ผลงานและนวัตกรรม

Page 63

50

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาวประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ความสาเร็จของการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอย่างมี คุณภาพ เกิดจากปัจจัย ดังนี้ 1) มีข้อมูลในการพัฒนาที่ได้มาจากการวิเคราะห์บริบทของโรงเรียนด้วย วิ ธี SWOT โดยการมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ เ กี่ ย วข้ อ งประกอบเทคนิ ค 3 หลักการ 2) นาหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม ประกอบการใช้เทคนิค 3 หลักการ ได้แก่ ประสาน-บริการ-พัฒนา โดยมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในการกาหนดทิศทางสู่เป้าหมายการบริหารโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน และมีคุณภาพ 3) ครูและบุคลากรในโรงเรียน มีการทางานแบบมีส่วนร่วม โดยร่วมคิด ร่ ว มประสาน ร่ ว มทาจนทาให้ ง านส าเร็ จ บรรลุ วั ต ถุ ประสงค์ แ ละมี คุณภาพ ผู้บริหารกล้าคิดนอกกรอบ เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง กล้าทา กล้าตัดสินใจ กล้าเปลี่ยนแปลง มีภาวะผู้นา มีความมุ่งมั่นในการทางาน มีเครือข่ายในการทางาน มีการทางานเป็นทีม และมีคุณธรรม ประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี 4) ชุมชน ประกอบด้วยผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา และหน่ว ยงานที่ เกี่ ยวข้ อ งให้ก ารยอมรับ มีค วามศรั ทธาและให้ ก าร สนับสนุนด้านงบประมาณในการพัฒนาโรงเรียน 5) ผู้บริ หารกล้า คิดนอกกรอบ เป็ นผู้ นาการเปลี่ย นแปลง กล้า ทา กล้ า ตัดสินใจ กล้าเปลี่ยนแปลง มีภาวะผู้นา มีความมุ่งมั่นในการทางาน มี เครือข่ายในการทางาน มีการทางานเป็นทีม และมีคุณธรรม ประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี 6) การสร้างบรรยากาศกาทางานภายในโรงเรียนที่อบอุ่น ทาให้เอื้อต่อ ความสาเร็จ

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) ขยายผล โดยน าการใช้กระบวนการมีส่ วนร่ วมในการบริห ารจัด การ เพื่อ พัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว ต่อโรงเรียนต่าง ๆ ที่จัดการศึกษาขั้น พื้นฐานในเครือข่ายและนอกเครือข่าย 2) ในระดับเขตพื้นที่และต่างเขตพื้นที่โดยการแข่งขันประกวดผลงานดีเด่น (Best Practice) ระดับจังหวัด 3) จัดนิทรรศการแสดงผลงาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.