Unit 1 2

Page 1

11

1.2 อัตราสวนตรีโกณมิติของมุมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มมี ุม C เปนมุมฉาก และ a, b, c เปนความยาวดานตรงขามมุม A, B, C ตามลําดับ

รูป 1.3 โดยทฤษฎีบทของพีทาโกรัส จะไดความสัมพันธระหวาง a, b, และ c คือ c2  a2  b2

การเรียกชื่อดานทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC AB เรียกวา ดานตรงขามมุมฉาก BC เรียกวา ดานตรงขามมุม A หรือ ดานประชิดมุม B AC เรียกวา ดานประชิดมุม A หรือ ดานตรงขามมุม B อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม A คือ อัตราสวนของความยาวดาน 2 ดาน ซึ่งมี ทั้งหมด 6 อัตราสวน ดังนี้ (1) อัตราสวน (2) อัตราสวน (3) อัตราสวน (4) อัตราสวน (5) อัตราสวน (6) อัตราสวน

a c b c a b c a c b b a

เรียกวา ไซน (sine) ของมุม A

แทนดวย sin A

เรียกวา โคไซน (cosine) ของมุม A

แทนดวย cos A

เรียกวา แทนเจนต (tangent) ของมุม A

แทนดวย tan A

เรียกวา โคเซแคนต (cosecant) ของมุม A แทนดวย cosec A เรียกวา เซแคนต (secant) ของมุม A

แทนดวย sec A

เรียกวา โคแทนเจนต (cotangent) ของมุม A แทนดวย cot A

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 2


12

ดังนั้น เมื่อ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ทีม่ ีมมุ C เปนมุมฉาก สามารถหา อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม A ไดดังนี้

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

a c

b c

a b

c a

c b

b a

ประจําสัปดาหที่ 2


13 ตัวอยาง 1.6 กําหนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมที่มีมมุ C เปนมุมฉาก ดาน AC และ BC ยาว 6 และ 8 หนวยตามลําดับ ดังรูป

จงหาคาของ (1) อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม A และมุม B (2) cos A + tan A sin A วิธีทํา (1) หาความยาวดาน AB จากทฤษฎีบทของพีทาโกรัส AB2 = AC2 + BC2 AB2 = 62 + 82 AB2 = 36 + 64 AB2 = 100 AB = 100 AB = 10 ความยาวดาน AB = 10 หนวย ดังนั้น คาอัตราสวนตรีโกณมิติของมุม A คือ 8 sin A = = 4 , cosec A cos A

=

tan A

=

10 6 10 8 6

= =

5 3 5 4 3

, sec A

=

, cot A

=

และ คาอัตราสวนตรีโกณมิติของมุม B คือ 6 sin B = = 3 , cosec B cos B

=

tan B

=

10 8 10 6 8

= =

5 4 5 3 4

=

=

, sec B

=

, cot B

=

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

10 8 10 6 6 8

10 6 10 8 8 6

= = =

= = =

5 4 5 3 3 4

5 3 5 4 4 3

ประจําสัปดาหที่ 2


14 3 5

(2) เนื่องจาก cos A = ดังนั้น

, tan A =

4 3

และ sin A =

4 5

3 4 4     5 3 5

cos A + tan A sin A =

3 16  5 15 9  16 15 25 15 5 3

= = = cos A + tan A sin A =

ความสัมพันธระหวางอัตราสวนตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิตทิ ั้ง 6 อัตราสวน ดังกลาวขางตน จะมีความสัมพันธพื้นฐาน ระหวางกันหลายคู และความสัมพันธเหลานีม้ ีความจําเปนตอการศึกษาตรีโกณมิติ พิจารณารูป 1.4

รูป 1.4 (1) ความสัมพันธสวนกลับ เนื่องจาก cosec A ดังนั้น

=

cosec A =

c a 1 sin A

=

1 a c

=

หรือ sin A =

1 sin A 1 cosec A

ในทํานองเดียวกัน สามารถหาความสัมพันธสวนกลับของอัตราสวนตรีโกณมิติ คูอื่นๆ และสรุปไดดงั นี้ ความสัมพันธสวนกลับ sin A =

1 cosec A

หรือ

cosec A

=

1 sin A

cos A =

1 s ec A

หรือ

sec A

=

1 cos A

tan A =

1 cot A

หรือ

cot A

=

1 tan A

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 2


15 (2) ความสัมพันธผลหาร เนื่องจาก

sin A cos A

ในทํานองเดียวกัน

a c  a b b c cos A sin A

= tan A = cot A

ดังนั้นความสัมพันธผลหาร มีดงั นี้ ความสัมพันธผลหาร sin A cos A

tan A

cos A sin A

cot A

(3) ความสัมพันธแบบโคฟงกชัน (cofunction) มุม A และมุม B เปนมุมแหลมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ดังรูป 1.4 ดังนั้น A  B = 90 เรียกมุม A และ มุม B วามุมประกอบมุมฉาก และจะไดวา sin A

=

cos A

=

tan A

=

a c b c a b

= cos B , cosec A

=

= sin B , sec A

=

= cot B , cot A

=

c a c b b a

= sec B = cosec B = tan B

การเทากันเหลานี้เกิดเปนคู คือ ไซนกับโคไซน แทนเจนตกับโคแทนเจนต และ เซแคนตกับโคเซแคนต ดังนั้นความสัมพันธแบบโคฟงกชัน มีดังนี้ sin A cos A tan A

ความสัมพันธแบบโคฟงกชัน , cosec A = = cos (90– A) , sec A = sin (90– A) = , cot A = cot (90– A) =

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

sec (90– A) cosec (90– A) tan (90– A)

ประจําสัปดาหที่ 2


16 ตัวอยาง 1.7 ถา A  B = 90 และ sin A =

2 , 3

5 3

cos A =

จงหาคาอัตราสวนตรีโกณมิติทงั้ หมดของมุม A และมุม B วิธีทํา เนื่องจาก sin A = 2 จะได cosec A = 3

cos A = tan A = = tan A = และเนื่องจาก

 B  A

5 3 sin A cos A

3 2

จะได

sec A

=

3

จะได

cot A

=

5 2

5

2 3 5 3

2 5

= 90 ดังนัน้ คาอัตราสวนตรีโกณมิติของมุม A และ B คือ

sin A

=

2 3

= cos B

,

cosec A

=

3 2

= sec B

cos A

=

5 3

= sin B

,

sec A

=

3

= cosec B

tan A

=

2

= cot B

,

cot A

=

5 2

5

5

= tan B

ตัวอยาง 1.8 กําหนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมที่มีมมุ B เปนมุมฉาก ถา cos A =

5 6

จงหาคาของ

(1) อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม A และมุม C (2) sin2 A + cos2 A วิธีทํา (1) เนื่องจาก cos A = 5 และมุม B เปนมุมฉาก 6

เขียนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ตามสิ่งที่กําหนด

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 2


17 หาความยาวดาน BC จากทฤษฎีบทของพีทาโกรัส BC2 = = = 2 BC = BC = ความยาวดาน BC = และเนื่องจาก

 C  A

AC2 – AB2 62 – 52 36 – 25 11 11

หนวย

11

90 ดังนั้น คาอัตราสวนตรีโกณมิติของมุม A และ C คือ

sin A

=

11 6

=

cos C , cosec A =

6

cos A

=

5 6

=

sin C , sec A

=

6 5

tan A

=

11 5

=

cot C , cot A

=

(2) เนื่องจาก sin A = ดังนั้น

sin2 A + cos2 A

sin2 A + cos2 A

11 6

5 11

= sec C = cosec C = tan C

5 6

และ cos A = 2

2

=

 11  5      6  6 

=

11 25  36 36

=

36 36

=

1

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

11

ประจําสัปดาหที่ 2


18

บทเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 2 (2000-1404)

ประจําสัปดาหที่ 2


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.