป  ABC จากรูป 2.15 (2) จะได a2 = h2 + BD2 = h2 + (AD – c)2 = h2 + AD2 – 2cAD + c2 = (h2+AD2) + c2– 2cb cos A ( AD = b cos A) a2 = b2 + c2 – 2bc cos A ดังนั้น สรุปไดวา a2 = b2 + c2 – 2bc cos A ทั้งสองรูป และ ในทํานองเดียวกัน b2 = a2 + c2 – 2ac cos B c2 = a2 + b2 – 2ab cos C กฎของโคไซน ใชหาสวนตางๆ ของรูปสามเหลีย่ ม ดังนี้ 1. หาความยาวของดาน เมื่อกําหนดความยาวของดานสองดาน และขนาดของมุม ระหวางดานทัง้ สอง 2. หาขนาดของมุม เมื่อกําหนดความยาวของดานสามดาน ตัวอยาง 2.14 รูปสามเหลี่ยม ABC ถา a = 10 หนวย , b = 8 หนวย และ จงหาความยาว c

 C

= 60

วิธีทํา 60

โจทยกําหนดคา a, b และ

 C

หาความยาว c

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 6


77 จากกฎของโคไซน

ดังนั้น

c2

c c c

2

= =

a2 + b2 – 2ab cos C 102 + 82 – 2(10)(8) cos 60

=

100 + 64 – 160  1 

= = =

164 – 80 84

9.17

2

84

หนวย

ตัวอยาง 2.15 รูปสามเหลี่ยม ABC มีดาน a, b, c ยาว 7, 13 และ 15 หนวยตามลําดับ จงหาขนาดของมุม B วิธีทํา a= 7

โจทยกําหนดคา a, b และ c หาขนาดของ B จากกฎของโคไซน b2 = a2 + c2 – 2ac cos B จะได

cos B

cos B

=

a2  c2  b2 2ac

=

72  152  132 2(7)(15)

=

49  225  169 210

=

105 210 1 2 1 2

=

เนื่องจาก cos 60 = ดังนั้น

 B

=

60

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 6


78

10

N

ตัวอยาง 2.16 แรงสองแรงขนาด 6 นิวตัน และ 10 นิวตัน กระทําตอวัตถุ โดยที่แรงทัง้ สอง ทํามุม 60 องศา จงหาขนาดของแรงลัพธ และมุมระหวางแรงลัพธกับแรง 6 นิวตัน วิธีทํา แรงเปนปริมาณเวกเตอร จึงสามารถเขียนรูปแสดงแรงลัพธจากแรงทัง้ สอง ในลักษณะรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ไดดังนี้

120 60

หาขนาดของแรงลัพธ AC จากรูป  ABC จากกฎของโคไซน AC2 = AB2 + BC2 – 2ABBC cos B = 62 + 102 – 2(6)(10) cos 120 cos 120 = – cos 60 = 36 + 100 + 120 cos 60 = = AC = AC = ดังนั้นแรงลัพธมีขนาด = 2

136 + 120  1  2

136 + 60 196 14 14 นิวตัน

หาขนาดของมุมระหวางแรงลัพธกับแรง 6 นิวตัน จากรูป  ABC จากกฎของไซน

BC sin A 10 sin A

sin A sin 120 = sin 60

= = = = =

AC sin B

14

sin 120

10 sin 120 14

10 sin 60 14 10 3  14 2

( 3  1.732)

sin A  0.6186 เนื่องจาก A เปนมุมแหลม จะได A  38 10 ดังนั้น แรงลัพธทํามุม 38 10 กับแรง 6 นิวตัน บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 6


79

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 6


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.