บทคัดย่อ ครูเพชรรัตน์

Page 1

บทความเผยแพร่ ทางวารสารสิ่ งพิมพ์ สอนงานอาชีพอย่ างไรให้ นักเรียนเกิดความคิดสร้ างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ถือเป็ นช่วงเวลาที่ทา้ ทายความสามารถของมนุ ษย์ เพราะเป็ นยุคที่โลกต้อง เผชิ ญกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว ประกอบกับข้อมูลข่าวสารทุกอย่างก็ไม่ได้จากัด อยูเ่ พียงเฉพาะรอบตัวเราอีกต่อไป แค่เพียงคลิกที่ปลายนิ้ว เราก็สามารถก้าวข้าวพรมแดนไปได้ทุก ซอกทุกมุมโลก ซึ่ งแวดวงทางการศึ กษาทัว่ โลกต่างก้าวพ้นรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่ใช้ครู เป็ น ศูนย์กลาง มาเป็ นการเรี ยนรู ้ ในแบบกระบวนทัศน์ใหม่ เรี ยกได้ว่าเป็ นการจัดการศึกษายุคฐานแห่ ง เทคโนโลยี หรื อ Technology Based Paradigm ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าในยุคศตวรรษที่ 21 จะเห็ น การเปลี่ ยนแปลงของโลก ซึ่ งส่ งผลกระทบที่สาคัญภายในและภายนอกประเทศในด้านเศรษฐกิ จ สั ง คม และเทคโนโลยีที่ เ ข้า มามี บ ทบาทต่ อ การดารงชี วิต ของคนในชาติ ที่ ไ ม่ อาจหลี ก เลี่ ย งได้ การปรับเปลี่ยนที่รวดเร็ ว และความซับซ้อนจาเป็ นต้องสร้างภูมิคุม้ กันเพื่อเตรี ยมความพร้อมของคน สังคม และระบบเศรษฐกิ จ ให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงที่เหมาะสม กล่ า วคื อ ต้องพัฒ นาคนไทยให้ มี ก ารเรี ย นรู ้ ตลอดชี วิ ต และต่ อเนื่ องในเรื่ อ งการศึ ก ษา ทัก ษะ การทางาน และการดาเนิ นชี วิต เพื่อเป็ นการยกระดับคุณภาพให้คนไทยทุกกลุ่มทุกวัยมีความพร้อม ทั้งกาย ใจ และสติปัญญา ตลอดจนมีระเบียบวินยั มีจิตสานึ กวัฒนธรรมที่ดีงามและรู ้ ค่าความเป็ น ไทย ในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะพื้นฐานการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งเป็ นทักษะชี วิตที่สาคัญของผูเ้ รี ยน ได้แก่ ทักษะ การอ่าน ทักษะการเขียน ทักษะการคิดเลข ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดสร้ างสรรค์ ทักษะ การแก้ปัญหา และทักษะการทางานเป็ นทีม ซึ่ งทักษะเหล่านี้ เป็ นทักษะพื้นฐานที่มุ่งเน้นให้เกิดกับ ผูเ้ รี ยน เนื่ องจากในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรี ยนการสอนจะไม่ได้มุ่งเป้ าหมายสาคัญที่นักเรี ยน จะต้องได้ความรู ้ แต่เป้ าหมายสาคัญคือ การพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน เพื่อเป็ นเส้นทางไปสู่ ความรู ้ที่ตอ้ งการ และทักษะเหล่านี้ เป็ นทักษะพื้นฐานของผูเ้ รี ยนในการเรี ยนวิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี เช่ นเดี ยวกัน โดยเฉพาะทักษะการคิ ดวิเคราะห์ ทัก ษะการคิ ดสร้ างสรรค์ ทักษะการ แก้ปัญหา และทักษะการทางานเป็ นทีม เป็ นหัวใจสาคัญของการพัฒนาผูเ้ รี ยนในการจัดการเรี ยนรู ้ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในปั จจุบนั จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นว่าการจัดกระบวนการ เรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ที่จะส่ งเสริ มหรื อพัฒนาทักษะการปฏิ บตั ิ งานประดิ ษฐ์อย่าง สร้างสรรค์ยงั ไม่ประสบความสาเร็ จ ตัวชี้ วดั สาคัญที่บ่งบอกว่า ผูเ้ รี ยนมีความคิดสร้างสรรค์หรื อไม่ นั้น ก็คือ ผลงานที่เป็ นความคิดสร้างสรรค์ทางด้านการงานอาชี พและเทคโนโลยีของนักเรี ยน ทั้ง ความคิดสร้ างสรรค์ที่เป็ นกระบวนการคิดหรื อ วิธีคิดและความคิดสร้ างสรรค์ที่เป็ นผลผลิ ตหรื อ


ชิ้นงาน ซึ่ งมีนอ้ ยมาก สภาพดังกล่าวบ่งบอกถึงความอ่อนด้อยในการจัดการเรี ยนการสอนของครู ที่ จัดกระบวนการเรี ยนการสอนไม่ได้มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ โดยการปฏิบตั ิ (Active Learning) โดยเฉพาะการได้ฝึกปฏิบตั ิเรื่ องราวที่ สัมพันธ์กบั ชี วิตจริ ง เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้เพื่อการนาไปใช้ใน การแก้ปัญหาและพัฒนาอาชี พเป็ นการเรี ยนรู ้เพื่อชี วิต (Authentic learning) ซึ่ งเป็ นทางหลักในการ จัดการเรี ยนการสอนกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี การพัฒนากระบวนการ จัดการเรี ยนรู ้ของครู ผูส้ อนการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่จะส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ อย่างสร้างสรรค์ของผูเ้ รี ยนจึงเป็ นงานเร่ งด่วนที่จะต้องดาเนิ นการ จากปั ญ หาดัง กล่ า วได้มี นัก วิ ช าการศึ ก ษาและครู ผู ้ส อนหลายท่ า นได้พ ยายามคิ ด ค้น นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรี ย นการสอนเพื่ อพัฒนาความคิ ดสร้ างสรรค์ใ นการปฏิ บ ัติงาน ประดิษฐ์ของนักเรี ยน หนึ่ งในจานวนหลาย ๆ ท่าน ได้แก่ อาจารย์เพชรรัตน์ นามมัน่ ครู ชานาญ การพิเศษ โรงเรี ยนตลาดสารอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ได้พฒั นารู ปแบบการเรียนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริมทักษะการปฏิบัติงานประดิษฐ์ อย่างสร้ างสรรค์ ของนักเรียน โดยมี ข้ นั ตอนกระบวนการเรี ย นการสอน 6 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การร่ วมรับรู ้ (Receiving : R) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันศึกษาความรู ้ อัน เป็ นข้อ มู ล พื้ น ฐานงานประดิ ษ ฐ์ ด้ า นนั้ น ๆ ตลอดจนร่ วมกันศึกษาขั้นตอนการประดิ ษฐ์ และ ได้ ร่ วมกั น ทดลองประดิ ษ ฐ์ ต ามแบบที่ ค รู ได้ ออกแบบไว้ จนเกิ ด ความเข้า ใจและเห็ น แนว ทางการปฏิบตั ิที่ชดั เจน ขั้นที่ 2 การร่ วมคิดและตัดสิ นใจ (DecisionMaking : D) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนร่ วมกันระดม ความคิดในการประดิ ษฐ์งานนั้น ๆ อย่างหลากหลาย และร่ วมกันตัดสิ นใจในการประดิษฐ์ชิ้นงาน นั้นอย่างสร้างสรรค์ และมีเหตุผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นที่ 3 การร่ วมวางแผน (Planning : P)จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันออกแบบชิ้ นงานการประดิษฐ์ ตามความคิด สร้ า งสรรค์ และร่ วมกันวางแผนการปฏิ บ ตั ิ ง าน โดยการก าหนดวัส ดุ อุ ป กรณ์ ก าหนดขั้นตอน ปฏิบตั ิงาน แบ่งความรับผิดชอบ ขั้นที่ 4 การร่ วมปฏิบตั ิ(Doing : D)จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ ร่ วมกันปฏิบตั ิงานการประดิษฐ์ตามแผนที่วางไว้ และร่ วมกันสังเกตและสะท้อนผลการปฏิบตั ิในแต่ ละขั้นตอนของการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ ขั้นที่ 5 การร่ วมประเมินผล (Evaluating : E )จัดกิจกรรม


เพื่อให้นักเรี ยนได้ร่วมกันวิเคราะห์และประเมินผลการปฏิ บตั ิ งานประดิ ษฐ์ โดยใช้ทฤษฎี การคิ ด วิเคราะห์ หมวกความคิ ดหกใบ รวมทั้ง ร่ วมกัน เสนอแนะเพื่ อการปรั บ ปรุ ง พัฒนางาน ขั้น ที่ 6 การร่ วมรับผลประโยชน์ (Benefit: B) จัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนร่ วมกันชื่ นชมผลงานของตนเองและ ของกลุ่ ม อื่ น ๆ ตลอดจนร่ วมกันเสนอแนะแนวทางในการนาผลงานไปประยุกต์ใ ช้เพื่ อให้เกิ ด ประโยชน์ต่อตนเอง สมาชิกในกลุ่มและประโยชน์ต่อส่ วนรวม รู ปแบบการเรี ยนการสอนดังกล่าวมี ชื่ อว่า อาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) ผลจากการนารู ปแบบการเรี ยนการสอน ไปทดลองใช้กบั นักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนตลาดสารองพบว่าหลังการทดลองนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นพัฒนาขึ้ นจากก่ อนการทดลอง และนัก เรี ย นมี ทกั ษะการปฏิ บ ตั ิ ง านประดิ ษฐ์อย่า ง สร้างสรรค์ระหว่างเรี ยนอยู่ในระดับสู งมาก ส่ วนความคิ ดสร้ างสรรค์ในการปฏิ บตั ิงานประดิ ษฐ์ หลังเรี ยนพบว่าอยูใ่ นระดับสู งมากเช่นเดียวกัน ข้อค้นพบดังกล่าวเกิดจากการนาเอาหลักการแนวคิด การมีส่วนร่ วมมาใช้และที่สาคัญนักเรี ยนได้มีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงานทุกขั้นตอนอยูใ่ นระดับมาก และยัง ค้น พบอี ก ว่ า นั ก เรี ยนมี ค วามพึ ง พอใจต่ อ การจัด การเรี ยนรู ้ ต ามรู ปแบบอาร์ ดี พี ดี อี บี (RDPDEB Model) ในระดับมากที่สุด นักเรี ยนเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขจากการคิดและปฏิบตั ิจริ งใน ลัก ษณะของ Active Learning ซึ่ งเป็ นบรรยากาศการจัดการเรี ย นการสอนที่พึ งประสงค์ในยุค ศตวรรษที่ 21 อย่างไรก็ตามในการนารู ปแบบอาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) ไปใช้ ครู ผูส้ อน จะต้องถือปฏิบตั ิตามเงื่อนไขการนารู ปแบบไปใช้อย่างเคร่ งครัด โดยครู ผสู ้ อนจะเป็ นผูท้ าหน้าที่ใน ลักษณะของโค้ช (coach) โดยคอยสนับสนุ นส่ งเสริ ม กระตุน้ ให้นกั เรี ยนกล้าที่จะตั้งคาถามเพื่อการ คิ ด วิ เ คราะห์ คิ ด สร้ า งสรรค์ และกล้า ที่ จ ะตัด สิ น ใจเลื อ กการสร้ า งสรรค์ง านอย่ า งมี เ หตุ ผ ล การค้นพบรู ปแบบอาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) นับเป็ นการค้นพบรู ปแบบการเรี ยนการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยีที่มีคุณค่าต่อการจัดการเรี ยนการสอนในศตวรรษที่ 21 ของครู วิชาการ งานอาชีพและเทคโนโลยีและครู วชิ าอื่น ๆ ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ได้อ ย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลต่ อ ผู เ้ รี ย น โดยเฉพาะท าให้ ผู เ้ รี ย นเกิ ด ความคิ ด สร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานซึ่ งเป็ นทักษะที่ตอ้ งการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนมากที่สุด เพราะเป็ นทักษะชีวิต จึ ง เป็ นการสมควรอย่า งยิ่ง ที่ จะน ารู ป แบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พ และเทคโนโลยีต าม หลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบัติงานประดิษฐ์ อย่ างสร้ างสรรค์ ของ นักเรี ยน (RDPDEB Model) เผยแพร่ ให้ครู ผูส้ อนและผูท้ ี่ มีความสนใจนาไปใช้ในการจัดการ เรี ยนรู ้ ใ ห้ ผู ้เ รี ยนได้ พ ัฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นการปฏิ บ ัติ ง านอย่ า งมี ข้ ัน ตอน และน าไป ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน ซึ่งจะทาให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะชีวติ ที่ดี เพชรรัตน์ นามมัน่ ครู ชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนตลาดสารอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ชื่อเรื่ อง

: การพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการ ทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5โรงเรี ยนตลาดสารอง ชื่อผูว้ จิ ยั : นางเพชรรัตน์ นามมัน่ หน่วยงาน : โรงเรี ยนตลาดสารอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ ปี การศึกษา : 2559 บทคัดย่อ การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์ 1)เพื่อพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พและ เทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมี ส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิ บตั ิ งานประดิ ษฐ์อย่าง สร้างสรรค์ของนักเรี ยน ชั้นประถม ศึกษาปี ที่ 5 2) เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพเชิงประจักษ์ของรู ปแบบ การเรี ยนการสอนการงานอาชี พและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ ม ทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ดังนี้ 2.1 เพื่อ ศึกษาประสิ ทธิภาพของรู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการทางาน แบบมี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ส่ ง เสริ มทัก ษะการปฏิ บ ัติ ง านประดิ ษ ฐ์ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ ข องนั ก เรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 2.2 ประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องงาน ประดิ ษ ฐ์ ข องนัก เรี ย นก่ อ นและหลัง การทดลองใช้รูป แบบการสอน 2.3 ประเมิ นทัก ษะการ ปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยนระหว่างเรี ยน 2.4 ประเมินความคิดสร้างสรรค์ใน การปฏิ บ ตั ิ ง านประดิ ษฐ์ข องนัก เรี ย นหลังเรี ย น 2.5 ประเมิ นการมี ส่ วนร่ วมในการปฏิ บ ตั ิ ง าน ประดิษฐ์ของนักเรี ยนหลังเรี ยน 2.6 ประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่พฒั นาขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 5 โรงเรี ยนตลาดสารอง ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 จานวน 22 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ใ นการ วิ จ ัย ได้แ ก่ แบบวิ เ คราะห์ เ อกสาร แผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนการ งานอาชี พและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมี ส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิ บตั ิ งาน ประดิษฐ์อย่างสร้ างสรรค์ของนักเรี ยน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องงานประดิ ษฐ์ แบบประเมินทักษะการปฏิ บตั ิงานประดิ ษฐ์อย่างสร้ างสรรค์ แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ใน การปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ แบบประเมินการมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ และแบบสอบถาม ความพึ ง พอใจของนัก เรี ยนที่ มี ต่อการจัด การเรี ย นรู ้ ตามรู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ พ ฒ ั นาขึ้ น


การวิเคราะห์ ข อ้ มู ล ใช้ค่า ร้ อยละ (%) ค่า เฉลี่ ย ( X ) ค่า ส่ วนเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่า t-test ผลการวิจยั พบว่า 1) รู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมีส่วน ร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยนที่พฒั นาขึ้นมีชื่อว่า อาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) มี องค์ป ระกอบของรู ป แบบ 4 องค์ป ระกอบ ได้แ ก่ 1.หลัก การ การ จัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบตั ิงานอาชี พ โดยใช้หลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม ส่ ง ผลให้ผูเ้ รี ย นปฏิ บตั ิ ง านอาชี พ ได้อย่างสร้ า งสรรค์ 2.วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่อส่ ง เสริ ม ทัก ษะการ ปฏิ บตั ิ ง านอาชี พอย่างสร้ างสรรค์ข องนักเรี ยน โดยผ่า นกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักการ ทางานแบบมีส่วนร่ วม 3. กระบวนการเรี ย นการสอนมี 6 ขั้น ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การร่ วมรับรู ้ (Receiving: R) จัดกิ จกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันศึกษาความรู ้ อนั เป็ นข้อมู ลพื้นฐานงาน ประดิ ษฐ์ด้านนั้น ๆ ตลอดจนร่ วมกันศึ กษาขั้นตอนการประดิ ษฐ์ และได้ร่วมกันทดลองประดิ ษฐ์ ตามแบบที่ ค รู ไ ด้ออกแบบไว้ จนเกิ ดความเข้า ใจและเห็ นแนวทางการปฏิ บ ตั ิ ที่ ชัดเจน ขั้นที่ 2 การร่ วมคิดและตัดสิ นใจ (DecisionMaking : D) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนร่ วมกันระดมความคิด ในการประดิ ษฐ์งานนั้น ๆ อย่างหลากหลาย และร่ วมกันแสดงความคิดเห็ นอย่างมีเหตุผลโดยยึด หลักปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงในการตัดสิ นใจสร้ างสรรค์งานประดิ ษฐ์ ขั้นที่ 3 การร่ วม วางแผน (Planning : P) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันออกแบบชิ้นงานการประดิษฐ์ ตาม ความคิ ดสร้ า งสรรค์ และร่ วมกันวางแผนการปฏิ บตั ิ ง าน โดยการกาหนดวัสดุ อุป กรณ์ ก าหนด ขั้นตอนปฏิบตั ิงาน แบ่งความรับผิดชอบ ขั้นที่ 4 การร่ วมปฏิบตั ิ (Doing : D) จัดกิจกรรมเพื่อให้ นักเรี ยนได้ร่วมกันปฏิ บ ตั ิ งานการประดิ ษฐ์ตามแผนที่ วางไว้ และร่ วมกันสังเกตและสะท้อนผล การปฏิบตั ิในแต่ละขั้นตอนของการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ ขั้นที่ 5 การร่ วมประเมินผล(Evaluating: E )จัดกิ จกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันวิเคราะห์และประเมินผลการปฏิบตั ิงานประดิ ษฐ์ โดยใช้ ทฤษฎี การคิดวิเคราะห์หมวกความคิดหกใบ รวมทั้งร่ วมกันเสนอแนะเพื่อการปรับปรุ งพัฒนางาน ขั้นที่ 6 การร่ วมรับผลประโยชน์ (Benefit: B) จัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนร่ วมกันชื่ นชมผลงานของ ตนเองและของกลุ่ ม อื่ น ๆ ตลอดจนร่ วมกันเสนอแนะแนวทางในการนาผลงานไปประยุก ต์ใ ช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สมาชิ กในกลุ่มและประโยชน์ต่อส่ วนรวม และ 4.เงื่ อ นไขการนา รู ป แบบไปใช้ ได้แก่ ระบบสังคม(Social System) การเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบต้องมีระบบสังคมแห่ ง การเรี ยนรู ้ ดัง นี้ 1) นัก เรี ย นต้องเป็ นผูร้ ับผิ ดชอบการเรี ย นรู ้ ของตนเอง และการเรี ยนรู ้ ข องกลุ่ ม 2) นักเรี ยนต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน กล้าพูด กล้าเสนอความคิด กล้าที่จะซักถาม 3) นักเรี ยน ต้องมีปฏิ สัมพันธ์กบั ผูส้ อนอย่างต่อเนื่ องกล้าที่จะเสนอความคิด และกล้าที่จะซักถาม 4) นักเรี ยน


ต้องมีทกั ษะและกล้าที่จะตั้งคาถามเพื่อค้นหาคาตอบในสิ่ งที่อยากรู ้เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ ระบบ สนับสนุน (Support System) การจัดการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบผูส้ อนจะต้องจัดระบบสนับสนุ นดังนี้ 1) ผูส้ อนเป็ นผูจ้ ดั บรรยากาศการเรี ยนรู ้ท้ งั ด้านกายภาพและจิตภาพในเชิ งบวก 2) ผูส้ อนจัดเตรี ยม วัสดุและอุปกรณ์ การเรี ยนรู ้ให้เพียงพอกับความต้องการของนักเรี ยน 3) ผูส้ อนจัดบรรยากาศการ เรี ยนให้อบอุ่น ผ่อนคลาย เป็ นกันเอง และมี จิตสานึ กในการมีส่วนร่ วมอย่างจริ งจัง 4) ผูส้ อนต้อง กระตุ ้นให้นัก เรี ย นใช้เทคนิ ค การระดมสมองในการระดมความคิ ดสร้ า งสรรค์ก ารปฏิ บ ัติง าน ประดิษฐ์อย่างจริ งจัง 5) ผูส้ อนต้องกระตุน้ ให้นกั เรี ยนกล้าที่จะตั้งคาถามในการวิเคราะห์และพัฒนา งานสร้างสรรค์ผสู ้ อนจัดหาตัวอย่างผลงานการประดิษฐ์อนั เป็ นความคิดสร้างสรรค์อย่างหลากหลาย เพื่อเป็ นต้นทุนการคิดสร้างสรรค์ให้กบั ผูเ้ รี ยน หลักการตอบสนอง การนารู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ไปใช้ตอ้ งคานึงถึงการตอบสนองต่อนักเรี ยนในระหว่างการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบดังต่อไปนี้ 1) ผูส้ อน เป็ นผูอ้ านวยความสะดวกทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการเรี ยนรู ้ 2) ผูส้ อนสนทนาซักถามเพื่อกระตุน้ การคิดสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนอย่างต่อเนื่ อง 3) ผูส้ อนดูแล และติดตามให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้แบบมี ส่ วนร่ วมเพื่อให้เกิดผลงานการประดิษฐ์ที่เป็ นความคิดสร้างสรรค์ และพบว่ารู ปแบบการเรี ยนการ สอนการงานอาชี พ และเทคโนโลยีตามหลัก การท างานแบบมี ส่ วนร่ วม เพื่อส่ ง เสริ ม ทักษะการ ปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยนที่พฒั นาขึ้นเป็ นรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่มีความ สมเหตุสมผลเชิ งทฤษฎี ความเป็ นไปได้และความสอดคล้องของรู ปแบบสู ง และเป็ นรู ปแบบการ เรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 2) ผลการใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พและเทคโนโลยีตามหลักการทางาน แบบมี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ทัก ษะการปฏิ บ ัติ ง านประดิ ษ ฐ์ อ ย่า งสร้ า งสรรค์ข องนัก เรี ย นชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนตลาดสารอง พบว่านักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องงานประดิษฐ์ ก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พและเทคโนโลยีตาม หลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์แตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ .01 โดยหลังการใช้รูปแบบการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนการใช้รูปแบบการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีทกั ษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ อย่างสร้างสรรค์ระหว่างเรี ยนในระดับสู งมาก และมีความคิดสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ หลังเรี ยนในระดับสู งมาก ส่ วนการมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงานประดิ ษฐ์ของนักเรี ยนอยู่ในระดับ มากที่สุด และยังพบอี กว่านักเรี ยนมี ความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบการเรี ยนการ สอนการงานอาชี พ และเทคโนโลยีตามหลัก การท างานแบบมี ส่ วนร่ วม เพื่อส่ ง เสริ ม ทักษะการ ปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์อยูใ่ นระดับมากที่สุด


ชื่อผลงาน : การพัฒนาผลการเรี ยนรู ้งานอาชีพเกษตรกรรมของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ด้วยการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้งานเป็ นฐาน (Work Based Learning) ผูจ้ ดั ทา : นางเพชรรัตน์ นามมัน่ หน่วยงาน : โรงเรี ยนตลาดสารอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปี การศึกษา : 2559

บทคัดย่ อ การวิจยั เรื่ องการพัฒนาผลการเรี ยนรู ้ งานอาชี พเกษตรกรรมของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 5 ด้วยการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้งานเป็ นฐาน (Work Based Learning) มีวตั ถุประสงค์ 1) เพื่อ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนงานอาชีพเกษตรกรรมของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ก่อน และหลังการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้งานเป็ นฐาน 2) เพื่อศึกษาผลการเรี ยนรู ้งานอาชีพเกษตรกรรมของ นัก เรี ย นหลัง การจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้งานเป็ นฐาน 3) เพื่ อศึ ก ษาพฤติ ก รรมการท างานกลุ่ ม ของ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จากการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้งานเป็ นฐาน 4) เพื่อศึกษาความพึง พอใจของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้งานอาชี พเกษตรกรรมโดยใช้งาน เป็ นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนตลาดสารอง ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 จานวน 22 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ แผนการจัดการเรี ยนรู ้งานอาชี พ เกษตรกรรมด้วยการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้งานเป็ นฐาน แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนงาน อาชี พเกษตรกรรมแบบประเมินความสามารถในการปฏิ บตั ิงานอาชี พเกษตรกรรม และแบบ ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้งานอาชี พเกษตรกรรมโดยใช้งานเป็ นฐาน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ( X ) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ร้อยละ (%) และทดสอบค่าที (t - test)

ผลการศึกษา 1. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนงานอาชี พเกษตรกรรมของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5หลัง เรี ยนด้วยการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้งานเป็ นฐานสู งกว่าก่อนเรี ยน และแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 2. ผลการเรี ยนรู ้งานอาชีพเกษตรกรรม ของนักเรี ยนหลังการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้งานเป็ น ฐานอยูใ่ นระดับสู งมาก 3. พฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรี ยนจากการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้งานเป็ นฐานอยู่ใน ระดับดีมาก


4. ความพึงพอใจของนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 5 ที่ มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้ งานอาชี พ เกษตรกรรมโดยใช้งานเป็ นฐานอยูใ่ นระดับมากที่สุด



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.