ผลงานและนวัตกรรม

Page 1

รำยงำนผลกำรดำเนินงำนที่ภำคภูมิใจ ผลงำนและนวัตกรรม ประจำปีงบประมำณ 2555 “กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่กำรพัฒนำองค์กร”

โดย สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 ตุลำคม 2555 1



พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน



“...นึก ถึ งคุ ณธรรมซึ่งเป็น ที่ตั้ง ของความรัก ความสามัค คี ที่ท าให้ คนไทยเรา สามารถร่วมมือร่วมใจกันรักษาและพัฒนาชาติบ้ านเมือง ให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันมาได้ ตลอดรอดฝัง่ ประกำรแรก คือการที่ทุกคนคิด พูด ทา ด้วยความเมตตามุ่งดีมุ่งเจริญ ต่ อ กั น ประกำรที่ ส อง คื อ การที่ แ ต่ ล ะคนต่ า งช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น ประสานงาน ประสานประโยชน์กั น ให้ ง านที่ ท าส าเร็ จ ผล ทั้ง แก่ ต น แก่ ผู้ อื่ น และแก่ ป ระเทศชาติ

ประกำรที่สำม คื อ การที่ ทุ ก คนประพฤติ ป ฏิ บั ติต นอยู่ ใ นความสุ จ ริ ต ในกฎกติ ก า และระเบี ย บแบบแผนโดยเท่ า เที ย มเสมอกั น ประกำรที่ ส่ี คื อ การที่ ต่ า งคน ต่างพยายามทาความคิดความเห็นของตนให้ถูกต้องเที่ยงตรง และมั่นคงอยู่ในเหตุในผล หากความคิ ด จิ ต ใจและความประพฤติ ที่ ล งรอยเดี ย วกั น ในทางที่ ดี ที่ เ จริ ญ นี้ ยังมีพร้อมมูลอยู่ในภายในใจของคนไทย ก็มั่นใจได้ว่าประเทศชาติไทยจะดารงมั่นคง อยู่ตลอดไปได้...”

พระราชดารัส ในการเสด็จออกมหาสมาคมในงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัตคิ รบ 60 ปี ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม 9 มิถุนายน 2549

“...รักพ่อ ทำตำมคำสอนพ่อ...”



คำนำ รายงานผลการดาเนินงานที่ภาคภูมิใจ ปีงบประมาณ 2555 จัดทาขึ้นเพื่อรับการประเมิน จากคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดาเนินการบริหารจัดการ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 รอบปีงบประมาณ 2555 รายงานฉบับนี้ประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์จาก การดาเนินงานตามโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ร่วมกับเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา และระดับ มัธ ยมศึ กษาตอนต้น ศู น ย์พั ฒนากลุ่ม สาระการเรีย นรู้ และเครือ ข่ า ยพั ฒนาคุณ ภาพการศึ กษา ซึ่ง มี ประโยชน์อย่างยิ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จากการที่ ส านั ก งาน ได้ จั ด เวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ติ ด ต่ อ กั น 3 ปี ต่ อ เนื่ อ ง ตั้ ง แต่ ปีงบประมาณ 2553-2555 แสดงให้เห็นว่า สานักงาน/สถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ทุกคน เห็นความสาคัญของการจัดการความรู้ จึงมีความพยายามที่สร้างและแสวงหาความรู้ เพิ่มพูน ทักษะ ประสบการณ์ตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ภายใต้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเข้าร่วม การแข่งขัน และนาเสนอผลงาน ซึ่งในรอบปีงบประมาณ 2555 ได้มีผลงานจากผู้บริหาร ครูและบุคลากร ทางการศึกษา ที่ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านวิชาการ ด้านบริหารจัดการ และ ด้านนวัตกรรม จานวน 108 เรื่อง ซึ่งการที่บุคลากรทุกฝ่ายมีวิธีปฏิบัติท่ดี ี สามารถทางานประสบผลสาเร็จ จึงนับว่า ได้น้อมนาหลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน ” มาสู่การปฏิบัติได้จริง. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ขอขอบคุณผู้บริหาร ครูและ บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกคนที่ ร่วมสร้างและแบ่งปันความรู้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ และขยายผลเพื่อตอบแทนพระมหากรุณาธิคุณ “คำสอนพ่อ” อันจะช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานตามพระราชประสงค์สืบไป.

(นายจานงค์ ยอดขา) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ตุลาคม 2555



สำรบัญ หน้ำ พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน คำนำ สำรบัญ ส่วนที่ 1 กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี กลุ่มสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1 2 3 4

 รองผู้อำนวยกำรสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ การจัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการ "งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและ ภาคตะวันออก" ครัง้ ที่ 61 ปีการศึกษา 2554 การบริหารงบประมาณผ่านระบบ ICT และการมีส่วนร่วม การบริหารจัดการระบบการจัดซื้อ จัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ในโรงเรียน (e-Government Procurement : e-GP) การพัฒนาระบบควบคุมภายใน

ก จ ช

1 5 8 11

 ผู้อำนวยกำรกลุ่ม 5 การพัฒนาบุคลากรเพื่อคุณภาพการศึกษา 6 กีฬาสัมพันธ์ครูโรงเรียนเอกชนจังหวัดกาญจนบุรี 7 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT

18 22 25

 ศึกษำนิเทศก์ 8 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่สง่ ผลต่อการบริหารงานวิชาการ

28

 บุคลากรทางการศึกษา 38 ค (2) 9 รายงานการพัฒนาการดาเนินงานรับนักเรียน การศึกษาประถมศึ กษากาญจนบุ 10 การแลกเปลี ่ยนแนวปฏิ บัตทิ ี่เป็นเลิรศี เขต (Best1 Practice)

32 37

 ลูกจ้ำง 11 การพัฒนาการปฏิบัตงิ านตามแนววิถีพอเพียง

41

ส่วนที่ 2 กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี กลุ่มสถำนศึกษำ 12 13 14 15 16

 ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์พงศ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาการศึกษา โรงเรียนบ้านทุ่งยาว เครือข่ายการเรียนรู้สคู่ วามพอเพียง การพัฒนางานบริหารบุคคล โดยรูปแบบ บ้านหัวหิน Model” การบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา

44 48 51 56 59


หน้ำ 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

การบริหารโรงเรียนตามหลัก SCBM และทฤษฎีเชิงระบบ ( System theory ) ผู้บริหาร สถานศึกษาขนาดใหญ่ การบริหารจัดการศึกษา โดยใช้หลักการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) การส่งเสริมครูเพื่อมุ่งสูย่ กระดับผลสัมฤทธิ์ รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการใช้แหล่งเรียนรู้และนาภูมปิ ัญญา ท้องถิ่นของตาบลหนองบัวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุง่ สู่คุณภาพผู้เรียน วิถีธรรมสูค่ ุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนวัดพุน้อย ศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวติ ตามวิถชี วี ิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง สถานศึ กษาขนาดกลาง านวิชาการ เทคนิคการพั ฒนาการอ่าด้นโดยใช้ กิจกรรม “ตามรอยพ่อ....ขอเป็นนักอ่าน” อ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด “เครื่องยิงตะกร้อ” รูปแบบการจัดการองค์ความรู้(Knowledge Management) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ร่วมใจสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนวัดหนองเสือ การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้โดยใช้ส่อื สังคมออนไลน์ของโรงเรียนเขาดินวิทยา คารรองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ ผลงานและความดี สมศักดิ์ศรี โรงเรียนพระราชทาน โดยใช้การบริหารจัดการ แบบ

62 66 69 73 78 82 85 91 95 98 101 104 108 110 112

School – Based Management (SBM)

32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44

การบริหารแบบมีส่วนร่วม การบริหารงานงบประมาณมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ (Results Based Management ; RBM)  ครูผู้สอนระดับก่อนประถมศึกษำ น้าอ้อยหวานจังจากภูมปิ ัญญาท้องถิ่น (ชวนหนูออ้ ย ไปอาเซียน) หนูคดิ เป็น กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย การสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย (ด้านการเปรียบเทียบโดยใช้ นิดอกมะลิ ทาน) เพื่อแม่ (ด้านการเปรี ยบโดยใช้ การพั ฒนาพฤติยกบเที รรมเด็ กก้าวร้นาทิ วาน) การสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ กิจกรรมหนูนอ้ ยหรรษากับ Learning by Doing  ครูผู้สอนภำษำไทย การพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกมและนิทานสระ 8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคา มาตราตัวสะกด ทางด่วนการเขียน

115 118 123 126 130 134 138 140 143 146 150 154 158


หน้ำ 45 46 47 48 49 50 51 52 53

54 55 56 57

58 59 60 61 62

63 64 65 66 67 68 69

“กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน”

เทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ  ครูผู้สอนคณิตศำสตร์ การพัฒนาความสามารถด้านการสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ของผู้เฒรียนารู นเพืป่อแบบการจั การแข่งขัดนค่ระดั บชาติ การพั ายคณิ ตศาสตร์โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร สาหรับ นักยเรีนคณิ ยนระดั เรี ตกับลูประถมศึ กคิดไทยกษา ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบระดับชาติ(O-NET)ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่3 การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน เอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เรื่องเส้นขนาน  ครูผู้สอนวิทยำศำสตร์ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปเรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม การบริหารจัดการในชัน้ เรียนแบบบูรณาการโดยใช้โครงงานวิทยาศาสตร์เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) ชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง การพัฒนาชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์ เรื่องสารละลาย เพื่อสร้างแรงบันดาลใจใน การเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร  ครูผู้สอนสังคมศึกษำ พี่พาน้อง ร่วมเรียนรู้ ปูชนียบุคคล อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนขยะมีประโยชน์”(กองทุนบุญจากขยะ) “เทคนิค Walk Rally ที่กาญจนบุรีเก่า” การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยการทาโครงงาน ชุดกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการด้านมีความสามัคคี ด้วยเพลงปลุกใจ  ครูผู้สอนศิลปะ การพัฒนาทักษะนาฏศิลป์ดว้ ยการแสดงจินตลีลาประกอบเพลงลูกทุ่ง สืบสาน.....ดนตรี การพัฒนาการเรียนรู้โน้ตดนตรีสากล การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน การแสดงพืน้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย สแบบฝึ าหรับกนัทักกเรีษะการวาดภาพ ยนชั้น ม.1 กลุ่มกัสาระ การเรียซินรู ปะ สาระนาฏศิลป์ บการสอนแบบ ปปา้ศิล(CIPPA)  ครูผู้สอนสุขศึกษำและพลศึกษำ กิจกรรมนักคิด ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพ จากแหล่งเรียนรู้…สู่โครงงานสุขภาพ

161 165 169 173 176 179 182 185 188

193 198 203 208

211 216 219 222 227

231 234 237 243 246 251 255


หน้ำ 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89

ถอดรหัสหัวใจ คีตะมวยไทยสู่ความเป็นเลิศ ส่งเสริมทักษะกรีฑานักเรียนสูร่ ะดับจังหวัด ลานกีฬาต้านยาเสพติด  ครูผู้สอนภำษำต่ำงประเทศ Crossword Game For Learning English Vocabulary (การพัฒนาทักษะการเรียนคาศัพท์ “English is Love” (ศLove Learn) - Learn to Live - Live to Love ) ภาษาอังกฤษจากปริ นาอักtoษรไขว้

การใช้ส่อื ปะสมคอมพิวเตอร์ในการฝึกออกเสียงและเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ สาหรับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 สื่อครบเครื่อง เรื่องภาษาอังกฤษ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ กลุ่มสาระการเรี คลายปม ผูกเงื่อยนนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) การพัฒนาทักษะการเรียนภาษาอังกฤษด้วยการทาโครงงาน  ครูผู้สอนกำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี ไม้ไผ่ ครู และภูมปิ ัญญา บูรณาการสู่เด็ก โครงการทางาน ทาดี มีอาชีพ โครงการเพิ่มผลผลิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา การแก้ปัญหาโดยการแปรรูปปฏิกูลจากวัตถุชวี มวลกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง ยั่งยืนสร้างสรรค์ งานสานไม้ไผ่รอบด้านพัฒนางานอาชีพ  ครูผู้สอนวิชำบูรณำกำร กิจกรรมการเรียนรู้.....สู่การบูรณาการ การบริหารจัดการชัน้ เรียนแบบครูมืออาชีพ มหัศจรรย์กับคณิตศาสตร์ การพัฒนาชุดกิจกรรมโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องการสร้างสรรค์ภาพตัดปะแบบ ง ของนั ยนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3พอเพี R พัยฒ นาเด็กกพิเรีเศษ

259 262 266 268 270 274 277 282 286 288 294 297 300 305 307 310 314 318 322 325

 ครูผู้สอนกิจกรรมแนะแนว

90 91 92 93 94 95

ชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชวนกันคิดพิชติ ข้อสอบ O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 กิจกรรมส่งเสริมการออมทรัพย์วันละ 1 บาท สู่จุดหมายปลายทาง แนะแนวนักเรียนเพื่อพัฒนา ผู้ปกครองร่วมใจ

330 334 336 338 340 344


หน้ำ  ครูผู้สอนวิชำลูกเสือ เนตรนำรี ผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมชุมนุม ชมรม

96 97 98 99 100

ลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม ชุมนุมงานประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์ เรารักอาเซียน ส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน บูรณาการมวลกิจกรรมทางลูกเสือสูช่ นั้ เรียน  ครูผู้สอนกิจกรรมเพือ ่ สังคมและสำธำรณประโยชน์ 101 เครือข่ายสร้างจิตอาสาชาวฟ้า-ขาว 102 บวร : บ้าน วัด โรงเรียน สามประสานสร้างคุณธรรม 103 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ (ระดับประถม) 104 กิจกรรม(วันสาคัญ)เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 105 จิตสาธรณ “บวร” รักษ์ทรัพยากรรักษ์ภูมิปัญญาพาทาอาชีพ 106 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์  ลูกจ้ำง 107 ลูกจ้างแบบพอเพียง 108 เสริมสร้างประสิทธิภาพการพัฒนางานธุรการ

ภำคผนวก

346 355 360 364 368 371 374 378 381 384 390 394 397

400


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1

การจัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการ "งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาคตะวันออก การปฏิรูปการศึกษา เป็นปัจจัยสาคัญประการหนึ่งของการพัฒนาประเทศ ที่ยั่งยืน ซึ่งจะสาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ร่วมกันพัฒนาหลายด้านพร้อมๆกัน การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ เป็นด้านหนึ่ง ของการปฏิรูปการศึกษาที่ทุกฝ่ายเชื่อว่า หากได้ ดาเนินการ อย่างจริงจังแล้ว ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิรูปการศึกษาก็คือ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้โดยยึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ การดาเนินการจัดการศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของทุกเขต พื้นที่การศึกษาได้ดาเนินการบริหารจัดการ ประสาน สนับสนุน ให้สถานศึกษา ได้รับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ส่งผลต่อการพัฒนา คุณภาพของผู้เรียน ซึ่งปรากฏออกโดยการแสดงศักยภาพทางการแข่งขันประกวด กิจกรรมในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนของทุกเขตพื้นที่การศึกษา และการเข้าร่วม กิ จ กรรมงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย นภาคกลางและภาคตะวั น ออก ครั้ ง ที่ 61 ประจาปีการศึกษา 2554 ครัง้ นี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงานปฏิรูปกระบวนการ เรียนรู้ในรูปแบบของการแข่งขันประกวดกิจกรรมของนักเรียน  เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียน และครูผู้สอนได้แสดงศักยภาพให้เป็นที่ ประจักษ์ แก่สาธารณชน  เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก เรี ย น ครู และผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งได้ ใ ช้เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ค้นคว้าหาความรู้และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กันและกัน แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาการดาเนินงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาคตะวันออก จากวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และกลยุ ทธ์ ของส านั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขตพื้นที่การศึกษา จึงได้ จัดให้มีการการจัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนซึ่งเป็นการบริหารจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับนโยบายและแนวทางดาเนินงาน ในรูปแบบของกิจกรรมต่างๆได้แก่ การแสดงความสามารถทางวิชาการ ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์และผลผลิตการอาชีพ ของนักเรียน ตลอดถึงการนาเสนอแสดงผลงานทางวิชาการของครู และบุคลากร ทางการศึกษา และที่สาคัญในการแสดงออกถึงศักยภาพความเป็นเลิศที่เป็น ผลสั มฤทธิ์ จากกระบวนการปฏิรูปการเรี ยนรู้ นั่น คื อ การแข่ ง ขัน ทั ก ษะทาง วิชาการของนักเรียนทุกระดับชัน้ การศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายยงยศ ทัศนะพยัคฆ์ รองผอ.สพป.กจ.1 โทรศัพท์ 085-2907275 E-mail : dasanayuy@hotmail.com

การดาเนินงานของการจัดงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ฯ เริ่มตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 2554 ถึง วันที1่ 8 มกราคม 2555 โดยเริ่มงานระหว่าง วันที่ 11 – 13 มกราคม 2555


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

2

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

planing

Controlling

Organizing

management functions Coordinating

Commanding

กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ครอบคลุมทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การศึกษาปฐมวัย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการศึกษาพิเศษ(นักเรียนเรียนรวม นักเรียนเฉพาะทาง) จากสถานศึกษาที่เป็นตัวแทนของสานักงาน เขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา 48 เขต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 12 เขต และ ศูนย์การศึกษาพิเศษ 26 จังหวัด

นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ครัง้ นี้ รวม 76,650 คน สถานศึกษาที่จัดใช้เป็นสถานที่ในการ แข่งขันทักษะทางวิชาการ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและ ภาคตะวันออก ประจาปีการศึกษา 2554 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุก กิจกรรม 18 แห่ง

การบริหารการจัดการในการจัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการ งานศิลปหัตถกรรม นั ก เรี ย น ครั้ ง นี้ ได้ เ ลื อ กน าเอาทฤษฎี ก ารบริ ห ารงานที่ เ กี่ ย วกั บ หน้ า ที่ ก ารจั ด การ (management functions) 5 ประการ ของ Fayol ที่มีความสาคัญและเหมาะสม ต่อการ ดาเนินกิจกรรมครั้งนี้ เป็นอย่างยิ่ง ได้แก่  การวางแผน (Planning) หมายถึง ภาระหน้า ที่ข องผู้ บริ หาร ที่ ต้องทาการ คาดการณ์ล่วงหน้าถึงเหตุการณ์ต่างๆที่จะมีผลกระทบต่อธุรกิจ และกาหนดขึ้นเป็น แผนการปฏิบัติงานหรือวิถีทางที่จะปฏิบัติเอาไว้ เพื่อสาหรับเป็นแนวทางของการ ทางานในอนาคต  การจัด องค์ การ (Organizing) หมายถึง ภาระหน้า ที่ที่ผู้บริ หารจาต้อ งจัด ให้ มี โครงสร้างของงานต่างๆ และอานาจหน้าที่ ทัง้ นี้เพื่อให้เครื่องจักร สิ่งของและตัวคน อยู่ในส่วนประกอบที่เหมาะสม ในอันที่จะช่วยให้งานขององค์การบรรลุผลสาเร็จได้  การบังคับบัญชาสั่งการ(Commanding) หมายถึงหน้าที่ในการสั่งงานต่างๆของ ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งกระทาให้สาเร็จผลด้วยดี โดยที่ผู้บริหารจะต้องกระทาตนเป็น ตัวอย่างที่ดี จะต้องเข้าใจคนงานของตน  การประสานงาน(Coordinating) หมายถึง ภาระหน้าที่ที่จะต้องเชื่อมโยงงานของทุก คนให้เข้ากันได้ และกากับให้ไปสู่จุดหมายเดียวกัน  การควบคุม (Controlling) หมายถึง ภาระหน้าที่ในการที่จะต้องกากับให้สามารถ ประกันได้ว่ากิจกรรมต่างๆ ที่ทาไปนัน้ สามารถเข้ากันได้กับแผนที่ได้วางไว้แล้ว กระบวนการพัฒนางาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาคตะวันออก การแข่งขันทักษะทางวิชาการ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาค ตะวันออก ครัง้ ที่ 61 ประจาปีการศึกษา 2554 กาหนดขอบข่ายการดาเนินงาน ตาม แนวทางของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดการแข่งขัน ทักษะทางวิชาการ ดาเนินการตามเป้าหมายที่กาหนด ดังนี้  กลุ่มเป้าหมายในการดาเนินงาน นักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการทุกระดับชั้น ตั้งแต่ ระดับชั้นปฐมวัย, ระดับชั้น ป.1 – 3, ระดับชั้น ป.4 – 6, ระดับชั้น ม.1 – 3 และ ระดับชั้น ม. 4- 6 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมนักเรียน โดยกาหนดเป็น กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนปกติ นักเรียนการศึกษาพิเศษ -โรงเรียนเรียนรวม - โรงเรียนพิเศษเฉพาะทาง รวม

กิจกรรมหลัก 87 54 19 35 141

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

กิจกรรมย่อย 258 205 126 79 463


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

3

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนการพัฒนาดาเนินงานการแข่งขันทักษะทางวิชาการ การด าเนิน การจั ดการแข่ ง ขั นทั ก ษะทางวิชาการ ได้ก าหนดรู ปแบบและแนว ทางการดาเนินงานเป็นขั้นตอน ตามขอบข่าย ภารกิจของงาน ตลอดถึงมอบหมาย ความรับผิดชอบต่อคณะทางานตามกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรม จนเสร็จสิ้น กระบวนการการรายงานผล (ตาม model) กลุ่มสาระการ เรียนรู้/กิจกรรม ทักษะวิชาการ ศูนย์ประสาน

ผู้รับผิดชอบ/ กรรมการ แข่งขัน/วัด ประเมินผล รายงานผล

ตรวจสอบกระบวนการเพื่อการพัฒนาทุกขั้นตอน ตามวงจรการทางานเชิงระบบ(PDCA) การวางแผน Plan — การปฏิบัติ Do —การตรวจสอบและประเมินผลCheck การปรับปรุงและพัฒนาAct

Model การจัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการ

Planing กลุม่ สาระการเรียนรู้

Organizing management functions

Commanding

แข่งขัน/วัด

ทักษะวิชาการ

Coordinating

ประเมินผล ศูนย์ประสาน

Controlling แนวทางการนาผลการทางานไปใช้ประโยชน์ จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการดาเนินงานตามขัน้ ตอน กระบวนการ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ตอ่ การจัดการแข่งขันทักษะทางวิชาการ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ฯ ครั้งนี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ตาม แนวทางการจัดกิจกรรมทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตลอดระยะเวลาของการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 11 - 13 มกราคม 2555

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ผู้รับผิดชอบ/กรรมการ

รายงานผล


4

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินงานการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย 1) การวางแผนที่ ดี โดยอาศั ย เครื่อ งมือ ของวงจรการทางานเชิง ระบบ (PDCA)มีการตรวจสอบขั้นตอน เป็นระยะ 2) การติดต่อประสานงานและการสื่อสารที่ดี โดยการติดต่อประสานงาน และการใช้เครื่องมือทางการสื่อสารที่เหมาะสม ในการประสานงาน และการประชาสัมพันธ์ 3) การมีส่วนร่วมของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 4) การมอบหมายความรับผิดชอบแก่บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) การจัดทาเอกสารสรุปผลการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ระหว่างการแข่งขัน วันที่ 11 – 13 มกราคม 2555 2) การรายงานผลการแข่ ง ขั น ทั ก ษะทางวิช าการด้ ว ยระบบ Program electronic ระหว่างการแข่งขัน วันที่ 11 – 13 มกราคม 2555 ให้สาหรับ ทุ ก เขตพื้ น ที่ ก ารศึก ษา 60 เขต และศู น ย์ก ารศึก ษาพิเ ศษจั ง หวั ด 26 จังหวัดทราบ 3) การใช้ระบบ Program - electronic จัดทาเกียรติบัตรประชาสัมพันธ์จาก ผลการแข่งขันทักษะทางวิชาการทุกกิจกรรมทุกรายการ ระหว่าง 11 - 25 มกราคม 2555 4) การสรุ ป ผลการด าเนิ น การจั ด การแข่ ง ขั น ทั ก ษะทางวิ ช าการ ตามแบบ รายงานผลการจัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้ ง ที่ 61 ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2554 ส าหรั บส านั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 5)

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

5

การบริหารงบประมาณผ่านระบบ ICT และการมีส่วนร่วม เพื่อให้การบริหารงบประมาณของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุ รี เขต 1 และสถานศึก ษาในสั ง กั ด มี ป ระสิ ทธิ ภ าพ เป็ น ไปด้ ว ยความ เรียบร้อย รวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรมและตรวจสอบได้ สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่ 5 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 “พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมี ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา”

แนวคิด วิธีการ และการดาเนินการบริหารงบประมาณผ่านระบบ ICT และการมีส่วนร่วม การบริ ห ารงบประมาณของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึก ษาประถมศึ ก ษา กาญจนบุรี เขต 1 ยึดหลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงานในเพื่อให้มีประสิทธิภาพ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ จากการ วิเคราะห์ผลการใช้วิธีปฏิบัติเดิมนั้นว่า การดาเนินการบรรลุผล สร้างความพึงพอใจ ให้กับทุกคนหรือไม่ อย่างไร เป็นไปตามมาตรฐานตัวบ่งชี้ในการประเมินคุณภาพ หรือไม่ ผลปรากฏว่า ใช้เ วลาในการด าเนิน การระหว่า งเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษากั บ สถานศึกษาในสังกัดใช้เวลามาก เกิดจากการโต้ตอบหนังสือราชการเป็นส่วนใหญ่ จึงกาหนดการปฏิบัตใิ หม่ด้วยการใช้ระบบICT เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร เช่น e – Office e – Filing e – mail ฯลฯ ส่วนปัญหาด้านความพึงพอใจที่มีมาจากทางสถานศึกษาในกรณี ที่บาง สถานศึกษาไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ก็ต้องสอบถามสาเหตุก่อนว่า ได้เสนอขอ หรื อ ไม่ หากไม่ เ สนอขอก็ ย่ อ มไม่ ไ ด้ รั บ การจั ด สรรงบประมาณ ส าหรั บ เรื่ อ งนี้ หลักการทางานที่ยดึ หลักธรรมาภิบาลจะทาให้สถานศึกษา ทุกแห่งเกิดความพึงพอใจ โดยกลุ่มนโยบายและแผน ได้ทาการการศึกษาวิเคราะห์ สภาพของหน่วยงาน หลายวิธี เช่น  การสารวจ การระดมความคิด การทา SWOT เพื่อให้ได้ทราบสภาพปัจจุบัน และปัญหาที่แท้จริง  วิเคราะห์ระหว่างสภาพปัจจุบันและปัญหาที่แท้จริงกับผลการใช้วิธีปฏิบัติ (Best Practice) มีความสอดคล้องที่จะทาให้การปฏิบัติงานตามภารกิจ บรรลุผลมากยิ่งขึน้ เพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัตใิ หม่ตอ่ ไป การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายโอภาส ต้นทอง รองผอ.สพป.กจ.1 โทรศัพท์ 086-4181491 E-mail : optt1964@hotmail.com


6

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แผนผังแสดงขัน้ ตอนการบริหารงบประมาณ

สพป.จัดทาแบบสารวจความต้องการจาเป็น/ขาดแคลนของโรงเรียน เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

แจ้งโรงเรียนจัดทารายละเอียดเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ตามความจาเป็นขาดแคลน สพป.สรุปรายชื่อโรงเรียน ตามรายการที่เสนอขอ (แยกรายอาเภอ)

สพป.แต่งตั้งคณะกรรมการออกตรวจสอบสภาพอาคารเรียน อาคารประกอบ/พร้อมถ่ายภาพประกอบ สพป.ประชุมคณะกรรมการฯ ดังนี้ - จัดทาข้อมูลรายโรงเรียนใน File Excel - จัดทาภาพถ่ายประกอบการพิจารณาใน Power Point - วิเคราะห์ความจาเป็นขาดแคลน - จัดเรียงลาดับความจาเป็นเร่งด่วน - สรุปรายชื่อโรงเรียนพร้อมงบประมาณที่ได้รับ สพฐ.แจ้งกรอบวงเงินงบประมาณ

สพป.แต่งตั้งคณะกรรมการฯ พิจารณาการจัดตั้งงบประมาณ รายการที่มีตามความจาเป็นขาดแคลน สพป.แจ้งขอจัดตั้งงบประมาณไปยัง สพฐ. โดยจัดเรียงลาดับตามความจาเป็นขาดแคลน

สพฐ.แจ้งอนุมัติจัดสรรงบประมาณให้ สพป. สพป.แจ้งจัดสรรให้โรงเรียนดาเนินการ โรงเรียนดาเนินการใช้จา่ ยงบประมาณ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซ้าการดาเนินงาน การบริหารงบประมาณผ่าน ระบบ ICT และการมีส่วนร่วม มี ก ารปรั บ ปรุ ง แนวปฏิ บั ติ และขยายผลการน าไปใช้ ใ นหน่ ว ยงานให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยการนาแนวปฏิบัติใหม่ไปใช้ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้  กาหนดขอบเขตของการใช้  จัดทาคู่มือ/แนวปฏิบัต/ิ คาสัง่  การดาเนินงานตามแนวปฏิบตั ิใหม่ทใี่ ช้ระบบICT และการมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง  การติดตามประเมินผลระหว่างปฏิบัติงานตามคู่มอื /คาสัง่ โดยมี การสารวจหรือสอบถามความเห็นการยอมรับของเจ้าหน้าที่ในการนาไปใช้  การประเมินผลการดาเนินงาน โดยใช้วธิ ีการประเมินผลครอบคลุม กระบวนการและ ผลลัพธ์ที่เกิดขึน้ มีแนวโน้มที่ดีขนึ้ โดยมีการกาหนดเป็น มาตรฐาน  การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง โดยใช้หลักการของวงจรเดมมิ่ง (PDCA)  แจ้งกลุ่ม หน่วย และสถานศึกษา เมื่อมีการประชุม / การจัดทา แผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยชีแ้ จงรายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนการ บริหารงบประมาณให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทราบ

ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินการบริหารงบประมาณผ่านระบบ ICT และ การมีส่วนร่วมประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย คว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ส า นั ก ง า น ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งตามคาสั่ง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

7


8

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การบริหารจัดการระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) ในโรงเรียน เป้าหมาย/วัตถุประสงค์การบริหารจัดการในระบบ e-GP

นายศิริวุฒิ สามนปาล รองผอ.สพป.กจ.1 โทรศัพท์ 081-2921241 E-mail : sarawatsarmonpal@gmail.com

 เพื่อ ให้ ส านั ก งานเขตพื้น ที่ ก ารศึก ษาประถมศึก ษากาญจนบุ รี เขต 1 และ โรงเรียนในสังกัด บริหารจัดการระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ  เพื่อให้เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้และ ให้ความช่วยเหลือโรงเรียน  เพื่อให้การจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐเป็นไปอย่างโปร่งใส ลดปัญหาทุจริต คุ้มค่ามี ประสิทธิภาพและสามารถจัดซื้อจัดจ้างพัสดุได้ในราคายุติธรรม นอกจากนี้ยังช่วย สร้างโอกาสให้ผู้ขาย และ ผู้รับจ้างได้เข้าถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างอย่างทั่วถึงและ เท่าเทียมกันสาหรับประชาชนทั่วไปหรือผู้มีส่วนได้ เสียยังสามารถตรวจสอบข้อมูล ข่าวสารต่างๆของการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐได้อันจะ เป็นกลไกในการป้องกันการทุจริต คอรัปชั่นได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย

เงื่อนไขที่หน่วยงานต้องปฏิบัติงานในระบบ e-GP สพป. สพฐ. และโรงเรียนของรัฐ ทุกแห่ง ที่ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หรือ ตามระเบียบที่เกี่ยวกับพัสดุ ซึ่งหน่วยงานของรัฐได้ใช้ในการปฏิบัตงิ าน

การจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ต้องดาเนินการในระบบ e-GP วงเงินการจัดหาต่ากว่าครั้งละ 5,000 บาท การดาเนินการตามระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 39 วรรค 2 “การ ซื้ อ หรื อ การจ้ า งโดยวิ ธี ต กลงราคาในกรณี จ าเป็ น และเร่ ง ด่ ว นที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยไม่ ไ ด้ คาดหมายไว้ก่อนและไม่อาจดาเนินการตามปกติได้ทัน ให้เจ้าหน้าที่พัสดุหรือเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัตริ าชการนั้นดาเนินไปก่อน แล้วรีบรายงานขอความเห็นชอบต่อ หัวหน้าส่วนราชการและเมือ่ หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ถือว่ารายงาน ดังกล่าวเป็นหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม สาหรับรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดาเนินงานในลักษณะเชิงธุรกิจ และปริมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง โดยวิธีตกลงราคาค่อนข้างมาก ประกอบกับการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธี ตกลงราคาซึ่งมีวงเงินไม่สูงไม่มีการประกาศเชิญชวนแข่งขันการเสนอราคาเหมือนวิธี สอบราคาและวิธีประกวดราคา ดังนั้น ในชั้นนี้ จึงให้การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีตกลง ราคาของรัฐวิสาหกิจ ยังไม่ต้องบันทึกข้อมูลในระบบ e-GP

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

9

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กรณีเป็นการจัดซือ้ จัดจ้างตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยใช้ จ ากเงิ น ยื ม หรื อ เงิ น ทดรองราชการ เงิ น นอก งบประมาณ การจ้างเหมาบริการกรณีเป็นบุคคลธรรมดา ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.3/ว 33 ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 2549 หรือเงินอื่นใดก็ตาม ซึ่งไม่มกี าร จัดทา PO ในระบบ GFMIS โดยในขั้นตอนสร้างโครงการ การเบิกจ่ายเงินให้เลือกไม่ผ่าน GFMIS

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสาหรับหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและ ผู้สนใจทั่วไป ข้อมูลหลักที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ 1) ข้ อ มู ล ประกาศจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งเป็ น ข้ อ มู ล ที่ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ เข้ า มา จั ด ท าประกาศ การจัดซื้อจัดจ้างประกาศเชิญชวนประกาศแก้ไข/ยกเลิก การจัดซื้อจัดจ้างประกาศ รายชื่อผู้มาขอรับ/ซื้อเอกสารประกาศรายชื่อผู้ย่ืนข้อเสนอประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศข้อมูลสาระสาคัญในสัญญา เพื่อให้ผู้ค้าหรือผู้สนใจทั่วไปสามารถค้นหาดูข้อมูล ได้ 2) ข้อมูลเนื้อหาด้านกฎระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุเช่นกฎระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีพรบ. พรฎ. และหนังสือเวียนเกี่ยวกับการพัสดุรวมถึงกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3) ข้อมูลเนื้อหาด้านราคากลางงานก่อสร้างได้แก่ หลักเกณฑ์การคานวณราคากลางงาน ก่อสร้างอาคาร งานก่อสร้างทางสะพานและท่อเหลี่ยมและงานก่อสร้างชลประทาน 4) ข้อมูลบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานโดยสามารถค้ นหารายชื่อผู้ทิ้งงานและผู้ถูกเพิกถอนการทิ้ง งานได้ 5) ข้อมูลเนื้อหาด้านข่าว/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ 6) 6.ข้อมูลสถิตกิ ารจัดซื้อจัดจ้าง

แนวคิด วิธีการ และการดาเนินการบริหารงบประมาณผ่าน ระบบ ICT และการมีส่วนร่วม ได้นาหลักการและแนวคิดของ หลักธรรมาภิบาล การบริหารจัดการแบบมีส่วน ร่วม และการประชุมเชิงปฏิบัติการจริง บน Internet โดยใช้วิธีการดาเนินงาน ตามวงจร เดรมมิ่ง ( PDCA) มาประยุกต์ใช้ P: ร่วมวางแผน

A: ร่วมประเมินผล

D: ร่วมดาเนินการดาเนิน

C: ร่วมดูแล กากับ ติดตาม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

10

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การวางแผน : สพป. กจ. 1 และสานักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรี ได้ร่วมมือกัน วางแผนการจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการจริงบน Internet ให้กับโรงเรียน 3 รุ่น โดยกาหนดให้เจ้าหน้าที่พัสดุ และหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุมาเข้าประชุม คือ รุน่ ที่ 1 โรงเรียนในเขตอาเภอด่านมะขามเตี้ย และอาเภอศรีสวัสดิ์ รุ่นที่ 2 โรงเรียนในเขตอาเภอเมือง รุ่นที่ 3 โรงเรียนในเขตอาเภอท่าม่วง  สพป.กจ. 1 แจ้งให้โรงเรียนทุกแห่ง ติดต่อขอ username และ password กับ สานักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรี เพื่อเข้าสูร่ ะบบ e - GP  สานักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรี ให้การสนับสนุนด้านวิทยากร  สพป.กจ. 1 จัดเตรียมสถานที่การประชุม เอกสาร และระบบ เทคโนโลยี

การดาเนินงาน 1) จัดประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารจริง บน Internet จานวน 3 รุน่ 2) โรงเรียนที่ได้รับจัดสรรงบประมาณประจาปี 2555 ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างใน ระบบ e- GP โดยมีเจ้าหน้าที่จาก กลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์ สพป. กจ. 1 และ สานักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรีเป็นพี่เลีย้ งในการดาเนินการ 3) กาหนดให้โรงเรียนที่เป็นศูนย์เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา เป็น จุดให้ความช่วยเหลือ ให้คาแนะนาในการดาเนินการในระบบ e -GP โดยไม่ต้องเดินทางมายัง สพป.กจ. 1 อีกทางหนึ่ง

 ดูแล กากับ ติดตาม

สพป.กจ. 1 และสานักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรีร่วมกันดูแล และกากับติดตาม เป็นพี่ เลีย้ ง โรงเรียนให้ดาเนินการให้ถูกต้อง เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ

 ประเมินผล สพป.กจ. 1 และสานักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรีร่วมกันประเมินผลการดาเนินงานของ โรงเรียน ว่าถูกต้อง เป็นไปตามระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการ โดยใช้วธิ ีการตรวจสอบคุณภาพ 2 ลักษณะ คือ 1) ตรวจสอบจากเอกสารหลักฐานของโรงเรียนที่ขอเบิกจ่ายเงินงบประมาณจาก สพป.กจ. 1 2) ตรวจสอบจากระบบ e – GP โดยเข้าระบบไปดูการดาเนินงานของโรงเรียนจาก การตรวจสอบพบว่าโรงเรียนสามารถดาเนินการได้ถูกต้อง

ปัจจัยที่ทาให้การบริหารจัดการ ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ประสบความสาเร็จ ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ ท าให้ โ รงเรี ย นที่ ไ ด้ รั บ จั ด สรรงบประมาณประจ าปี 2555 สามารถดาเนินการจัดซื้อขัดจ้างในระบบ e -GP ได้อย่างถูกต้อง และสามารถเบิกจ่าย งบประมาณในระบบ GFMIS ได้ คือ สพป.กจ.1 มีกระบวนการศึกษา วิเ คราะห์ วิธีดาเนินการใหม่ทุกขั้นตอน ข้อดี ข้อเสีย แนวทางดาเนินการแก้ไขพร้อมทั้งเชิญวิทยากร เป็นผู้ที่ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติจริง มาให้ความรู้ ทั้งนี้ สพป.กจ.1 ได้สารวจ ความพึ ง พอใจของผู้ ป ฏิ บั ติ ง านของโรงเรี ย น จากแบบส ารวจความพึ ง พอใจของ ผู้ปฏิบัติงานของโรงเรียน พบว่า ผู้ปฏิบัติงานของโรงเรียน มีความพึงพอใจ ร้อยละ 95 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

11

การพัฒนาระบบควบคุมภายใน สพป.กจ.1 เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 1) เพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลจากการใช้ทรัพย์สนิ และ ทรัพยากรอื่น ๆ (Operation objectives : “O”) 2) เพื่อให้มรี ะบบข้อมูลด้านการเงินและการดาเนินงานที่ครบถ้วน ถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์ (Financial report objectives : “F”) 3) เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อกาหนด (Compliance objectives : “C”) ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ. คารับรองการปฏิบัตริ าชการประจาปี มิตทิ ี่ 2 มิตดิ ้านคุณภาพการ ให้การบริการ ตัวชีว้ ัดที่ 12 ระดับความสาเร็จของการควบคุมภายใน แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา แนวคิดในการดาเนินงาน ใช้กระบวนการบริหารและจัดการตามทฤษฎีของ Dr. Edward W.Deming คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA ดังนี้  P : Plan หมายถึง การวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุม ถึงการกาหนดหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนา สิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัตงิ าน อาจประกอบด้วย การกาหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน  D : Do หมายถึง การดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ให้มปี ระสิทธิผล ประสิทธิภาพและคุณธรรม  C : Check หมายถึง การประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมิน โครงสร้างที่รองรับ การดาเนินการ การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน และ การประเมินผลของ การดาเนินงานตามแผน ที่ได้ตั้งไว้  A : Act หมายถึง การนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจประกอบด้วย การนาผลการ ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดอี ยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นไปอีก และสังเคราะห์ รูปแบบ การดาเนินการใหม่ที่เหมาะสม สาหรับการดาเนินการ ในปีตอ่ ไป

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ว่าที่ ร.อ. พรเนตร ศรีทอง รองผอ.สพป.กจ.1 โทรศัพท์ 081-7634603 E-mail : p_srithong05@hotmail.com


12

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

วงจรคุณภาพ DEMING CYCLE : PDCA โดย Dr. Edward W.Deming

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการระบบการควบคุมภายใน 1) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542 2) ระเบี ย บคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ว่ า ด้ ว ยการก าหนดมาตรฐานการ ควบคุมภายใน พ.ศ. 2546 3) คาแนะนา การจั ดทารายงานการควบคุม ภายในตามระเบี ยบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 เล่มที่ 1 (รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 5) 4) คาแนะนา การจัดทารายงานการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 เล่มที่ 2 (รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6) 5) แนวทาง : การจั ด วางระบบการควบคุ ม ภายในและการประเมิ น ผลการ ควบคุมภายใน 6) พระราชกฤษฎีกาว่า ด้วยหลั กเกณฑ์และวิธีการการบริห ารกิจ การบ้า นเมือ ง ที่ดี พ.ศ. 2546 7) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 8) กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและจัด การศึกษา พ.ศ. 2550 9) ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องการกระจายอานาจ การบริห ารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้ น พื้นฐานไปยังคณะกรรมการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษาใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2550 10) กลยุทธ์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิดที่ใช้ในการดาเนินการ การบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ แนวใหม่ เน้ น การบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ อย่ า งมี คุณภาพ กระบวนการควบคุมภายในของหน่วยงาน จึงสอดรับกับหลักธรรมาภิบาล และ เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งเน้นการบริหารราชการที่มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ การมีสว่ นร่วม ความโปร่งใส การตอบสนอง ภาระรับผิดชอบ นิติธรรม การกระจายอานาจ และความ เสมอภาค เนื่องจากกระบวนการจัดวางระบบการควบคุมภายใน บุคลากรทุกระดับ และ ทุ ก คนในหน่ ว ยงานต้ อ งมี ส่ ว นร่ ว มในการด าเนิ น งานร่ ว มกั น การประเมิ น ระบบ การควบคุมภายใน มิใช่เป็นการประเมินเพื่อต้องจัดส่งรายงานตามระเบียบฯ ซึ่งต้องจัด ทาทุกปี แต่เป็นการประเมินตนเองในเบื้องต้น เพื่อให้ทราบถึงปัญ หา อุปสรรคในการ ดาเนินงาน และวางแผนเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กร อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป กระบวนการพัฒนา  เป้าหมายเชิงปริมาณ จั ด ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารจั ด วางระบบการควบคุ ม ภายในให้ แ ก่ ผู้ บ ริ ห าร สถานศึกษาหรือครูที่รับผิดชอบ จานวน 223 คน และเจ้าหน้าที่ สพป.กจ.1 จานวน 7 คน รวม 230 คน  เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูที่รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่สพป.กจ.1 มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทารายงานตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วย การกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 2) สพป.กจ.1 และสถานศึกษาในสังกัด สามารถรายงานผลการดาเนินงาน ได้ทันตามกาหนดเวลา 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา การดาเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดวางระบบควบคุมภายใน ของ สพป.กจ. 1 และสถานศึกษา เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้ดาเนินการตาม กระบวนการและขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุม ภายใน ขั้นตอนที่ 2 การรายงานและการหลอมรวม ขั้นตอนที่ 3 การรายงานการควบคุมภายในตามระเบียบฯ ข้อ 6 ขั้นตอนที่ 1 การเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุม ภายใน ให้กับบุคลากรและสถานศึกษาในสังกัด โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร ในการดาเนินงานได้ใช้กระบวนการบริหารและจัดการตามทฤษฎีของเดมมิ่ง ดังนี้ 1. การวางแผนการปฏิบัตงิ าน (PLAN) 1.1 ศึกษาระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแนวปฏิบัตทิ ี่เกี่ยวข้องกับ การจัดวางระบบควบคุมภายใน และผลการประเมินการดาเนินการที่ผ่านมา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

13


14

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1.2 จัดทาโครงการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารการจัดวางระบบควบคุมภายใน 1.3 กาหนดเนื้อหา กระบวนการ ขั้นตอนในการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร 1.4 จัดทาเอกสารประกอบการประชุม ประกอบด้วย  ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน  แนวทางการจัดทารายงานการประเมินผลการควบคุมภายในแนวใหม่  แนวทางการประเมินผลการควบคุมภายในด้วยตนเองพร้อมตัวอย่าง 1.5 กาหนดเป้าหมายผู้เข้ารับการอบรม 1.6 แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินโครงการ / ประชุมคณะกรรมการวางแผน ดาเนินการ 1.7 กาหนดเวลา / กิจกรรม-เนื้อหาสาระ ในการประชุม 1.8 วางแผนการใช้งบประมาณ 1.9 กาหนดสถานทีใ่ นการจัดประชุม 1.10 กาหนดตัว / เชิญวิทยากร 2. ดาเนินการตามแผน (DO) 2.1 จัดพิมพ์หนังสือแจ้งผู้เข้ารับการอบรม / หนังสือเชิญวิทยากร / หนังสือขอใช้ สถานที่ / หนังสือเชิญประธาน / คากล่าวรายงานพิธีเปิด -ปิด / จัดทาเกียรติ ตรมอบผู้เข้ า รับการอบรม / ทาหนั งสือขอบคุ ณวิทยากร – สถานศึก ษาที่ อนุเคราะห์สถานที่ในการประชุม / จัดทาบัญชีลงเวลาผู้เข้าร่วมประชุม 2.2 จัดเตรียมเอกสารที่ใช้ในการอบรม เอกสารประกอบการบรรยาย ระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน แบบฝึกปฏิบัติ 2.3 จัดเตรียมเอกสารเพื่อใช้ประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณ 2.4 ด าเนิน การประชุม เชิง ปฏิบั ติก ารการจั ด วางระบบควบคุ ม ภายใน ให้ แ ก่ บุคลากรใน สพป.กจ.1 และผู้รับผิดชอบจากสถานศึกษาในสังกัด 3. ตรวจสอบประเมินผล (CHECK) 3.1 การให้ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการทาแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม เพื่อ เป็นการประเมินผลความรู้ความเข้าใจผู้เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร 3.2 จัดทาแบบประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมประชุม ทาการวิเคราะห์ เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศในการปรับปรุงและพัฒนาการดาเนินงานต่อไป 3.3 การรายงานผลการประเมินให้ผู้บริหารได้รับทราบ 4. การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง (ACT) 4.1 ดาเนินการปรับปรุงงานที่ดาเนินการ ด้วยแบบประเมินผลความพึงพอใจของ ผู้เข้ า ร่ ว มประชุม โครงการประชุม เชิง ปฏิบัติการจั ด วางระบบการควบคุ ม ภายใน ของสพป.กจ.1 แบ่งแบบสอบถามออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกับสถานภาพของผู้ ต อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหน่ง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ตอนที่ 2 เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกั บความพึง พอใจของผู้ เข้ า ร่ ว มประชุม โครงการ ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ประกอบด้ ว ยข้ อ ค าถาม 9 ข้ อ ลั ก ษณะของ แบบสอบถามเป็นแบบตัวเลือก 5 ระดับ ตอนที่ 3 เป็นข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการนามา ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง ปัญหา-อุปสรรคในการดาเนินงานเพื่อเป็นการ พัฒนาคุณภาพในการปฏิบัตงิ านให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4.2 เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจผู้เข้าร่วมประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร ก่อน- หลังการประชุม ขั้นตอนที่ 2 การรายงานและการหลอมรวม ในการดาเนินงานขั้นตอนนีใ้ ห้ได้ ผลส าเร็ จ ต้ อ งใช้ ห ลั ก การบริ ห ารแบบมี ส่ ว นร่ ว ม (Participation Management) การบริหารงานในระบบนี้เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัตงิ านทุกระดับได้ใช้ความรู้ ความสามารถ ของตนเองให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน ในการร่วมประชุมปรึกษาหารือ ช่วยกัน ระดมความคิด มีวธิ ีการดาเนินงาน ดังนี้ 1) แต่งตั้งคณะทางานหลอมรวมรายงานการควบคุมภายใน โดยบุคลากรที่ได้รับ การแต่งตัง้ เป็นคณะทางานมาจากกลุ่มโรงเรียน เพื่อสะดวกในการดาเนินการหลอม รวมเนื่องจากมีสภาพสิ่งแวดล้อมในการควบคุมไม่แตกต่างกันมากนัก 2) ประชุมคณะทางานเพื่อวางแผน มอบหมายงาน และกาหนดการจัดส่งรายงาน 3) ประมวลผลภาพรวมของโรงเรียน/ กลุ่ม รายงานเป็ นภาพรวมของเขตพื้นที่ การศึกษา 4) แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส ทาหน้าที่รับผิดชอบการอานวยการเกี่ยวกับ การประเมินผลโดยรวม 5) เสนอรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ให้หน่วยตรวจสอบ ภายในของเขตพื้นที่การศึกษา ตรวจสอบทานก่อนรายงานผู้บังคับบัญชา ขั้นตอนที่ 3 การรายงานการควบคุมภายในตามระเบียบฯ ข้อ 6 1) ดาเนินการสรุป วิเคราะห์และประมวลผล จัดทารายงานการติดตามประ เมนผลการควบคุมภายในตามแบบ ปย.1 แบบ ปย.2 แบบติดตาม ปย.3และแบบ ปย. 3 โดยจัดทาเป็นรูปเล่ม ส่งให้คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ภูมิภาคที่ 12 และสพฐ. ภายในเก้าสิบวันนับจากสิน้ ปีงบประมาณ 2) ดาเนินการมอบรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในประจาปีให้ กลุ่มงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อนา มาตรการการป้องกันความเสี่ยงไปใช้ในการควบคุมการดาเนินงานตามภารกิจต่อไป แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) สพป.กจ.1 และสถานศึกษาในสังกัด สามารถจัดวางจัดวางระบบควบคุม ภายใน การประเมินผล และการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของการบริหารจัดการศึกษา บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) ผู้รับผิดชอบกาหนดกิจกรรมการควบคุม สามารถดาเนินการเพื่อลดหรือ ควบคุมความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสมอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

15


16

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) ช่ ว ยในการตั ด สิ น ใจของผู้ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด วางระบบควบคุ ม ภายในของ สพป.กจ. 1 และสถานศึกษา รู้จักการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยยกเลิก โครงการ/กิจกรรม เนื่องจากไม่คุ้มค่าในการจัดการควบคุม 4) การวางระบบควบคุมภายในยังช่วยลดการใช้ทรัพยากร ส่งผลต่อการดาเนินงาน ที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลมากขึ้น ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาหรือครูผู้รับผิดชอบ จานวน 223 คน และบุคลากรของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จานวน 7 คน รวม 230 คน ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารทุกคน 2) การจัดทารายงานการจัดวางระบบควบคุมภายในของสถานศึกษาและทุกกลุ่มใน สพป.กจ.1  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักเห็นความสาคัญของ การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และเกิดจิตสานึกดีในการควบคุมความ เสี่ยงให้อยูใ่ นระดับที่น่าพอใจ 2) สพป.กจ.1 และสถานศึกษา สามารถจัดทารายงานตามระเบียบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ได้อย่างถูกต้องและทันตามกาหนดเวลา 3) การปฏิบั ติง านของบุ ค ลากรในสพป.กจ.1 และสถานศึ ก ษา เป็ น ไปอย่า งมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สนิ ลดความบกพร่อง ความเสียหาย การรั่วไหล สิ้นเปลืองและการทุจริต  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ฝ่ายบริหารได้จัดให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขข้อตรวจพบจากการตรวจสอบและสอบ ทาน ได้อย่างเหมาะสมและทันเวลา 2) มีก ารเผยแพร่ คาแนะน าในการปฏิบัติต ามมาตรฐานการควบคุ ม ภายในของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ให้บุคลากรในสานักงานและผู้รับผิดชอบใน สถานศึกษา ให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง 3) จัดให้มีการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง ภายในสานักงานทุกระดับ 4) การบริหารการควบคุมภายในให้เป็นไปตามมาตรฐานการควบคุมภายในตามที่ คณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนดทั้ ง 5 องค์ ป ระกอบ ให้ มี ค วาม สอดคล้องสัมพันธ์กัน 5) การส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศให้บุคลากรทุกคน ได้เกิดความตระหนักถึง ความจ าเป็ น และความส าคั ญ ของการควบคุ ม ภายใน จึ ง จะทาให้ บุค ลากร ยอมรับการควบคุมที่องค์กรกาหนดขึน้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง วิธีการตรวจสอบซ้า การรายงานและการหลอมรวม ในการดาเนินงานขั้นตอนนี้ให้ได้ผลสาเร็จต้อง ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participation Management) การบริหารงานในระบบ นี้เ ปิ ด โอกาสให้ ผู้ ป ฏิ บั ติง านทุ ก ระดั บ ได้ ใ ช้ ค วามรู้ ความสามารถของตนเองให้ เ กิ ด ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน ในการร่วมประชุมปรึกษาหารือ ช่วยกันระดมความคิด มีวธิ ีการดาเนินงาน ดังนี้ 1) แต่งตั้งคณะทางานหลอมรวมรายงานการควบคุมภายใน โดยบุคลากรที่ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะทางานมาจากกลุ่มโรงเรียน เพื่อสะดวกในการดาเนินการ หลอมรวมเนื่องจากมีสภาพสิ่งแวดล้อมในการควบคุมไม่แตกต่างกันมากนัก 2) ประชุมคณะทางานเพื่อวางแผน มอบหมายงาน และกาหนดการจัดส่ง รายงาน 3) ประมวลผลภาพรวมของโรงเรียน/ กลุ่ม รายงานเป็นภาพรวมของเขต 4) แต่งตัง้ เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส ทาหน้าที่รับผิดชอบการอานวยการเกี่ยวกับ การประเมินผลโดยรวม 5) เสนอรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ให้หน่วยตรวจสอบ ภายในของเขตพื้นที่การศึกษา ตรวจสอบทานก่อนรายงานผู้บังคับบัญชา การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มคี วามทั่วถึงผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องทางจดหมายข่าว ทางสื่อ อิเลคทรอนิกส์ ทั้ง E –news , Facebook .

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

17


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

18

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาบุคลากรเพื่อคุณภาพการศึกษา ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

นายวิรัตน์ ชื่นเอี่ยม ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา โทรศัพท์ 081-9433107 E-mail : tay708@hotmail.com

การพัฒนาบุคลากรเพื่อคุณภาพการศึกษา ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ ของบุคลากรทาง การศึกษา เพื่อเป็นองค์กรขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยให้ สูงเทียบเท่าค่าเฉลี่ยของโลก ภายในปี 2563

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาบุคลากร เพื่อคุณภาพการศึกษา การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึก ษาตามกลยุ ทธ์ ข องสพฐ.ข้ อ ที่ 1 การพั ฒ นา คุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษา และกลยุ ท ธ์ ที่ 4 พั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรให้ สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับ จุดเน้น ของสพฐ. ทุกข้อ ต้องพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมและมีความรู้ความ เข้าใจ มีความสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อยกระดับคุณภาพครูโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน มุง่ เน้นให้ครูรวมกลุม่ กันวางแผนและพัฒนาเทคนิคกระบวนการ เรียนการสอน นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน เป็นครูดี ครูเก่ง มี ศักยภาพพร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลงเพื่อ การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ โดยมีระบบการนิเทศ จากศึกษานิเทศก์ กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ติดตามช่วยเหลือการปฎิบัติงานของครูให้ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน อย่างมีประสิทธิภาพ

กระบวนการพัฒนาบุคลากร เพื่อคุณภาพการศึกษา งานการรั นักเรียนมอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร  จัดบการประชุ  การศึกษาดูงาน  การเข้าค่าย

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาบุคลากร เพื่อคุณภาพการศึกษา พัฒนาการรายงานผลการรั บนักเรียผลส น าเร็จที่เกิดขึ้น ที่ โครงการ/กิ จกรรม 1 พัฒนาการจัด ครูผู้สอนระดับปฐมวัยทุกคนผ่านการอบรมประชุมเชิง การศึกษาปฐมวัย ปฏิบัติการ ได้รับการพัฒนาเพื่อจัดกิจกรรมต่างๆได้ตาม หลักสูตร ได้แก่  การสอนแบบโครงงาน  การจัดกิจกรรมตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์ น้อยประเทศไทย  การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่ดี(Best Pracice) และมีผลงานนาเสนอได้  การจัดการเรียนรูภ้ าษาพม่าสาหรับเด็กปฐมวัย  การพัฒนาการจัดการเรียนรูเ้ ด็กปฐมวัยร่วมกับ พ่อแม่ผู้ปกครอง 2

โครงการ คอมพิวเตอร์พกพา (Tablet)เพื่อ การศึกษาไทย

 ครูผู้สอนชั้นป.1 ผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ รองผอ.สพป. ผู้อานวยการกลุม่ ในสพป. ได้เข้ารับ การอบรมเชิงปฏิบัติการ มีความรู้ความเข้าใจ สามารถนาคอมพิวเตอร์พกพาไปใช้กับการเรียน การสอนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้

3

การขับเคลื่อนหลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่ สถานศึกษา

 ครูผู้สอน ผู้บริหารโรงเรียน ได้ศึกษาดูงาน สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ที่ ร.ร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย จ.เพชรบุรี ร.ร.บ้านหนองไผ่ จ.นครสวรรค์ และ ร.ร.วัดอินทารามฯ จ.กาญจนบุรี เพื่อนามาปรับใช้พัฒนาโรงเรียน เตรียมรับการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง

4

การประชุมเชิง ปฏิบัติการและ จัดการความรู้ เพื่อสร้างความเข็ม แข็งในการขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนตามจุดเน้น

 -ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนให้ มีความสามารถวางแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามจุดเน้น ตามหลัก Balance Score Card

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

19


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

20

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ที่ โครงการ/กิจกรรม 5 การพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอน ภาษาไทย

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้น ครูผู้สอนภาษาไทยได้รับการประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ จนมีความรูค้ วามเข้าใจ        

การใช้คู่มือครูภาษาไทยชั้น ป.1 เทคนิคการสอนภาษาไทยให้อ่านออกเขียนได้ การวิเคราะห์ผลการสอบ NT ชั้น ป.3 การวิเคราะห์ลักษณะข้อสอบการอ่านของ PISA และข้อสอบภาษาไทยของ ONET ชั้น ป.6-ม.3 การสอนการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน วรรณกรรมไทย การสอนการอ่าน การเขียน ตามตัวชี้วัดของ หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.2551 การพัฒนาผลงานการเขียนของครูและนักเรียน เพื่อส่งเข้าประกวดในวันภาษาไทยแห่งชาติ พัฒนาผู้บริหารโรงเรียนทุกคนให้สามารถส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กนักเรียนอ่านออกเขียนได้ และ อ่านคล่องเขียนคล่อง จัดค่ายพัฒนาการอ่านให้นักเรียนที่ใช้ภาษาถิ่นใน ชีวิตประจาวันมากกว่าภาษาไทย ให้กับผู้บริหาร ครู นักเรียน โรงเรียนบ้านถ้าองจุ

6

ส่งเสริมการเรียน การสอน ภาษาอังกฤษ

 ครูผู้สอนภาษาอังกฤษเข้าค่ายEnglish Camp พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และเทคนิคการสอน ภาษาเพื่อการสื่อสาร  ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน บุคลากรของ สพป. ฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ  พัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษให้สามารถวิเคราะห์ ข้อสอบ NT และ ONET ชั้นป.6 และ ม.3  การอบรมการใช้ส่ือการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษสาหรับครูระดับประถมศึกษา (Teacher’s Kit) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ประจาปี 2555

7

ส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนภาษา พม่าเพื่อเตรียม ความพร้อมสู่ ประชาคมอาเชียน

 จัดอบรมการใช้ภาษาพม่าเพื่อการสื่อสารให้กับ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน รวมทั้งจัดทาเอกสาร และCD ประกอบ  จัดอบรมเกี่ยวกับรายวิชาเพิ่มเติมภาษาพม่า ครูผู้สอนสามารถนาไปใช้สอนได้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ที่ 8

โครงการ/กิจกรรม การพัฒนาครูผู้สอน วิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์

9

การประชุมเชิง ปฏิบัติการพัฒนา และยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนการสอนสังคม ศึกษาสาระ เศรษฐศาสตร์ การพัฒนาการ ประกันคุณภาพ ภายใน

 ครูมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดกิจกรรมการ เรียนรูส้ าระเศรษฐศาสตร์ได้อย่างชัดเจนและมี คุณภาพ

การพัฒนา สมรรถนะครูดา้ น การจัดการเรียนรูใ้ น โรงเรียน มาตรฐานสากล การพัฒนาการวัด และประเมินผล

 ประชุมอบรมครูผู้สอนให้สามารถจัดการเรียนรูใ้ น โรงเรียนมาตรฐานสากล(World Class Standard School)

10

11

12

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้น  ประชุมอบรมครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ ด้วยระบบทางไกล ETV เพิ่ม ประสิทธิภาพการสอน ทาให้มคี ุณภาพสูงขึ้น

 ประชุมอบรมพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนทุกโรงเรียน ให้มีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกัน คุณภาพภายใน สามารถนาไปวางแผนพัฒนา คุณภาพได้

 ประชุมอบรมครูวิชาการโรงเรียน พัฒนาเครื่องมือ การวัดและประเมินผลการคิด  ประชุมอบรมครูวัดผลโรงเรียน ให้มคี วามรู้ความ เข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบการวัดและ ประเมินผล ในสถานศึกษา  ประชุมอบรมครูวิชาการโรงเรียน ให้สามารถ วิเคราะห์ผลการสอบและข้อสอบ ONET

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

21


22

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กีฬาสัมพันธ์ครูโรงเรียนเอกชนจังหวัดกาญจนบุรี

นายวัฒนะ ปลาตะเพียนทอง ผอ.กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน โทรศัพท์ 081-9439625 E-mail : watna_pla@yahoo.co.th

กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน มีอานาจหน้าที่กากับ ดูแล ประสานงาน ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน การ ปฏิบัตงิ านร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ ได้ รั บมอบหมาย และด าเนิน การอื่ น เกี่ ย วกั บ งานการศึก ษาเอกชนที่ ก ฎหมาย กาหนด จากบริบทดังกล่าวเห็นว่าผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนเป็นพลังสาคัญที่ จะต้ อ งได้ รั บ การส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ดู แ ลให้ มี ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า ทางด้ า น สติปัญญา อารมณ์ สังคม และร่างกาย ตลอดจนบุคลิกภาพ การสร้างความมั่นใจ ทางด้านการแสดงออก ดังนั้น “กีฬา” จึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะพัฒนาครูให้มีสุขภาพพลานามัย สมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยัง เป็นการพบปะสร้างความใกล้ชิด รับรู้สภาพปัญหา ความต้องการ ความพร้อมของ แต่ละบุคคล การสร้ างเสริมความสามั คคีสัมพันธ์ที่ดีระหว่า งกัน การใช้ชี วิตใน สังคมและการบริหารอารมณ์

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาการดาเนินงาน กีฬาสัมพันธ์ครูโรงเรียนเอกชนจังหวัดกาญจนบุรี กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สถานศึ ก ษาเอกชน ร่ ว มกั บ คณะกรรมการประสานและ ส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้กาหนดจัดแข่งขันกีฬาสัมพันธ์ครู โรงเรียนเอกชนจังหวัดกาญจนบุรีข้นึ ภายใต้โครงการหลัก พัฒนาผู้บริหารและ ครูโรงเรียนเอกชนในระดับจังหวัด โดยมีกิจกรรม 4 ขั้นตอน คือ PDCA (Plan, Do, Check., and Act) เป็น กิ จ กรรมพื้ น ฐานในการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพ และ คุณภาพของการดาเนินงาน

ดังนั้นวงล้อเดมมิ่ง หรือวงล้อ PDCA จึงเป็นวิธีการที่เป็นขั้นตอนในการ ทางานให้ ง านเสร็ จ อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเชื่ อ ถื อ ได้ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย การ วางแผน (plan) การนาแผนไปสู่การปฏิบัติ (Do) การตรวจสอบผลการปฏิบัติ (Check) และการปฏิบัติการแก้ไขปัญหาที่ทาให้งานไม่บรรลุเป้าหมายตามแผนที่ วางไว้ (Act) ดังนัน้ การหมุนวงล้อเดมมิ่ง (PDCA) อย่างต่อเนื่อง จึงเป็นสิ่งสาคัญที่ ทาให้การบริหารงานบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

23

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผังกระบวนทางานกีฬาสัมพันธ์ครูโรงเรียนเอกชนจังหวัดกาญจนบุรี

ตารางการเปรียบเทียบผลที่เกิดจากการดาเนินงาน รายการ 1. สถานศึกษา เอกชนในระบบของ จังหวัด 2. จานวนผูบ้ ริหาร ครู โรงเรียนเอกชน ทั้งจังหวัด

ข้อเปรียบเทียบการดาเนินโครงการ ข้อมูลเดิม ผลสาเร็จ สถานศึกษาเอกชนในระบบ สถานศึกษาเอกชนในระบบเข้าร่วม จานวน 25 แห่ง กิจกรรมครบ 25 แห่ง สถานศึกษาเอกชนนอกระบบ สถานศึกษาเอกชนนอกระบบเข้าร่วม จานวน 25 แห่ง กิจกรรม 4 แห่ง 909 คน 811 คน

แบ่งนักกีฬาเป็น 4 ทีม (สี่สีเท่า ๆ กัน) จัดขบวนพาเหรดนักกีฬา

3. กิจกรรมที่ ดาเนินการ

4. งบประมาณที่ ได้รับสนับสนุนจาก สช.

จัดประกวดกองเชียร์ จัดการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน และ กีฬาสากล มอบถ้วยรางวัลการแข่งขันและ รางวัลกองเชียร์ งานเลีย้ งสังสรรค์และบันเทิง 190,000 บาท

แบ่งนักกีฬาเป็น 4 ทีม (สี่สีเท่า ๆ กัน) มีวงดุริยางค์นาขบวนพาเหรด เดินลงสู่ สนาม แต่งตัวแฟนซีอย่างหลากหลาย จัดแข่งขันกีฬาสากล 2 ชนิด กีฬา พืน้ บ้าน 2 ชนิด มอบรางวัลชนะเลิศแต่ละชนิดกีฬา และรองชนะเลิศ มีผู้ร่วมงาน จานวน 1,100 คน และจับ ฉลากมอบของที่ระลึก จานวน 80 ชิน้ 190,000 บาท สมทบเพิ่มจาก สถานศึกษาเอกชน จานวน 30,330 บาท

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


24

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินงาน 1) ผู้ บ ริ ห าร และครู โ รงเรี ย นเอกชน มี ค วามตระหนั ก ในเรื่อ งส่ ง เสริ ม สุขภาพพลานามัย 2) ผู้บริหาร และครูโรงเรียนเอกชน มีสมรรถนะในการปฏิบัตงิ านได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3) ผู้บริหาร และครูโรงเรียนเอกชน ได้พักผ่อนหย่อนใจ พบปะแลกเปลี่ยน มีประสบการณ์

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) รายงานผลการดาเนินโครงการต่อสานักงานคณะกรรมการส่งเสริ ม การศึกษาเอกชน 2) ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินโครงการทางเว็บไซค์ของ สพป.กจ.เขต 1 3) เผยแพร่โดยสถานศึกษาเอกชน 4) ขยายผลโดยการประสานกั บ กลุ่ ม เครื อ ข่ า ย เช่ น สถานศึ ก ษาต่ อ สถานศึกษา ผู้อานวยการกลุ่มต่อผู้อานวยการกลุ่ม

ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินกีฬาสัมพันธ์ครูโรงเรียนเอกชนจังหวัด กาญจนบุรีประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ความร่วมมือ ความร่วมแรง ความร่วมใจของบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ความมีน้าใจเป็นนักกีฬา ความรักสามัคคีในองค์กร

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

25

การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT สานัก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน กาหนดว่า ผู้ เรี ยนทุก คน มี คุ ณ ภาพตามมาตรฐานการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานและพั ฒ นาสู่ ค วามเป็ น เลิ ศ ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่อนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพืน้ ฐานอย่างทั่วถึงและเสมอภาค สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึ ก ษามี ค วามเข้ ม แข็ ง ตามหลั ก ธรรมาภิ บ าลและเป็ น กลไกขั บ เคลื่ อ น การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สู่คุณภาพระดับมาตรฐานสากล สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการ เรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับ โอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และกลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพ การบริ ห ารจั ด การศึ ก ษาตามแนวทางการกระจายอ านาจทางการศึ ก ษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา

วัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT  สพป.กจ. 1 มีระบบข้อ มูล ที่ เชื่อมโยงกับหน่ว ยงานทางการศึก ษา และหน่วยงานอื่น ๆ  สพป.กจ. 1 พั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากร เพื่อ จั ด ท าข้ อ มู ล สารสนเทศทาง การศึกษาของโรงเรียน และเขตพื้นที่การศึกษา  สพป.กจ. 1 มี ข้ อ มู ล สารสนเทศทางการศึ ก ษาเพื่ อ ใช้ ใ นบริ ห ารจั ด การศึกษาถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน  สพป.กจ. 1 มีการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาทั้ งเอกสาร และระบบอิเล็คทรอนิกส์

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT ระบบข้อมูลสารสนเทศ หมายถึงระบบงานที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูล กระบวนการจัดทาระบบข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นหมวดหมู่อย่างเป็น ระเบียบแบบแผน สะดวกในการใช้งาน สามารถนามาใช้ในการตัดสินใจ วางแผน ควบคุ ม งาน ได้อ ย่างถูก ต้องมีประสิ ทธิภ าพ ให้ แ ก่บุค คลหรือ หน่ว ยงานต่าง ๆ ภายในองค์กรและมีการเชื่อมโยงภายนอกองค์กรอย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปช่วย สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารในทุกระดับ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางวิลาวัลย์ ทองแย้ม ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน โทรศัพท์ 086-1760133 E-mail : wilawan07@hotmail.com


26

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล/จัดทาสารสนเทศ การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ การเผยแพร่นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ

กระบวนการตรวจสอบคุณภาพ /แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ใช้โปรแกรมข้อมูลสารสนเทศตรวจสอบคุณภาพ โดยจัดประมวลผลข้อมูลทุก รายการแล้วนามาจัดทาเป็นสารสนเทศทางการศึกษา การนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ทางการศึกษาด้วย ICT ไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1) ครู และผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นต่ า ง ๆ สามารถน าข้ อ มู ล สารสนเทศทาง การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทั้ง ทางด้ า นคุ ณ ภาพและโอกาสทางการศึ ก ษาของนั ก เรี ย นได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 2) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สามารถนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวาง แผนการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนได้อย่างมี คุณภาพและหลากหลายวิธีการ 3) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา สามารถรับทราบข้อมูลสารสนเทศ ทางการศึ ก ษา และเชื่ อ มโยงบู ร ณาการในการจั ด การศึ ก ษาร่ ว มกั บ โรงเรียน ชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามความต้องการของ ผู้เรียนและท้องถิ่นอย่างแท้จริง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จในการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  สพป.กจ. 1 มี ร ะบบข้ อ มู ล สารสนเทศทางการศึ ก ษาที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก กลุ่มเป้าหมาย  ครูและบุคลากร ได้รับการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ทุกโรงเรียน  โรงเรียน หน่วยงานทางการศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถเชื่อมโยง ข้อมูลสารสนเทศได้อย่างเป็นระบบ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  สพป.กจ. 1 สามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ  นักเรียนทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงมีคุณภาพ ครู แ ละบุ ค ลากร ได้ รั บการพั ฒ นาการจั ด เก็ บข้ อ มู ล สารสนเทศทางการศึ ก ษาทุ ก โรงเรียน ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง  จากการประเมินตามคารับรองการปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2555 สพป.กจ. 1 ได้คา่ คะแนนระดับ 5

ปัจจัยที่ทาให้การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาด้วย ICT จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดาเนินการทุกส่วน ตั้งแต่ การจัดเก็บข้อมูลของนักเรียน ครู โรงเรียน การจัดกระทาข้อมูล โดยหาวิธีการ เทคนิคใหม่ ๆ มาพัฒ นาครูแ ละบุคลากร จัดทาคู่ มือการดาเนิน การจัด ทาข้ อมู ล สารสนเทศให้ กั บโรงเรี ย น เพื่ อ ใช้เ ป็ น แนวทางในการด าเนิน งานได้ อ ย่า งถู ก ต้อ ง สะดวก รวดเร็วการเผยแพร่ข้อมูล และการนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการ เรียนการสอน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

27


28

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ การบริหารงานวิชาการ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 นายวินยั ธรรมเกื้อกูล ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ โทรศัพท์ 086-8911377 E-mail : kuekool11@hotmail.com

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 1) เพื่ อ ทราบระดั บ การประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษา สั ง กั ด สพป.กจ.1 2) เพื่อทราบระดับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสพป.กจ.1 3) เพื่อทราบแนวทางการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อการบริหารงาน วิชาการของสถานศึกษา สังกัดสพป.กจ.1 ระยะเวลาในการพัฒนา มีนาคม 2554 – กันยายน 2555 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย ดาเนินการตามนโยบายของของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานดังนี้  กลยุทธ์ที่ 5  ก าหนดให้ มีก ารพั ฒ นาประสิ ทธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การศึก ษา ตามแนว ทางการกระจายอานาจ ทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจาก ทุ ก ภาคส่ ว นและความร่ ว มมือ กั บองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เพื่อ ส่ ง เสริ ม และ สนับสนุนการจัดการศึกษา  จุดเน้น  ข้อที่ 10 สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบการประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและ ได้รับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษา ในพืน้ ที่ชนบท โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และโรงเรียนสูม่ าตรฐานสากล แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา  ผู้พัฒนา ได้นาแนวคิดและทฤษฎีของ แคทซ์และคาห์น (Daniel Katz and Robert L. Kahn) ที่ กล่ า วถึง ว่า องค์ก รของหน่วยงานเป็ น ระบบ ๆ หนึ่ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยองค์ ประกอบหรือ ส่ ว นส าคั ญ คื อ ตั ว ป้ อ น (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้มี ความสัมพันธ์กับ สภาพแวดล้อม (context) ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา โดยที่ตัวป้อน (input) ของสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ อาคารสถานที่ นโยบาย เป็นต้น โดยผ่านกระบวนการ (process) อันประกอบด้วย 1) การบริหาร 2) การนิเทศ 3) การเรียนการสอน จน เกิดเป็นผลผลิต (output) คือ คุณภาพของการบริหารงานวิชาการ ได้แก่ คุณภาพ ของผู้เรียน ความพึงพอใจของครู ผู้ปกครอง และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่าย

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

29

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมายในการนา ไปใช้ โรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1 จานวน 147 แห่ง  ขั้นตอนการพัฒนา สภาพแวดล้อม (Context)

ปัจจัยนาเข้า (Input)

        

นโยบายรัฐ เศรษฐกิจ สังคม วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ งบประมาณ ทรัพยากรอื่น ผู้ปกครอง ครูและ บุคลากร  ผู้บริหาร

กระบวนการ (Process)

การประกันคุณภาพ ภายใน สถานศึกษา

ผลผลิต (Output)

ประสิทธิผลของ สถานศึกษา

การจัดการเรียนการสอน การนิเทศภายใน

ผลย้อนกลับ (Feedback)

แผนภูมทิ ี่ ที่มา

: กรอบแนวคิดของการวิจัย : Daniel Katz and Robert L. Kahn, “The Social Psychology of Organizations , and Ed.” (New York : John Wiley & Son , 1978) , 20. : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน , แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด 2554 ).

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


30

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ เป็นการติดตามตรวจสอบของคณะกรรมการของ สถานศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จากสพป.กจ.1 ในการติ ด ตามตรวจสอบการ ปฏิบัตงิ าน ดังนี้ 1) ตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2) รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียน (SAR) 3) โครงการ / กิจกรรมต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานกาหนด 4) การดาเนินงานตามนโยบาย วัตถุประสงค์ ตัวชีว้ ัด  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ โดยดาเนินการให้มกี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ 1) ให้มีการใช้ข้อมูลอย่างชาญฉลาด (Data Wise) 2) มีการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 3) รู้จักการใช้ประโยชน์จากผลการประเมิน (Evaluation Utilization) 4) การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Network) ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  ทุกโรงเรียนในสังกัด สพป.กจ.1 จานวน 147 แห่งได้รับการพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  ทุกโรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1 จานวน 147 แห่งได้รับการประเมิน คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา  ทุกโรงเรียนในสังกัด สพป.กจ.1 จานวน 147 แห่งได้รับการพัฒนา การศึกษาอย่างต่อเนื่อง  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ เกี่ยวข้อง มีความพึงพอใจร้อยละ 100  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา /ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา ไป ใช้  ปั จ จั ย ด้ า นบุ ค คล ได้ แ ก่ ผู้ บริ ห ารสถานศึ ก ษา ครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึกษา ที่ได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถใน การดาเนินการด้านการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา  ปัจจัยด้านทรัพยากร เทคโนโลยี และงบประมาณ ได้แก่ ห้องเรียน อาคารสถานที่ สิ่ ง อ านวยความสะดวก หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา แหล่ ง เรี ย นรู้ เทคโนโลยี งบประมาณ มีค วามเหมาะสม มีค วามหลากหลาย เพียงพอต่อ การ พัฒนาคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า  จัดให้มีระบบการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา  การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา  สถานศึกษามีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง  การจัดระบบการบริหารและสารสนเทศ  การใช้ประโยชน์จากผลการประเมิน  การพัฒนาระบบการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในระยะตุลาคม 2555 โดยจัดทาในรูปแบบรายงานการวิจัย 2) เผยแพร่ในระบบเครือข่าย On-line ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3) ลงในบทความวารสารวิชาการของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4) สรุปรายงานชีแ้ จงในวาระการประชุมผู้บริหารระดับเขตพื้นที่การศึกษา 5) เผยแพร่ไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

31


32

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

รายงานการพัฒนาการดาเนินงานรับนักเรียน ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

นางสุธินนั ท์ พูลสมบัติ นักวิชาการศึกษาชานาญการ โทรศัพท์ 089-2542615 E-mail : siriwan_2516@hotmail.com

ตามที่ ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ก าหนดให้ มี ก าร ดาเนินงานและรายงานผลการรับนักเรียนบนเว็บไซต์ ทุกปี เพื่อส่วนกลางมีระบบ ฐานข้อมูลการรับนักเรียนที่ครบถ้วน สมบูรณ์ นาไปใช้ประโยชน์ได้ทันเวลา พร้อมกับ สามารถสรุปและรายงานผลการรับนักเรียนให้ผู้ปกครอง หรื อประชาชนทั่วไป เข้าไป สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ตามที่ ต้ อ งการได้ ใ นเวลาอั น รวดเร็ ว สพป.กจ.1. ได้ ด าเนิ น งาน รั บนั ก เรี ย นอย่า งมีป ระสิ ท ธิ ภ าพต่อ เนื่อ งและจริ ง จั ง และการจั ด ทารายงานการ พัฒนาการดาเนินงานรับนักเรียน ของสพป.กจ.1 ครัง้ นี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อพัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียนของสพป.กจ.1  เพื่อสรุปและรายงานผลการรับนักเรียน ปีการศึกษา 2555 ของโรงเรียนใน สังกัดสพป.กจ.1  เพื่อทราบความคิดเห็นต่อการดาเนินงานการรับนักเรียน ปีการศึกษา 2555 ของโรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1  เพื่ อ ทราบสภาพปั ญ หาการรั บ นั ก เรี ยน ปี ก ารศึ ก ษา 2555 และ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการรับนักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ใน ดาเนินงานการรับนักเรียน

การพัฒนาการ

พัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียน ด้วยกระบวนการ 13 ขั้นตอน และ พัฒนาด้วย วงจรคุณภาพ PDCA ดังนี้ 1. การวางแผน (P-Plan) 1.1 วิเคราะห์สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะจากการดาเนินงานในปีการศึกษาที่ ผ่านมา 1.2 กาหนดทิศทางการดาเนินงานการรับนักเรียนในปีการศึกษาปัจจุบัน 1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการรับนักเรียน ระดับเขตพื้นที่ 1.4 ประชุมและวางแผนการดาเนินงาน 2. การปฏิบัติ (D-Do) 1.5 ดาเนินการจัดทาสามโนประชากร รายอายุตั้งแต่ 0-18 ปี ภายในเขตพื้นที่ การศึกษา 1.6 จัดตัง้ ศูนย์ประสานงานการรับนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 1.7 ดาเนินการประชาสัมพันธ์และรณรงค์การนาเด็กในปกครองเข้าเรียน ให้ โรงเรียนผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 1.8 จัดประชุมอบรมให้ความรู้กับครูที่รับผิดชอบ (สามะโนประชากรและการ รายงานผล) 1.9 โรงเรียนดาเนินการตามประกาศ 1.10 โรงเรียนรายงานผลการดาเนินงาน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

33

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3. การตรวจสอบ (C-Check) 1.11 ติดตามและตรวจสอบผลการดาเนินงานโรงเรียนในสังกัด 1.12 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน 4. การปรับปรุงแก้ไข (A-Act) 1.13 นาปัญหาและข้อเสนอแนะวางแผนพัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียน ในปี การศึกษาต่อไป

กระบวนการพัฒนางานการรับนักเรียน กระบวนการ BP การวางแผน (P-Plan) 1.1 วิเคราะห์สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะจากการดาเนินงาน ในปีการศึกษาที่ผ่านมา 1.2 กาหนดทิศทางการดาเนินงานการรับนักเรียนในปีการศึกษา ปัจจุบัน 1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการรับนักเรียน ระดับเขตพืน้ ที่ 1.4 ประชุมและวางแผนการดาเนินงาน การปฏิบัติ (D-Do) 1.5 ดาเนินการจัดทาสามโนประชากร รายอายุตั้งแต่ 0-18 ปี ภายในเขตพืน้ ที่การศึกษา 1.6 จัดตั้งศูนย์ประสานงานการรับนักเรียน 1.7 ดาเนินการประชาสัมพันธ์และรณรงค์การนาเด็ก ในปกครองเข้าเรียน ให้โรงเรียน ผู้ปกครองและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.8 จัดประชุมอบรมให้ความรู้กับครูที่รับผิดชอบ (สามะโน ประชากรและการรายงานผล) 1.9 โรงเรียนดาเนินการตามประกาศฯ 1.10 โรงเรียนรายงานผลการดาเนินงาน การตรวจสอบ (C-Check) 1.11 ติดตามและตรวจสอบผลการดาเนินงานโรงเรียนในสังกัด 1.12 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน การปรับปรุงแก้ไข (A-Act) 1.13 นาปัญหาและข้อเสนอแนะวางแผนพัฒนาการดาเนินงาน การรับนักเรียน ในปีการศึกษาต่อไป

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

เป้าหมาย/จุดเน้น ของสพป. ประชากรวัยเรียนทุก คนได้รับโอกาส ในการศึกษาขั้น พืน้ ฐานอย่างทั่วถึง และเสมอภาค


34

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนการพัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียน ของ สพป.กจ.1 1.1 วิเคราะห์สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะ 1.2 กาหนดทิศทางการดาเนินงาน

P

1.3 แต่งตัง้ คณะกรรมการ 1.4 ประชุมและวางแผน 1.5 ดาเนินการจัดทาสามะโนประชากร 1.6 จัดตั้งศูนย์ประสานงานการรับนักเรียน 1.7 ดาเนินการประชาสัมพันธ์และรณรงค์

ข้อมูลป้อนกลับ

D

(Feedback)

1.8 จัดประชุมอบรม 1.9 โรงเรียนดาเนินการ

1.10 โรงเรียนรายงานผลการดาเนินงาน 1.11 ติดตามและตรวจสอบผล

C

1.12 สรุปและรายงานผล

1.13 นาปัญหาและข้อเสนอแนะวางแผนพัฒนาฯ ในปีการศึกษาต่อไป

A

ข้อค้นพบแนวทางการพัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียน ของสพป.กจ.1 พัฒนาโดย นางสุธนิ ันท์ พูลสมบัติ ตาแหน่งนักวิชาการศึกษาชานาญการ สพป.กจ.1

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาการรายงานผลการรับนักเรียน จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการดาเนินงานตามขัน้ ตอน กระบวนการ สามารถน าไปใช้ประโยชน์ ต่อ การจั ด ทาคู่ มือ การรายงานผลการรั บนั ก เรี ย น โดย สอดแทรกกระบวนการตาม BP เพื่อให้โรงเรียนยึดเป็นแนวปฏิบัติการรับนักเรียนใน สังกัดและการรายงานผล โดยมีผลสาเร็จเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ดังนี้  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ วัตถุประสงค์ ผลสาเร็จ 1. เพื่อพัฒนาการดาเนินงานการ 1.ผลการพัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียน ในปี รับนักเรียนของสพป.กจ.1 การศึกษา 2555 สูงกว่า ปีการศึกษา 2554 ร้อยละ 2.37 2. เพื่อสรุปและรายงานผลการ 2. โรงเรียนมีผลการรับนักเรียน จาแนกเป็น 3 ระดับ รับนักเรียน ปีการศึกษา 2555 ดังนี้ ของโรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1 2.1 ระดับอนุบาล 1 ร้อยละ 91.82 2.2 ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 89.97 2.3 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 87.89 เฉลี่ยรวม ร้อยละ 89.89 3. เพื่อทราบความคิดเห็นต่อ 3. ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยกับแนวปฏิบัติการรับ การดาเนินงานการรับนักเรียน นักเรียนของ สพป.กจ.1 จาแนกตามระดับ ดังนี้ ปีการศึกษา 2555 ของ 2.1 ระดับอนุบาล 1 ร้อยละ 92.06 โรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1 2.2 ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 96.60 2.3 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 91.47 เฉลี่ยรวม ร้อยละ 93.38 4. เพื่อทราบสภาพปัญหาการรับ 4. สภาพปัญหาการรับนักเรียน ในปีการศึกษา 2555 นักเรียนปีการศึกษา 2555 และ ลดลงจากปีการศึกษา 2554 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการรับ นักเรียน ของโรงเรียนในสังกัด สพป.กจ.1

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

35


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

36

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียน ของสพป.กจ.1 2. เพื่อสรุปและรายงานผลการรับนักเรียน ปี การศึกษา 2555 ของโรงเรียนในสังกัด สพป.กจ.1 3. เพื่อทราบความคิดเห็นต่อการดาเนินงาน การรับนักเรียน ปีการศึกษา 2555 ของ โรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1 4. เพื่อทราบสภาพปัญหาการรับนักเรียน ปี การศึกษา2555 และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ รับนักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดสพป.กจ.1

ผลสาเร็จ 1. การดาเนินงานรับนักเรียน มีการพัฒนา และมีคุณภาพมากขึน้ 2.ผลการรับนักเรียนเป็นไปตามเป้าหมาย ของ สพป.กจ.1 คือ สูงกว่าร้อยละ 85 3.โรงเรียนมีความพึงพอใจในการ ดาเนินงานของสพป.กจ.1 ในระดับมาก 4.สภาพปัญหาการดาเนินงานการรับ นักเรียนลดลง

ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินงานการพัฒนาการดาเนินงานการรับนักเรียน ของ สพป.กจ.1 ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย  การดาเนินงานตามกระบวนการของ BP และบริหารการรับนักเรียน ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA ประสบการณ์เรียนรูจ้ ากการนา BP ไปใช้  การดาเนินงานตามขั้นตอน ซึ่งควบคุมด้วยวงจรคุณภาพ PDCA จะ ทาให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพ ผลการดาเนินงาน บรรลุตาม เป้าหมาย และปัญหาอุปสรรคน้อยลง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) การจัดทารายงานการพัฒนาการดาเนินงานรับนักเรียน สพป.กจ.1 2) เผยแพร่ ผ ลการด าเนิ น งานและข้ อ มู ล การรั บ นั ก เรี ย น บนเว็ บ ไซต์ สพป.กจ.1

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

37

การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สพป.กจ.1 เป็นส่วนราชการในการกากับดูแลและสนับสนุนส่งเสริมการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดทุก แห่งได้มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ตอบสนองเป้าประสงค์ การจัดการศึกษาภายใต้ 9 ประเด็นยุทธศาสตร์ อันได้แก่ 1) การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน/ ประชาคมโลก 2) การพั ฒ นาสถานศึก ษาและองค์ ค วามรู้ 3) การพั ฒ นาเทคโนโลยีแ ละเครื่อ งมื อ อุปกรณ์ 4) การพัฒนาครูทั้งระบบ 5) การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน 6) การวิจัยและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ 7) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา 8) การส่งเสริมการมีงานทา 9) การบริหารจัดการกลยุทธ์ของกระทรวงศึกษาธิการ และน้อมนาแนวพระราชดาริใน การพัฒนาประเทศไปสู่การปฏิบัตใิ ห้บังเกิดผล การดาเนินงานของ สพป.กจ.1 เพื่อสร้างองค์ความรู้ สร้างวัฒนธรรมองค์กร ในทางที่ดี พัฒนารูปแบบการทางาน ตลอดจนค่านิยมที่เน้นความร่วมมือ ร่วมใจ เน้น ความมีคุณภาพ มาตรฐาน ให้เข้มแข็งมีพลัง พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมสูป่ ระชาคมอาเซียน/ ประชาคมโลก โดยเฉพาะการสร้างภาวะผู้นาให้เกิดขึ้น แก่บุคลากรการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน ทุกตาแหน่ง ให้บรรลุผลสูงสุดดั่งที่ตั้งไว้ และ การแลกเปลี่ย นแนวปฏิบัติที่เป็ น เลิ ศ (Best Practice) ของสพป.กจ.1 ครั้ งนี้ มี วัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือและมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ (Best Practice) ระหว่างหน่วยงาน  ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารประเมิ น หน่ ว ยงานและบุ ค คล เที ย บกั บ เกณฑ์ ร างวั ล ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) เพื่อการพัฒนาคุณภาพหน่วยงานและ ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัตงิ านของตนเองได้อย่างมีประสิทธิผล

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice) พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)โดยนา หลักการปฏิรูประบบราชการ เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการทางาน พรฎ.หลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (PMQA) ทฤษฎีการบริหารทรัพยากร บุคคล ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 กรอบการประเมินผล การปฏิบัตริ าชการ และเกณฑ์รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS บูรณาการ เป็นบันไดสู่ความสาเร็จ 5 ขั้นตอน ซึ่งได้แก่ 1) การรับรู้ 2) 3) 4) 5)

การประเมินตนเอง การยอมรับ การสร้างแรงสนับสนุน การพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาวปิยนาถ สืบเนียม นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ โทรศัพท์ 089-9189294 E-mail : poopiyanard@gmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

38

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) สพป.กจ.1 บันไดสู่ความสาเร็จ 5 ขั้นตอน 5. การพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานเครือข่ายสายใยสัมพันธ์ด้วยใจ 5.1 การจัดเวทีคุณภาพ เพื่อแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ 5.2 การพัฒนาระบบและปัจจัยที่สนับสนุนกระบวนการพัฒนาระบบคุณภาพ 5.3 Best Practice การสร้างความพึงพอใจต่อผู้รับบริการและการให้บริการเชิงรุก 5.4 สนับสนุนหน่วยงาน/บุคคลที่ปฏิบัติงาน/วิจัยดีเด่น รับรางวัลพระราชทาน/ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ

4. การสร้างแรงสนับสนุน

2. การประเมินตนเอง

1. การรับรู้

เพื่อเพิ่มแรงสนับสนุน 4.1 สร้างระบบจูงใจ การยกย่องชมเชยและ การให้รางวัลจากผลลัพธ์ที่เหนือกว่า ความคาดหวัง และส่งผลดีต่อองค์กร 4.2 สร้างระบบ IT ในการจัดการความรู้ เพื่อ ช่วยลดขั้นตอน ลดภาระของบุคลากร 3. การยอมรับ 4.3 สร้างคู่มือ/สื่อ/การวิจัยนาไปสู่การประเมิน คุณภาพภายนอกและภายใน 4.4บัตพัิให้ฒตนารงกันทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้ความรู้ และลงมือปฏิ 3.1 แผน/โครงการ/กิจกรรมต่างๆ 3.2 จัดประชุม อบรม สัมมนา ฝึกอบรม 3.3 การกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการทาปฏิบัติงานและ การถ่ายทอดแผนงานระดับองค์กร สูห่ น่วยงาน/บุคคล 3.4 การจัดการสูค่ วามสาเร็จ

เพื่อวางแผนการปฏิบัติงานและปรับปรุงตนเองเทียบเคียงเกณฑ์รางวัลทรงคุณค่าของ สพฐ. OBEC AWARDS 2.1 วัดและเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับหลักเกณฑ์ในการตัดสินกาหนดให้หน่วยงาน/ บุคคลที่จะได้รับรางวัล เพื่อการปรับปรุงสถานะของตนเองและหน่วยงาน 2.2 ออกแบบและสร้างระบบงาน 2.3 การจัดเก็บหลักฐาน เอกสารอ้างอิงตามองค์ประกอบและตัวชีว้ ัดตามภาระงาน

เพื่อทราบถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมของ สพฐ. สพป.กจ.1 จังหวัดกาญจนบุรี 1.2 แผนยุทธศาสตร์การดาเนินงานที่สาคัญของ สพฐ. สพป.กจ.1 จังหวัดกาญจนบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 1.3 เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา / ศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ / เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา

“ทุกคน ทุกตาแหน่ง” มีพนื้ ฐานความเข้าใจร่วมกัน และร่วมเป็นสมาชิกของเครือข่ายสายใยสัมพันธ์ด้วยใจ สพป.กจ.1 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 กลุ่มเป้าหมายในการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ได้แก่ บุคลากร ทุกคน ทุกตาแหน่ง และหน่วยงานในสังกัด ทุกแห่ง  การตรวจสอบคุณภาพ โดยวิธีการ 1) การสัมภาษณ์ 2) การสอบถาม 3) ประเมินความพึงพอใจ 4) การประเมินตนเอง 5) การรายงานผลกิจกรรม/โครงการ  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ สพป.กจ.1 และสถานศึกษามีวิธีปฏิบัติ (Best Practice) ด้านวิชาการ ด้าน บริหารจัดการ และด้านนวัตกรรม จากเครือข่ายสายใยสัมพันธ์ด้วยใจที่ได้เข้าร่วม โครงการและกิจกรรม ของ สพป.กจ.1 ปีงบประมาณ 2555 จานวน 109 เรื่อง  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) สพป.กจ.1 และสถานศึกษา สามารถนาวิธีปฏิบัติ (Best Practice) จากการเข้ า ร่ ว มโครงการและกิ จ กรรมของเครื อ ข่ า ยสายใยสั ม พั น ธ์ ด้ ว ยใจไปใช้ ประโยชน์การพัฒนาผลการปฏิบัตงิ านให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น 2) ผู้ผ่านการประเมิน ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติ คุณรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปีงบประมาณ 2555 ประเภทบุคคล 105 คน ประเภทหน่วยงาน 12 แห่ง 3) รวมรวมและจัดเก็บวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เป็นรูปเล่ม เพื่อ รายงานผลการด าเนิน งานที่ ภ าคภู มิใ จของ สพป.กจ.1 ปี ง บประมาณ 2555 สาหรับ สพฐ.  แนวทางการน าใช้ ก ระบวนการแลกเปลี่ ย นแนวปฏิบัติที่เป็ นเลิ ศ ไปใช้ ประโยชน์ 1) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกณฑ์รางวัลทรงคุณค่าของ สพฐ. OBEC AWARDS 2) ร่วมกันวิเคราะห์แนวทางการดาเนินงาน (จุดอ่อน จุดแข็ง) และบ่งชี้ ข้อควรปรับปรุงโครงการ/กิจกรรม 3) การจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

39


40

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) สพป.กจ.1ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย 1) ความมุ่งมั่น/ภาวะผู้นาในการบริหารความเปลี่ยนแปลง/การโน้มน้าว/ การเป็นแบบอย่าง 2) การสื่อสาร/ทาความเข้าใจกับบุคลากรทุกระดับให้ทราบและตระหนัก ถึงเป้าหมายขององค์กรและมีคุณค่าร่วมกัน 3) ความมุ่ง มั่ น /ความตั้ง ใจของบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ที่ จ ะปรั บเปลี่ ย นและ ปรับปรุงคุณภาพในการทางานและการให้บริการอย่างต่อเนื่อง 4) ความพร้อมของข้อมูลสารสนเทศที่ต้องใช้ในการบริหารจัดการ 5) มีระบบจัดการกับคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ 6) มีการกระตุ้น/ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการเสนอแนะทุกช่องทาง 7) เต็มใจที่จ ะตอบสนองต่อคาบ่น/คาร้อ งเรียน “ทุกคาบ่น มีคุณค่าใน การปรับปรุงคุณภาพในการดาเนินงาน” 8) ให้ความสาคัญกับการพัฒนาบุคลากร/ใส่ใจบุคลากร 9) บริหารงานโดยให้บุคลากรมีส่ วนร่ วม โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้ องกั บงาน ปฏิบัตแิ ละส่วนที่สง่ ผลต่อบุคลากรโดยตรง 10) มีระบบการติดตาม/ประเมินผลการทางาน

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) ทาเนียบเครือข่ายสายใยสัมพันธ์ดว้ ยใจ 2) การสรุปผลการดาเนินการโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ปีงบประมาณ 2555 และจัดทารายงานผลงานความภาคภู มิใจของ สพป.กจ.1 ปีงบประมาณ 2555 เพื่อรายงานไปยัง สพฐ. 3) จัด ทารายงานเพื่อเผยแพร่วิธีปฏิบัติ ที่เป็น เลิศ (Best Practice) ไปยั ง สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4) เผยแพร่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ทางเว็ปไซด์ www.kan1.co.th

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

41

ทุกชีวิตฝากไว้กับพนักงานขับรถ ส านั ก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั้ น พื้น ฐาน ก าหนดว่า ครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึกษา สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ สนอง กลยุทธ์ที่ 2 สพป.กจ.1 เรื่อง การปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถชี วี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ รถยนต์ไม่จาเป็นจะต้องเป็นรถ ใหม่เสมอ รถเก่าถ้าได้รับการดูแลรักษาซ่อมบารุงเป็นอย่างดี ก็สามารถใช้งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ในการพัฒนาในฐานะพนักงานขับรถ  เพื่อเป็นแบบอย่างในการปฏิบัตงิ าน  เพื่อพัฒนาศักยภาพการปฏิบัตงิ านให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน้  เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สนิ ของทางราชการ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา สพฐ. มุ่ งเน้นการติดตาม ประเมิน การปฏิบัติง านของเขตพื้นที่ และสถานศึกษา นามาซึ่งผลลัพธ์ทางการศึกษา เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะด้าน การปฏิบัตงิ าน มุ่งมั่นที่จะเป็นคนเก่งที่มีความรู้ ทักษะในการบริหารงานและการปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความตั้งใจ เสียสละ มีความคิดริเริ่ม รับผิดชอบจนบรรลุเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ ดังนั้น ในฐานะผู้ปฏิบัติงานเป็นพนักงานขับรถ จึงต้องรับผิดชอบพัฒนา ปรั บ ปรุ ง ศึ ก ษาค้ น คว้ า เพิ่ ม พู น ความรู้ อ ยู่ เ สมอ และปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ดที ี่สุด ตรงต่อเวลา ข้าพเจ้าศึกษาข้อมูลเส้นทางจุดหมายปลายทางก่อน ออกเดินทางทุกครั้ง เพื่อการเดินทางโดยสวัสดิภาพและทันเวลา/เป้าหมายที่กาหนด ซึ่งเป็นแบบอย่างและเป็นที่ยอมรับของบุคลากรในวิชาชีพและสังคมรอบข้าง ในด้าน การครองตน ครองคน ครองงาน ดังนี้  การครองตน  เป็นผู้ปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบเป็นตัวอย่างแก่บุคคลโดยทั่วไป 1) รู้และปฏิบัตติ ามระเบียบวินัยของทางราชการอย่างเคร่งครัด 2) มีอุปนิสัย สุขุม เยือกเย็น ใช้เหตุ ผลไตร่ ตรองไม่ใช้อารมณ์ และไม่เคยมีเรื่อ ง ทะเลาะวิวาท 3) อ่อนน้อมถ่อมตน พูดจาสุภาพไพเราะกับทุกคน ทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง 4) รู้ เคารพ และปฏิบัติตามกฎหมายไม่เคยต้องคดีใดๆ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของ ชาติ 5) เป็นที่ยอมรับของคณะทางานว่าเป็นผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบ มีจรรยาบรรณใน การทางาน ขยันและมีนาใจให้ ้ กับทุกคน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายสมเกียรติ นุชโสภา พนักงานพิมพ์ดีด ระดับ 3 โทรศัพท์ 086-7508658 e-mail : somkaedkan@hotmail.com


42

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 เป็นผู้มคี ุณธรรม จริยธรรม เป็นที่ยอมรับของเพื่อนร่วมงานในวงการวิชาชีพ ทุกชีวิตฝากไว้กับพนักงานขับรถ ดูแล หมั่นตรวจ เช็คสภาพรถยนต์ที่รับผิดชอบ 1) บริจาคเงินช่วยเหลือ นาคนเจ็บป่วยส่งโรงพยาบาลพร้อมช่วยเหลือเท่าที่จะทาได้ ตลอดเวลา เพื่อความปลอดภัยในชีวิตของ 2) มีสติสัมปชัญญะในการปฏิบัตหิ น้าที่ที่รับผิดชอบตลอดเวลา ผู้โดยสารและทรัพย์สนิ ทางราชการ 3) พูดจาไพเราะ สุภาพ ไม่เคยพูดคาหยาบ 4) ปฏิบัตหิ น้าที่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว 5) ศึกษาดูงาน และเข้าร่วมกิจกรรม  การครองคน  เป็นผู้ที่ทางานร่วมกับผู้อ่นื ได้ดีและเป็นที่ยอมรับของผู้ร่วมงาน 1) ปฏิบัตติ นเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม ยอมรับมติส่วนรวม ไปราชการที่ใด เมื่อได้ที่จอดรถยนต์เรียบร้อย 2) เป็นคณะทางานของกรรมการชุดต่างๆ เช่นกรรมการรับส่งข้อสอบในการสอบบรรจุ แล้ว จะเช็ดและทาความสะอาดอยู่เสมอ ข้าราชการครู และจัดทาเอกสารการอบรมพัฒนา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 จนถึงปัจจุบัน 3) กรรมการดูแลรักษาความปลอดภัยของ สพป.กจ.1 , กรรมการฝ่ายอาคารสถานที่ มี หน้าที่ดูแลรักษาความสะอาด ความสวยงาม ราบรื่นของอาคารสานักงาน 4) เมื่อประสบเหตุการณ์ขัดแย้งกันในกลุ่มจะคอยไกล่เกลี่ย หรือช่วยระงับข้อขัดแย้งใน กลุ่มเพื่อประสานความสามัคคี  เป็นผู้ที่มีความเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ เสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เมื่อพบอาการผิดปกติของรถยนต์ 1) เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เช่นปฏิบัติงานให้ลุล่วงในเวลา จะทาการตรวจเช็ค และแจ้งซ่อมทันที นอกเวลาราชการ หรือวันหยุดราชการโดยไม่หวังผลตอบแทนใดๆ เมื่อพบอาการผิดปกติของรถยนต์ จะทา 2) ใช้วัสดุอุปกรณ์ของทางราชการโดยประหยัด เช่น หมั่นดูแลรักษารถยนต์ที่รับผิดชอบให้ การตรวจเช็ค และแจ้งซ่อมทันที มีสภาพใช้งานได้ดีอยูต่ ลอดเวลา เปรียบเทียบระหว่างอะไหล่เก่ากับอะไหล่ใหม่ 3) เป็นผู้ตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัตงิ านโดยมุง่ ให้เกิดประโยชน์แก่สว่ นรวมและทางราชการ ที่ได้รับการซ่อมบารุง 4) ให้ความช่วยเหลือผู้มา ติดต่อสถานที่ราชการ ชี้แนะ ให้คาแนะนาด้วยความเต็มใจเสมอ มา จั ด หาที่ พั ก ให้ กั บ บุ ค คลที่ ม าสอบบรรจุ พร้ อ มทั้ ง อ านวยความสะดวกโดยไม่ มี ผลตอบแทนใด ๆ  การครองงาน 1) รู้จักใช้ทรัพย์สนิ ของทางราชการให้เป็นประโยชน์ ประหยัด และคุ้มค่านาสิ่งที่เหลือใช้มา ดัดแปลงประยุกต์ใช้ใหม่อยู่เป็นนิจ 2) ดู แ ลรถยนต์ ทั้ง ก่ อ นใช้ แ ละก่ อ นเก็ บ หมั่ น ตรวจตราเครื่ อ งยนต์ ตั ว รถ ให้ เป็ น ปกติ สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา พร้อมทั้งดู แลรักษาและทาความสะอาดทุกวัน ทาให้ รถยนต์สามารถใช้งานได้ดีและอายุการใช้งานนานขึ้น 3) ประหยัดและเก็บออม มัธยัสถ์ในการใช้จ่ายโดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง มาใช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวัน และไม่มหี นี้สนิ ใด ๆ 4) เป็นผู้ที่มีความอดทนไม่ย่อท้อต่อปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัตงิ าน 5) มี ค วามสามารถในการน าความรู้ ที่ มี อ ยู่ ไปใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านได้ เ ป็ น อย่ า งดี มี ความสามารถในการแก้ปัญหา และมีปฏิภาณ ไหวพริบ ในการปฏิบัตงิ าน รักและชอบที่ จะปฏิบัตงิ านในหน้าที่ความรับผิดชอบ หรืองานที่ได้รับมอบหมายด้วยความเต็มใจ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนการดาเนินการพัฒนาการปฏิบัติงาน 1) รับคาสั่งมอบหมายงาน ทาทันที ทาดีที่สุด 2) วางแผนการปฏิบัตงิ าน จัดลาดับความสาคัญของงานก่อนหลัง 3) ด าเนิน การปฏิบัติง าน ตรวจเช็ค สภาพรถยนต์ แจ้ ง ซ่ อ มบารุ ง ดู แ ลตรวจสอบ รถยนต์พร้อมใช้งานตลอดเวลา และทาความสะอาดทั้งภายในและภายนอก เพื่อ บริการผู้โดยสารทุกระดับประทับใจ 4) บริการกระดาษทิชชู น้ายาปรับอากาศ น้าดื่มสะอาด ลูกอม ยาสามัญประจารถ ไว้บริการ 5) สรุปผลการปฏิบัตงิ าน คือ มีการจดบันทึกการใช้รถยนต์ทุกครั้งเมื่อมีผู้ขอใช้รถไป ราชการ 6) รายงานผลการปฏิบัตงิ านต่อผู้บังคับบัญชา สรุปเป็นลายลักษณ์อักษร ตามลาดับ ขั้นตอนเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาเซ็นรับทราบทุกสิน้ เดือน และสิน้ ปีงบประมาณ

ผลสาเร็จในการพัฒนา ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  สพป.กจ. 1 มีลูกจ้างประจาได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพและความก้าวหน้าใน การปฏิบัตงิ าน และปรับเปลี่ยนตาแหน่งที่สูงขึ้น ร้อยละ 90 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  สพป.กจ. 1 มีลูกจ้างประจาได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพและศักยภาพ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง  ได้มาจากการตอบแบบสอบถาม จากผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 100

ปัจจัยที่ทาให้การปฏิบัติงานประสบความสาเร็จ 1) คาแนะนาและการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาทุกระดับ 2) ความร่วมมือจากทุกฝ่าย

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ 1) จัดทาเอกสาร /วารสารลูกจ้างสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ ผลการประชุมอบรม สัมมนาต่างๆ ให้สมาชิกลูกจ้างประจาเขตต่างๆ ทราบ 2) สรุปรายงานผลการปฏิบัตงิ านให้ผู้บังคับบัญชาทราบ 3) เป็นวิทยากรให้ความรู้ในการอบรมลูกจ้างประจา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

43


44

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์พงศ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

ดร. ศศกร ไชยคาหาญ ผู้อานวยการโรงเรียนพัฒน์พงศ์ โทรศัพท์ 087-9086651 E-mail : patpong_school@hotmail.com

สานั กงานเขตพื้น ที่ การศึก ษาประถมศึก ษากาญจนบุ รีเขต 1 ได้ แต่งตัง้ โรงเรียนพัฒน์พงศ์ให้เป็นโรงเรียนในโครงการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามหนังสือที่ ศธ 04017/3047 ลงวันที่ 4 มิถุนายน 2547 เพื่อให้โรงเรียนได้ มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และโรงเรียนได้ ดาเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ดั ง นั้น โรงเรี ย นพั ฒ น์พ งศ์ จั ด ได้ ทาโครงการสร้ า งสั ง คมแห่ ง การ เรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์พงศ์ขึ้น เพื่อศึกษาสังคมแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน มีลักษณะเป็น อย่างไร ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อ งกับโรงเรีย นมีความเห็ น เกี่ยวกับ การดาเนินงานตามโครงการของโรงเรียนอย่างไรบ้าง ซึ่งข้อมูลที่ ได้หรือค้นพบนั้นได้นามาศึกษาเพื่อเป็นแนวทาง ในการพัฒนาโรงเรียนให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ ได้รับความพึงพอใจจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อศึกษาระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์ พงศ์ สังกัด สพป.กจ.1  เพื่อเปรียบเทียบระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของบุคลากร โรงเรี ย นพั ฒ น์พ งศ์ กั บ เพศ อายุ บทบาทหน้ า ที่ และ ระดั บ การศึกษา  เพื่อศึกษาแนวทางในการบริหารเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์พงศ์  เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนพัฒน์พงศ์

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโรงเรียนให้ เป็นเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนพัฒน์พงศ์ ใช้แนวคิดทฤษฎีการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตาม แนวคิดของ ปีเตอร์ เซ็งเก้ ซึ่งมีคุณลักษณะ 5 ประการ ดังนี้  บุคคลมีความเป็นเลิศ (Personal Mastery) หมายถึง สมาชิกมีความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่ดใี นการปฏิบัตงิ าน มีความเป็นตัวของตนเอง มีวิสัยทัศน์ กว้างไกล มีปฏิภาณไหวพริบ เป็นผู้ใฝ่ดี ใฝ่เรียนรู้ สามารถเพิ่มศักยภาพตน และมี แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ และปฏิบัติงานให้บรรลุความสาเร็จใน ชีวติ และองค์กร  รูปแบบวิธีคดิ (Mental Model) หมายถึง สมาชิกมีวิถีชีวิตที่ชัดเจน เข้าใจ บทบาทหน้าที่และสามารถปรับเปลี่ยนวิธีการคิดให้สอดคล้องกับเป้าหมายของ องค์กร มีโลกทัศน์กว้างไกล ยอมรับการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ยึดติดกับความสาเร็จ ในอดีต ร่วมมือร่วมใจประสานผลประโยชน์ขององค์กร การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

45

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision) หมายถึง สมาชิกมาร่วมกัน กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ขององค์กร เพื่อการปฏิบัติงานไปใน ทิศทางเดียวกัน ทาให้สภาพการคาดหวังในอนาคตที่สมาชิกปรารถนาเป็นจริงขึ้นได้  การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) หมายถึง สมาชิกมีการ สนทนา ประชุมปรึกษาหารือร่วมกันอย่างสม่าเสมอ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความ คิดเห็น และประสบการณ์ สามารถสอนงานซึ่งกันและกัน พร้อมทั้งสมาชิกสามารถ เรียนรู้ และปฏิบัตงิ านร่วมกันเป็นทีมอย่างเป็นกันเองทุกคน  การคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking) หมายถึง สมาชิกมีความคิด ทั น กั บ สถานการณ์ สามารถสร้ า งกรอบความคิ ด ในการปฏิบัติง านอย่า งชั ด เจน สมาชิกสามารถคิด และปฏิบัติงานที่ซับซ้อนอย่างเป็นระบบ โดยคานึงถึงคุณภาพ องค์รวมก่อน

แผนผังองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์พงศ์

คุณภาพผู้เรียน 1.บุคคลมีความเป็นเลิศ Personal Mastery

5. การคิดอย่างเป็นระบบ System Thinking

องค์กรแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนพัฒน์พงศ์ 2. รูปแบบวิธีคิด Mental Model

4. การเรียนรู้รว่ มกันเป็นทีม Team Learning 3. การมีวสิ ัยทัศน์ร่วมกัน Shared Vision

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


46

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนกระบวนการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์พงศ์ ข้ อ มู ล พื้ น ฐานของบุ ค ลากรของโรงเรี ย นพั ฒ น์ พ งศ์ สพป.กจ.1 ประจาปีการศึกษา 2554 คือ ผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน ครูผู้สอน 5 คน คณะกรรมการนักเรียน 9 คน ผู้ปกครองนักเรียน 78 คน และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานโรงเรียน พัฒน์พงศ์ จานวน 9 คน รวมทั้งสิ้น 102 คน โดยมี ขั้นตอนการดาเนินการดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์ ขั้นที่ 2 การกาหนดประชากร ขั้นที่ 3 การสร้างเครื่องมือ ขั้นที่ 4 การเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นที่ 5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ขั้นที่ 6 การนาเสนอผลงาน กระบวนการพัฒนา BPพัฒนาดาเนินงานการแข่งขันทักษะทางวิชาการ การตรวจสอบคุณภาพ 1) แบบสอบถาม 2) แบบสัมภาษณ์แบบไม่มโี ครงสร้าง 3) การสนทนากลุ่ม ( Focus Group แนวทางการนา ไปใช้  การบริหารงานวิชาการ โรงเรียนได้จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษามี การจัดค่ายทางวิชาการ และค่ายคุณธรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพของผู้เรียน  การบริหารงานบุคคล โรงเรียนได้ส่งบุคลากรเข้ารับการพัฒนาทั้งใน ส่วนหน่วยงานของทางราชการและเอกชน รวมถึงครูได้จัดส่งผลงานใน การพั ฒ นาตนเองจนได้ รับ วิทยฐานะชานาญการพิเศษและยั ง ได้ จ้ า ง บุคลากรอีก 2 ตาแหน่ง คือ ครูพ่ีเลี้ยงและแม่บ้าน นอกจากนั้นยังได้ จัดหาครูภูมิปัญญาท้องถิ่นมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน  การบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนได้จัดให้มีการระดมทรัพยากร จากทุกภาคส่วน ทาให้มีภูมิทัศน์ที่สวยงามขึ้นและมีสภาพแวดล้อมที่ดี เช่น หอพระ โรงอาหาร ห้องสมุด ห้องน้าครูและนักเรียน รั้วโรงเรียน สนามเด็กเล่น อาคารเรียนหลังใหม่ ฯลฯ  การบริหารงานบริหารทั่วไป โรงเรียนได้สร้างความสัมพันธ์และความ เข้าใจกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนางานของโรงเรียนและได้รับการ สนับสนุนเป็นอย่างดีโดยเฉพาะการจัดทาบุญประจาปีครบรอบวันก่อตั้ง โรงเรียนทุกวันที่ 7 ธันวาคม และงานราตรีศรีพัฒน์พงศ์ก่อนปิดเรียนภาค ปลาย ซึ่งเป็นงานที่ทุกคนมีความพึงพอใจและจัดเป็นประจาทุกปี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จของโรงเรียนพัฒน์พงศ์ในการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1) โรงเรียน ได้ รับรางวัล เหรี ย ญทองในการประกวดหนึ่งโรงเรีย นหนึ่ง นวั ต กรรม ประจาปี 2552 2) ผู้เรียน ได้เข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่าง ๆ และได้รับรางวัลทั้งในระดับภาค ระดับ เขตพื้ น ที่ และระดั บ กลุ่ ม เครื อ ข่ า ยพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาบ้ า นเก่ า และ นอกจากนั้นยังส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นทุกสาระวิชาจากผล การสอบ O-Net ปีการศึกษา 2554 โดยผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนน เฉลี่ ยของการทดสอบ O-Net ในแต่ล ะกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ มากกว่า ค่ าเฉลี่ ย ระดับประเทศ 3) ครู ได้รับรางวัลจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนี้  ครูได้รับรางวั ลประกาศเกีย รติคุณต้นแบบครูผู้สร้างคน ประจาปี 2555 จากหนังสือพิมพ์เส้นทางผู้นา  ครูได้รับรางวัลเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ หนึ่งแสนครูดี ประจาปี 2554  ครูได้รับวิทยฐานะชานาญการพิเศษ 4) ผู้บริหารสถานศึกษา  ได้รับรางวัลเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ หนึ่งแสนครูดี ประจาปี 2554 จากคุรุ สภา  ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้ทาคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษา เป็น แบบอย่างที่ดีในด้านการดารงตน พัฒนาตน อุทิศตน เสียสละ อดทน ใน การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ละพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ต่ อ สาธารณชน ประจาปี 2554 จาก สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ  ได้รับเกียรติบัตรระดับประเทศ เข้าร่วมกิจกรรมสมุดบันทึกความเป็นครูดีได้ อย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 21 วัน ประจาปีการศึกษา 2553 ตามโครงการ เสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบ พทางการศึ กษาจากคุ รุสภา ยนพัฒน์พงศ์ ปัจจัยวิชทีาชี ่ทาให้ การดาเนิ นงานของโรงเรี - ได้รับรางวั เหรียกญทอง ในฐานะผู มคิดค้นและพัฒาเร็ นานวั ตกรรมทางด้ เป็นลองค์ รแห่งการเรี ยนรู้ร้ ่วประสบความส จตามเป้ าหมายานการศึกษา ประจาปีกประสบความส ารศึกษา 2552าเร็ จากส านักงานเขตพื จตามเป้ าหมาย ้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ความตระหนักและความพยายามของผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องกับการเรียนรู้ ทั้งในระดั บ บุคคล ระดับกลุ่ม และในระดับองค์ก รในการพัฒ นาทรัพยากรมนุษย์ให้ สอดคล้อ งกั บ สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก การนาแนวคิดดังกล่าวนี้มาพัฒนาเพื่อการเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนพัฒน์พงศ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมาประยุกต์ใช้นั้น ได้รับความร่วมมือจากผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่าย

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่  สารโรงเรียนพัฒน์พงศ์  หนังสือพิมพ์  สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

47


48

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

นางวิชญาณี บุญทวี ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว โทรศัพท์ 081-9420010 E-mail : ttj10@hotmail.com

การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาการศึกษา โรงเรียนบ้านทุ่งยาว มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้  เพื่ อ พั ฒ นากระบวนการจั ด การศึ ก ษาแบบมี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารจั ด การศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว  เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง แนวคิด ทฤษฎีการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการเพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านทุง่ ยาว โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ใช้แนวคิดทฤษฎี การบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยใช้ เทคนิค 3 หลักการ ได้แก่ ประสาน-บริการ-พัฒนา ของแมคเกรเกอร์(Mc Gregor) ที่มีแนวคิดว่าผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพจะต้องพยายามสนับสนุนและพัฒนาการ ทางานของผู้ร่วมงาน ให้เข้ามามีส่วนร่วมตัด สินใจในส่ว นที่มีผลกับตั วเขา เพิ่ม โอกาสด้านความพึงพอใจทางสังคม เพิ่มความรับผิดชอบ เพื่อให้เห็นว่าเขาเป็น บุคคลคนสาคัญ และเชื่อมั่นในความสามารถ และเพิ่มการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ขององค์การ และ ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ และทฤษฎีสองปัจจัย ของอับบรา ฮั ม มาสโลว์ (Abraham Maslow) และเฟรเดอริ ค เฮิ รซ์ เบอร์ ก (Frederick Herzberg) ซึ่งกล่าวไว้สอดคล้องกันว่า งานขั้นแรกของผู้บริหาร คือ การทาให้ องค์การทาหน้าที่ให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ซึ่งการที่จะทาเช่นนั้นได้ ผู้บริหาร จะต้ อ งใช้ ค วามสามารถทุ ก วิ ถี ท างที่ จ ะท าให้ ผู้ ร่ ว มงานได้ ป ฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดผลดีต่อสถานศึกษา วิธีหนึ่งที่ผู้บริหารสามารถนามาใช้ได้ อย่างดี คือ การจูงใจบุคลากรในโรงเรียนทางาน นั่นคือ ผู้บริหารต้องรู้และเข้าใจ ลาดับขั้นความต้องการของผู้ร่วมงาน เพื่อเป็นแรงจูงใจให้ผู้ร่วมงานให้บรรลุผล สาเร็จ

การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพือ่ พัฒนา การศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว การดาเนินงานการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนา การศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาวได้ด าเนินการในรูปคณะกรรมการ ซึ่ง ประกอบด้ว ย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้นาชุมชน ผู้ปกครอง คณะครู และผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง โดยใช้วงจรเดมมิ่ง (PDCA) ซึ่งได้แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน (P) ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินงานตามแผน (D) ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบ (C) ขั้นตอนที่ 4 การทบทวน และพัฒนา (A) การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แผนผังการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนา การศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ใช้หลักการบริหารว่าต้องให้ความสาคัญกับการบริหารคน เป็นหลัก เพราะถ้าคนมีความเข้าใจร่วมกันก็จะทาให้การบริหารจัดการได้ง่ายโดยใช้ ศักยภาพการเป็นผู้นาจูงใจและนาพาไปสู่สิ่งที่ดกี ว่า โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจาก ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง ร่วมศึกษาสภาพปัญหา วิเคราะห์ ปัญหาตามบริบทของสถานศึกษา โดยใช้เทคนิค SWOT เมื่อรู้ปัญหาก็ร่วมกันวางแผน ตัดสินใจหาทางเลือกแก้ไขปัญหา ด้วยกระบวนการเดมมิ่ง (PDCA) โดยการบริหารงาน แบบมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ประกอบเทคนิค 3 หลักการ คือ  หลั ก การประสาน โดยประสานกั บคณะกรรมการสถานศึก ษา คณะครู ผู้ปกครองการชุมชน หน่วยงานภายนอก เพื่อระดมทรัพยากร  หลักการบริการ โดยให้บริการแก่คณะครูให้ทางานได้คล่อง ไม่ต้องกังวล ส่งเสริมความมุ่งมั่นทางานให้สาเร็จ และให้บริการนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานภายนอกในด้านต่างๆอย่างเต็มศักยภาพ  หลักการพัฒนา โดยร่วมพัฒนาโรงเรียน โดยเฉพาะการบริหารงานหลัก 4 งาน และร่วมพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

49


50

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาวประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ความสาเร็จของการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอย่างมี คุณภาพ เกิดจากปัจจัย ดังนี้ 1) มีข้อมูลในการพัฒนาที่ได้มาจากการวิเคราะห์บริบทของโรงเรียนด้วย วิ ธี SWOT โดยการมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ เ กี่ ย วข้ อ งประกอบเทคนิ ค 3 หลักการ 2) นาหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม ประกอบการใช้เทคนิค 3 หลักการ ได้แก่ ประสาน-บริการ-พัฒนา โดยมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในการกาหนดทิศทางสู่เป้าหมายการบริหารโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน และมีคุณภาพ 3) ครูและบุคลากรในโรงเรียน มีการทางานแบบมีส่วนร่วม โดยร่วมคิด ร่ ว มประสาน ร่ ว มทาจนทาให้ ง านส าเร็ จ บรรลุ วั ต ถุ ประสงค์ แ ละมี คุณภาพ ผู้บริหารกล้าคิดนอกกรอบ เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง กล้าทา กล้าตัดสินใจ กล้าเปลี่ยนแปลง มีภาวะผู้นา มีความมุ่งมั่นในการทางาน มีเครือข่ายในการทางาน มีการทางานเป็นทีม และมีคุณธรรม ประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี 4) ชุมชน ประกอบด้วยผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา และหน่ว ยงานที่ เกี่ ยวข้ อ งให้ก ารยอมรับ มีค วามศรั ทธาและให้ ก าร สนับสนุนด้านงบประมาณในการพัฒนาโรงเรียน 5) ผู้บริ หารกล้า คิดนอกกรอบ เป็ นผู้ นาการเปลี่ย นแปลง กล้า ทา กล้ า ตัดสินใจ กล้าเปลี่ยนแปลง มีภาวะผู้นา มีความมุ่งมั่นในการทางาน มี เครือข่ายในการทางาน มีการทางานเป็นทีม และมีคุณธรรม ประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี 6) การสร้างบรรยากาศกาทางานภายในโรงเรียนที่อบอุ่น ทาให้เอื้อต่อ ความสาเร็จ

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) ขยายผล โดยน าการใช้กระบวนการมีส่ วนร่ วมในการบริห ารจัด การ เพื่อ พัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว ต่อโรงเรียนต่าง ๆ ที่จัดการศึกษาขั้น พื้นฐานในเครือข่ายและนอกเครือข่าย 2) ในระดับเขตพื้นที่และต่างเขตพื้นที่โดยการแข่งขันประกวดผลงานดีเด่น (Best Practice) ระดับจังหวัด 3) จัดนิทรรศการแสดงผลงาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

51

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

เครือข่ายการเรียนรู้สู่ความพอเพียง เนื่องจากโรงเรียนบ้านหนองสามพรานเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก แต่ไม่ผ่านการ รับรองมาตรฐานจากการประเมินภายนอกรอบสองทั้งในระดับปฐมวัยและระดับ ประถมศึกษาเมื่อเดือนมกราคม 2550 โดยเฉพาะมาตรฐานที่ 9 การจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรีย นเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ 5 ความรู้และทักษะที่ จาเป็นตาม หลักสูตร และ มาตรฐานที่ 4 การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ของผู้เรียน ดังนั้น ครู และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องทุกคนจึงเห็นชอบให้ใช้เครือข่ายการเรียนรู้มาช่วยจัดกิจกรรม การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อนาเครือข่ายการเรียนรู้มาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ  เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้ แหล่ง เรียนรู้ และการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายของครูเพื่อพัฒนาทักษะ การคิดของผู้เรียนและความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร

ความเชื่อมโยงของเครือข่ายการเรียนรู้สู่ความพอเพียงกับ เป้าหมายของ สพฐ. การบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้สคู่ วามพอเพียงของโรงเรียนมีความ เชื่อมโยงกับนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง และ นโยบายด้านการน้อม นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารจัดการและการจัดการเรียนการ สอนทั้งในระดับประเทศลงมาถึงระดับสถานศึกษา การบูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านหนองสามพรานสู่การบริหารจัดการและการ จัดการเรียนการสอน จึงสอดคล้องกับนโยบาย เป้าหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คื อ หน่ ว ยงานทางการศึ ก ษาทั้ ง กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร สพฐ. สพป.กจ.1 และ โรงเรี ย นบ้ า นหนองสามพราน ได้ ก าหนดประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการปฏิ รู ป การศึกษาโดยเน้นเกี่ยวกับการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ โดยเน้น 1) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย 2) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 3) การส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและ จัดการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนไทยยุคใหม่ที่นิสัยใฝ่เรียนรู้ ส่วนครูยุคใหม่ เป็น ผู้เอื้ออานวยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ รวมทั้ง การบริหารจัดการใหม่ที่เน้นการกระจายอานาจมายังระดับปฏิบัติและเน้น การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา โดยน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ดร.นิลุบล คงเกตุ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสามพราน โทรศัพท์ 081-9440268 E-mail : nbkk03@hotmail.com


52

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีเครือข่ายการเรียนรู้สู่ความพอเพียง การพัฒนา BP ในครั้งนี้ ได้สังเคราะห์แนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญตามนโยบายการปฏิรูปการเรียนรู้ในทศวรรษที่สองด้านเป้าหมายและกรอบแนว ทางการปฏิรูปการศึกษา แนวคิดการบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้ และแนวคิดด้าน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนบ้านหนองสามพรานตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา สรุปได้ ดังนี้  แนวคิดด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง มุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดย มีเป้าหมายหลัก 3 ประการ คือ 1) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย 2) เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 3) ส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ภาคส่ ว นของสั ง คมในการบริ ห ารและจั ด การศึกษา มีการปฏิรูปการศึกษาและเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 4 ด้าน ได้แก่ 1) คุณ ภาพคนไทยยุ คใหม่ ที่ มีนิสั ยใฝ่เรี ยนรู้ 2)คุณ ภาพครู ยุค ใหม่ ที่เป็ น ผู้เอื้อ อานวยให้ ผู้ เรี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ 3)คุ ณ ภาพสถานศึกษาและแหล่ ง เรียนรู้ยุคใหม่ 4)คุณภาพการบริหารจัดการใหม่ ที่มงุ่ เน้นการกระจายอานาจ สู่สถานศึกษา  แนวคิดการบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้ สังเคราะห์แนวคิ ดของของ Cohen and Uphoff สรุปได้ว่า เครือข่ายการเรียนรู้มี 3 ประเภท คือ เครือข่ายปัจเจก บุค คล เครือ ข่ ายกลุ่ มบุ คคล และ เครือข่ า ยหน่ว ยงานซึ่ งขั้ นตอนของการมีส่ว นร่ วมไว้ ได้แก่ ขั้นรวมคนรวมพลัง ขั้นร่วมคิด ร่วมวางแผน ขั้นร่วมทา ร่วมดาเนินการ ขั้นร่วม ประเมินผล ร่วมสรุปบทเรียน และ ขั้นร่วมรับผลจากการกระทา  แนวคิดด้านด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยการบูรณาการ หลักปรัชญาดังกล่าวสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาในด้านการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนการสอน โดยใช้แนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อน สู่ 4 มิติ ได้แก่ ความพอประมาณ ความมี เหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม และมุ่งสู่มิติด้าน เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม และ วัฒนธรรม

ขั้นตอนการดาเนินงานเครือข่ายการเรียนรู้สู่ความพอเพียง กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาได้แก่ บุคลากรของโรงเรียนบ้านหนองสามพราน และ ผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ครู 5 คน นักเรียน จานวน 76 คน รวม 81 คน โดยมีขั้นตอนการ ดาเนินงาน “เครือข่ายการเรียนรู้สคู่ วามพอเพียง” ดังนี้ 1. ขั้นเตรียม โดยเตรียมปัจจัย วัสดุอุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ และ เครือข่ายการ เรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน เช่น ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน งบประมาณ ได้แก่ คณะผู้บริหารจาก TESCO LOTUS อบต.วังด้ง และ สพป.กจ.1 แล้ว เชิญชวนบุคลากรในชุมชนโดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียน มาสนับสนุนแรงงาน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

2. ขั้นดาเนินงาน มีขั้นตอน ดังนี้  รวมคน รวมพลัง โดยรวมนักปฏิบัติ ที่ปรึกษา และผู้สนับสนุนการดาเนินงานให้มี เป้ าหมายเดี ยวกัน ในการน้อ มน าปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาสู่ การปฏิบัติ ได้แ ก่ ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการที่ปรึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง และ เครือข่ายการเรียนรู้ดา้ นการเกษตร  ร่วมคิดร่วมวางแผน โดยประชุมวางแผนการดาเนินงาน วิเคราะห์สมรรถนะของ บุคลากร (Competency) ว่ามีความรู้ และมีช่องว่างของความรู้ในเรื่องใดบ้างเกี่ยวกับเศรษฐกิจ พอเพียง และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แล้วมอบหมายงานบุคลากร ตามความสมัครใจของครู  ร่วมทา ร่วมดาเนินการ โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกฝ่าย อบรม ศึกษาดูงานจาก แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งอินเทอร์เน็ต และBest Practices ด้านเศรษฐกิจพอเพียง และการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อเติมเต็มความรู้ จากนั้น บุคลากรนาความรู้ที่ ได้รับมาบู รณาการเศรษฐกิจ พอเพียงในการดาเนิน ชีวิต และการจัดการเรี ยนการสอนให้ เหมาะกับระดับชั้น และศักยภาพของผู้เรียน โดยมีรูปแบบการเรียนการสอน ดังนี้ 1) ระดับปฐมวัย จัดการเรียนการสอนโดยเน้นการใช้แหล่ง เรียนรู้ในโรงเรียนและนอก โรงเรี ย นด้ า นเศรษฐกิ จ พอเพีย ง แล้ ว บู รณาการโดยใช้ ก ระบวนการปลู ก ปั ญ ญาใน กิจกรรมการจัดประสบการณ์ในห้องเรียน และการลงมือปฏิบัตจิ ริงผ่านชุมนุมกลุ่มสนใจ กับเครือข่ายการเรียนรู้ 2) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-2 จัดการเรียนการสอนโดยเน้นการใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน แล้วบูรณาการผ่านการอ่านและเขียนตามรูปแบบบันได 4 ขั้นของ ผศ.ศิวกานท์ ปทุมสูติ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้และการลงมือปฏิบัตจิ ริงผ่านชุมนุมกลุ่ม สนใจกับเครือข่ายการเรียนรู้ 3) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 จัดการเรียนการสอนโดยเน้นการปฏิบัติจริงกับเครือข่ายการ เรียนรู้ชุมนุมกลุ่มสนใจ และบูรณาการผ่านโครงงานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ กับ ครูผู้สอน ชุมนุมกลุ่มสนใจ เรียนบ่ายวันพฤหัสบดีครั้งละ 1 ชั่วโมง มีชุมนุมต่าง ๆ ดังนี้ ชุมนุมชีวภาพหอมหวน สวนสมุนไพร หอมข้าวไร่สามพราน สานฝันปลาดุก กุ๊กกุ๊กไก่ ไข่ หมูหลุมหน้าใส เห็ดไร้สารพิษ ผักเพิ่มชีวติ หมู่เฮา และ จักสานตะเกียงไม้ไผ่  ขั้น ร่ ว มสรุ ป เป็น บทเรีย น ครู ผู้ รับผิ ด ชอบโครงการสรุ ปผลการด าเนิน งาน แล้ ว รายงานโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องเมื่อสิ้นปีการศึกษา  ขั้นร่วมรับผลจากการกระทา ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องได้รับผลจากการดาเนินงาน ดังนี้ 1) นักเรียน มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น รักวัฒนธรรมไทย และได้ฝึกทักษะต่าง ๆ รวมทั้ง มีคุณธรรมมากขึน้ 2) ครูและบุคลากรของโรงเรียนดาเนินชีวิตแบบพอเพียง รู้จักการทางานเป็นทีมและภูมิใจ ในคุณค่าของตนเอง 3) ครูได้ใช้เทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเหมาะกับศักยภาพของ ผู้เรียน และใช้แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน 4) ชุมชนและผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องยอมรับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน 5) เครือข่ายการเรียนรู้ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

53


54

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การตรวจสอบคุณภาพกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการเรียนรู้ ในขัน้ นีผ้ ู้พัฒนาดาเนินการตามกระบวนการมีสว่ นร่วมของเครือข่ายการเรียนรู้ ดังนี้ 1) ประเมินพฤติกรรมการสอนของครู และคุณภาพของผู้เรียนด้านการคิดและด้าน ความรู้ แ ละทั ก ษะที่ จ าเป็ น ตามหลั ก สู ต ร ก่ อ นด าเนิ น การพั ฒ นาโดยใช้ แ บบประเมิ น พฤติกรรมการสอนของครู และเก็บข้อมูลคุณภาพผู้ เรียนจากการรายงานการประกัน คุณภาพภายในของโรงเรียน และ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.ครั้งที่สอง (Pretest) ของโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 2) ประชุมปฏิบัติการการใช้รูปแบบ “เครือข่ายการเรียนรู้สู่ความพอเพียง” กับครู เครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ แ ละผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน คณะกรรมการที่ปรึกษา และเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 3) ดาเนินการตามปฏิทินดาเนินงาน และคู่มือการใช้รูปแบบ “เครือข่ายการเรียนรู้สู่ ความพอเพียง” 4) ผู้บริหารนิเทศครูและเครือข่ายการเรียนรู้ของโรงเรียนบ้านหนองสามพราน เพื่อ สอบถามติดตาม สอบถามปัญหา และให้การช่วยเหลือ 5) ประเมินพฤติกรรมการสอนของครู และคุณภาพของผู้เรียนด้านการคิดและด้าน ความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร หลังเสร็จสิ้นการดาเนินการ 6) สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมและเป็นไปได้กับบุคลากรโรงเรียน บ้านหนองสามพราน และเครือข่ายการเรียนรู้ที่เข้าร่วมโครงการ

แนวทางการนากระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการเรียนรู้ไปใช้ ประโยชน์ ในการนารูปแบบ “เครือข่ายการเรียนรู้สู่ความพอเพียง” ไปใช้ประโยชน์ มี แนวทาง ดังนี้ 1) โรงเรียนต่าง ๆ โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กที่มีบุคลากรจานวนจากัด สามารถ นาเครือข่ายการเรียนรู้มาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ร่วมกับครู 2) ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น สามารถส่ ง เสริ ม การจั ด การเรี ย นการสอนที่ เ น้ น การใช้ เครือข่ายการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายของครูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนและความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร 3) ผู้บริหารโรงเรียน ครู และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารจัดการและจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะกับบิบ ทของโรงเรี ยนและชุม ชนเพื่อพัฒ นาคุณ ภาพการศึกษาของโรงเรี ยนให้ มี ประสิทธิภาพยิ่งขึน้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินงานของโรงเรียนบ้านหนองสามพราน เป็นเครือข่ายการเรียนรู้สู่ความพอเพียง ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย เทคนิคสาคัญในการบริหารจัดการที่โรงเรียนประสบผลสาเร็จคือ ผู้บริหาร สถานศึกษาเป็นตัวจักรสาคัญในการเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้ประสานระหว่าง โรงเรียนกับชุมชน และเครือข่ายการเรียนรู้ รวมทั้ง เป็นผู้จุดประกายความคิดให้ครู และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง ให้พวกเขาอยากรู้ อยากลอง อยากทา ให้ทุกอย่างขึ้นอยู่ที่ ใจ หรือ “การระเบิดจากข้างใน” โดยยึดเป้าหมายที่เด็กเป็นสาคัญ เมื่อลงมือทา ก็คอยติดตาม อานวยความสะดวก ให้กาลังใจและช่วยเหลือ เมื่อเขาต้องการความ ช่วยเหลือ ให้คาชมเป็นน้าหล่อเลี้ยงหัวใจแก่ครูผู้ปฏิบัติเป็นการเสริมพลังทางบวก ส่งเสริมการทางานเป็นทีมของครู

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ ได้นาผลสาเร็จดังกล่าวไปประชาสัมพันธ์ และ เผยแพร่ ดังนี้ 1) ในปีการศึกษา 2552-ปัจจุ บัน โรงเรียนบ้านหนองสามพราน เป็นแหล่งศึกษา ดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรทางการศึกษาทั้งในจังหวัดกาญจนบุรี ภาคเหนือ ภาคใต้ และ ภาคกลาง ได้ แ ก่ โรงเรี ย นบ้ า นท่ า ข่ อ ยจั ง หวั ด พิษณุ โ ลก โรงเรี ย นสั ง กั ด เทศบาลเบตง จังหวัดยะลา โรงเรียนวัดยอดสุวรรณคีรี จังหวัดราชบุรี โรงเรียนในศูนย์ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึ กษาห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนพัฒน์พงศ์ และ โรงเรียน ตชด.ประตูด่าน โรงเรียนบ้านท่าหวี โรงเรียนวัดศรีอุปลาราม โรงเรียน บ้านแหลมทอง โรงเรียนบ้านหนองกลางพง โรงเรียนบ้านนากาญจน์ โรงเรียนบ้านดง ยาง จังหวัดกาญจนบุรี และ โรงเรียนวัดวรจันทร์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นต้น 2) โรงเรียนได้นา BP เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 จนถึงปัจจุบัน 3) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนทั้งในระดับเขตพื้นที่ ระดั บภาคกลางภาคตะวั น ออก และระดั บ ประเทศ ที่ อิม แพค เมือ งทองธานี ตั้ง แต่ ปี การศึกษา 2551 จนถึงปัจจุบัน รวมทั้ง ในปีการศึกษา 2554 ได้จัดนิทรรศการนาเสนอ BP ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีเมื่อ วันที่ 9 สิงหาคม 2554 จัดที่โรงแรมริเวอร์แคว เมื่อ วันที่ 18 สิงหาคม 2554 และ ต้อนรับรัฐ มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเมื่อเดือ น พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมราชศุภมิตร 4) นั ก เรี ย นและครู ไ ด้ อ อกอากาศ รายการบ่ า ยนี้มี ค าตอบ ทางสถานี โ ทรทั ศ น์ โมเดิร์นไนน์ทีวี และรายการ Thailand Early News ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 11 รวมทั้ง ถ่าย ทาสปอร์ตโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์งานศิลปหัตถรรมนักเรียน ประจาปีการศึกษา 2554 5) ผู้อานวยการโรงเรียนและครูเป็นวิทยากรอบรมขยายเครือข่ายสถานศึกษาพอเพียง แก่ครูและผู้บริหารสถานศึกษาในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังด้ง-ช่องสะเดา เมื่ อ วั น ที่ 4-5 สิ ง หาคม 2554 และได้ น าเสนอเรื่ อ งเล่ า เศรษฐกิ จ พอเพี ย งแก่ ค รู ใน สพป.กจ.1 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมริเวอร์แคว 6) ผู้อานวยการโรงเรียน ได้รับแต่งตัง้ จาก สพฐ. ให้เป็นกรรมการประเมินสถานศึกษา พอเพียงแบบอย่าง ของโรงเรียนในสังกัด สพป.กจ.1 และ 3

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

55


56

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนางานบริหารบุคคล โดยรูปแบบ บ้านหัวหิน Model”

นางสุวนีย์ กาญจนฉายา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหัวหิน โทรศัพท์ 080 – 0250494 E-mail : suwaneejj@gmailcom

การบริหารจัดการสถานศึกษา จะยึดแนวทางการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนด โดยจัดการศึกษาที่ยดึ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง และสอด รับกับจุดเน้นของ สพฐ. ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเรียนรู้คู่คุณธรรม เพิ่มศักยภาพ และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการพัฒนาประสิทธิภาพครู ให้สามารถจัดการเรียน การสอนโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ ตกผลึกแนวคิดร่วมกัน เพื่อมุ่งผลในการ พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ สู่การพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการ พัฒนางานบริหารบุคคล โดยรูปแบบ บ้านหัวหิน Model มีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน  เพื่อส่งเสริมความร่วมมือของครูในการจัดการเรียนการสอน  เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนางานบริหารบุคคล โดย รูปแบบ บ้านหัวหิน Model

การนาเสนอผลงาน Best Practice ที่ ได้รับรางวัลที่ 1 ระดับ สพป. กจ. 1

จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษา 2554 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนด โรงเรียนได้นาปัญหา ดั ง กล่ า วน าเสนอในที่ ประชุม กรรมการสถานศึ ก ษา ที่ ป ระชุ ม กรรมการเครื อ ข่ า ย ผู้ปกครอง และที่ประชุมครู เพื่อทราบสาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ไข ร้อยละ 40 ของคณะกรรมการที่ประชุม เห็นว่าสาเหตุเกิดจากการจัดการเรียนการสอนของ ครู ร้อยละ 30 เกิดจากความร่วมมือของผู้ปกครอง ร้อยละ 25 เกิดจากความ พร้อมของนักเรียน และร้อยละ 5 เกิดจากสาเหตุอ่ืน ๆ ดังนั้นที่ประชุม ได้เสนอ แนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู โรงเรียนได้จัดทา Modal เพื่อการพัฒนาครูในกระบวนการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้ระบบการนิเทศการศึกษา ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน โดยใช้วิธีสอนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้  การนิเทศการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน 1) ประชุ ม ก่ อ นการสั ง เกตการณ์ ส อน –ปรึ ก ษาหารื อ -ก าหนด พฤติกรรมที่สังเกต-วางแผนดาเนินการ 2) สังเกตการณ์สอนในชั้นเรียนเน้นพฤติกรรมทึ่ตกลงร่วมกัน 3) วิเคราะห์ผลการสังเกตการสอน 4) การประชุมหลังการสังเกตการณ์สอน-ให้ข้อมูลย้อนกลับ-ปรับปรุง พฤติกรรมหรือคงไว้-พิจารณาวิธีแก้ปัญหาเรื่องต่อไป

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

57

กระบวนการพัฒนางานบริหารบุคคล โดยรูปแบบ บ้านหัวหิน Model จากแนวคิ ด หลั ก การ ทฤษฎี น ามาพั ฒนาเป็ น รู ปแบบการพั ฒ นาบุ ค ลากรใน โรงเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน ของครูให้ส่งผลต่อประสิทธิภาพอย่างแท้จริง โดยทาเป็น Model ดังนี้

ขั้นตอนการพัฒนางานบริหารบุคคล โดยรูปแบบ บ้านหัวหิน Model ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาปัญหา / ความต้องการ  ศึกษาความต้องการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู  เสนอแนวทางในการพัฒนาโดยใช้กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน  จัดบุคลากรคู่ร่วมพัฒนาโดยจัดตามความพึงพอใจของทุกคน ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมการ  ให้องค์ความรู้ ทฤษฎี และกระบวนการที่เกี่ยวข้อ  จัดทาแผนการพัฒนารายคู่เพื่อสูก่ ารปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 การวางแผน  จัดทาปฏิทินการร่วมนิเทศซึ่งกันและกัน  จัดทาข้อตกลงร่วมกันในการร่วมพัฒนา ขั้นตอนที่ 4 การดาเนินงาน  ครูนิเทศซึ่งกันและกันตามแผนการนิเทศที่จัดทา  จัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือตามแผนที่จัดทา  ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นาเสนอแนวคิด สู่การปรับปรุง  สรุปผลการปฏิบัตเิ พื่อคัดเลือกผลงานการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศร่วมกัน  จัดแสดงผลงานที่เป็นเลิศ เผยแพร่สเู่ พื่อนครูกลุม่ อื่น ๆ ขั้นตอนที่ 5 การวัดประเมินผล  ตรวจสอบผลงานที่เป็นเลิศที่นาเสนอ /ความพึงพอใจของครู  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาปรับปรุง นาผลการประเมินมาพัฒนาปรับปรุงในทุกกิจกรรม และทุกขั้นตอนที่มี ปัญหา สอบถามความพึงพอใจของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง นาข้อเสนอแนะจากการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ขยายผลสู่เพื่อนครูเพื่อนาสู่การพัฒนาในรูปแบบอื่น ๆ ต่อไป การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ผลงาน Best Practice สาระภาษาไทย นาเสนอต่อคณะกรรมการ ณ โรงเรียน วัดศรีโลหะราษฎร์บารุง


58

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนางานบริหารบุคคล โดยรูปแบบ บ้านหัวหิน Model

การนาเสนอ Best Practice กลุ่ม คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ณ โรงแรมราชศุภมิตร

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ครูผู้สอน จานวน 14 คน มีการพัฒนากระบวนการสอน และมีรูปแบบการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ อย่างน้อย 7 รูปแบบ  ผลส าเร็ จ เชิ ง คุ ณ ภาพ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นบ้ า นหั ว หิ น จ านวน 240 คน มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกว่าปีการศึกษา 2554 3 %  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ต่อ BP ครูผู้สอน จานวน 14 คน มีความพึง พอใจในกระบวนการ ร้อยละ 100  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ผลการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ Best Practices ในการ นาเสนอผลงานในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และในระดับศูนย์พัฒนาการศึกษา ใน กลุ่มสาระต่าง ๆ

กระบวนการตรวจซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุงรูปแบบ บ้านหัวหิน Model  ตรวจสอบซ้า BP ผลการนาเสนอรูปแบบการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในเวทีต่าง ๆ เป็น ที่สนใจ และความพึงพอใจของผู้รว่ มกิจกรรม  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาปรับปรุง BP ข้อเสนอแนะที่ได้จากการเยี่ยมชม ของผู้ร่วมกิจกรรมในเวทีต่าง ๆ และการต่อยอดรูปแบบการปฎิบัติที่เป็นเลิ ศของ ครู ให้มีความหลากหลายมากขึ้น รวมทั้งส่ง เสริมให้มีการเปลี่ยนกลุ่มทางาน เพื่อให้เกิดแนวคิดที่หลากหลาย เกิดผลงานที่นา่ สนใจมากขึ้น

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ การขยายผลแนวคิดสู่โรงเรียนอื่น ๆ โรงเรียนในศูนย์เครือข่าย และจัดทา เอกสารประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน นาส่ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อขยายผล ในระดับเขตพื้นที่ต่อไป

การศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ ในชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

การนาเสนอ Best Practice สาระการ งานเทคโนโลยี ณ โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะ สงคราม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

59

การบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ด้าน การบริหารจัดการศึกษา การบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนบ้านทุ่งนานาง หรอก "เพ็ ญ ชาติอุ ปถั ม ภ์" สอดคล้ อ งกั บหน่ว ยงานต้น สั ง กั ด ทุ กระดั บ คื อ ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าใจบทบาทหน้าที่ของการมี ส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษาของสถานศึกษา , ผู้บริหารมีเทคนิควิธี และความรู้ ค วามเข้ า ใจหลั ก การบริ ห ารแบบมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า งกว้ า งขวางและ ลึกซึ้ง และผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ที่ดี สามารถพาองค์กรปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทางานได้ตามแนวคิดการบริหารโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อ ปรั บปรุ ง และพั ฒ นาสถานศึก ษาทุ ก ด้ า นให้ มี คุ ณ ภาพเกิ ด ผลงานเป็ น ที่ ประจักษ์  เพื่อเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษา  เพื่ อ เผยแพร่ รู ปแบบการบริ ห ารและจั ด การศึก ษาตามสภาพที่ แ ท้ จ ริ ง ของ สถานศึกษาให้เป็นประโยชน์ตอ่ สถานศึกษาอื่น

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารและจัดการศึกษา แบบมีส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา การบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง พัฒนานี้ใช้ หลักการนาหลักการ/ทฤษฎีของการบริหารและจัดการสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน เน้นด้านการบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ดาเนินการตามวงจร เดรมมิ่ง(PDCA) มาประยุกต์ใช้กับการน้อมนาพระราชดาริในการดาเนินการต่างๆ ให้ประสบผลสาเร็จคือ หลักของ การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ ัวฯ รัชกาลปัจจุบัน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางบุษกร ห้าสกุล ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนานางหรอก "เพ็ญชาติอุปถัมภ์"

โทรศัพท์ 081- 2991297 E-mail : bussakorn0208@hotmail.com

.. เข้าใจ.. เข้าถึง .. พัฒนา .. ร่วมประชุมปรึกษาหารือ


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

60 ร่วมวิเคราะห์การดาเนินงานในปีที่ผ่านมา

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา การบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาเหมาะสาหรับ ผู้บริหารทุกหน่วยงาน และบุคคลทุกระดับที่ต้องการพัฒนาคุณภาพงาน ให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล โดยมีขนั้ ตอนที่สามารถเขียนเป็นแผนผัง ดังนี้ ร่วมวางแผน

ร่วมดาเนินการ

ร่วมประเมินผล

ร่วมดูแล กากับ ติดตาม

ร่วมวางแผนบริหารจัดการในปีปัจจุบันและใน แผน 4 ปี

การตรวจสอบคุ ณ ภาพ โดยการร่ ว มวิเ คราะห์ ผ ลการด าเนิน การบริ ห ารและจั ด การศึกษา ซึ่งเป็นแนวการบริหารและจัดการศึกษาที่ทาให้สถานศึกษาและผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียนมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ โดยมีแนวทางการนาการบริหารและจัดการศึกษา แบบมีส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง ไปใช้ประโยชน์ คือ สามารถนาไปใช้ได้ทันที ภายใต้การเปิด กว้างทางความคิด ที่ผู้บริหารควรรับฟังความคิดเห็นของทุกฝ่าย พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้องร่วมรับรู้ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการบริหารและจัดการศึกษาแบบมีสว่ นร่วม ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  เป็นต้นแบบให้สถานศึกษาและหน่วยงานอื่นมาศึกษาดูงาน  สถานศึกษาพัฒนาต่อเนื่อง เป็นระบบ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  สถานศึกษา ครู นักเรียนได้รับรางวัลในระดับต่างๆ  ผู้บริหารมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ได้รับการยอมรับเป็นคณะทางานและได้รับรางวัลใน ระดับต่างๆ ความพึงพอใจ  แบบสอบถามความพึงพอใจผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู บุคลากรมีความพึงพอใจ 95% ปัจจัยความสาเร็จ  ความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคณะครู บุคลากร นักเรียน ชุมชน คณะกรรมการ สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานในท้องถิ่น

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุงกระบวนการของการบริหาร และจัดการศึกษา กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการของการบริหาร และจัดการศึกษา โดยการศึกษา วิเคราะห์ใหม่ทุกขั้นตอน ( ข้อดี / ข้อเสีย – แนว ดาเนินการแก้ไข / พัฒนา ) จะพบแนวทางดาเนินการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน้

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) 2) 3) 4) 5)

จัดทาเอกสาร – CD. เผยแพร่ผลงาน จุลสารสัมพันธ์บ้านโรงเรียน ( เดือนละ 1 ฉบับ ) เว็บไซด์โรงเรียน ( ตลอดปีการศึกษา ) เว็บไซด์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ในจังหวัดกาญจนบุรี (มติกาญจน์,พิมพ์กาญจน์)

เข้าใจ...เข้าถึง...ร่วมพัฒนา ร่วมกันทุกกระบวนการของการบริหาร และจัดการศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

61 ร่วมดาเนินงาน / กิจกรรม / โครงการ


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

62

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การบริหารโรงเรียนตามหลัก SCBM และทฤษฎีเชิงระบบ ( System theory ) ผู้บริหารสถานศึกษาขนาดใหญ่

นายสุวิทย์ ศรีจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ โทรศัพท์ 081-5191705 E-mail : suwit2506@hotmail.com

ตามกลยุทธ์ของ สพฐ.และสพป.กาญจนบุรีเขต1 ที่ 1-5 และแผนกลยุทธ์แผนปฏิบัติการของโรงเรียน โดยนาแนวคิด ทฤษฎีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน school- Based Management , ทฤษฎีเชิงระบบ และวงจรเดมมิ่ง (Dammig Circle) ที่นามาใช้ในการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดย เริ่มต้นตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 ถึงปีการศึกษา 2554

กระบวนการพัฒนาการบริหารโรงเรียนตามหลัก SCBM และ ทฤษฎีเชิงระบบ ( System theory ) กลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการพัฒนาการบริหารโรงเรียนตามหลัก SCBM และทฤษฎีเชิงระบบ ( System theory ) ได้แก่ จานวนครูและบุคลากรใน โรงเรียน จานวน 17 คน จัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ นักเรียน 250 คนเมื่อปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 จานวน 252 คน และปีการศึกษา 2554 จานวน 254 คน โดยมีกระบวนการดังนี้  ทฤษฎีระบบพื้นฐาน ทฤษฎีระบบพื้นฐาน (Basic Systems Theory) ขององค์การซึ่งมี 5 ส่วน คือ ปัจจัยป้อน กระบวนการแปรรูป ผลผลิต ข้อมูลย้อนกลับ และสภาพแวดล้อม ดังภาพต่อไปนี้ สิ่งแวดล้อม องค์การ กระบวนการแปรรูป ปัจจัยป้อน

ข้อมูลย้อนกลับ

ผลผลิต

 ปัจจัยป้อน (Inputs) คือทรัพยากรที่เป็นบุคคล วัสดุอุปกรณ์ เงิน หรือข้อมูลที่ใช้ใน การผลิตหรือการบริการ  กระบวนการแปรรูป (Transformation Process) จาการใช้เทคโนโลยีและหน้าที่ใน ทางการบริห ารตัว ป้ อนนาไปสู่ กระบวนการแปรรูป ในโรงเรีย นปฏิสัม พัน ธ์ ระหว่า ง นักเรียนกับครูเป็นส่วนหนึ่งของการแปรรูปหรือกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งทาให้นักเรียน กลายเป็นพลเมืองที่มีการศึกษา ซึ่งสามารถทาประโยชน์ให้แก่สังคมต่อไป  ผลผลิต (Output) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์และการบริการขององค์การ องค์การทางการศึกษา ผลิตและแจกจ่ายความรู้  ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) คือ สารสนเทศเกี่ยวกับผลผลิตหรือกระบวนการของ องค์การ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการคัดเลือกตัวป้อนระหว่างวงจรต่อไป ข้อสารสนเทศเช่นนี้ อาจนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งในกระบวนการแปรรูปและผลผลิตในอนาคต การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

63

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 สภาพแวดล้อม (Environment) สภาพแวดล้อมที่อยูล่ ้อมรอบองค์การ ได้แก่ แรงผลักดัน (Forces) ทั้งด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ที่มาปะทะกับองค์การ ดังนัน้ การสร้างกรอบแนวคิดให้องค์การเป็นระบบเปิด (Open System ) จึงเป็นแนวคิดรวบ ยอดที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งของทฤษฏีระบบองค์การที่เป็นโรงเรียนหรือสถานศึกษาทั้งหมด เป็นระบบเปิด นอกจากนี้ ยังได้ใช้การบริหารโดยใช้หลักการ School Based Management (SBM) มีกรอบการดาเนินงาน ดังนี้  การบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐาน (SBM) การกระจายอ านาจ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)การกระจายอานาจ

มีอิสระในการบริหารจัดการ

สถานศึกษา

ผู้ปกครอง ชุมชน

มีพันธสัญญากับผู้เรียนและชุมชน -การเรียนการสอน -การพัฒนาหลักสูตร -การประกันคุณภาพ -การใช้ทรัพยากร -การตรวจสอบผลงาน

-มีความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน ผู้ปกครองและ บุคลากรเพิ่มขึ้น

-ผู้ปกครองร่วมมือกับโรงเรียนเพิ่มขึน้ การบริหารจัดการ

มีการตัดสินใจโดยคณะบุคคลแทนการตัดสินใจ โดยผู้บริหาร ร.ร.เพียงคนเดียว

บุคลากร

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

-มีการพัฒนาทักษะสู่มืออาชีพ -มีการพัฒนาตนเอง


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

64

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 กระบวนการการนาหลักการสู่การปฏิบัติ

/

/

( Plan )

( Action )

(DO )

( Chack )

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการบริหารโรงเรียนตามหลัก SCBM และทฤษฎีเชิงระบบ ( System theory ) จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการดาเนินงานตามขั้นตอน กระบวนการ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อการบริหารโรงเรียนตามหลัก SCBM และทฤษฎีเชิงระบบ ( System theory ) จนเกิดผลสาเร็จดังนี้  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ จานวนนักเรียนเพิ่มขึ้น โดยมีนักเรียนนอกเขตบริการย้ายมาเรียนเพิ่มขึ้น  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ปีการศึกษา 2554 ได้รับรางวัล ดังนี้ 1) ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองการเล่านิทาน เด็กบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ม.ต้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครัง้ ที่ 61 2) ได้ รั บ รางวั ล เกี ย รติ บั ต รเหรี ย ญทองผลงานสิ ง ประดิ ษ ฐ์ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.ต้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) ได้ รั บ รางวั ล เกี ย รติ บั ต รเหรี ย ญทองการแสดงทางวิ ท ยาศาสตร์ ท าง วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.ต้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและ ภาคตะวันออกครั้งที่ 61 4) ได้ รับ รางวั ล เกี ย รติ บัต รเหรี ย ญทอง ศาสตร์ ค ณิ ต ในชี วิ ต ประจ าวั น ระดั บ ประถมศึกษา งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61 5) ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง โครงงานคุณธรรมระดับประถมศึกษา งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออกครั้งที่ 61 6) ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองกิจกรรมเต้นแอโรบิก กลุ่มเด็กพิเศษ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออกครั้งที่ 61 7) ได้ รั บ รางวั ล เกี ย รติ บั ต รเหรี ย ญทองกิ จ กรรมร าไทย กลุ่ ม เด็ ก พิ เ ศษ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออกครั้งที่ 61 ปีการศึกษา 2553 ได้รับรางวัล ดังนี้ 8) ได้ รั บ รางวั ล เกี ย รติ บั ต รเหรี ย ญทองผลงานสิ ง ประดิ ษ ฐ์ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.ต้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางฯ ครั้งที่ 61 9) ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองการแสดงทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.ต้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางฯครัง้ ที่ 61 10) ได้ รับ รางวั ล เกี ย รติ บัต รเหรี ย ญทอง ศาสตร์ ค ณิ ต ในชี วิ ต ประจ าวั น ระดั บ ประถมศึกษา งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางฯครัง้ ที่ 61 11) ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง โครงงานคุณธรรมระดับประถมศึกษา งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออกครั้งที่ 61 12) ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองกิจกรรมเต้นแอโรบิก กลุ่มเด็กพิเศษ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออกครั้งที่ 61 13) ได้ รั บ รางวั ล เกี ย รติ บั ต รเหรี ย ญทองกิ จ กรรมร าไทย กลุ่ ม เด็ ก พิ เ ศษ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออกครั้งที่ 61  ความพึง พอใจ ครู นั ก เรี ยน ชุมชน มีความพึง พอใจต่อการบริห ารงานด้ า น วิชาการ อยู่ในระดับสูง  ปัจจัยความสาเร็จ 1) ครูปรับวิธีสอน 2) ชุมชนให้ความร่วมมือกับโรงเรียน

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ โรงเรียนได้ผยแพร่ความสาเร็จจากการการใช้กระบวนการบริหารผ่านวารสาร ประชาสัมพันธ์โรงเรียน และ Website http://sswwww.no-ip.info:81/

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

65


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

66

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การบริหารจัดการศึกษา โดยใช้หลักการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

นายวุฒิพงษ์ ปฏิเวชวัฒนางกูร ผู้อานวยการโรงเรียนตลาดสารอง โทรศัพท์ 081-9430475 e-mail: mahakao@hotmail.com

การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้หลักการจัดการความรู้ ที่ทาให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาจนประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายและจุดเน้นของสพป./สพฐ. ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อบริหารจัดการศึกษาในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ  เพื่อบริหารจัดการศึกษาในสถานศึกษาประสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย  เพื่อพัฒนาโรงเรียนตลาดสารองให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา โดยใช้หลักการจัดการความรู้

การเผยแพร่ผลงานด้านการบริหารจัด การศึกษาโดยใช้หลักการบริหารจัดการ ความรู้ (KM) ให้กับผู้บริหารและคณะครู ที่มาศึกษาดูงาน

จากวิสั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และกลยุ ทธ์ ของสพฐ. สพป.กจ.1 โดยน า หลัก การ ทฤษฎีที่นามาใช้ใ นการบริห ารจั ดการศึกษา โดยใช้ห ลัก การจัด การ ความรู้ โดยใช้หลักการจัดการความรู้ (KM) ซึ่งได้แก่ 1) การพัฒนาคนอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 2) ด้านเทคโนโลยี ให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ 3) การพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ดว้ ยการเชื่อมโยง บูรณาการอย่าง สมดุล โดยใช้หลักการบริหารจัดการศึกษาบูรณาการกับการบริหารจัดการศึกษา แบบมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษา

กระบวนการบริหารจัดการศึกษา โดยใช้หลักการจัดการความรู้ กลุ่มเป้าหมายในการบริหารจัดการศึกษา โดยใช้หลักการจัดการความรู้ ได้แก่ 1) บุคลากรในสถานศึกษา ได้แก่ ครู นักเรียน นักการฯ เจ้าหน้าที่ธุรการ และผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้อง 2) บุ ค ลากรในชุ ม ชน ได้ แ ก่ ผู้ ป กครองนั ก เรี ย น คณะกรรมการ สถานศึกษา และบุคคลในชุมชน โดยมีขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้

ประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

67

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1.

6.

/

2.

(

)

3.

/

5. 4.

/

/

 การตรวจสอบคุณภาพ โดยวิธีการ 1) การสังเกต 2) สอบถาม,ซักถาม 3) ประเมินความพึงพอใจ โดยใช้แบบสอบถาม 4) การรายงานผลกิจกรรม/โครงการ 5) การรายงานผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (SAR)  ผลการตรวจสอบคุณภาพ บุคลากรในสถานศึกษาและชุมชนให้ความศรัทธาและมี ความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด  แนวทางการนาใช้หลักการจัดการความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 1) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2) การนาไปใช้อย่างเป็นระบบ 3) การแก้ปัญหาและปรับปรุงสถานศึกษาให้มคี ุณภาพ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการศึกษา โดยใช้หลักการจัดการความรู้ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ครูและนักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ผลการประเมินคุ ณภาพการศึก ษาขั้ นพื้น ฐาน ภายนอก จาก สมศ. รอบที่ 3 โรงเรียนได้รับการรับรอง คุณภาพอยูใ่ นระดับ ดี 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการทดสอบ O-NET อยู่ในระดับ พอใช้ 3) นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม ในระดับภาค กลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61 ปีการศึกษา 2554 4) ครูได้รับรางวัลครูสอนดี จากสานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพ เยาวชน (สสค.) 5) ครูได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี จากคุรุสภา 6) สถานศึก ษาได้รับคั ด การเลือ กจากโรงพยาบาลท่ า ม่วงเป็ น โรงเรีย นเครือ ข่ า ย เด็ ก ไทยฟั น ดี ปี 2555 ตามโครงการพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยส่ ง เสริ ม ป้ อ งกั นทางทั น ต สาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2555 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ประชุมเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาพังตรุ


68

มอบใบประกาศโครงการพัฒนาครู ทั้งระบบ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ความพึงพอใจ 1) ครูในโรงเรียนมีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95.88 2) ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการศึกษาอยู่ในระดับมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.56 3) คณะกรรมการสถานศึกษาฯ มีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการศึกษาอยู่ใน ระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 96.18

ปัจจัยที่ทาให้การบริหารจัดการศึกษา โดยใช้หลักการจัดการความรู้ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย

ประชุมวิชาการ

1) ภาวะผู้นาและกลยุทธ์ ของผู้บริหารที่มีแนวคิ ดในหลักการบริหารจั ด การศึกษาโดยใช้หลักการจัดการความรู้ (KM) และบูรณาการกับ หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 2) ความตระหนักถึงประโยชน์สูงสุดที่เกิดกับสถานศึกษาของผู้บริหาร ทา ให้ ไ ด้ รับความศรั ทธาจากบุ ค ลากรในโรงเรี ย น ผู้ ปกครองนั ก เรี ย น คณะกรรมการสถานศึกษาฯและชุมชน

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) เป็นวิทยากรถ่ายทอดถอดประสบการณ์จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ การปฏิบัติ ในการประชุมสัมมนาการขับเคลื่อนจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ ผู้ เ รี ย นสู่ ก ารปฏิ บั ติ ของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา กาญจนบุ รี เขต 1 ณ ห้ อ งประชุ ม โรงแรมริ เ วอร์ แ คว อ าเภอเมื อ ง กาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2554 2) เป็นวิทยากร เผยแพร่ความรู้ดา้ นการบริหารจัดการศึกษาและเอกสารในการ รองรั บการประเมินคุ ณ ภาพการศึก ษาขั้ นพื้น ฐาน ภายนอก จาก สมศ. รอบที่ 3 ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห ารและคณะครู ที่ ม าศึ ก ษาดู ง านที่ โ รงเรี ย น อย่ า ง ต่อเนื่องและเป็นจานวนมาก 3) น าผลงานนั ก เรี ย นไปจั ด นิ ท รรศการร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ยพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึ ก ษาพั ง ตรุ เนื่ อ งในงานศิ ล ปหั ต ถกรรมระดั บ ภาคกลางและภาค ตะวันออก ครัง้ ที่ 61 ปีการศึกษา 2554

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

69

การส่งเสริมครูเพื่อมุ่งสู่ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ด้ว ย สพฐ. และสพป.กจ. 1 ได้ ก าหนดกลยุ ทธ์ที่ 1 พั ฒ นาคุ ณภาพและ มาตรฐานการศึ ก ษา ทุ ก ระดั บ ตามหลั ก สู ต รและส่ ง เสริ ม ความสามารถด้ า น เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องในการเรียนรู้ประกอบกับสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมิน คุ ณ ภาพการศึก ษา (องค์ ก รมาหาชน) ได้ เสนอแนะไว้ใ นรายงานการ ประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบ 2 เมื่อวันที่ 15- 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 จานวน 3 ข้อ 1 ใน 3 ข้อคือ ครูควรพัฒนา ผู้ เรี ย นให้ มีค วามรู้ แ ละทั ก ษะที่ จ าเป็ น ตามหลั ก สู ต รในทุ ก สาระการเรี ย นรู้ โ ดย ยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้นในทุกวิชา ดังนั้นโรงเรียนบ้านหนองสองตอน จาเป็นต้องสร้างขวัญและกาลังใจให้ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความตระหนักในบทบาทหน้าที่ เพราะมีแนวคิดว่า จะต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รับเกียรติบัตร / รางวัล เมื่อได้รับเกียรติบัตร / รางวัลแล้วก็จะมีขวัญและกาลังใจที่จะสอนนักเรียนเต็มความรู้ เต็มความสามารถ และเต็มใจ ซึ่งส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้ในที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อให้ครูได้รับเกียรติบัตร/รางวัล  เพื่อให้ผ ลสั มฤทธิ์ O-NET ของนั กเรีย นชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 เพิ่มขึ้น  เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาพึงพอใจต่อการปฏิบัตงิ านด้านวิชาการ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการส่งเสริมครู เพื่อมุ่งสู่ยกระดับผลสัมฤทธิ์ การส่ง เสริมครูเพื่อ มุ่งสู่ ยกระดับผลสั มฤทธิ์ ด้ วยวิธี เสริ มพลัง (Empowered Development Approach) แบ่งออกเป็น 4 มิติ คือ 1) การอบรม (Training) 2) การเป็นพี่เลีย้ ง (Mentoring) 3) การชีแ้ นะ (Coaching) 4) การนิเทศ (Supervision) และใช้กระบวนการวงจรของเดมมิ่ง (Deming Cycle) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผน (Plan) 2) การดาเนินการ (Do) 3) การตรวจสอบ (Check) 4) การปรับปรุง (Action)

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายบารุง ข่ายคา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสองตอน โทรศัพท์ 089-9188977 E-mail : khaikam7@gmailcom


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

70

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการส่งเสริมครูเพื่อมุ่งสู่ยกระดับผลสัมฤทธิ์ กลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการส่งเสริมครูเพื่อมุ่งสูย่ กระดับผลสัมฤทธิ์ ได้แก่ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน 15 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 26 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 29 คน รวมทั้งสิ้น 70 คน เพื่อให้เกิดผลดีเลิศในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้เพิ่มขึ้น จึงได้ดาเนินการดังนี้  การให้ ค รู ไ ด้ รั บ เกี ย รติ บั ต ร / รางวั ล ใช้ ห ลั ก วิ ธี ก ารเสริ ม พลั ง ( Empowered Development Approach ) แบ่งออกเป็น 4 มิติ คือ 1) การอบรม ( Training ) 2) การเป็นพี่เลีย้ ง (Mentoring ) 3) การชีแ้ นะ ( Coaching ) 4) การนิเทศ (Supervision)  การยกระดั บผลสั ม ฤทธิ์ O-NET ของนั ก เรี ย นชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใช้หลักวงจรของเดมมิ่ง ( Deming Cycle ) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผน (Plan) 2) การดาเนินการ (Do) 3) การตรวจสอบ (Check) 4) การปรับปรุง ( Action )  การตรวจสอบคุณภาพ 1) วัดประเมินผลก่อนเรียน 2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอน / เข้าค่ายวิชาการเป็นระยะ ๆ 3) วัดผลประเมินผลหลังเรียน 4) สอบถามความพึงพอใจ  แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ โดยให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ สอนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 และชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ทุกคนร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ไข ร่วมรับผิดชอบ เมื่อสิ้นปีการศึกษาแล้วสรุปให้ที่ประชุมผู้ปกครองทราบ พร้อมทั้งสอบถาม ความพึงพอใจ สาหรับกิจกรรมเข้าค่ายวิชาการเป็นระยะ ๆ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โดยเขียนเป็นวงจรได้ดังนี้ Plan ประชุม วางแผน Action

Do

เข้าค่ายวิชาการ ระยะที่ 2

จัดทาข้อสอบเข้า ค่ายวิชาการ ระยะที่ 1 Check วัดผลประเมินผล

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการส่งเสริมครูเพื่อมุ่งสู่ยกระดับผลสัมฤทธิ์  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ครูได้รับเกียรติบัตร/รางวัลจานวน 5 คน รวม 11 รางวัล ดังนี้ 1) นายบารุง ข่ายคา ได้รับเกียรติบัตรหนึ่งแสนครูดีประจาปี 2554 จากคุรุสภา 2) นางอารมณ์ บุญเรืองรอด ได้รับเกียรติบัตร (1) ครูสอนดีประจาปี 2554 พร้อมเงินรางวัล จานวน 10,000 บาท จาก สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) (2) ครูผู้สอนนักเรียนระดับเหรียญเงิน กิจกรรมเขียนเรียงความและคัดลายมือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ประจาปี 2554 จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน 3) นางวนิดา ปากโมกข์ ได้รับเกียรติบัตร (1) ครู ผู้ ส อนนั กเรี ยนได้ รับรางวั ลระดับเหรีย ญทอง กิ จ กรรมทาอาหาร คาวหวานเพื่อสุขภาพ(ประเภทเส้น) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ประจาปี 2554 จาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (2) ผู้ทาคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษาระดับจังหวัดประจาปี การศึกษา 2555 จากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ ศึกษา (สกสค.) (3) ครูผู้สอนกิจกรรมประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุเหลือใช้ฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พ และเทคโนโลยี ประจ าปี 2554 จากส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 (4) กิจกรรมโครงงานอาชีพ ประจาปี 2554 จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 (5) กิ จกรรมอาหารคาวหวานเพื่อ สุขภาพ(ประเภทเส้น ) ประจ าปี 2554 จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 4) นางโฉมเฉลา ศรีสนาม ได้รับเกียรติบัตร (1) หนึ่งแสนครูดีประจาปี 2554 จากคุรุสภา (2) ครูดีในดวงใจ ประจาปี 2555 จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต 1 5) นางจันทร์เพ็ ญ แคล้ วภัย พาล ได้รับเกี ยรติบัตรหนึ่ง แสนครูดี ประจาปี 2554 จากคุรุสภา  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ผลสั มฤทธิ์ O-NET ของนัก เรี ยนชั้น ประถมศึก ษาปีที่ 6 เมื่อ เปรีย บเทีย บกั บ ปีการศึกษาที่ผ่านมาโดยภาพรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.06 2) ผลสั มฤทธิ์ O-NET ของนัก เรี ยนชั้น ประถมศึก ษาปีที่ 6 เมื่อ เปรีย บเทีย บกั บ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 โดยภาพรวมสูงกว่า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 ร้อยละ 0.97

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

71


72

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) ผลสั ม ฤทธิ์ O-NET ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ปีการศึกษาที่ผ่านมาโดยภาพรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.67 4) ผลสัมฤทธิ์ O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เมื่อเปรียบเทียบกับสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 โดยภาพรวมสู งกว่าสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 ร้อยละ 6.16 5) ผลสัมฤทธิ์ O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เมื่อเปรียบเทียบกับระดับประเทศ โดยภาพรวมสูงกว่าระดับประเทศ ร้อยละ 3.37  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP 1) แบบสอบถามความพึ ง พอใจของผู้ ป กครองนั ก เรี ย นจ านวน 336 คน ตอบแบบสอบถามจ านวน 325 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 89.53 คณะครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษาสอนให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์(ผลการสอบ) ระดับความพึง พอใจ 4.48(ระดับมาก) หรือเท่ากับร้อยละ 89.60 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาจานวน 15 คน ตอบแบบสอบถามจ านวน 15 คน คิด เป็นร้ อยละ 100 ความพึงพอใจ 4.71(ระดับมากที่สุด) หรือเท่ากับร้อยละ 94.20

ปัจจัยที่ทาให้การส่งเสริมครูเพื่อมุ่งสู่ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ผู้อ านวยการสถานศึก ษาเป็ นบุ ค คลส าคัญ ที่ สุ ด ในการเป็ น ผู้น าการพั ฒนา การ บริ หารจั ดการทั้ง สี่ด้ าน ได้แ ก่ ด้ านวิชาการ ด้ านงบประมาณ ด้ านบุค คล และด้ า น บริหารทั่วไป แต่ด้านที่ถือได้ว่าเป็ นหัวใจสาคัญที่สุด คือด้านวิชาการ เมื่อผู้อานวยการ สถานศึกษาให้ความสาคัญเป็นอันดับหนึ่ง คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ก็จะสนับสนุนให้ความร่วมมือใน การปฏิบัตงิ าน เพราะทุกคนต่างก็ยึดเป้าหมายที่นักเรียนเป็นหลักให้นักเรียนเป็นผู้มีความรู้ และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) เผยแพร่ ผ ลงานให้ผู้ ปกครองนัก เรี ย นทราบ ในการประชุมผู้ ปกครองทั้ ง โรงเรียน 2) นา Best Practice ส่งให้โรงเรียนในเครือข่ายหนองบัว - แก่งเสี้ยนจานวน 8 โรงเรียน เพื่อให้ผู้บริหารหรือผู้สนใจนาไปศึกษาและปรับใช้ตามความ เหมาะสม 3) เผยแพร่ข้อมูลทางเว็ปไซต์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต 1 http://www.kan1.go.th

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

73

รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการใช้แหล่งเรียนรู้ และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนวัดศรีอุปลาราม ผ่านการรับรองมาตรฐานจากการประเมินภายนอก รอบสองทั้งในระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเมื่อเดือนมกราคม 2550 สมศ.ได้ ให้ข้อ เสนอแนะว่า ทิศทางการพัฒนาในอนาคต ด้ านผู้ บริหารควร พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ส่วนด้านผู้เรียนให้เน้น การเรียนรู้ที่หลากหลาย ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญเและควรพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ดังนั้นในฐานะผู้บริหารจึงจาเป็นต้องหา รูปแบบหรือแนวทางในการบริหารจัดการที่ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมและพัฒนา คุณผู้เรียน จึงกาหนดวัตถุประสงค์ ไว้ดังนี้  เพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการศึกษาเข้ามามีส่วน ร่วมในการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัวเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน  เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับครูและ นักเรียนและชุมชน  เพื่ อ สร้ า งความตระหนั ก ในการส านึ ก รั ก ท้ อ งถิ่ น ผ่ า นกระบวนสื บ สาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมใน การใช้แหล่งเรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ของตาบลหนองบัวมาพัฒนา คุณภาพผู้เรียน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ.2545 มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชุมชน องค์กรปกครองท้อ งถิ่น เอกชน องค์ก รเอกชน องค์ก รวิชาชีพ สถาบั น ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการ แสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา และวิทยาการต่างๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการ สนั บสนุ นให้ มีก ารแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ การพั ฒ นาระหว่างชุม ชน รวมทั้ ง สอดคล้องกับนโยบาย จุดเน้น และยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อเสนอ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองนั้นให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพคน ไทยยุคใหม่ที่มีนิสัยใฝ่เรียนรู้การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งการเรียนรู้ ยุคใหม่ รวมทั้งการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาค การพัฒนา BP ในครั้งนี้ ได้สังเคราะห์แนวคิด ด้านการบริหารแบบมีส่วนร่วม ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้านการจัดการเรียนรู้จากแหล่ง เรียนรู้ และด้านภูมปิ ัญญาท้องถิ่น สรุปได้ ดังนี้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ดร.เตือนใจ รักษาพงศ์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดศรีอุปลาราม โทรศัพท์ 089-5508170 E-mail : jai_sim90@hotmail.com

แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนห้องสมุดมีชีวิต โรงเรียนวัดศรีอุปลาราม


74 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนประเพณีร่อยพรรษา

จัดนิทรรศการวันวิชาการส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การดาเนินงานการปฏิรูปการเรียนรู้ของโรงเรียนยึดหลักการและแนวคิดการบริหาร แบบมีส่วนร่วม ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้านการจัดการเรียนรู้จาก แหล่งเรียนรู้ และด้านภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ดังนี้ 1) แนวคิดด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการปฏิรูปทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง คือ ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาไปตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพของ ดัง สาระของการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที2่ )พ.ศ.2545 ที่กาหนดไว้ในหมวด 4 ตามมาตรา 24 , 25, 29 ผู้พัฒนา จึงได้วิเคราะห์และสรุปองค์ประกอบของด้านการบริหารแบบมีส่วนร่วม ด้านการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้านการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ และด้านภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่จะใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาครั้งนี้ ออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดเนื้อหา สาระการเรียนรู้ ด้านการจัดสื่อและแหล่งการเรียนรู้ ด้านการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และด้านความร่วมมือกับชุมชนในการจัดการศึกษา 2) แนวคิดการปฏิรูปทั้งโรงเรียน เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วน ร่วมอย่างเต็มที่ในการนาหลักการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายโดยมีขั้นตอนที่ สาคัญ 4 ขั้นตอนคือ 1) การร่วมคิดและสร้างจิตอาสา 2) ร่วมวางแผนใช้แหล่งเรียนรู้และนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) การร่วมดาเนินการ 4)ร่วมประเมินและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 3) การใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาเป็นเครื่องมือหลักในการดาเนินการวิจัยและ พัฒนามีขั้นตอนการดาเนินงานที่สาคัญแบ่งกระบวนหลักเป็น 2 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนการ พัฒนา และขั้นตอนการวิจัย มีการดาเนินการต่อเนื่องกันไป

กระบวนการรูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการใช้แหล่ง เรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัวมาพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน กลุ่ ม เป้ า หมายในการน า BP ไปใช้ กลุ่ ม เป้ า หมายในการพั ฒ นาได้ แ ก่ บุ ค ลากรของโรงเรี ย นวั ด ศรี อุ ปลาราม และผู้ เกี่ ย วข้ อ ง ประกอบด้ ว ย ครู 15 คน นั ก เรี ย น จ านวน 304 คน ผู้ ป กครองนั ก เรี ย นจ านวน 304 คน คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 12 คน ผู้นาชุมชน จานวน 8 คน รวม 643 คน โดย รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ของตาบลหนองบัวเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ประกอบด้วย 1) ศึกษาสภาพภาพการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและความต้องการในการ ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถิ่นในตาบลหนองบัวของโรงเรียนวัดศรีอุปลาราม 2) สารวจข้อมูล และสร้างความร่วมมือกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในตาบลหนองบัว 3) นาเสนอ และทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการใช้ แหล่งเรียนรู้และนาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดย มีกระบวนการ ดังนี้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

75

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

จากหลักสูตรท้องถิ่นสูก่ ารปฏิบัติใน สถานศึกษาอาหารพื้นบ้านหนองบัว “ แยมหยวก”

1.การร่วมคิดและสร้างจิตอาสา วิธีดาเนินการ  จัดประชุมชีแ้ จงและสร้างความตระหนักให้แก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาฯและ ผู้นาชุมชน ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ชม VCD ตัวอย่างความสาเร็จ  ผู้บริหารบรรยายสรุปความสาคัญของการการใช้แหล่ง เรียนรูแ้ ละนาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัวมา พัฒนาคุณภาพผู้เรียน  ร่วมสรรหาผู้มสี ว่ นร่วมในการสารวจแหล่งเรียนรูแ้ ละภูมิ ปัญญาท้องถิ่นตาบลหนองบัว  สารวจสารวจแหล่งเรียนรูแ้ ละภูมิปัญญาท้องถิ่นตาบล หนองบัว  จัดทาเนียบแหล่งเรียนรูแ้ ละภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.ร่วมประเมินและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ วิธีดาเนินการ  ประเมินผลการ ดาเนินงาน  จัดนิทรรศการ เผยแพร่ผลงาน  จัดทาเอกสาร วารสารแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ และ VCD  จัดทาประกาศเกียรติ คุณให้แก่ผู้ที่มีจิต อาสา เสียสละเพื่อ โรงเรียนและชุมชน  โรงเรียนและชุมชน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน แลกเปลี่ยนเรียนรุซ้ ึ่ง กันร่วม

รูปแบบการบริหาร จัดการแบบมีส่วนร่วมใน การใช้แหล่งเรียนรู้และ นาภูมิปัญญาท้องถิ่นของ ตาบลหนองบัวมาพัฒนา คุณภาพผู้เรียน

3.การร่วมดาเนินการ วิธีดาเนินการ  จัดทาหลักสูตรท้องถิ่นหนองบัว  จัดทาแผนจัดการเรียนรูบ้ ูรณาการ หลักสูตรท้องถิ่นหนองบัว  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการ เรียนรูแ้ ละตามปฏิทินการดาเนินงาน  ส่งเสริมการจัดทาสารคดีสืบค้น ประวัติศาสตร์หนองบัว  จัดประกวดแข่งขันการทาอาหาร พืน้ บ้านหนองบัว

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

2. ร่วมวางแผนใช้ แหล่งเรียนรู้และภูมิ ปัญญาท้องถิ่นหนอง บัว วิธีดาเนินการ  ประชุมชีแ้ จง วางแผน  กาหนดกิจกรรม และผู้รับผิดชอบ  กาหนดปฏิทิน การดาเนินงาน  กาหนดแนวทาง การจัดทา

หลักสูตรท้องถิ่น  กาหนดแนวทาง จัดทาแผนการ จัดการเรียนรู้

อาหารพื้นบ้านหนองบัว “แกงบวน”


76

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วน ร่วมในการใช้แหล่งเรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัว มาพัฒนาคุณภาพผู้เรียนประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียน และครูร้อยละ 100 ได้เรียนรู้จากใช้แหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัว ดังนี้ 1) นางจาปี วงศ์นอ้ ม ภูมิปัญญาด้านอาหารพื้นบ้านหนองบัว 2) นายต้น วงษ์เพชร ภูมิปัญญาด้านประเพณีงานศพ 3) นางสาวลัดดา มงคล ภูมิปัญญาด้านเพลงพืน้ บ้าน และประเพณีร่อยพรรษา 4) นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้เรื่องราวของตาบลหนองบัว ซึ่งได้แก่ อาหารพื้นบ้านหนองบัว ประเพณีร่อยพรรษา บุคคลสาคัญที่เป็นที่เคารพและบูชา ซึ่งได้แก่ หลวงพ่อเฒ่ายิ้ม หลวงพ่อเหรียญ 5) นักเรียนได้เรียนรู้สิ่งที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นวิถีชีวิตของชาวหนองบัว ในแหล่ง เรียนรู้ได้แก่ พิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านหลวงพ่อเฒ่ายิ้ม -หลวงพ่อเหรียญ ซึ่งเก็บของเก่าที่มีค่า ทางประวัตศิ าสตร์ของหนองบัวและมีคุณค่าทางจิตใจของชุมชน 6) ครูทุกคนมีแหล่งเรียนรู้ ได้รับความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นหนองบัว ตลอดจนนาภูมิ ปัญญามาถ่ายทอดสู่ผู้เรียน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) โรงเรียนวัดศรีอุปลารามได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ในการประกวดห้องสมุดมีชีวิต ประจาปี 2553 ตามโครงการพัฒนาห้องสมุด 3 ดี สพป.กจ.1 2) โรงเรียนได้รับการรับรองจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินผลคุณภาพ การศึกษา (องค์กรมหาชน) สมศ. รอบสาม อยูใ่ นระดับดีและดีมาก ปี 2555 ผู้บริหารและครู 1) รางวัล เป็ นผู้ทาคุ ณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒ นธรรม ระดั บจั งหวั ด ด้า นผู้ส่ งเสริ ม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ จากกระทรวงวัฒนธรรม 2) รางวัลระดับชาติ การยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้ทาคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษา อุทิศตนเสียสละ อดทน ในการปฎิบัติหน้าที่และพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นที่ประจักษ์ตอ่ สาธารณชน ประจาปี 2554 จาก สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ 3) ได้ รั บ ทุ น ศึ ก ษาวิ จั ย จากกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ในหั ว ข้ อ “โครงการศึ ก ษาวิ จั ย กระบวนการปลู ก ปั ญ ญาโดยเน้ น การปฏิ บั ติ จ ริ ง เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ” ปีงบประมาณ 2554 4) ครูได้รับรางวัล เหรียญทอง ประเภท การแข่งขันประกอบอบอาหาร(จากวัสดุท้องถิ่น) งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปี 2550 จานวน 1 คน 5) ครูได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ประจาปี 2554 จานวน 3 คน 6) ครูได้รับรางวัล ครูสอนดี ประจาปี 2554 จานวน 1 คน 7) ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงินการประกวด การออกแบบผลิตภัณฑ์ สิ่งของ ด้วยคอมพิวเตอร์ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 61 ปีการศึกษา 2554 จานวน 1 คน 8) ครูได้รับแต่งตัง้ ให้เป็นครูชานาญการพิเศษ ค.ศ. 3 จานวน 5 คน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการใช้แหล่ง เรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลหนองบัวมาพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย จากการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรของโรงเรียนวัดศรีอุปลาราม และผู้ ที่เกี่ย วข้ อง ประกอบด้ วย ครู 15 คน นัก เรี ยน ป.3. ม..3 จานวน 120 คน ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 120 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 12 คน ผู้นาชุมชน 5 คน รวม 272 คน โดยใช้แบบสอบถาม ภาพรวม มีความคิดเห็นว่า ในระดับมาก ( X =4.30, S.D.=0.31) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการบริหารจัดการ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง และเป็นผู้นาเชิงวิชาการ เป็นผู้ประสานความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และตลอดจน เป็นผู้จุดประกายความคิดให้ครูและผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง โดยเป้าหมายที่สาคัญ คือ ผู้เรียน ได้เรียนรู้และปฏิบัติจริง ตลอดจนร่วม สร้างจิตสานึกรักท้องถิ่นให้เกิดกับผู้เรียนผ่านกิจกรรมการเรียนทั้งโรงเรียนและชุมชน กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง หลังจากดาเนินงานพัฒนา BP จนประสบผลสาเร็จแล้ว ปีการศึกษาต่อมาก็ ยังคงดาเนินการต่อเนื่อง โดยมีการประชุมสรุปบทเรียนที่ได้รับจาการดาเนินการเพื่อ นาไปพัฒนาในปีต่อไป จาก ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ผล การประเมินพบว่า  ผลการประเมินการนารูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการใช้ แหล่ ง เรี ย นรู้ แ ละน าภู มิปัญ ญาท้ อ งถิ่ น ของต าบลหนองบั ว มาพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ผู้เรียน จากแบบสอบถามในภาพรวมอยูใ่ นระดับ  ผลจากการสัมภาษณ์นักเรียน ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานและผู้นาชุมชน

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ ได้นาผลสาเร็จดังกล่าวไปประชาสัมพันธ์ และ เผยแพร่ ดังนี้ 1) ในปีการศึกษา2552-ปัจจุบัน โรงเรียนเป็นแหล่งศึกษาดูงานด้านด้าน วัฒนธรรมพื้นบ้านหนองบัว และห้องสมุดมีชีวิต เป็นต้น 2) โรงเรียนได้นา BP เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 จนถึงปัจจุบัน 3) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานวันเข้าพรรษาของตาบลหนองบัว

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

77 ท่านผู้วา่ ราชการจังหวัด นายเริงศักดิ์ มหาวินิจฉัยมนตรี กาลังชิมอาหารพื้นบ้านหนองบัว“ แยมหยวก และน้าพริกกะปิมอญ”


78

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน

นายสาเนาว์ นาคพิรุณ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านไทรทอง โทรศัพท์ 089-9191491 E-mail : Director-kai@hotmail.com

การด าเนิ น การบริ ห ารจั ด การแบบมี ส่ ว นร่ ว มโดยมุ่ ง สู่ คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ครัง้ นี้ ได้มีการวิเคราะห์จุดเน้นและเป้าหมายของหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับ และนามากาหนดเป็นวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียน โดยเปิด โอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการ ตลอดจนการบูรณา การหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารจัดการของโรงเรียน โดยการ วางแผนแบบมีส่วนร่วม ดังนี้ 1) รูปแบบคณะกรรมการเพื่อการปรึกษาหารือ ช่วยคิด ช่วยทา และร่วม ตัดสินใจ 2) รูปแบบการร่วมเสนอแนะ 3) รูปแบบการมีส่วนร่วมโดยการทางานเป็นกลุ่มหรือทีม 4) รูปแบบการมีส่วนร่วมการเป็นเจ้าของรับผิดชอบร่วมกัน นอกจากการมีส่ ว นร่ ว มของผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งแล้ ว ยั ง จั ด การบริ ห ารที่ เชื่อมโยงในด้านการเรียนการสอนโดยยึดหลักการปฏิรูปเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ โดยให้นักเรียนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและนอกโรงเรียน การลงมือปฏิบัติ จริง การร่วมกิจกรรมการแข่งขันต่าง ๆ ตลอดจนการจัดกิจกรรมใช้กระบวนการ คิด และการแก้ปัญหา โดยมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้วางแผนและดาเนินการสู่ สถานศึกษา  เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ ห ารสามารถใช้ เ ทคนิ ค การบริ ห ารแบบมี ส่ ว นร่ ว มได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ  เพื่อส่งเสริมและพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น  เพื่อสร้างนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาให้เป็นรูปธรรม

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารจัดการ แบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน นวัตกรรมการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน ใช้ แนวคิดและหลักการการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Base Management

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

79

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายในกระบวนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน ไปใช้ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน โดยมีขั้นตอนการบริหารจัดการ ดังนี้ Input (ปัจจัยนาเข้า)

Process (กระบวนการ)

1. การบริหาร

การบริหาร

จัดการแบบมีสว่ น ร่วมในโรงเรียน บ้านไทรทอง 2. คณะครู นักเรียน คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้น พืน้ ฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มสี ว่ น เกี่ยวข้อง

จัดการแบบมี ส่วนร่วมโดยมุ่งสู่ คุณภาพผู้เรียน 1. การร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ 2. การร่วม วางแผน

Output (ผลผลิต)

กระบวนการจัด การความรู้ 1. การสร้างองค์ ความรู้ 2 การแลกเปลี่ยน ความรู้ 3. การจัดเก็บ ความรู้ให้ เป็นระบบ 4. การนาความรู้ ไปใช้

3. การร่วมปฏิบัติ 4. การร่วม ประเมินผล

การบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานสู่ การปฏิบัติ มีขั้นตอน ได้แก่ 1. วิเคราะห์บริบทของ โรงเรียน 2. กาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย 3. กาหนดกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ 4. ดาเนินการตาม แผนปฏิบัติการ 5.ประเมินตนเอง 6.รายงานประจาปี ปรับปรุง พัฒนา

และร่วม ปรับปรุง 4. การร่วมรับ ประโยชน์ ภาคภูมิใจ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ข้อมูลย้อนกลับ

ประสิทธิภาพของ การบริหารจัดการ แบบมีส่วนร่วมใน โรงเรียนบ้านไทร ทอง 1. ผลสาเร็จของ การดาเนินงาน 2. ความพึงพอใจ ของผู้มสี ว่ น เกี่ยวข้อง


80

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การตรวจสอบคุณภาพการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุง่ สู่คุณภาพผู้เรียน  แบบสอบถามความพึงพอใจ  แบบสัมภาษณ์ แนวทางการน าการบริ ห ารจั ด การแบบมี ส่ ว นร่ ว มโดยมุ่ ง สู่ คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นไปใช้ ประโยชน์ ได้แก่ การนารูปแบบนวัตกรรมการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมมุ่งสู่คุณภาพ ผู้เรียนของโรงเรียนบ้าน ไทรทอง นามาซึ่งประโยชน์ในการบริหารจัดการซึ่งสอดคล้องกับ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งการปฏิบัติงาน จะยึดมั่นในปรัชญาของโรงเรียนบ้านไทรทอง “ ทาอะไร ทาจริง” จึงทาให้เกิด Best Practice ที่เกิดจากการพัฒนา การร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถนาไป บูรณาการในการจัด การเรี ย นการสอน ทาให้ ครู แ ละนั ก เรีย นเรีย นรู้ สู่โ ลกกว้า งอย่า งมี ความสุข และเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนบนพืน้ ฐานของความพอเพียง

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพ ผู้เรียน ผลสาเร็จเชิงปริมาณ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารและจัดการศึกษาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง และจัดการศึกษาของโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 95 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ โรงเรียนบ้านไทรทอง ได้มีการพัฒนางานด้านต่าง ๆ จนเป็น ที่ประจักษ์ และได้รับรางวัลในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติ งานของผู้บริหาร ครู นักเรียน และผลที่เกิดจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับประเทศ และระดับ ภาค ภายใต้การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ตามทฤษฎีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( SBM ) ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพ โรงเรียนได้ประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้กระบวนการ PDCA เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2555 จากผู้ปกครองนักเรียนตั้งแต่ ชั้นอนุบาล 1 -ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และนักเรียน จานวน 100 คน จากการรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือที่สถานศึกษาจัดทาขึ้น ได้แก่ แบบสอบถามความพึง พอใจ แบบสัมภาษณ์ มีผลสรุป ดังนี้  คณะครู บุคลากรและนักเรียน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 98  คณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 92

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย

การจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานส่งผลให้ผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีความพอใจ ที่เห็นการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษา เกิดความ ภูมิใจในความสาเร็จ ดังผลงานที่ปรากฏ ดังนี้  รางวัลชนะเลิศโรงเรียนส่งเสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน  รางวัลชนะเลิศห้องสมุด 3 ดี  รางวัลชนะเลิศโครงการทาดีถวายในหลวง  รางวัลชนะเลิศหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม  นักเรียนมีผลการประเมินลักษณะอันพึงประสงค์ คิดเป็นร้อยละ 85  โรงเรียนผู้นาคุณธรรมชั้นนา ระดับเครือข่าย  รางวัลผลงานจากคณะครู ระดับภาค และระดับประเทศ  รางวัลการแข่งขันนักเรียนระดับภาค โดยมีกระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงจัดการบริหารแบบมีส่วน ร่วมให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ด้วยการตรวจสอบและถ่วงดุลเป็นการพัฒนาการศึกษา ซึ่งผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สิ่งใดที่มีความพึงพอใจ น้ อ ยหรื อ หรื อ ไม่ ผ่ า นวั ต ถุ ป ระสงค์ ก็ จ ะน าสิ่ ง เหล่ า นั้ น มาปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข โดยใช้ กระบวนการกากับ ติดตาม วัดและประเมินผล รายงานผลการดาเนินการการต่อผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาสู่คุณภาพผู้เรียน ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง จัดการบริหารแบบมีส่วน ร่วม จากการปรับปรุงแก้ไขตามผลการตรวจสอบซ้า ทาให้กิจกรรมต่าง ๆ ด้านการ จัดการศึกษาที่ได้ดาเนินการมีประสิทธิภาพสูงขึน้

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) จุลสารสานสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน 2) เว็บไซด์โรงเรียน 3) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ BP งานวิชาการสู่โลกกว้าง ระดับเครือข่าย 4) การรายงานคณะกรรมการสถานศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

81


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

82

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

วิถีธรรมสู่คุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนวัดพุน้อย

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางกมลวรรณ ศรีละมุล ผู้อานวยการโรงเรียนวัดพุน้อย โทรศัพท์ 081-9595065 E-mail : kamom-12@hotmail.com

 เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4  เพื่ อ ปลู ก ฝั ง ให้ ผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ต ามหลั ก สู ต ร แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช 2551

ระยะเวลาในการพัฒนา ตลอดปีการศึกษา 2554

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของสถานศึกษา จุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4  นักเรียนทุกคนมีความสานึก ในความรักชาติไทย จุดเน้นของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4  นักเรียนทุกคนมีความสานึก ในความรักชาติไทย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา คือ 1) วิถีธรรมในแนวทางของ 2 ธรรม กล่าวคือ ธรรมที่ 1 คือ “ธรรมะ” หมายถึง พระธรรมคาสอนของพระศาสดาของศาสนาต่างๆ ซึ่งทุกพระองค์ลว้ นแต่สอนให้ทุกคน เป็นคนดี มีจิตใจที่ดีงาม ธรรมที่ 2 คือ “ธรรมชาติ” หมายถึง ธรรมชาติและ พัฒนาการของผู้เรียน ช่วงอายุ 6 - 12 ปี 2) การบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participative Management) หมายถึง การบริหาร โดยให้บุคคลในองค์กรหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ใช้ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และความร่วมมือร่วมใจในการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาและชุมชนให้ บรรลุวัตถุประสงค์ หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการบริหารงาน

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมายในการนา ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 55 คน  ขั้นตอนการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

83

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

วิถีธรรม 9 กิจกรรม 1.สานึกรักชาติไทย 2.โรงเรียนใหม่ดว้ ยมือเรา 3.เติมเต็มสมองภาคเช้า 4.ก่อนกินข้าวมีวินัย 5.เก็บออมวันละนิด 6.ทาดวงจิตให้แจ่มใส

คุณภาพ ผู้เรียน

7.อ่าน ท่อง สวดอย่างตั้งใจ 8.สมองบ่ายได้เติมเต็ม 9.เข้มข้นความกตัญญู

 การตรวจสอบคุณภาพ นาระบบการนิเทศ กากับ ติดตามผลมาใช้ โดยมีผู้บริหารเป็นผู้ดาเนินการ  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ 1) ประชุมชี้แจงคณะครูและบุคลการในสถานศึกษา ให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับ วิถีธรรมสูค่ ุณภาพผู้เรียน 2. คณะครู และบุ ค ลากรในสถานศึก ษา น าวิถี ธรรมสู่ คุ ณภาพผู้ เรีย นทั้ ง 9 กิจกรรม ไปใช้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนทุกคน 3. ผู้อานวยการโรงเรียนกากับ นิเทศติดตามผลการดาเนินงาน และนาผลมา ปรับปรุงให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า เป้าหมายที่ทางโรงเรียนกาหนดไว้  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเป้าหมาย ที่กาหนดสามารถอ่านคล่องเขียนคล่อง คิดคล่อง  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ  ผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความพึงพอใจต่อวิถีธรรมสู่ คุณภาพผู้เรียนคิดเป็นร้อยละ 95.73  คณะกรรมการสถานศึก ษา ผู้ ปกครอง และบุ ค คลอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งมี ความพึงพอใจต่อ วิถีธรรมสูค่ ุณภาพผู้เรียนคิดเป็นร้อยละ 90.05  นั ก เรี ย น มีค วามพึง พอใจต่อ วิถี ธรรมสู่ คุ ณ ภาพผู้ เรี ย นคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 90.05  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา  ความร่วมมือของคณะครู และบุคลากรในโรงเรียน รวมถึงผู้ปกครอง และ นักเรียน  ระบบดูแลของพี่และน้อง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


84

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่าง ต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ตรวจสอบตามตัวชี้วัดที่กาหนดให้ในแต่ละ ขั้นตอน เป็นระยะ และถ้ามีปัญหาเข้าปรับปรุงและแก้ไขทันที  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ร้อยละของแต่ละ ตัวชีว้ ัดที่นักเรียนต้องถูกประเมินสูงขึ้น

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่  วันที่ 10 พฤษภาคม 2555 ได้นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจาปี การศึกษา 2554 เปรียบเทียบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจาปีการศึกษา 2553 แจ้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผู้ปกครอง รับทราบ และชื่นชม โดยผ่าน การประชุม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

85

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวิตตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองกวาง เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อจัดทาศูนย์เรียนรู้ให้ผู้เรียนปฏิบัติ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมี ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และฝึกทักษะด้านอาชีพเกษตร แก่ผู้เรียน  เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิต สามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจาวัน และมีจิตสานึก รักท้องถิ่นและอาชีพของบุคคลใน ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน  เพื่อส่งเสริมด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น  เพื่อ ให้ นัก เรี ย นได้ รับประทานอาหารกลางวั น ครบ 100 % อย่า งมี คุณค่าและเพียงพอ

ระยะเวลาในการพัฒนา 1) ระยะเวลาที่เริ่มต้นการพัฒนา เริ่มต้นในปีการศึกษา 2553 2) ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการพัฒนา ใช้ระยะเวลาตลอดปีการศึกษา ในแต่ละปีการศึกษาที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบัน

ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมาย สถานศึกษา การจัดทาด้านนวัตกรรม “ศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวิตตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ในสถานศึกษา”ของโรงเรียนเป็นการดาเนินการที่รองรับนโยบายของสพฐ. ที่มุ่งเน้นให้ นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยผ่าน หน่วยงานมายังสพป.กจ.1แล้วส่งผ่านโดยตรงมายังสถานศึกษาที่เป็นหน่วยปฏิบัติในการ นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมต่อสภาพบริบทของ โรงเรี ย น ซึ่ ง ทางโรงเรี ย นบ้ า นหนองกวางนั้น ได้ น าสู่ ก ารปฏิ บั ติอ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี การศึกษา ในรูปของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ ลงสู่แผนปฏิบัติ ราชการประจาปี และลงสูโ่ ครงการที่บรรจุลงในแผนปฏิบัตริ าชการของทางโรงเรียนแล้ว ดาเนินการในลักษณะของนวัตกรรมการเรียนรู้ ในรูปของศูนย์การเรียนรู้แบบมีชวี ติ เพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัตกิ ิจกรรมต่างๆ ในแต่ละศูนย์การเรียนรู้แบบมีชวี ติ ดังนี้ 1. ศูนย์การเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่

2. ศูนย์การเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก

3. ศูนย์การเรียนรู้การเลี้ยงกบคอนโด

4. ศูนย์การเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ

5. ศูนย์การเรียนรู้การปลูกพืชสมุนไพร

6. ศูนย์การเรียนรู้การผลิตน้าส้มควันไม้

7. ศูนย์การเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า

8. ศูนย์การเรียนรู้การทาปุ๋ยหมัก / น้าหมัก ชีวภาพ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาวอมรรัตน์ แสงทองดี ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองกวาง โทรศัพท์ 089-2382824 E-mail : Tid3012@hotmail.com


86

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

นอกจากศูนย์เรียนรู้ที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว ยังมี ศูนย์ การเรียนรู้เสริมให้กับผู้เรียนโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชนในการฝึกทักษะ และส่งเสริมอาชีพให้กับผู้เรียน ได้แก่ - ศูนย์การเรียนรู้การทาปุย๋ ชีวภาพอัดเม็ด

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา วิธีการบริหารจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียน โดยใช้นวัตกรรมศูนย์ เรียนรู้แบบมีชีวิตตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนบ้านหนองกวางได้ดาเนินการเป็นระบบโดยใช้กระบวนการ PDCA เข้ามา พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยหลักการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมกับทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1) วิเคราะห์สภาพปัญหาชุมชน ท้องถิ่น โรงเรียน และ นักเรียน ที่นามาสู่การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนทั้งในและนอกห้องเรียน รวมทั้งวิเคราะห์สภาพ ปัญหาของการได้รับประทานอาหารของนักเรียนที่ยังขาดแคลน 2) วางแผนการดาเนินงาน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนโดยใช้นวัตกรรม ของศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวิต ร่วมกับคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน บ้านหนองกวาง ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน 3) นาแผนงานลงสู่การปฏิบัติในรูปของกิจกรรมต่างๆ ของศูนย์เรียนรู้ให้นักเรียนได้ เรียนรู้ ฝึกทักษะการปฏิบัตอิ ย่างต่อเนื่อง เกิดความชานาญในการปฏิบัติกิจกรรม และยั่งยืนเมื่ออยูใ่ นท้องถิ่นของตนเอง 4) นาคณะครู ผู้ปกครอง และผู้นาชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาเข้าร่วม กิจ กรรม พั ฒ นาความรู้ อบรม สั ม มนาและศึก ษาดู ง านจากแหล่ ง ต่า งๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การน าหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาสู่ ก ารปฏิ บั ติ ใ น สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 5) มี ก ารก ากั บ ติ ด ตาม นิ เ ทศและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน โดยหั ว หน้ า โครงการ และผู้บริหารสถานศึกษา 6) การรายงานผลเพื่อนาข้อมูลมาแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

หลักการและแนวคิดในการดาเนินการ การดาเนินงานในการบริหารจัดการศึกษาให้กับนักเรียน โดยใช้นวัตกรรมศูนย์ เรียนรู้แบบมีชีวิตในสถานศึกษานั้นนาแนวคิดตามหลักทฤษฎีปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลดุลยเดชมาเป็นแนวคิดและหลักการ ในการดาเนินงานทุกขั้นตอน โดยยึดหลัก เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา มาเป็นหลักใน การดาเนินงาน โดยต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และมี ทักษะชีวิต เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้เรียนรู้ตามความต้องการของ ตนเอง และท้องถิ่นอย่างเต็มตามศักยภาพ ให้มีพ้ืนฐานทักษะชีวิตในการดารงชีพที่ดี สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข ทางโรงเรียนบ้านหนองกวางได้จัด กิจกรรม การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ลงมือปฏิบัตจิ ริงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนอย่าง เข้าถึงทุกกิจกรรม และพร้อมนาปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นมาปรับปรุง แก้ไข และ ร่ ว มกั น พั ฒ นาให้ ดี ขึ้ น โดยใช้ ก ระบวนการท างานอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว มกั บทุ ก ภาคส่ ว นที่ เกี่ยวข้องโดยเฉพาะชุมชนบ้านหนองกวาง

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย 1) นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองกวาง ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนบ้านหนองกวาง 3) ร้อยละ 70 ของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา จรเข้เผือก 4) ร้อยละ 30 ของโรงเรียนต่างกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา  ขั้นตอนการพัฒนา 1) จัดทาโครงการปฏิบัตงิ านและกาหนดกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวิต วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาเป็นกิจกรรมหลัก ได้แก่ ศูนย์การเรียนรูเ้ ลี้ยงไก่ ไข่ การเลีย้ งปลาดุก การปลูกผักปลอดสารพิษ การเพาะเห็ดนางฟ้า การทาปุ๋ยหมัก การทาน้าหมักชีวภาพ การทาน้าส้มควันไม้ การทาปุย๋ ชีวภาพอัดเม็ด 2) แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน พร้อมร่วมกับชุมชน 3) ให้ความรู้และทักษะในการปฏิบัติกับนักเรียนทุกระดับชั้นในกิจกรรม ต่างๆ ในรูปศูนย์เรียนรู้แบบมีชวี ติ วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา 4) นักเรี ยนลงมือปฏิบัติ กิจกรรมต่างๆ ในรายชั่วโมงตามกลุ่ม สาระการ เรียนรู้ที่รับผิดชอบรวมทั้งเวลาว่างและวันหยุด 5) นักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยจัดในรูป กิจกรรมพี่สอนน้อง 6) นักเรียนรุ่นพี่ที่รับผิดชอบกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมดูแลนักเรียนรุ่นน้อง ปฏิบัตกิ ิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 7) ครูผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะครู กากับติดตามการดาเนินงาน ของนักเรียนในแต่ละกิจกรรม 8) ประเมินผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมของศูนย์เรียนรู้แบบมีชวี ติ 9) รายงานผลการดาเนินการ 10) ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิด ความยั่งยืน  การตรวจสอบคุณภาพ วิธีการตรวจสอบคุณภาพ  สังเกตการปฏิบัติงานของนักเรียนในแต่ละกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ และทักษะโดยการสัมภาษณ์ และให้ลงมือปฏิบัตจิ ริง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

87


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

88

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 

สอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัตกิ ิจกรรมต่างๆ ของศูนย์เรียนรู้แบบมีชวี ติ สัมภาษณ์นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู  ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้  นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในกิจกรรมต่างๆ ของศูนย์การ เรียนรู้จากการสัมภาษณ์และฝึก ปฏิบัติ พร้อมทั้งส่ง ผลให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขนึ้  นักเรียนได้ รับอาหารกลางวันครบทุกคนอย่างมีคุณค่าและเพียงพอ  นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้และปฏิบัตไิ ด้  นั ก เรี ย นมี ค วามสุ ข ในการเรี ย นรู้ แ ละมี คุ ณ ธรรมในการเอื้ อ อาทรรู้ จั ก การแบ่งปันมีนาใจต่ ้ อกัน  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์  นักเรียนนาความรู้ และทักษะไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม  ผู้ปกครอง ชุม ชน และโรงเรีย นใกล้เคีย งนาความรู้ ไปพั ฒนาต่อ ได้ อย่า ง เหมาะสม

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  นักเรียนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถและทักษะในการเรียนรู้ กิจกรรมต่างๆ ของศูนย์การเรียนรู้ แบบมีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในสถานศึกษา  นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันครบ 100 % อย่างมีคุณค่าและ เพียงพอ  ร้อยละ 100 นักเรียนมีทักษะชีวิตและสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันครบ 100 % อย่างมีคุณค่าและ เพียงพอ  ร้ อ ยละ 90 นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะชี วิ ต ที่ ดี แ ละสามารถน าไปปรั บ ใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ในชีวิตประจาวันหรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม  นักเรี ยนทุ กคนมีความสุข จากการเรียนรู้ และมีจิ ตสานึกรั กในท้ องถิ่ นและ อาชีพของชุมชน  ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อ  ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้ และทักษะชีวิตที่ดีใน การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของศู นย์เรียนรู้ แบบมีชีวิตตามวิถี ชีวิต เศรษฐกิ จ พอเพียงในสถานศึกษาที่โรงเรียนดาเนินการ  ร้อยละ 100 ของคณะครูมีความพึงพอใจในการดาเนินการของศูนย์เรียนรู้ แบบมีชวี ติ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน มีความพึงพอใจในการดาเนินการ ของศูนย์เรียนรู้แบบมีชวี ติ ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า  การประเมินกิจกรรมต่างๆ ของศูนย์เรียนรู้แบบมีชวี ติ จากนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองนักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องภาคเรียนละ 2 ครัง้  จากข้อเสนอแนะการเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆ ของศูนย์เรียนรู้แบบมีชวี ติ จากคณะต่างๆ ที่เข้ามาเยี่ยมชมในแต่ละปีการศึกษา  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง  ร้อยละ 95 ของนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา มีความพึงพอใจในการดาเนินงานของศูนย์เรียนรู้ และให้มีการปฏิบัตอิ ย่างต่อเนื่อง พร้อมพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จและการเผยแพร่ ขอสรุปตัวอย่างผลการดาเนินการประชาสัมพันธ์ความสาเร็จของ “ศูนย์เรียนรู้ แบบมีชีวิต ตามวิถี ชีวิต เศรษฐกิจ พอเพีย งในสถานศึก ษาในปี การศึก ษา 2553 - ปี การศึกษา 2555 ดังนี้  วันที่ 30 มีนาคม 2553 จัดงานแสดงผลงานทางวิชาการและ ให้กั บ นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนบ้านหนองกวางรับรู้ข่าวสารการดาเนินงานและ ผลสาเร็จของกิจกรรมต่างๆ ของศูนย์เรียนรู้  ส่งวารสารสัมพันธ์ Best Practice ของศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวิตแก่โรงเรียน ต่างๆ ในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือกทุก 1 ภาคเรียน รวมทั้งส่งถึง ผู้ปกครองนักเรียนทุก 1 เดือน  นาเสนอผลงาน ศู นย์เรีย นรู้แบบมีชีวิต ตามวิถีชีวิ ตเศรษฐกิจพอเพียงใน สถานศึกษาในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี ประจาปีการศึกษา 2553  นาเสนอผลงาน ศู นย์เรีย นรู้แบบมีชีวิต ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงใน สถานศึกษาในนามตัวแทนของอาเภอด่านมะขามเตี้ย การอบรมโครงการพัฒนาครูทั้ง ระบบของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี ประจาปีการศึกษา 2554 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554  ได้นาเสนอผลงาน ศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวิตตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงใน สถานศึกษาในนามตัวแทนของอาเภอด่านมะขามเตีย้ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้ง ที่ 61 ณ สนามกีฬากลางจังหวัดกาญจนบุรี ประจาปีการศึกษา 2554 เมื่อวันที่ 11 – 13 ธันวาคม 2554

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

89


90

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ขยายผลลงสูโ่ รงเรียนต่างๆ ทัง้ ในเครือข่ายและต่างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ที่สนใจในการนาหลั กปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติกั บ ผู้เรียน โดยการแจกแผ่นพับข้อมูลความรู้ต่างๆ ของกิจกรรมศูนย์เรียนรู้แบบมีชีวิต ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา  น าเสนอผลการปฏิบัติง าน ”ศู น ย์เ รี ย นรู้ แ บบมี ชีวิต ตามถี ชี วิต เศรษฐกิ จ พอเพีย งในสถานศึ กษา”ให้กั บคณะที่ มาศึกษาดู งานการประกวดหมู่บ้านเศรษฐกิ จ พอเพียงในระดับพออยูพ่ อกิน และระดับอยู่เย็นเป็นสุข ดังนี้  วันที่ 31 กรกฏาคม 2555 การศึกษาดูงานจากโรงเรียนพัฒน์พงศ์ อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี  วั น ที่ 24 สิ ง หาคม 2555 การศึ ก ษาดู ง านของชุ ม ชนจ าก อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีจานวน 60 คน  วั น ที่ 27 สิ ง หาคม 2555 การศึ ก ษาดู ง านของชุ ม ชนจาก อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จานวน 90 คน  วั น ที่ 29 สิ ง หาคม 2555 การศึ ก ษาดู ง านของชุ ม ชนจาก อาเภอเกาะจันทร์ จานวน 90 คน  วั น ที่ 20 กั น ยายน 2555 จั ด นิ ท รรศการ Best Practices ที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2  ระดับประถมศึกษา ณ โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม จ.กาญจนบุรี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

91

กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง สถานศึกษาขนาดกลาง กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนอง หญ้าปล้อง ครั้งนี้ เนื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่ มสาระการเรียนรู้ จาก การสอบ O- NET ในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่อนข้างต่า มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร  5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์  5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์  5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์  5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ และตามจุ ด เน้ น สพฐ. ปี 2554 ในด้ า นผลสั ม ฤทธิ์ คื อ คาดหวั ง ว่ า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยละ 4 นโยบาย สพป.กจ.1 คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่างน้อย ละ ร้อยละ 5 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ของ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง ในข้อที่ 4 คือ ใฝ่เรียนรู้ ตัวชี้วัด คือ ตั้งใจเพียร พยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ และแสวงหาความรู้รู้จาก แหล่ ง เรี ย นรู้ ต่า ง ๆ ทั้ ง ภายในและภายนอกโรงเรี ย นด้ ว ยการเลือ กใช้ส่ือ อย่า ง เหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้วางแผนกระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่ อ ให้ มี ผ ลการทดสอบระดั บ ชาติ สู ง ขึ้ น ตามเป้ า หมายของหน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ วางเป้าหมายไว้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ คือ  เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับชั้น ป.6 และ ม.3 โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง  เพื่อให้ผลการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2554 สูงขึน้

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง แนวคิ ด หลัก การ ทฤษฏีที่นามาใช้ใ นการพั ฒนากระบวนการยกระดั บ ผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง คือ 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participative Management) หมายถึง การ บริหารโดยให้บุคคลในองค์กรหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการตัดสินใจ ใช้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเชี่ยวชาญ ในการบริหารงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการบริหารงาน 2) หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางอัจฉรา รอดภัย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง โทรศัพท์ 085-2993107 E-mail : Adchara_09@hotmail.com


92

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียน Best Practice กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนบ้านหนอง หญ้าปล้อง

 สร้า งศั กยภาพการอ่ าน คิ ด เขีย น สื่ อสาร โดยจัดการเรี ยนรู้เพื่อให้ผู้ เรี ยนมี ความสามารถในการอ่านคล่องเขียนคล่อง แสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง ความสามารถในการ ใช้ เ ทคโนโลยีเ พื่ อ การเรี ย นรู้ ทั ก ษะการคิ ด ขั้ น สู ง ทั ก ษะชี วิต ทั ก ษะการสื่ อ สารอย่ า ง สร้างสรรค์  ยึดหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา จะต้อ งเน้ น กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นอยู่อ ย่า งพอเพีย ง ทั้ ง ในและนอกห้ อ งเรี ย นเพื่ อ เสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการตามรายวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เน้นการจัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อพัฒนาสังคมและสาธารณประโยชน์ (จิตอาสา)  พร้อมเพรียงพัฒนาครู สู่มืออาชีพ ส่งเสริมให้ครูให้ได้รับการพัฒนาให้เป็นครูมือ อาชีพโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานครูตามประกาศของคุรุสภา  เร่งรีบพัฒนาสถานศึกษาได้ระบบมาตรฐาน เร่งรัดสนับสนุนนิเทศช่วยเหลือให้ครู ในสถานศึกษาพัฒนาตนเองให้มีความพร้อมรับการประเมินภายในจากหน่วยงานต้นสังกัด และการประเมินภายนอก จาก สมศ.  ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย สนับสนุนให้ กลุ่มและเครือข่ายต่าง ๆ อัน ได้แก่ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษา ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ และศูนย์เครือข่าย แกนนาต่าง ๆ ได้ประสานความร่วมมือให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันในการดาเนินการเร่งรัด พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึก ษา โดยเฉพาะการยกระดั บผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นทั้ ง ในระดั บ สถานศึกษาและระดับชาติ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ประยุกต์ใช้ ICT กับการเรียนรู้ สถานศึกษาจะต้องดาเนินการปรับปรุงพัฒนา หลั ก สู ต รให้ มี ค วามถู ก ต้ อ ง เหมาะสมกั บ สภาพท้ อ งถิ่ น และสอดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต ร แกนกลางการศึก ษาขั้ น พื้น ฐาน พุ ทธศั ก ราช 2551 ปรั บ โครงสร้ า งหลั ก สู ต ร และจั ด กระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลโดยบูรณาการ ICT ให้เอื้อต่อการพัฒนา ผู้เรียนตามจุดเน้นของสพฐ.  มุ่ง สู่ วิ ธี ก ารปฏิ บัติที่ เ ป็ น เลิ ศ ดาเนิน การให้ ครู สามารถพั ฒ นาการบริ ห ารจั ด การศึกษาและการจัดการเรียนรู้ที่มุงสู่การยกระดับผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียน โดยการจัดเวที เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ภายใน สถานศึกษา เผยแพร่ผลงาน  นิเทศ กากับ ติดตามให้เกิดความยั่งยืน จัดให้มีระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม เน้นการนิเทศเชิงลึก ให้การนิเทศตามนโยบายและจุดเน้น และตามสภาพปัญหาและความ ต้องการของครูในสถานศึกษา โดยใช้กัลยาณมิตรนิเทศและเทคนิควิธีการนิเทศแนวใหม่ มี การรายงานผลการดาเนินการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ การตรวจสอบคุณภาพ โดยนาระบบการนิเทศ กากับ ติดตามผลมาใช้ โดยมี ผู้บริหารเป็นผู้ดาเนินการ แนวทางการนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้องไปใช้ประโยชน์ ได้แก่ 1. ประชุม ชี้แจงคณะครูและบุคลการในสถานศึกษา ให้ มีความเข้า ใจเกี่ยวกั บ กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net 2. คณะครู และบุคลากรในสถานศึกษา นากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อ พิชติ O-Net ทั้ง 8 ขั้นตอนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนทุกคน 3. ผู้อานวยการโรงเรียนกากับ นิเทศติดตามผลการดาเนินงาน และนาผลมา ปรับปรุงให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า เป้าหมายที่ทางโรงเรียนกาหนดไว้ นักเรียนร้อยละ 80 มีผลการทดสอบระดับชาติ ปี การศึกษา 2554 สูงกว่าปีการศึกษา 2553 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับชั้น ป.6 และ ม.3 โรงเรียนบ้าน หนองหญ้าปล้องสูงกว่าเป้าหมายที่ทางโรงเรียนกาหนดไว้ 2) ผลการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2554 สูงกว่าปีการศึกษา 2553

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

93


94

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้องประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ปัจจัยที่ทาให้ที่ทาให้กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้องประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่ ความร่วมมือ ของคณะครู และบุคลากรในโรงเรียน รวมถึงผู้ปกครอง และนักเรียน ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ของโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง  ผู้ บ ริ ห าร คณะครู และบุ ค ลากรในโรงเรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจต่ อ กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net คิดเป็นร้อยละ 95 โดย ใช้แบบสอบถาม  คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ ปกครอง และบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มี ความพึงพอใจต่อกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net คิด เป็นร้อยละ 83 โดยใช้แบบสอบถาม  นักเรียน มีความพึงพอใจต่อกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net คิดเป็นร้อยละ 89 โดยใช้แบบสอบถาม กระบวนการตรวจสอบซ้ าเพื่ อ พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง กระบวนการยกระดั บ ผลสัมฤทธิ์ เพื่อพิชิต O-Net ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง คือ การตรวจสอบตามตัวชี้วัดที่ กาหนดให้ในแต่ละขั้นตอน เป็นระยะ และถ้ามีปัญหาเข้าปรับปรุงและแก้ไขทันที ผล การตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง คือ ร้อยละของแต่ละตัวชี้วัดที่นักเรียน ต้องถูกประเมินสูงขึน้

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2555 ได้นาผลการทดสอบระดับชาติ ประจาปีการศึกษา 2554 แจ้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผู้ปกครอง รับทราบ และชื่นชมกับ ผลการทดสอบร่วมกันกับทางผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรทางศึกษาของโรงเรียน โดยผ่านการประชุม วารสารของโรงเรียน ตามความเหมาะสม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

95

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

เทคนิคการพัฒนาการอ่านโดยใช้กิจกรรม ตามรอยพ่อ....ขอเป็นนักอ่าน” โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า"อุดมราษฎร์วิทยา" เป้าหมาย / วัตถุประสงค์  เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านการอ่านของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีนสิ ัยรักการอ่าน  เพื่อให้นักเรียนกล้าแสดงออกและได้เรียนรู้อย่างมีความสุข

ระยะเวลาในการพัฒนา ระยะเวลาในการพัฒนา ใช้เวลาในการทดลอง 2 ปีการศึกษา วันละ 30 นาที ภาคเช้า ตัง้ แต่เวลา 08.00 – 08.30 น. ภาคกลางวัน ตัง้ แต่เวลา 12.00 - 12.30 น.

การเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. /สถานศึกษา  นักเรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิด เลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสาร อย่าง สร้างสรรค์ ตามช่วงวัยและมี คุณลักษณะใฝ่ดี  นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความ รักชาติ

เป้าหมายของการพัฒนาการอ่าน  พัฒนาสมรรถนะด้านการอ่านของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัย รักการอ่าน  เพื่อให้นักเรียนกล้าแสดงออกและได้ เรียนรูอ้ ย่างมีความสุข

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ได้นาแนวคิด หลักการ และทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาให้มีความ เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ดังนี้ 1) หลักและทฤษฎีการสอนอ่าน 2) วงจรคุณภาพ P DCA ของเดมมิ่ง

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” จานวน 109 คน  ขั้นตอนการพัฒนา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายภูมิพัฒน์ ภาคภูมิ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า "อุดมราษฎร์วิทยา" โทรศัพท์ 089-8369507 E-mail : pum_pat@hotmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

96

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ออกแบบ กิจกรรม นาผลการ ประเมิน พัฒนา/ ปรับปรุง

นากิจกรรม ไปใช้ใน สถานการณ์ จริง ประเมินผล กิจกรรม

 การตรวจสอบคุณภาพ  แบบประเมินการอ่านของนักเรียน  แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และผู้ปกครอง  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์  ใช้ในการจัดกิจกรรม “ตามรอยพ่อ...ขอเป็นนักอ่าน”  ใช้ในการจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมเด็กที่อา่ นไม่ออก  นาไปใช้บูรณาการ การจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 –6มีความสมรรถนะด้านการอ่านดีขนึ้ คิดเป็น ร้อยละ90.43  นักเรียนมีนสิ ัยรักการอ่านและกล้าแสดงออกเพิ่มขึ้นในระดับดี  นักเรียนและผู้ปกครอง มีความพึงพอใจต่อกิจกรรม “ตามรอยพ่อ....ขอเป็น นักอ่าน” คิดเป็นร้อยละ 100  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  โรงเรียนมี นวัตกรรม ในการพัฒนาสมรรถนะด้านการอ่านให้กับนักเรียน อย่างมีประสิทธิภาพ  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ  ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีความพึงพอใจต่อ Best Practice ในระดับ มาก  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา  ครู บ รรณารั ก ษ์ ห้ อ งสมุ ด และบุ ค ลากรในโรงเรี ย น ให้ ค วามร่ ว มมื อ ใน การดาเนินกิจกรรมตามขัน้ ตอน  นักเรียน ตัง้ ใจเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน และกล้าแสดงออก  ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม/ให้ขอ้ เสนอแนะ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซา เพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า  จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยมีการประเมินกิจกรรมทุกครัง้ และนาผล การประเมินมาใช้ ปรับปรุงและพัฒนา ให้มีคุณภาพยิ่งขึน้  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง  ผลการตรวจสอบ หลังการใช้กจิ กรรมแล้วพบว่า 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ทุกคนมีความสามารถ อ่านได้ 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ทุกคนมีความสามารถ อ่าน คล่อง สรุปได้ว่า Best Practice เทคนิคการพัฒนาการอ่านโดยใช้กจิ กรรม “ตามรอยพ่อ..ขอเป็นนักอ่าน”มีคุณภาพสามารถ นาสู่การปฏิบัตไิ ด้ใน สถานการณ์จริงทาให้บังเกิดผลดีต่อการพัฒนาสมรรถนะด้านการอ่าน

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง      

เผยแพร่ทาง Website ของโรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” เผยแพร่ทาง Facebook ของโรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” เผยแพร่ทาง จุลสาร ของโรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและในการ ประชุมผู้ปกครอง เผยแพร่ในการสัมมนาแลกเปลีย่ นเรียนรู้การสร้างวัฒนธรรมวิจัย ภาคกลาง จัดโดย สพฐ. ที่โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดกาญจนบุรี นักเรียนได้รับรางวัล รางวัลชนะเลิศ การประกวดร้องเพลงลูกทุ่งชนะเลิศ อันดับ 1 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับ ภาคกลางภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 60 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการประกวดเล่านิทาน การประกวด สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ การประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง มารยาทไทย การประกวดอ่านทานองเสนาะ รางวัลเหรียญเงิน การประกวดวาดภาพ ระบายสี งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้ง ที่ 61 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 นักเรียนได้รับรางวัลชมเชยการประกวด การกล่าวสุนทรพจน์ งานวัน วิชาการ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรี ประจาปีการศึกษา 2554

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

97


98

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

อ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด

นายรัชช์สิทธิ์ ทิพยาลัย ผู้อานวยการโรงเรียนดิศกุล โทรศัพท์ 081-8579769 E-mail : rutsit@hotmail.com

การอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด ครั้งนี้ มีความสอดคล้องกับจุดเน้น ของ สพป.กจ.1 ข้อ 2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็นและสอดคล้องกับจุดเน้นของ สพฐ. ข้อ 3 นักเรียน ป.3 ทุกคนอ่าน ออก เขียนได้ คิดเลขเป็น นักเรียน ป.6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะ การคิดขัน้ พืน้ ฐาน (Literacy & Numeracy) วัตถุประสงค์ของการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด ได้แก่  เพื่อให้นักเรียนมีนสิ ัยรักการอ่าน รู้จักคิด วิเคราะห์  เพื่อให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ  เพื่อให้นักเรียนมีทักษะทางภาษาในการสื่อสารเหมาะสมกับวัย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนากระบวนการอ่านเสริม ปัญญา พัฒนาความคิด

กิจกรรมหนังสือทามือ

ป้ายนิเทศวันสาคัญต่างๆ

จากวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ ของ สพฐ. และสพป.กจ.1 และได้ ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนากระบวนการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด ดังนี้ 1) วงจรคุณภาพ P D C A ของเดมมิ่ง อ้างอิงจาก images.senarat.multiply.multiplycontent.com/.../. 2) ทฤษฎีการอ่าน อ้ า ง อิ ง จ า ก www.banhuakhua.ac.th/banhuakhua/file_editor/lunaresearch.doc 3) กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อ้างอิงจาก www.library.rbru.ac.th/download/reading.ppt

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

99

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด กลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิดไปใช้ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 โรงเรียนดิศกุล ในปีการศึกษา 2552 จานวน 244 คน โดยมีขั้นตอนการพัฒนา กระบวนการอ่ า นเสริ ม ปั ญ ญา พั ฒ นาความคิ ด ได้แก่

ประชุม วางแผน และกาหนด กิจกรรม

ดาเนินโครงการตามกิจกรรม * วางทุกงานอ่านทุกคน * หนูน้อยนักอ่าน * สะสมแต้ม * เล่านิทานให้น้องฟัง * ป้ายนิเทศวันสาคัญต่างๆ * หนังสือทามือ * บอกใบ้ทายคา * ดูดีดีภาพนี้มีรางวัล

รายงานผลการ ดาเนินกิจกรรม

สรุปและประเมินผลการ ดาเนินกิจกรรม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ผลงานนักเรียนจากกิจกรรมเล่า นิทานให้น้องฟัง


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

100 กิจกรรมบอกใบ้ทายคา และดูดีดีภาพนีม้ รี างวัล

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การตรวจสอบคุณภาพกระบวนการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด ตัวชี้วัดความสาเร็จ ร้อยละของผลการดาเนินกิจกรรม

วิธีการวัดและประเมิน ประเมินผลกิจกรรม

เครื่องมือ แบบประเมินกิจกรรม

แนวทางการนากระบวนการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิดไปใช้ประโยชน์ คือ 1) นักเรียนใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ 2) นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3) นักเรียนมีนสิ ัยรักการอ่าน 4) นักเรียนมีความรู้และความสามารถด้านการอ่านคิดวิเคราะห์

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด ป้ายนิเทศเผยแพร่ให้ความรู้และแสดง วันสาคัญต่างๆ

ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 80 เข้าใช้หอ้ งสมุดอย่างสม่าเสมอ แ ล ะ นักเรียนร้อยละ 80 ร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ คือ ครูและนักเรียนใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งค้นคว้าหาเรียนรู้ และนักเรียนมีนสิ ัยรักการอ่าน ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ กระบวนการอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด จากการสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เท่ากับ 100 อยูใ่ นระดับดีมากที่สุด และจากการสอบถาม ความพึง พอใจของครู พบว่า ครู มีความพึงพอใจต่อการจัดกิ จกรรมส่ งเสริม การอ่า น เท่ากับ 100 อยูใ่ นระดับดีมากที่สุด

ปัจจัยที่ทาให้การอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิด ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ปัจจัยที่ทาให้ที่ทาให้การอ่านเสริมปัญญา พัฒนาความคิดประสบ ความสาเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่ การวางแผนที่ดี ,การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมและ น่าสนใจ ,การสร้างแรงเสริม และการติดตามและประเมินผลอย่างสม่าเสมอ โดยนา กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง คือ การจัด กิจ กรรมอย่า งต่อ เนื่ อ ง และประเมิน กิ จกรรมทุก ครั้ง โดยนาผลการประเมิน มาใช้ ปรับปรุงและพัฒนาต่อเนื่อง

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ เมื่อสิ้นปีการศึกษา 2555 จัดทาเอกสารเผยแพร่ความรู้ จัดทาแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมทั้งภายในโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน ในระดับศูนย์ เครือข่าย ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจทั่วไป และประกาศเสี ย ง ตามสายชีแ้ จงรายละเอียดกิจกรรม ความก้าวหน้าของกิจกรรมภายในโรงเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

101

เครื่องยิงตะกร้อ “ เครื่องยิงตะกร้อ” เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับการฝึกผู้เรียน ให้เรียนรู้อย่าง มี ค วามสุ ข มี ค วามสามารถ ทั ก ษะ และคุ ณ ธรรมตามจุ ด เน้ น สอดคล้ อ งกั บ ศั ก ยภาพ ความถนั ด ความสนใจ และความต้ อ งการ ส่ ง ผลให้ ผู้ เ รี ย นมี ความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะตามจุดเน้น และเรียนรู้อย่างมีความสุ ขตาม เกณฑ์ที่ สพป.กจ.1 กาหนด ซึ่งเครื่องยิงตะกร้อมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่ออนุรักษ์กีฬาตะกร้อ ซึ่งเป็นศิลปวัฒนธรรมของไทย  เพื่อพัฒนานักเรียนให้มคี วามรู้ ความสามารถในทักษะการเล่นตะกร้อ  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ออกกาลังกายอย่างเหมาะสมกับวัย  เพื่อพัฒนานวัตกรรม เทคนิควิธีการเล่นให้เหมาะสมกับนักเรียน เป้าหมาย  โรงเรียนจัดทีมตะกร้อเข้าแข่งขันในกีฬา สพฐ.เกมส์ ชนะเลิศไม่น้อยกว่า 1 ประเภท  ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนคิดค้นนวัตกรรม เทคนิควิธีการเล่นตะกร้อ อย่าง น้อย 1 รูปแบบ  นักเรียนมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง เหมาะสมกับวัย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาเครื่องยิงตะกร้อ

นายเสรี จันทร์เจือจุน ผู้อานวยการโรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม โทรศัพท์ 089-551-3095 E-MAIL : Seri.janjiajun@gmail.com

คณะครูจากศูนย์เครือข่ายสถานศึกษา ทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ศึกษาดูงานการสอนตะกร้อ

การฝึกนักเรียนที่เป็นนักกีฬาตะกร้อใช้แนวคิด หลักการ ของ สืบสาย บุญวีรบุตร มี 3 องค์ประกอบ คือ  ทางกาย ประกอบด้วยสัดส่วนรูปร่างที่เหมาะสม กับตาแหน่งที่เล่นกีฬานั้นๆ  จิตใจ คือ ความแข็งแกร่งทางใจ หมายถึง การ มี จิ ต ใจที่ มุ่ ง มั่ น มี ส มาธิ แ ละความตั้ ง ใจในการ ควบคุมตัวเองทั้งทางกายและจิตใจ เพื่อให้บรรลุ จุดมุง่ หมายที่ตั้งไว้  สิ่งแวดล้อม แบ่งออกเป็นสองส่วน คือ 1) สิ่งแวดล้อมทางบุคคล ได้แก่ ครูอาจารย์ ผู้ฝึกสอน ผู้บริหารองค์กร 2) สิ่งแวดล้อมทางวัตถุ ได้แก่ การมีอุปกรณ์ กี ฬ าที่ ดี แ ละทั น สมั ย มี ส่ิ ง อ านวยความ สะดวกทางการกี ฬ าต่ า งๆ การมี เ งิ น ทุ น สนั บ สนุ น เพื่ อ จั ด เตรี ย มความพร้ อ มและ ช่วยให้พัฒนาความสามารถจนถึงขีดสูงสุด

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ปีการศึกษา 2551 เด็กชายจักรกฤษ วีระนนท์ ชนะเลิศอันดับ 1 เดาะตะกร้อ งานศิลปหัตถกรรมภาคกลาง และภาคตะวันออก


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

102

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนาเครื่องยิงตะกร้อ กลุ่มเป้าหมายในการนาเครื่องยิงตะกร้อไปใช้ คือนักเรียนระดับประถมศึกษา ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 3 – 6) และครูผู้สอนพลศึกษา โดยพัฒนาการเรียนการสอนกีฬา ตะกร้อใช้กระบวนการพัฒนาของเดลมิ่ง คือ ปีการศึกษา 2552 ชนะเลิศอันดับ 1 การเดาะตะกร้อและ ฟุตบอลชาย/หญิง งานศิลปหัตถกรรมภาคกลางและภาค ตะวันออก จังหวัดลพบุรี

P 2551

D

ปีการศึกษา 2553 ชนะเลิศระดับชาติ ตะกร้อลอดห่วงหญิง สพฐ.เกมส์ รุ่นอายุ 12 ปี สนามกีฬากลาง จังหวัดขอนแก่น

C

A

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาเครื่องยิงตะกร้อ ปีการศึกษา 2551 2552 2553 2554 2555

นักเรียนสมัคร 10 คน 20 คน 20 คน 28 คน 50 คน

ผ่านการคัดเลือก 3 คน 6 คน 5 คน 5 คน 15 คน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

เข้าแข่งขัน 1 คน 4 คน 5 คน 3 คน 10 คน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

103

ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ จากรางวัลที่ได้รับนักเรียนได้รับรางวัลสูงขึ้นทุกปี จาก ระดับจังหวัดกาญจนบุรี จนถึงระดับชาติ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อเครื่องยิง ตะกร้อ จากการสารวจความพึงพอใจของนักเรียน ร้อยละ 100 ,จากการสารวจความ พึงพอใจของครู ร้อยละ 90 , จากการสารวจความพึงพอใจของคณะกรรมการ สถานศึกษา ร้อยละ 100 และจากการสารวจความพึงพอใจของผู้ปกครอง ร้อยละ 100

ปัจจัยที่ทาให้เครือ่ งยิงตะกร้อประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ในจังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม ได้เป็นตัวแทนเข้าแข่งขัน ระดับประเทศตลอดมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 และมีคณะครูชมรมครูพลศึกษาจาก ภาคใต้มาศึกษาดูงานการสอนตะกร้ออย่างไรให้ได้รางวัลระดับชาติ จานวน 40 คน โดยมีกระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงเครื่องยิงตะกร้อให้เกิดผลดีอย่าง ต่อเนื่อง โดยสามารถศึ ก ษาจากผลการแข่ ง ขั น ในระดั บ จั ง หวั ด ระดั บ ภาค และ ระดับชาติ โดยการพัฒนาเทคนิควิธีการใช้เครื่องยิงตะกร้อ จากประสบการณ์ที่ได้ไป แข่งขันในระดับชาติ โดยประเมินความสามารถของโรงเรียนที่เข้าแข่งขันทั้งหมด แล้ว นาผลมาปรับปรุงเครื่องยิงตะกร้อ ทาให้นักเรียนมีเทคนิคการเล่นตะกร้อสูงขึน้

ปีการศึกษา 2554 ชนะเลิศระดับภาคกลาง 2 เซปักตะกร้อ หญิง สพฐ.เกมส์ รุน่ อายุ 12 ปี ณ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม เผยแพร่ผลสาเร็จของการแข่งขันตะกร้อลอด ห่ ว งสากลและเซปั ก ตะกร้ อ ทางเว็ บไซต์ ข องโรงเรี ย นวั ด วั ง ขนายทายิก าราม คื อ wkn.ac.th และ YouTube “Hauheen2.wmv” วัน เดือน ปี 23 ธันวาคม 2552

3 กันยายน 2553

30 สิงหาคม 2554

14 กันยายน 2555

การประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ชนะเลิศการเดาะตะกร้อและฟุตบอล ประเภท ทีมหญิงและชาย รุ่น 12 ปี งานศิลปหัตถกรรมภาคกลางและ ภาคตะวันออก จังหวัดลพบุรี ประชาสัมพันธ์ชนะเลิศตะกร้อลอดห่วงสากล ประเภททีมหญิง รุน่ 12 ปี ระดับชาติ ณ สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนวัดวังขนาย ทายิการาม จัดงานฉลองชัยชนะเลี้ยงโต๊ะจีนที่อาคาร อเนกประสงค์โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม จานวน 50 โต๊ะ ประชาสัมพันธ์ชนะเลิศเซปักตะกร้อ ประเภททีมหญิง รุ่น 12 ปี ระดับภาคกลาง 2 ณ สนามกีฬาโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย ประชาสัมพันธ์ชนะเลิศเซปักตะกร้อและตะกร้อลอดห่วง ประเภททีมหญิง รุ่น 12 ปี ระดับจังหวัดกาญจนบุรี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ปีการศึกษา 2555 ชนะเลิศ กีฬา สพฐ.เกมส์ ระดับจังหวัดกาญจนบุรี  ตะกร้อลอดห่วงสากล ทีมหญิง รุน่ อายุ 12 ปี  เซปักตะกร้อ ทีมหญิง รุ่นอายุ 12 ปี ณ โรงยิมเทศบาลเมืองกาญจนบุรี (รอไปแข่งขันระดับภาคกลาง)


104

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

รูปแบบการจัดการองค์ความรู้(Knowledge Management) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ผ่านการรับรองมาตรฐานจากการประเมินภายนอก ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว รอบสองทั้งในระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเมื่อเดือนมกราคม 2552 สมศ.ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าทิศทางการพัฒนาในอนาคต ด้านครู ควรจัดกิจกรรม โทรศัพท์ 081-5261239 , การเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในการคิดจากการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 081-8563386 เปิดโอกาสในการสร้างงานใหม่จากภูมิปัญญาในท้องถิ่นให้มากขึ้น ด้านการบริหาร E-mail : chok_9@yahoo.com ด้านวิชาการควรพัฒนาการใช้ส่อื และเทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนให้มากขึน้ ดังนัน้ จึงจาเป็นต้องหารูปแบบหรือแนวทางในการบริหารจัดการความรู้ที่ให้ ทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ส่ ว นร่ ว มและพั ฒ นาคุ ณ ผู้ เ รี ย นสู่ ค วามเป็ น เลิ ศ จึ ง ก าหนด วัตถุประสงค์ไว้ดังนี้  เพื่อบริหารจัด การความรู้ ค วามรู้จากภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้เป็ นระเบีย บ ครบถ้วน ง่ายต่อการเรียกใช้ โดยนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการ  เพื่อเป็นการปรับปรุงเทคนิค กระบวนการในการจัดการเรียนการสอนของครู โดยมีจุดมุง่ หมายเพื่อพัฒนาองค์ความรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้สามารถ สร้างองค์ความรู้ได้ และนาความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

นายโชค เอียดช่วย

ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2553 -2554 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายของ สถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ. 2545 มาตรา 29 ให้ ส ถานศึ ก ษาร่ ว มกั บบุ ค คล ครอบครั ว ชุม ชน องค์ ก รชุม ชน องค์กรปกครองท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการ เรี ย นรู้ ภ ายในชุมชน เพื่อ ให้ ชุม ชนมีก ารจั ด การศึก ษาอบรม มีก ารแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญาในท้องถิ่น และวิทยาการต่างๆ เพื่อพัฒนา ชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มี การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การพัฒนาระหว่างชุมชน รวมทั้งสอดคล้องกับนโยบาย จุดเน้น และยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่ส องนั้น ให้ ค วามส าคัญ กั บการพัฒ นาคุณ ภาพคนไทยยุค ใหม่ที่มีนิสั ย ใฝ่ เรียนรู้การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งการเรียนรู้ยุคใหม่ รวมทั้งการมีส่วน ร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ภาคเอกชนและทุกภาค

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การพั ฒนา ในครั้ งนี้ ได้สั ง เคราะห์แ นวคิ ดการจัด การองค์ ความรู้ (Knowledge Management, KM) มาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศ สรุปได้ ดังนี้ การจัดการความรู้ หรือเคเอ็ม (KM = Knowledge Management) คือ การรวบรวมองค์ ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็น ระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้ง ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขัน สูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ 1) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทา ความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคาพูดหรือลาย ลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทางาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครัง้ จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม 2) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลาย ลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครัง้ เรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมายในการนา ไปใช้ กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาได้แก่ บุคลากร ของโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว และผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ครู 25 คน นักเรียนจานวน 548 คน ผู้ปกครองนักเรีย นจานวน 548 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 15คน ผู้นาชุมชน จานวน 10 คน รวม 1,146 คน  ขั้นตอนการพัฒนา รูปแบบการจัดการองค์ความรู้จากการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนประกอบด้วย 1) ศึ ก ษาสภาพภาพทั่ ว ไป ส ารวจ รวบรวม ข้ อ มู ล แหล่ ง เรี ย นรู้ แ ละ ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านห้วยน้าขาว 2) สร้ า งความร่ ว มมือ กั บ ชุม ชนในการจั ด การองค์ ค วามรู้ จ ากภู มิปั ญ ญา ท้องถิ่นในหมูบ่ ้านห้วยน้าขาว 3) นาเสนอ และทดลองใช้รูปแบบการจั ดการองค์ ความรู้ ในการใช้แหล่ ง เรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน  การตรวจสอบคุณภาพ ในขัน้ นีผ้ ู้พัฒนาดาเนินการตามกระบวนการมีสว่ นร่วม ดังนี้ 1) ประเมินก่อนนารูปแบบการจัดการองค์ความรู้มาใช้กับแหล่งเรียนรู้และนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2) ประชุมปฏิบัติการในการใช้รูปแบบการจัดการองค์ความรู้มาใช้กับแหล่ ง เรียนรู้และนาภูมิปัญญา 3) ท้ อ งถิ่ น ของหมู่ บ้ า นห้ ว ยน้ าขาวมาพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ได้ แ ก่ ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผู้ปกครองโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว และ ผู้นาชุมชน3. ปฏิบัตติ ามปฏิทินการดาเนินงานที่วางไว้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

105


106

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

4) ผู้บริหารและคณะทางานนิเทศ เพื่อสอบถามติดตาม สอบถามปัญหา และ ให้การช่วยเหลือ 5) ประเมิ น หลั ง เสร็ จ สิ้ น การด าเนิ น การกั บ ครู นั ก เรี ย น คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว และผู้นาชุมชน 6) จัด นิทรรศการจากความสาเร็จ ในการจั ดการองค์ ความรู้ มาใช้ กับ แหล่ ง เรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 7) มอบเกียรติบัตร รางวัล แก่บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียนรวมทั้งผู้ที่มี ส่วนร่วมในการจัดการองค์ความรู้มาใช้กับแหล่งเรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของ หมูบ่ ้านห้วยน้าขาวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ในการนารูปแบบการจัดการองค์ความรู้มาใช้กับแหล่งเรียนรู้และนาภูมิปัญญา ท้องถิ่ นของหมู่บ้านห้ วยน้าขาวมาพัฒ นาคุ ณภาพผู้เรี ยนไปใช้ประโยชน์ มีแนวทาง ดังนี้ 1) การกาหนดความรู้หลักที่จาเป็นหรือสาคัญต่องานหรือกิจกรรมของกลุ่มหรือ องค์กร 2) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ 3) การปรับปรุงดัดแปลงหรือสร้างความรู้บางส่วน ให้เหมาะต่อการใช้งานของตน 4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในกิจการงานของตน 5) การนาประสบการณ์จากการทางาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และสกัด “ขุมความรู้” ออกมาบันทึกไว้ 6) การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุง เป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน ลุ่มลึกและเชื่อมโยงมากขึ้น เหมาะต่อการใช้งานมาก ยิ่งขึน้ โดยที่การดาเนินการ 6 ประการนี้บูรณาการเป็นเนื้อเดียวกัน ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เป็ น ทั้ ง ความรู้ ที่ชั ด แจ้ ง อยู่ใ นรู ป ของตั ว หนั ง สือ หรือ รหั ส อย่า งอื่น ที่ เข้ า ใจได้ ทั่ว ไป (Explicit Knowledge) และความรูฝ้ ังลึกอยูใ่ นสมอง (Tacit Knowledge) ที่อยู่ในคน ทั้งที่ อยู่ในใจ (ความเชื่อ ค่านิยม) อยู่ในสมอง (เหตุผล) และอยู่ในมือ และส่วนอื่นๆ ของ ร่างกาย (ทักษะในการปฏิบัติ) การจัดการความรู้เป็ นกิจกรรมที่คนจานวนหนึ่ งทา ร่วมกันไม่ใช่กิจกรรมที่ทาโดยคนคนเดียว เนื่องจากเชื่อว่า “จัดการความรู้” จึงมีคน เข้าใจผิด เริ่มดาเนินการโดยรี่เข้าไปที่ความรู้ คือ เริ่มที่ความรู้ นี่คือความผิดพลาดที่ พบบ่อยมาก การจัดการความรู้ที่ถูกต้องจะต้องเริ่มที่งานหรือเป้าหมายของงาน เป้าหมายของงานที่สาคัญ คือ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการดาเนินการตามที่ กาหนดไว้ ที่เรียกว่า Operation Effectiveness ให้มีสัดส่วนระหว่างผลลัพธ์ กับต้นทุนที่ ลงไปที่คุ้มค่า มีประสิทธิภาพสูง คือ การทางานที่ลงทุนลงแรงน้อย แต่ได้ผลมากหรือ คุณภาพสูง เป้าหมายสุดท้ายของการจัดการความรู้ คือ การที่กลุ่มคนที่ดาเนินการจัดการ ความรู้ร่วมกัน มีชุดความรู้ของตนเอง ที่ร่วมกันสร้างเอง สาหรับใช้งานของตน คน เหล่านีจ้ ะสร้างความรู้ข้นึ ใช้เองอยูต่ ลอดเวลา โดยที่การสร้างนัน้ เป็นการสร้างเพียง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

บางส่วน เป็นการสร้างผ่านการทดลองเอาความรู้จากภายนอกมาปรับปรุงให้เหมาะต่อ สภาพของตน และทดลองใช้งาน จัดการความรู้ไม่ใช่กิจกรรมที่ดาเนินการเฉพาะหรือ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งความรู้ แต่ เ ป็ น กิ จ กรรมที่ แ ทรก/แฝง หรื อ ในภาษาวิ ช าการเรี ย กว่ า บูรณาการอยู่กับทุกกิจกรรมของการทางาน และที่สาคัญตัวการจัดการความรู้เองก็ ต้องการการจัดการด้วย 1) การร่วมคิดและสร้างจิตอาสาเป็นก้าวแรกที่มคี วามสาคัญทีจ่ ะทาให้งานประสบ ผลสาเร็จโดยจะต้องสร้างความตระหนักให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสาคัญ 2) สร้างวิสัยทัศน์ร่วมในการดาเนินงานตั้งแต่ขนั้ แรกจนจบสิน้ กระบวนการ 3) ส่งเสริมการทางานเป็นทีม เน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของโรงเรียนและภาคี เครือข่ายในชุมชน 4) นิเทศติดตาม ประเมินผล และประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงาน พร้อมมอบ เกียรติบัตรยกย่องผู้ที่มีจิตอาสา เสียสละเพื่อโรงเรียนและชุมชน

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นั ก เรี ย น และครู ร้อ ยละ 100 ได้ เรี ย นรู้ จ ากใช้ แ หล่ ง เรี ย นรู้ แ ละภู มิ ปัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาว ดังนี้  นางชบา อรุณฉาย ภูมิปัญญาด้านการสานเข่งจากไม้ไผ่  นางสนี แก้วสาคู ภูมิปัญญาด้านงานบายศรี  นายบุญเลิศ พุม่ เทียน ภูมิปัญญาด้านการเชื่อมเหล็ก 2) นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาของหมู่บ้านห้วยน้าขาว ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สามารถส่งต่อไปยังคนรุ่นต่อไปในอนาคต 3) โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวมของข้อมูลความรู้จากใช้แหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาว 4) ครู ทุ ก คนมี แ หล่ ง เรี ย นรู้ ไ ด้ รั บ ความรู้ จ ากภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น บ้ า น ห้วยน้าขาวตลอดจนนาภูมิปัญญามาถ่ายทอดสู่ผู้เรียน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) โรงเรี ย นบ้ า นห้ ว ยน้าขาวได้ รับ รางวั ล ระดั บเหรี ย ญเงิ น ในงานเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดาเนินโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนระดับชาติประจาปี 2554 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 2) โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาวได้รับรางวัลที่ 1 ในการส่งเสริมการสอน จริยธรรมดีเด่นระดับมัธยมศึกษาตามโครงการพอเพียงแห่งชีวิตประจาปี 2554 ***หมายเหตุ*** บริบท และกิจกรรมต่าง ๆ ดูได้ที่ www.huaynamkhao.ac.th

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

107


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

108

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ร่วมใจสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โรงเรียนวัดหนองเสือ เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นายปัญญา เที่ยงธรรม

มุง่ สู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ผู้อานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสถานศึกษา โทรศัพท์ 081-9433465 “โรงเรียนวัดหนองเสือ” ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนดีประจาตาบล รุ่นที่ E-mail : panyaya79@gmail.com 3 เป็นโรงเรียนที่มีมาตรฐานคุณภาพระดับสูง มีความเข้มแข็งทั้งด้านวิชาการ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ดนตรี กีฬาและศิลปะ มีความพร้อมด้านกายภาพที่มีความสะอาด ร่ม รื่น ปลอดภัย เป็นโรงเรียน “ทามาหากิน” ที่เน้นการพัฒนาพื้นฐานด้านอาชีพและการ มีร ายได้ ร ะหว่ า งเรี ย น มี ค วามร่ ว มมื อ กั บ ท้ อ งถิ่ น และบริ ก ารชุ ม ชนอย่ า งเข้ ม แข็ ง นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีสานึกความเป็นไทย มีความรู้และทักษะพื้นฐาน ด้านอาชีพ มีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ระดับสูงและมีสุขภาพพลานมัยดี ซึ่งมี ความเชื่อมโยงและสัมพันธ์กับจุดเน้น ของ สพป./สพฐ/สถานศึกษา คือเป็นการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษที่ 2 และให้โอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมกันอย่างมี คุณภาพ โรงเรียนดีประจาตาบล รุ่นที่ 3 ตามมาตรฐานการศึกษาโดยคานึงถึงสิทธิเด็กจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา แนวคิด ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนาใช้หลักการ วงจรเดมมิ่ง (Deming cycle) ซึ่งเป็นวิธีการบริหารงานที่มีคุณภาพสูง

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ผู้เรียนและครูและบุคลากรทางการศึกษา  ขั้นตอนการพัฒนา สถานศึกษายอดเยี่ยมเหรียญเงิน

ข้อกาหนด การวางแผน (Plan)

การลงมือทา (Do)

ครูผู้สอนยอดเยี่ยมเหรียญทอง

การตรวจสอบหรือ การประเมิน(Check) การลงมือแก้ไขและ ปรับปรุง (Action)

ขั้นตอน 1) ค้นหาปัญหา ความต้องการ 2) วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน 3) กาหนดเป้าหมายว่าจะทาอะไร ทาอย่างไรและทาเพื่อใคร 4) วางแผนแก้ไขปัญหา 5) ศึกษาแผนและเตรียมขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6) ปฏิบัติตามแผน 7) ตรวจ ติดตาม ประเมินผล 8) การกาหนดมาตรฐาน 9) สรุปปัญหาและความต้องการครัง้ ที่ 1 10) ปฏิบัติการแก้ไขตามข้อสรุปปัญหา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ ตรวจสอบคุณภาพ โดยวิธีการสอบถามและสัมภาษณ์ นาผลที่ได้มา ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นในปีตอ่ ไปอย่างต่อเนื่อง แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์เผยแพร่ผลงานสู่ผู้สนใจ  ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  นักเรียนร้อยละ 40 มีความสารถในการแข่งขันได้รับรางวัลดีเด่นใน ด้านต่าง ๆ  ครูร้อยละ 90 ได้รับการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะที่สูงขึน้ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  โรงเรี ยนได้รับรางวัล ทรงคุณ ค่ า OBECAWARDS ประจ าปี 2554 ประเภทหน่ ว ยงานที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น เป็ น ที่ ป ระสบผลส าเร็ จ เป็ น ที่ ประจักษ์ “รางวัลสถานศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษา ด้านบริหาร จัดการยอดเยี่ยม เหรียญเงิน ระดับชาติ  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ  คณะครู บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา นั ก เรี ย น คณะกรรมการ สถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ผู้ ป กครอง ชุ ม ชน และหน่ ว ยงานอื่ น มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 95  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา  ความร่ วมมือ ร่ วมใจของคณะครู บุ ค ลากรทางการศึก ษา นัก เรี ย น คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ผู้ ป กครอง ชุ ม ชน และ หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

109

ครูผู้สอนยอดเยี่ยมเหรียญเงิน

วงดนตรีลูกทุ่งเหรียญเงิน

กระบวนการตรวจสอบซาเพื่อพัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า  นาไปเผยแพร่ให้กับผู้สนใจเพื่อให้ได้ขอ้ เสนอแนะ  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง  นาไปทดลองกับโรงเรียนอื่นที่สนใจ

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  จัดนิทรรศการ  จุลสาร  ชุมชน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นักเรียนดีเด่นคุณธรรม


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

110

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการพัฒนา นายณรงค์ มุกดาแสงสว่าง ผู้อานวยการโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร โทรศัพท์ 081-9424026 E-mail : na112511.gmail@com

 เพื่ อ พั ฒ นารู ป แบบการจั ด การความรู้ โ ดยใช้ ส่ื อ สั ง คมออนไลน์ ข อง โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สพป.กจ.1  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูผู้สอนที่มีต่อรูปแบบการจัดการความรู้ โดยใช้ส่อื สังคมออนไลน์ของโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สพป.กจ.1

ระยะเวลาในการพัฒนา พฤษภาคม 2554 – มีนาคม 2555

การเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพฐ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มอื อาชีพ  จุดเน้น นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ พัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและ สังคมพหุวัฒนธรรม โดยการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถ ปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา สืบเนื่องจากพระราชพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 11 กาหนดไว้ว่า ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนา ความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มลี ักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ โดย ต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อนามา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยน ทัศ นคติข องข้ า ราชการในสั ง กั ด ให้ เป็ น บุ ค ลากรที่มีประสิ ทธิ ภ าพและมีก ารเรี ย นรู้ ร่วมกัน สื่อสังคมออนไลน์ (social media) เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือ สนับสนุนการจัดการความรู้ในองค์กร ตั้งแต่กระบวนการสร้างความรู้ ปะมวลความรู้ และแบ่งปันความรู้และการเผยแพร่ความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการ ความรู้ที่จะเกิดขึน้ ภายในองค์กร มีทั้งหมด 7 ขั้นตอน คือ 1) การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจาเป็นต้องใช้อะไร ขณะนีเ้ รามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่นการสร้างความรู้ใหม่ แสวงหา ความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่ากาจัดความรูท้ ี่ใช้ไม่ได้แล้ว การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) การจัด ความรู้ ให้เ ป็น ระบบ เป็น การวางโครงสร้ างความรู้ เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น ปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็น มาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกันปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ 5) การเข้าถึงความรู้ เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่าย สะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ทาได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทาเป็นเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge จัดทาเป็นระบบ ทีมข้ามสายงานกิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น 7) การเรียนรู้ ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการ เรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การนาความรู้ในไปใช้ เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ครูผู้สอนโรงเรียนเขาดินวิทยาคารทุกคน ที่ปฏิบัตหิ น้าที่การสอน ในช่วงเดือน พฤษภาคม 2554 – มีนาคม 2555  ขั้นตอนในการพัฒนา 1) การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 2) การพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3) การดาเนินการทดลอง 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล 5) การจัดกระทาวิเคราะห์ขอ้ มูล สรุปและอภิปรายผล  ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา  โรงเรียนเขาดินวิทยาคารดาเนินการจัดการเรียนรู้ โดยรูปแบบ การจัดการความรู้โดยใช้ส่อื สังคมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้น  ครูผู้สอนที่มีต่อรูปแบบการจัดการความรู้โดยใช้ส่อื สังคม ออนไลน์ของโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สพป.กจ. 1 ระดับมากขึน้

กระบวนการตรวจสอบซาเพือ่ พัฒนาปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจซ้า สอบถามความพึงใจในการร่วมกิจกรรมการจัดการเรียนรู้  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นาข้อมูลที่ได้รับเพื่อการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาจุดด้อยต่อไป

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

111


112

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลงานและความดี สมศักดิ์ศรี โรงเรียนพระราชทาน โดยใช้การบริหารจัดการ แบบ School Based Management (SBM)

นางรัชนีวรรณ จงเจริญ รองผู้อานวยการโรงเรียนวัดอินทาราม “โกวิทอินทราทร” โทรศัพท์ 085-4255429 E-mail : ratchanee-won@hotmail.com

การบริหารจัดการโดยใช้ School – Based Management ทาอย่างเป็น ระบบ ดาเนินงานตามขั้นตอน และชัดเจน ทาให้ โรงเรียนวัดอินทาราม “โกวิท อินทราทร” ประสบความสาเร็จ ได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน โดยโรงเรียนได้ ปฏิบัติงานตามแนว SBM โดยให้ชุมชนมีบทบาทและส่วนร่วมในการบริหารจัด การศึกษา เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริหารที่ใช้ SBM ใช้รูปแบบที่ครู และชุมชนมีบทบาทหลักโดยผู้บริหารเป็นผู้นา การเปลี่ยนแปลง (Change Agent) นาพาองค์กร จนประสบความสาเร็จ วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการ ได้แก่  เพื่อให้โรงเรียนมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ และเป็นที่ยอมรับสู่การเป็นโรงเรียน พระราชทาน  เพื่ อ ให้ ส ามารถด าเนิ น งานตามแนวการบริ ห ารโรงเรี ย น และสามารถ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด การโรงเรี ย นของตนเองแบบเบ็ ด เสร็ จ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ  เพื่อให้มันวัตกรรมของการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมี ความชัดเจน และมีประสิทธิภาพ  เพื่อให้โรงเรียน ได้ปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับผู้ปกครองชุมชนและทุกฝ่าย ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารจัดการ แบบ School Based Management (SBM) การบริห ารงาน โดยใช้โรงเรีย นเป็ นฐานนั้น เป็น หลั ก การบริห ารโดยการ กระจายอานาจในการจัดการศึกษา เพื่อให้โรงเรียนมีอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ มีความอิสระและความคล่องตัวในการตัดสินใจการบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุค ลากร และบริห ารทั่ วไป โดยมีค ณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่ ง ประกอบด้วย ผู้บริห ารสถานศึกษา ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่วมกันบริหาร สถานศึกษาให้เป็นไปตามความต้องการของผู้เรียนและผู้ปกครองให้มากที่สุด ทั้งนี้ การบริหารจัดการที่รับผิดชอบร่วมกันตามภาระงานของสถานศึกษานั้น จะทาให้ เกิดความเป็นเจ้าของและทาให้ผลการปฏิบัตงิ านของสถานศึกษาเป็นที่ยอมรับได้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

113

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการบริหารจัดการ แบบ School Based Management (SBM) กลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการบริหารจัดการ แบบ School Based Management (SBM) ไปใช้ ได้แก่ บุคลากรในโรงเรียนวัดอินทาราม “โกวิทอินทราทร” จานวน 33 คน นักเรียน จานวน 500 คน ชุมชนและผู้ปกครอง โดยมีแผนผังขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้

School – Based Management

/

Plan

Do

/

/

/

/

Chack

Aetion

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการ แบบ School Based Management (SBM) ผลสาเร็ จเชิง ปริมาณ ผู้ บริ หาร ครู ผู้ ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการ สถานศึกษา และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมและเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของ ตนเอง คือ ผลงานและความดี สมศักดิ์ศรี โรงเรียนพระราชทาน (ระดับประถมศึกษา ขนาดใหญ่ปี 2554 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ โรงเรียนวัดอินทาราม “โกวิทอินทราทร” ได้รับการ ยอมรับจากหน่วยงานต่างๆจากการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) และ รางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดที่ทุกฝ่ายภาคภูมิใจและเป็นที่ประจักษ์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

114

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การบริหารจัดการ แบบ School Based Management (SBM) ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย การบริ ห ารและจั ด การโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐาน ของโรงเรี ย นวั ด อิ น ทาราม “โกวิ ท อินทราทร” จะมีการตรวจสอบและถ่วงดุล โดยโรงเรียนได้ดาเนินงาน พร้อมทั้งปรับปรุงและ พัฒนางานทุกๆด้าน อย่างต่อเนื่อง โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA ของเดรมมิ่ง ผลการตรวจสอบ ซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง โรงเรียนได้รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม และทาข้อมูลมา สรุป ว่าภาพรวมของแต่ละด้านมีผลอย่างไร รวบรวมข้อมูลให้เป็นข้อมูลในระบบสารสนเทศ จากการรวบรวมจากแบบสอบถาม แบบประเมินความพึงพอใจ ผู้ บ ริ ห าร คณะครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน มีความพึงพอใจ 100% คณะกรรมการสถานศึกษา ชุม ชน ผู้ ปกครอง มีค วามพึง พอใจ 95% จากการที่ โรงเรี ย นมีก ารบริห ารจั ด การโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) ส่งผลให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานอื่นๆเกิดความเชื่อมั่น/ยอมรับ และภาคภูมิใจในความสาเร็จของโรงเรียนซึ่งเป็นที่ ประจักษ์ เช่น  โรงเรียนผ่านการประเมินของ สมศ. ในรอบ 3 (ปีการศึกษา 2554)  โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับ เหรยญทอง-โรงเรียนในฝันรุ่นที่ 2  โรงเรียนการเพิ่มผลผลิตตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรม  โรงเรียนที่สอนหลักสูตร Mini English Program  โรงเรียนมีผลงานเป็นที่ประจักษ์รางวัล OBEC AWARDS  โรงเรียนได้รับรางวัลชมเชย นักเรียนพระราชทาน  โรงเรียนผ่านการประเมินโรงเรียนคุณธรรมชั้นนา ระดับดีมาก  โรงเรียนแกนนาที่มรี ะดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา  โรงเรียนได้รับรางวัล “สถานศึกษารางวัลพระราชทาน ระดับประถมศึกษา ขนาดใหญ่ มีการศึกษา 2554”

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) 2) 3) 4) 5) 6)

เว็บไซต์ของโรงเรียน หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ของจังหวัดกาญจนบุรี (มติกาญจน์,พิมพ์กาญจน์) เว็บไซต์ของสานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ปีการศึกษา 2554 สานักงานพัฒนานวัตกรรม จุลสารของโรงเรียน จัดทาซีดี และ เอกสารแจกคณะผู้มาศึกษาดูงานที่โรงเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

115

การบริหารแบบมีส่วนร่วม ระบบราชการมุ่งประสงค์ให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในการดาเนินงานทางการบริหาร หรือการ ดาเนินกิจการของรัฐ เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของตนเอง (ประชาชน) การมีส่วนร่วมทางตรง จะเห็นได้จากการที่ประชาชนสามารถตัดสิน ใจทางเลือก เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะหรือเข้าร่วมในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ของรัฐในแต่ ละสาขา หรือการลงประชามติในเรื่องต่าง ๆ หรือการเข้าร่วมเป็นกรรมการใน การดาเนินงาน อาทิ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจรับการจ้าง หรือการกาหนด ราคาการจ้างต่าง ๆ ได้ สาหรับการมี ส่วนร่วมทางอ้อม ก็คือการที่ประชาชน สามารถเสนอความคิดความเห็นผ่านเครือข่ายหรือกลุ่มตัวแทนต่าง ๆ และทั้งการ ให้ขอ้ มูลข่าวสาร เพื่อประโยชน์ตอ่ การบริหารราชการผ่านสื่อใดๆ อาทิ วิทยุ , โทรศัพท์ , เว็บไซต์ หรือจดหมายข่าว ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  ช่วยสร้างความสามัคคี และการต่อต้านจากพนักงานระดับต่า  ช่วยให้ทราบถึงความต้องการขององค์การทั้งหมด  ช่วยเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานให้สูงขึ้น ลดความเฉื่อยชาในการทางาน การย้ายงานและการหยุดงาน  ช่วยลดความขัดแย้ง และการต่อต้านจากพนักงานระดับต่า  ช่วยสร้างบรรยากาศในการทางาน และทาให้สุขภาพจิตในองค์การดีขนึ้  ช่วยเพิ่มผลผลิตในองค์กร  สร้างหลักประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในองค์การ  ช่ว ยลดค่า ใช้จ่ า ยในการบริ ห ารงาน ใช้ทรั พ ยากรอย่า งประหยั ดและทะนุ ถนอม  ทาให้พนักงานรู้สกึ ว่าเขาเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารแบบมีส่วนร่วม แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารแบบมีส่วนร่วม คือนา ทฤษฎี x และทฤษฎี y ตามแนวคิดของทฤษฎี x ที่เชื่อว่ามนุษย์ขี้เกียจและขาด ความรับผิดชอบ ดังนั้นต้องใช้วิธีการบังคับหรือควบคุมการทางานอย่างใกล้ชิด ส่วนทฤษฎี y เชื่อว่ามนุษย์มีความขยัน ชอบทางานโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าสภาพ การทางานที่มคี วามเหมาะสม และคนมีส่วนร่วมในการทางานโดยไม่ถูกบังคับก็จะ มีความรับผิดชอบมากขึ้น

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายสุนนั สาระศาลิน รองผู้อานวยการโรงเรียน อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม โทรศัพท์ 083-3085347 E-mail : sarasalin@thaimail.com


116

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมไปใช้ คือ บุคลากร ภายในองค์กรและนอกองค์กร โดยมีขั้นตอนการบริหารแบบมีส่วนร่วม ดังนี้  ผู้ปฏิบัตติ ามแผนรับแผนที่ได้อนุมัติแล้วเพื่อการดาเนินการ  ผู้ปฏิบัตติ ามแผนจะต้องทาความเข้าใจส่วนประกอบต่าง ๆ ทางเทคนิคของแผน  การทาความเข้า ใจส่วนต่า ง ๆ ของแผนโดยเน้น ถึง ปัจ จัยที่ ไม่เกี่ ยวกั บวิชาการ เฉพาะด้านหรือเทคนิคแต่มุ่งเน้นไปทางด้านมนุษยสัมพันธ์และปฏิกิริยาของผู้ปฏิบัติที่มีต่อ แผน  การกาหนดบทบาทของผู้ดาเนินการตามแผน  การจัดเตรียมบุคคลผู้ปฏิบัตติ ามแผนและการกาหนดมอบหมายความรับผิดชอบ  การเตรียมแผนดาเนินการหรือแผนปฏิบัตงิ าน  การดาเนินการตามแผน ตามกระบวนการทุกขั้นตอนที่กล่าวมาจะเป็นการเตรียม งานล่วงหน้าเพื่อดาเนินการตามแผนจึงมีลักษณะงานของการวางแผนปะปนอยู่ดว้ ย  การแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องในหน่วยงานทราบถึงโครงการ  การแปลความหมายของแผนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ  การชีแ้ จงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบถึงความรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมงาน  การรวบรวมข้อมูลและตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับความก้าวหน้าของแผน  การตรวจสอบและประเมินข้อมูลและตัวเลข  การปรับปรุงแผนให้เหมาะสม  การรายงานผลการปฏิบัตงิ านตามแผนตัง้ แต่ตน้ จนถึงการสิน้ สุดของแผน การตรวจคุณภาพ โดยดูผลสาเร็จของการปฏิบัติงาน และการพัฒนาองค์กรให้ บริหารงานเกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการบริหารแบบมีส่วนร่วม  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ความชัดเจนในวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ แผนการกาหนดและมอบหมายภารกิจความรับผิดชอบในโครงสร้างบริหารแผน มี ความชัดเจน มีระบบการกากับตรวจสอบและประเมินผลภายในองค์กร และมีการ เสริมแรงผู้ปฏิบัติในเชิงสร้างสรรค์ สมรรถนะองค์กรที่นาแผนสู่การปฏิบัติ มีความ เข้มแข็งทั้งศักยภาพ ความสามารถและความพร้อม และมีการสนับสนุนและมีความ ผู ก พั น ของฝ่ า ยตาง ๆ ทั้ ง ระดั บ นโยบาย และระดั บ ปฏิ บั ติ ท างด้ า นการเมื อ ง งบประมาณ และวิชาการ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ การเรียนรู้ในกิจกรรมของตนหรือหน้าที่ของ ตนเองอย่างต่อเนื่อง เป็นผลต่อความรู้สึกในการยากรู้ อยากเข้าใจ และอยากเข้าไป มีส่วนร่วม (เป็นการทาการบ้านเพื่อตนเอง) สไตล์การทางานของแต่ละบุคคล เป็น โอกาสของการเลือกเพื่อให้ตนเองก้าวต่อไปหรือได้รับ การ สนับสนุน ความมีอารมณ์ที่มั่นคง การยอมรับจุดอ่อนของตนเอง หรือความ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ความบกพร่องต่างๆ ของตนเอง รู้ตนเอง (จุดแข็งที่มีอยู่หรือศักยภาพของตนเอง) มี ความคิดเห็นในเชิงทะเยอทะยาน โดยเป้าหมายเป็นจุดน่าทดลองเสี่ยงเพื่อความสาเร็จ ในงานของตนเอง สร้างข่ายงานได้ โดยมีการพึ่งพาต่อกัน ทัง้ เพื่อน , ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ใต้บังคับบัญชา เรียนรู้การทางานเป็นกลุ่มว่ามีขั้นตอนอย่างไรและเรียนรู้ที่จะ เงียบ ถือสัตย์ เป็นแบบแผนการทางาน ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ต่ อ ก า ร บ ริ ห า ร แ บ บ มี ส่ ว น ร่ ว ม คื อ ก่อให้เกิดความสามัคคีระหว่างผู้บริหารและผู้ร่วมงานทุกระดับในองค์การ ลดความ ขัดแย้งในการทางาน เพิ่มความไว้วางใจซึ่งกันและกันมากขึ้น สร้างบรรยากาศที่ดีใน การทางาน ช่วยให้ผู้ร่วมงานมีสุขภาพจิตดี ทุกคนมีงานทาสร้างความเป็นประชาธิปไตย ในองค์การ ลดค่าใช้จ่ายและใช้ทรัพยากรอย่างทะนุถนอม ช่วยให้การใช้งบประมาณ เป็ น ไปอย่า งมีประสิ ทธิ ภ าพ ช่ว ยให้ พ นั ก งานเกิ ด ความรู้ สึ ก ว่า เขาเป็ น ส่ ว นหนึ่ง ของ องค์การ

ปัจจัยที่ทาให้การบริหารแบบมีส่วนร่วม ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ปัจจัยที่ทาให้ที่ทาให้การการบริหารแบบมีส่วนร่วม ประสบความสาเร็จตาม เป้าหมาย ได้แก่ 1) ความชัดเจนในวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผน 2) การกาหนดและมอบหมายภารกิจความรับผิดชอบในโครงสร้างบริหารแผน มี ความชัดเจน 3) มีระบบการกากับตรวจสอบและประเมินผลภายในองค์กร และมีการเสริมแรงผู้ ปฏิบัตใิ นเชิงสร้างสรรค์ 4) สมรรถนะองค์กรที่นาแผนสูก่ ารปฏิบัติ มีความเข้มแข็งทั้งศักยภาพ ความสามารถ และความพร้อม 5) มีการสนับสนุนและมีความผูกพันของฝ่ายตาง ๆ ทั้งระดับนโยบาย และระดับ ปฏิบัตทิ างด้านการเมือง งบประมาณ และวิชาการ กระบวนการตรวจสอบเพื่อปรับปรุง จากผลสาเร็จของการปฏิบัตงิ านโดย  การติดตามผลการปฏิบัตงิ าน ได้แก่ การติดตามดูว่าการปฏิบัตงิ านตามโครงการ นั้น ได้ ผ ลงานก้ า วหน้า ไปในทิ ศ ทางที่ ส อดคล้ อ งกั บ แผนปฏิ บั ติง านตลอดจน งบประมาณ ที่กาหนดไว้หรือไม่  การติดตามประสิทธิภาพงาน ได้แก่ การศึกษาติดตามดูว่าเมื่อมี การปฏิบัติงาน เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต ของโครงการออกมานั้ น ได้ ใ ช้ ก รรมวิ ธี ก ารผลิ ต หรื อ วิ ธี ดาเนินงาน ที่ประหยัดที่สุดหรือไม่ โดยอาจจะมีการเทียบเคียงให้เห็นสัดส่วนของ ผลผลิตกับปัจจัยนาเข้าของโครงการ  การติดตามประเมินผลของงานได้แก่ การศึกษาติดตามดูว่าการปฏิบัติงานตาม โครงการนั้นได้ก่อให้เกิดผลผลิตตามที่กาหนดไว้หรือไม่ และผลผลิตที่เกิดขึ้น ดังกล่าวสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้มากน้อยเพียงใด ส าหรั บ การประชาสั ม พั น ธ์ ผ ลส าเร็ จ ของการบริ ห ารแบบมีส่ ว นร่ ว ม และการ เผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง ได้แก่ ทางเว็ปไซด์ของโรงเรียน และสารประชาสัมพันธ์ของ โรงเรียน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

117


118

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การบริหารงานงบประมาณมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ (Results Based Management ; RBM) นางทิพวรรณ ชุ่มเพ็งพันธ์ รองผู้อานวยการโรงเรียน อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม โทรศัพท์ 087-8130379 E-mail : tipmalai@hotmail.com

ส่งเสริมบุคลากรทางการบริหารงาน งบประมาณ พัสดุ การเงิน และบัญชีเข้ารับ การพัฒนาตนสม่าเสมอเพื่อประสิทธิภาพ ในการทางาน ทาให้การบริการมีคุณภาพ

การบริ ห ารงานงบประมาณแบบมุ่ง ผลสั ม ฤทธิ์ แ นวใหม่ (Results Based Management ; RBM)เป็ นการนาเทคนิคการบริห ารมุ่ง ผลสัม ฤทธิ์ม าใช้ใ นการ บริ หารงานงบประมาณให้ เกิ ดประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งการบริ หารแบบมุ่งผลสัม ฤทธิ์เป็ น กิจกรรมสาคั ญของแผนการปรั บเปลี่ ยนบทบาท มีความสอดคล้องกั บภารกิจและ วิธีการบริหารงานของภาครัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3 ซึ่ ง ค านึง ถึ ง ประชาชนและผลสั ม ฤทธิ์ ข องงาน เพื่อให้ ก ารทางานของ หน่วยงานหรือโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์ของงานมากกว่าเน้นปัจจัยนาเข้า สอดคล้อง กลยุทธ์ของ สพป.กจ.1 คือข้อ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาสู่ความ เป็นเลิศ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ข้อที่ 1 คือ พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาโยใช้หลักธรรมาภิบาล เน้นผู้รับบริการเป็น สาคัญและสอดคล้องกับกลยุทธ์ ของโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ข้อ 1 คือบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล โรงเรีย นอนุ บาลวัดไชยชุมพลชนะสงครามเป็น โรงเรีย นขนาดใหญ่ มีการจั ด การศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น มีนักเรียนจานวน 1,144 คน มีการบริหารงานตามโครงสร้างการบริหารครอบคลุม 4 งาน ได้แก่ งาน บริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารบุคคล และงานบริหารทั่วไป ภาระ งานแต่ละกลุ่มงานค่อนข้างมาก งานมีระบบความซับซ้อน ทัง้ ปริมาณและคุณภาพงาน ในฐานะรองผู้อานวยการที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานบริหารงบประมาณซึ่งมี ขอบข่ ายงานถึง งานแผนกลยุทธ์ แผนพัฒ นาคุ ณภาพการศึก ษารวมถึง แผนปฏิบัติ ราชการประจาปี ได้เห็นความสาคัญที่จะปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า จึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบงานเพื่อให้งานดาเนินไปอย่างมีคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล จึงกาหนดวัตถุประสงค์ไว้ดังนี้  เพื่อให้การปฏิบัติงานบริหารงบประมาณมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเกิ ด ความคุ้มค่า  เพื่อให้มรี ะบบงานบริหารงบประมาณที่สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาล  เพื่ อ ให้ ผู้ รั บ บริ ก ารจากกลุ่ ม งานบริ ห ารงบประมาณมี ค วามพึ ง พอใจในการ ให้บริการ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารงาน งบประมาณแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ แนวคิดการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นการบริหารงานของโรงเรียนใน อดีตจะเน้นที่การบริหารปัจจัยนาเข้า (Inputs) ซึ่งได้แก่ ทรัพยากรต่างๆ ที่โรงเรียน จะนามาใช้ในการปฏิบัตงิ าน คือ เงิน คน วัสดุ ครุภัณฑ์ต่างๆ โดยเน้นการทางาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ทางานตามกฎ ระเบียบ และความถูกต้องตามกฎหมาย และมาตรฐาน แต่การบริหารแบบ มุ่งผลสัมฤทธิ์จะเน้นที่ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงาน โดยจะให้ความสาคัญที่การกาหนด พันธกิจและวัตถุประสงค์ของโครงการ/งาน เป้าหมายที่ชัดเจน การกาหนดผลผลิตและ ผลลัพธ์ที่ต้องการของทุกโครงการในโรงเรียนให้สอดคล้องเป็นไปในทางเดียวกับภารกิจและ วัตถุประสงค์ของโรงเรียน มีการกาหนดตัวบ่งชี้วัดผลการทางานหลัก (Key Performance Indicators) ไว้อย่างชัดเจน เป็นที่เข้าใจของทุกคนในโรงเรียน การวัดความก้าวหน้าของการ ปฏิบัติงานโดยใช้ตัวบ่งชี้ การยืดหยุ่นทางการบริหารและสนับสนุนทรัพยากรแก่ผู้บริหาร ระดับล่างอย่างเหมาะสม การประเมินผลการปฏิบัตงิ านและการให้ค่าตอบแทนตามผลงาน ตลอดจนถึงการปรับปรุงพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึน้ เพื่อให้สามารถ สนองตอบต่อปัญหาและความต้องการของประชาชนในฐานะผู้รับ บริการจากโรงเรียนได้ เป็นอย่างดี ดังนั้นการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management ; RBM) จึงเป็น การบริหารเพื่อการจัดหาให้ได้ทรัพยากรการบริหารมาอย่างประหยัด (Economy) เน้นใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และการได้ผลงานที่บรรลุเป้าหมายของโรงเรียน ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ( Good Government ) ซึ่งประกอบด้วยแนวทางสาคัญ 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม (Rule of Law) หลักคุณธรรม (Ethic) หลักความโปร่งใส (Transparency) หลักการมีส่วนร่วม ( Participation) หลักความรับผิดชอบ (Accountability) และหลักความ คุ้มค่า (Value for Money) ซึ่งผู้บริหารต้องมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ รับผิดชอบต่อสังคม และให้ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียมีส่วนร่วมในกิจการต่างของโรงเรียน

119

ร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรม โครงการ เพื่อกากับ ติดตาม ประเมินผลและ ตรวจสอบความคุม้ ค่าในการการใช้ ทรัพยากรของสถานศึกษา

ประชุมภาคี 4 ฝ่ายเพื่อให้การทางาน เป็นไปตามระบบและให้เกิดความถูกต้อง รวดเร็ว มีส่วนร่วม โปร่งใส ตรวจสอบได้ เกิดความรับผิดชอบร่วมกัน

กระบวนการบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ กลุ่มเป้าหมายในการการบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ ได้แก่ ครูและบุคลากรของโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงครามและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษาจานวน 84 คน นักเรียนจานวน 1,144 คน ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 1,144 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจานวน 15 คน ผู้เกี่ยวข้องกับงาน บริหารงบประมาณ จานวน 5 คน รวม 2,392 คน โดยมีขั้นตอนการบริหารงาน ดังนี้ 1) ศึกษาวิเคราะห์แผนพัฒ นาคุ ณภาพการศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ ของโรงเรีย นโดย ประชุมร่วมกันระหว่างฝ่ายบริหาร เจ้าหน้าที่งานงบประมาณ 2) แต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน 3) วิเคราะห์พันธกิจและกลยุทธ์กับมุมมอง BSC (Balance Scorecard) และจัดทาแผน ที่มีค วามครอบคลุ ม ขอบข่ า ยทั้ ง 4 ด้ า นและเห็ น ทิ ศ ทางของการพั ฒ นาที่ ชัด เจน และมี ความสัมพันธ์กับปัจจัยความสาเร็จ (CSF) ตัวชี้วัด (KPI) และเป้าหมาย ตามกรอบ SMART ตามแบบประเมิน เพราะตัวชี้วัดที่ดี มีความชัดเจนจะทาให้ได้ขอ้ มูลที่ดมี คี ุณภาพ 4) การจัดเก็บ การรับรอง และการอนุมัตขิ ้อมูล 5) การวิเคราะห์ผล และการออกแบบการรายงานผล ในการจัดทามีการพัฒนาอย่างเป็นระบบดังแผนภาพขั้นตอนการพัฒนาระบบการ บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ในงานบริหารงบประมาณโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ประกอบด้วย 9 ขั้นตอนดังนี้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ศึกษาดูงานโรงเรียน ที่มีคุณภาพการบริหารจัดการ


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

120

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 1.

9.

2.

8. 3.

4.

ประชุมชี้แจง มีคณะกรรมการดาเนินงานที่ ชัดเจน เพื่อความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ตัวชี้วัดที่ชัดเจน ทาให้เห็นเป้าหมายในการ ให้บริการ รวมทั้งประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุม้ ค่าที่ต้องการให้เกิดขึ้นใน ระบบงาน

7.

5. 6.

การตรวจสอบคุณภาพการบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ 1) ประเมินคุณภาพของKPIs Dictionary ด้านงานบริหารงบประมาณก่อนนาไปใช้โดยหา คุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลและ แผนกลยุทธ์ ทั้งหมด 3 ท่านเมื่อมีคุณภาพแล้วจึงนามาใช้จริง 2) จัดประชุมวิพากย์แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ด้านงานบริหาร งบประมาณเพื่อ ให้ เ กิ ด ความครอบคลุ ม ขอบข่ า ยความต้ อ งการและประเด็ น ต่ า งๆให้ ไ ด้ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ตรงกับความต้องการของโรงเรียน 3) ประชุมเชิงปฏิบัติการกับคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนอนุบาลวัด ไชยชุมพลชนะสงคราม เพื่อสร้างความตระหนักให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสาคัญ ของการน าแผนกลยุ ท ธ์ ไ ปสู่ ก ารปฏิ บั ติ ง านในสถานศึ ก ษาโดยเฉพาะด้ า นงานบริ ห าร งบประมาณ 4) นาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปใช้ 5) การนิเทศติดตาม ประเมินผลการ ใช้แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะด้าน บริหารงานงบประมาณ 6) ประเมินแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความ คุ้มค่าและความพึงพอใจในการรับบริการจากฝ่ายบริหารงานงบประมาณ 7) ปรับปรุงพัฒนาKPIs Dictionary ด้านงานบริหารงบประมาณอย่างต่อเนื่อง แนวทางการนาการบริหารงานงบประมาณแบบมุง่ ผลสัมฤทธิ์ไปใช้ประโยชน์  ทุกคนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมสร้าง ร่วมใช้ร่วมประเมิน  ส่งเสริมการทางานเป็นทีม รับผิดชอบร่วมกันบนหลักการธรรมาภิบาล  ทาให้เกิดองค์กรที่มีประสิทธิภาพมีความเข้มแข็ง มีบรรยากาศที่ดีในการใช้บริการ ถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว โปร่งใสตรวจสอบได้  มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทาให้เกิดระบบงานที่มีคุณภาพ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

121

ปัจจัยที่ทาให้การบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย งานบริหารงบประมาณในมุมมองของครูโดยทั่วไปจะเห็นว่าเป็นงานที่น่ากลัว เพราะต้องไปเกี่ยวข้องกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานบริหารการเงินและสินทรัพย์ ทาให้หาผู้ปฏิบัติหน้าที่ได้ยากกว่างานอื่น บรรยากาศของฝ่ายบริหารงานงบประมาณ ค่อนข้างเคร่งเครียด มีการเปลี่ยนตัวบุคลากรบ่อย ผู้ปฏิบัติงานขาดความมั่นใจในการ ทางานเพราะความกลัวดังนั้น ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จในการทางาน คือ 1) ผู้บริหารต้องมีหลักการทางานอยูบ่ นความถูกต้อง สร้างบรรยากาศที่ดใี น การทางาน ร่วมรับผิดชอบ เสียสละ เพื่อให้ได้ทั้งใจคนและทัง้ งาน ยึดหลักทางานตาม หลักธรรมาภิบาล การบริการที่มีคุณภาพ เป็นฟันเฟืองที่ดี มุ่งสูโ่ รงเรียนที่มีมาตรฐาน 2) มุ่งสร้างทีมงานที่เข้มแข็ง สร้างระบบงานที่มีประสิทธิภาพ ทาให้เกิดความ มั่นใจแก่ผู้ร่วมงานและสร้างความคุ้มค่าในการบริหารงานงบประมาณให้สู่ตัวผู้เรียนให้ มากที่สุด การพัฒนาต้องมีความต่อเนื่องจึงจะเกิดความยั่งยืน ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุก คน (100 เปอร์เซ็นต์) มีความพึงพอใจในการรับบริการจากงานบริหารงบประมาณ 2) เจ้ าหน้าที่ งานบริห ารงบประมาณทุ กคน (100 เปอร์เซ็นต์) ปฏิบัติงานที่ไ ด้รับ มอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเกิดความคุ้มค่า การให้บริการเป็น ระบบของงานบริ ห ารงบประมาณโรงเรี ย นอนุ บ าลวั ด ไชยชุ ม พลชนะสงคราม มี ความถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส คุ้มค่า ตรวจสอบได้ โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วม รับผิดชอบ มีความสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาล ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ งานบริหารงบประมาณ เป็นที่ยอมรับและพึงพอใจใน ระดับดีมาก เจ้าหน้าที่งานบริหารงบประมาณ ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเกิดความคุ้มค่า จากการประเมิ น ความพึ ง พอใจ ในภาพรวมมี ค วามพึ ง พอใจในระดั บ ดี ม าก กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงาน ได้นาข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาปรับปรุง ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบหาคุณภาพ รวมถึงผู้พัฒนาได้ศึกษาเรื่องเทคนิค การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ (RBM) จากสถาบันวัดไร่ขิง และกลับมาพัฒนาให้ เกิดการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ ปีการศึกษาต่อมาได้มีการปรับปรุงบางส่วนและดาเนินการใช้ อย่างต่อเนื่อง และได้รวบรวมประเมินผลการใช้งานเพื่อพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นในปีตอ่ ไป ทาให้ผลการปฏิบัติงานบริหารงบประมาณมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเกิดความ คุ้มค่าอยู่ในระดับดีมาก 2) ระบบงานบริหารงบประมาณมีความสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาล การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 3) ผู้รับบริก ารจากกลุ่ม งานบริหารงบประมาณมีความพึงพอใจในการ ให้บริการอยู นระดัยบนได้ ดีมเาก 1) ใ่ โรงเรี ผยแพร่ผ่านทางอินเตอร์เน็ท ในปี 2554 จนถึงปัจจุบัน 2) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

มีการวางแผน ปฏิบัติงาน และประเมินผล ร่วมกันพัฒนาตนทั้งการอบรมเชิง ปฏิบัติการ ศึกษาดูงานและเข้าอบรม สถาบันครูและบุคลากร ทางการศึกษา (วัดไร่ขิง) โครงการพัฒนาเทคนิคการบริหาร มุง่ ผลสัมฤทธิ์แนวใหม่ (RBM)


Best Practices ครูผู้สอน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

123

น้ำอ้อยหวำนจังจำกภูมิปัญญำท้องถิ่น (ชวนหนูอ้อย ไปอำเซียน) กระบวนการ “น้าอ้อยหวานจังจากภูมปิ ัญญาท้องถิ่น “ (ชวนหนูอ้อย ไปอาเซียน) มีความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป.กจ.1./สพฐ./ สถานศึกษา คือ ตรงกับมาตรฐานของสพฐ.ข้อที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ,4.2, 4.4,และ 4.5 มาตรฐานข้อที่ 7 แนวการจัดการศึกษา ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.4 มาตรฐานข้อที่ 9 สถานศึกษามีการสร้างส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา ตัวบ่งชีท้ ี่ 9.2 ซึ่งวัตถุประสงค์ของกระบวนการ “น้าอ้อยหวานจังจากภูมปิ ัญญาท้องถิ่น “ ได้แก่  เพื่อปลูกฝังให้เด็กรูจ้ ักภูมิปัญญาท้องถิ่น และอาชีพที่สุจริตในชุมชน  เพื่อฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ และการแก้ปัญหา  เพื่อฝึกพัฒนาการกล้ามเนื้อมือให้มคี วามสัมพันธ์กับสายตา  เพื่อให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์จริง และนาผลมาพัฒนาต่อยอด

นางสุดา เข็มไทย ครู โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง โทรศัพท์ 086-1639427 E-mail : Tusuda1@hotmail.com

แนวคิด หลักกำร ทฤษฎีที่น้ำมำใช้ใน กระบวนกำรน้ำอ้อยหวำนจังจำกภูมิ ปัญญำท้องถิ่น จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) มาตรา 39 ให้สถานศึกษาเลือกสรรและวิทยากรต่างๆ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เข้ามามีส่วน ร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน จังหวัดกาญจนบุรีเป็นจังหวัดที่ ทาไร่ อ้อยมาก โดยเฉพาะสถานที่โรงเรียนบ้านหนองสองห้ อง ต าบลหนองตากยา ชุม ชนประกอบอาชีพ ทาไร่ อ้อ ยมากที่ สุ ด ในสั ปดาห์ ที่ 12 หน่ว ย “อาชีพ ในชุม ชน” ในช่วงของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ คุณครูและเด็กๆ ช่วยกันตอบ และจดสิ่ง ต่างๆ ที่เด็กช่วยกันบอกบน กระดานดาพร้อมทั้งบอกอธิบายถึงอาชีพในชุมชนของ ตาบลหนองตากยา และพาเด็กไปศึกษานอกสถานที่ห้องเรียน โดยพาเด็กเดินไปรอบ โรงเรียน ให้เด็กสังเกต ระหว่างที่เด็กดูตน้ อ้อย ใช้คาถามเด็กว่าส่วนใหญ่อาชีพที่ชุมชน เราทามากที่สุด คืออาชีพอะไร สรุปคะแนนเด็กๆ ส่วนใหญ่เด็กตอบว่า ทาไร่อ้อย ทฤษฎีของจอห์น ดิวอี้ (John Dewey) (ค.ศ.1859- 1952) เป็นนักปรัชญาชาว อเมริกัน เป็นผู้หนึ่งที่ลุกขึ้นมาชี้ว่าโรงเรียน ควรเป็นชุมชนแห่งความร่วมไม้ร่วมมือ “จิต วิญญาณของอิสรภาพและความเคารพซึ่งกันและกัน ” ที่ซึ่งไม่มีการบีบบังคับเพื่อที่จะ ยัดเยียดวินัยแต่ให้วิวัฒนาการมาจาก การมีส่วนร่วมอย่างเป็นประชาธิปไตยในหมู่ครู และศิษย์ ที่จะเรียนรู้ที่จะอยู่และทางานร่วมกัน แนวคิดสาคัญของ ดิวอี้ คือ การเรียนรู้ จากการกระทา (Learning by Doing) ที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจากการทาจริงใน สถานการณ์ โดยใช้ส่ือจริงตามธรรมชาติที่มีอยู่ ผ่านประสบการณ์จากการสารวจ ทั้ง ในและนอกห้องเรียน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

กระบวนการ 1. สารวจความต้องการของเด็ก 2. ศึกษาแหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญา ท้องถิ่น 3. วางแผนและสืบค้นหาคาตอบ คุณ เซ็น พันธ์แจ่ม วิทยากรภูมิปัญญา ท้องถิ่นได้รับรางวัลพึ่งพาตนเองใน เขตภาคกลางประจาปี 2554 และ เป็นหัวหน้ากลุม่ พัฒนาการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาด้านอ้อยกาญจนบุรี


124

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนกำรน้ำอ้อยหวำนจังจำกภูมิปัญญำท้องถิ่น

4. สรุปความรูท้ ี่ได้รับร่วมกันและ นามาพัฒนาต่อยอด ผู้ปกครองนาเครื่องคั้น อ้อยสดมาสาธิตให้เด็กดู แจกน้าอ้อยสดคั่น ให้เด็กทุกคนได้ด่ืม

กลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการน้าอ้อยหวานจังจากภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ ได้แก่ เด็กชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง จานวน 32 คน โดยมีขั้นตอนการพัฒนากระบวนการน้าอ้อยหวานจังจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนี้ 1) สารวจความต้องการของเด็ก 2) ศึกษาแหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) วางแผนและสืบค้นหาคาตอบ 4) สรุปความรู้ที่ได้รับร่วมกัน และนาความรูข้ องเด็กมาพัฒนาต่อยอด 5) สะท้ อ นความคิ ด จากประสบการณ์ จ ริ ง ของเด็ ก เป็ น กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ แ ละมี จินตนาการที่เหมา 6) ประเมินผลพัฒนาการ และจัดแสดงผลงาน การตรวจสอบคุ ณ ภาพกระบวนการน้ าอ้ อ ยหวานจั ง จากภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ใช้แบบบันทึกการสังเกต และแบบสอบถามจากผู้ปกครอง แนวทางการนากระบวนการ น้าอ้อยหวานจังจากภูมปิ ัญญาท้องถิ่นไปใช้ประโยชน์ คือ 1) เด็กรูจ้ ักภูมิปัญญาท้องถิ่น และอาชีพที่สุจริตในชุมชน 2) เด็กมีกระบวนการคิด การจัดการ และรู้จักการแก้ปัญหาขณะทางานร่วมกับผู้อื่น 3) เพื่อฝึกพัฒนาการกล้ามเนื้อมือให้มคี วามสัมพันธ์กับสายตา 4) เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและนาผลมาพัฒนาต่อยอด

ผลส้ำเร็จที่เกิดขึนจำกกระบวนกำรน้ำอ้อยหวำนจังจำกภูมปิ ัญญำท้องถิ่น  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ เด็กนักเรียนชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 1 ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงและนาผลมา พัฒนาต่อยอดร้อยละ 90  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ เด็กมีกระบวนการคิด การจัดการ และรู้จักการแก้ปัญหาขณะทางานร่วมกับ ผู้อื่นได้มากขึ้น 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจ จากผู้เกี่ยวข้องและวิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องและร่วมกิจกรรม Best Practice นี้อยูใ่ นระดับดีมาก 90% ระดับดี 10% โดยคิดจากแบบสอบถาม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

125

ปัจจัยที่ท้ำให้กระบวนกำรน้ำอ้อยหวำนจังจำกภูมิปัญญำท้องถิ่นประสบ ควำมส้ำเร็จตำมเป้ำหมำย 1) ผู้บริหารสถานศึกษาให้คาปรึกษา และสนับสนุน 2) วิทยากรที่ให้ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือคุณเซ็น พันธ์แจ่ม ได้รับรางวัล พึ่งพาตนเองในเขตภาคกลางประจาปี 2555 ปัจจุบันเป็นหัวหน้ากลุ่มการ เรียนรู้เพื่อการพัฒนาด้านอ้อยกาญจนบุรี 3) ผู้ปกครองชั้นปฐมวัยให้ความร่วมมือ และมีความพึงพอใจมาก กระบวนการตรวจซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการน้าอ้อยหวานจังจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง โดยการตรวจสอบจากการดาเนินกิจกรรม การเรียนรู้ของเด็ก แบบสังเกต และแบบสอบถามกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม หากเด็กมี พัฒนาการด้านใดที่ยังไม่พร้อม ก็นามาปรับปรุงแก้ไข ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการ พัฒนาและปรับปรุง จากการปรับปรุงแก้ไขตามผลการตรวจสอบซ้า ทาให้กิจกรรม การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพมากขึน้

5. สะท้อนความคิดจากประสบการณ์จริง ของเด็กเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์และมี จินตนาการที่เหมาะสมเป็นการแสวงหา ความรู้เพิ่มเติม

กำรประชำสัมพันธ์ผลส้ำเร็จของกำรด้ำเนินงำน และกำรเผยแพร่ 1) 1 เผยแพร่และขยายผล โดยจัดทาข่าวสารแผ่นเดียวของระดับชั้นปฐมวัย และ ข่าวสารแผ่นเดียวของโรงเรียน เป็นประจาทุกเดือน 2) ประชุมผู้ปกครองเป็นประจาทุกภาคเรียน พร้อมประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง

เด็กกาลังร้อยอ้อยกับไม้ไผ่ เพื่อฝึก กล้ามเนือ้ มือกับตาให้สัมพันธ์กับตา เด็กมีสมาธิในการร้อยมาก เด็กบาง คนบอกว่าเหมือนล้อรถยนต์

การทาตุ๊กตาจากกากอ้อยโดยผู้ปกครองเด็ก เข้ามามีส่วนร่วมการทาดอกไม้จากกากอ้อย เด็กช่วยกันมัดตุ๊กตาอาเซียน

นาผลพัฒนามาต่อยอด เด็กรู้จักการสังเกต เปรียบเทียบ การเรียงลาดับ การนับจานวน 6. ประเมินผลพัฒนาการและจัด นิทรรศการประเมินพัฒนาการเด็กโดย ครูสังเกตและให้เด็กวาดภาพครูจด บันทึกคาพูดเด็ก การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


126

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

"หนูคิดเป็น”กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สาหรับเด็กปฐมวัย "หนูคิดเป็น” กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สาหรับ นางสาวชฎาภรณ์ ป้อมสกุล ครู โรงเรียนบ้านไทรทอง โทรศัพท์ 087-8187611 E-mail : cpomsakul@hotmail.com

เด็กปฐมวัย เป็นการจัดประสบการณ์ที่มุ่งส่งเสริมนักเรียนให้สามารถพัฒนาความ ฉลาดทางปัญญาหรือ IQ ( Intellgence Quotient ) กับการเรียนรู้และสังเกตสิ่ง รอบตั ว ด้ ว ยมุ ม มองใหม่แ ละเสริ ม สร้ า งความฉลาดทางความคิ ด สร้ า งสรรค์ ( Creative Quotient ) ซึ่งการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ นัน้ จะช่วยส่งเสริมต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยได้เป็นอย่างดี ยิ่ง รวมทั้ ง เด็ ก จะได้ รั บ การฝึ ก ฝนเพื่อ สร้ า งจิ น ตนาการและการใช้ ภ าษาได้ เหมาะสมกับวัยอีกด้วย การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในระดับปฐมวัยในครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากปัญหาที่พบในชั้นเรียนว่าเด็กมักทาผลงานในกิจกรรมต่างๆแบบ ลอกเลีย นแบบเพื่อนแทบทุ กครั้ง เมื่อสอบถามมั กตอบว่า คิด ไม่ได้ ทาไม่เป็ น ดังนัน้ การจัดประสบการณ์ในครัง้ นี้จึงจัดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาในชั้นเรียนและสอดรับ กับการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านอันประกอบด้วยร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์จินตนาการ  เพื่อให้เด็กใช้ทักษะทางภาษาในการสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในกิจกรรมสร้างสรรค์ "หนูคิดเป็น””  การเรียนรู้ที่ถอื สมองเป็นพื้นฐาน (Brain based Learning) การจั ด การเรี ย นรู้ เ พื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพทางสมองจ าเป็ น ต้ อ งค านึ ง ถึ ง กระบวนการทางานของสมอง และการทางานให้ประสานสัมพันธ์กันของสมองซีก ซ้ายและสมองซีกขวา ดังนี้ สมองซีกซ้ายจะควบคุมความมีเหตุผลเป็นการเรียน ด้านภาษา จานวนตัวเลข วิทยาศาสตร์ ตรรกศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ สมอง ซีกขวาจะควบคุมด้านศิลปะ ดนตรีจินตนาการ ระยะ มิติ ความคิดสร้างสรรค์ ครูควรจัดการเรียนรู้ให้เด็กได้ใช้ความคิด โดยผสมผสานความสามารถของการใช้ สมอง ทั้งสองซีกเข้าด้วยกันเพื่อให้มองทั้งสองซีกเสริมส่งซึ่งกันและกัน เด็กจะ สามารถเรียนรู้ได้ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสามารถแสดงความมีเหตุผลใน ผลงานชิน้ เดียวกัน  ความคิดสร้างสรรค์ การฝึกคิดอย่างสร้างสรรค์ควรเริ่มตั้งแต่ช่วงปฐมวัยเพราะเป็นช่วงเวลาที่ เซลล์สมองเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ยิ่งเด็กได้ใช้ความคิดมากเท่าไร ใยประสาทก็ จะยิ่งเจริญเติบโตมากเท่านัน้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิดทฤษฎีของกิลฟอร์ด (Guilford 1967) นักจิตวิทยาชาวอเมริกากล่าวคานิยาม ความคิดสร้างสรรค์วา่ การคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการทางานของสมองในการคิด ได้หลายทาง กว้างไกล หรือที่เรียกว่า อเนกนัย (Divergent thinking) จะประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องตัว ความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ ครูสามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กได้ โดยการตั้งคาถามปลายเปิดง่าย ๆ เช่น “ถ้าพูดถึงสีเขียว เด็ก ๆ จะนึกถึงอะไรบ้าง” ซึ่งคาตอบที่หลากหลายของเด็ก ๆ สามารถ แสดงถึงทักษะการคิด และประสบการณ์ที่แตกต่างกันของเด็กแต่ละคน เด็กที่นึกถึงสิ่งที่มีสี เขียวได้หลายชนิด เช่น ใบไม้ ผัก ฝรั่ง มะม่วง องุ่น ต้นหญ้า ฯลฯ และตอบได้รวดเร็วย่อม แสดงถึงทักษะการคิดคล่องตัว และเด็กที่สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ถามกับความรู้ที่เขามีอยู่ เช่น นึก ถึ ง ทหาร ความร่ ม เย็ น ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ฯลฯ แสดงว่ า มีทั ก ษะในการคิ ด ที่ ยืด หยุ่ น สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่มีอยูเ่ ข้ากับคาถาม ฉะนั้นการตั้งคาถามให้เด็กตอบ แล้วช่วยชี้นาให้ เขาฝึ ก คิ ด อย่ า งรอบด้ า นเป็ น วิ ธี ที่ช่ ว ยพั ฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข องเด็ ก ได้ เ ป็ น อย่ า งดี นอกจากนี้การที่เด็ก นัก เรีย นได้รับรู้ ถึงความคิ ดของเพื่อ นร่ วมชั้นที่ นาเสนอ แตกต่างจาก ตนเองจะช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ให้เด็กได้รับรู้มากขึ้น ครูจึงมีบทบาทสาคัญในการช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กนักเรียน การ กระตุน้ ให้เด็กนักเรียนได้ลองคิด ทาสิ่งต่างๆ อย่างอิสระ จึงเป็นการฝึกคิดอย่างสร้างสรรค์ ซึ่ง เป็นพืน้ ฐานในการสร้างพลังทางความคิดให้กับเด็ก  กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็น กิจกรรมที่ช่ว ยเด็กให้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึ ก ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการโดยผ่านกิจกรรมงานศิลปะ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้สารวจ ค้นพบและได้ทดลองกับ สื่ออุปกรณ์ทางศิลปะซึ่งช่วยให้เกิดการพัฒนาความคิดรอบยอดทางพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์จากการสังเกตและประเมินภาพ บทบาทครู ควรวางแผนเตรียมกิจกรรมต่างๆให้ พร้ อ ม ควรให้ ค าแนะน าหรื อ บอกเด็ ก เพี ย งเล็ ก น้ อ ยเท่ า นั้ น แต่ ใ ห้ ใ ช้ วิ ธี ใ ห้ เ ด็ ก ค้ น พบ กระบวนการทางศิลปะด้วยตนเองโดยให้เด็กทดลองสร้างผลงานจากอุปกรณ์ที่หลากหลาย ให้ โอกาสเด็กทางานด้วยความพึงพอใจและเป็นอิสระ เสริมสร้างการเรียนรู้ทางศิลปะและบูรณา การความรู้ที่เกี่ยวข้อง ครูกระตุ้นจินตนาการของเด็กพร้อมสนับสนุนให้เด็กแสดงออกทาง ความคิดอย่างสร้างสรรค์โดยหลีกเลี่ยงให้เด็กลอกเลียนหรือวาดภาพระบายสีจากสมุดภาพ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สามารถเชื่อมโยงการทางานของสมองหลายด้าน และพัฒนา จินตนาการโดยเชื่อมโยงประสบการณ์เป็นภาพ/รูปทรง ที่เด็กนักเรียนได้ฝึ กปฏิบัติจริง มี ประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการสังเกต การจัดกิจกรรมเชื่อมโยงภาพกับรูปแบบหลากหลาย เพื่อพัฒนาจุดเชื่อมต่อของความคิดของเด็กภายใต้สภาพแวดล้อมที่ผ่อนคลาย มีอิสระทาง ความคิ ด ผลงานศิ ล ปะที่ ไ ด้ จ ากการคิ ด และการตั ด สิ น ใจของเด็ ก จึ ง เป็ น ผลงานที่ ช่ ว ย เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็ก

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

127


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

128

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการกิจกรรมสร้างสรรค์ "หนูคิดเป็น"”” กลุ่มเป้าหมายได้แก่ เด็กนักเรียนระดับอนุบาล 2 โรงเรียนบ้านไทรทอง จานวน 32 คน โดยมีแผนผังประกอบการอธิบายขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้ (

)

Best practice -

-

-

Best practice

การตรวจสอบคุณภาพ 1) มีการจดบันทึกพฤติกรรมของเด็กก่อนและหลังการจัดกิจกรรม 2) มีแบบประเมินผลการจัดประสบการณ์( กิจกรรมสร้างสรรค์ ) 3) มีการประเมินระดับพัฒนาการเรียนรู้ ( รายบุคคล ) 4) มีแบบประเมินคุณภาพจากภาคี 5 ฝ่าย ประกอบด้วย ผู้บริหาร คณะกรรมการ สถานศึกษา คณะครูอนุบาล ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนด้วย จากผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภาคี 5 ฝ่ า ย ประกอบด้ ว ย ผู้ บ ริ ห าร คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูอนุบาล ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน มี ความคิดเห็นร้อยละ 92.40 % ว่ากิจกรรมสร้างสรรค์ที่จัดขึ้นนี้เหมาะสมมากที่สุดใน การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สาหรับเด็กอนุบาล 2 จากผลการบันทึกพฤติกรรมตลอดจนแบบประเมินผลการจัดประสบการณ์ แบบประเมินระดับพัฒนาการเรียนรู้ ( รายบุคคล ) พบว่าเมื่อจัด กิจกรรมแล้วเด็กมี ความคิดสร้างสรรค์งานศิลปะมากขึ้นกล้าพูดกล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้น คิดเป็น ร้อยละ 92.70 % และกิจกรรมที่จัดเป็นกิจกรรมที่ทาให้เด็กสนุกสนาน เพลิดเพลิน ได้ รั บ ความรู้ ต่ า งๆผ่ า นกระบวนการเล่ น มี ได้ รั บ การพั ฒ นาการครบทั้ ง 4 ด้ า น ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา 7.4. แนวทางการนา BPไปใช้ประโยชน์ 7.4.1.จากผลการวิจัยในชั้นเรียนพบว่าเด็กที่มีปัญหาด้าน พัฒนาการความคิดสร้างสรรค์เมื่อได้รับการจัดกิจกรรมนี้หลายครั้ง พบว่า เด็กมีพัฒนาการที่ดการพั ขี นึ้ ฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนากิจกรรมสร้างสรรค์ "หนูคิดเป็น"” ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนในระดับชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนบ้านไทรทอง จานวน 32 คนในปีการศึกษา 2555 มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างภาพจาก จินตนาการได้ดีข้นึ มีนสิ ัยรักการอ่านและรู้จัก แสวงหาความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น มี ทักษะทางภาษาในการสื่อสารเหมาะสมกับวัย กล้าแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน ของตนเองมากขึ้น ผลสาเร็จในเชิงคุณภาพ พบว่าเมื่อเด็กได้ผ่านการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์แล้ว นัน้ เด็กมีผลพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ ผลงานดีขึ้นคิดเป็นร้อยละ 92.70 % แสดงว่าการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์( หนูคิดเป็น )สามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้าน การคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการได้มีนิสัยรักการอ่านและรู้จัก แสวงหาความรู้ ด้วยตนเองมากขึ้น มีทักษะทางภาษาในการสื่อสารเหมาะสมกับวัย กล้าแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลงานของตนเองมากขึ้น ความพึ ง พอใจของผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง จากผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภาคี 5 ฝ่ า ย ประกอบด้วย ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูอนุบาล ผู้ปกครอง นักเรียน และนักเรียน มีความคิดเห็นร้อยละ 92.40 % ว่ากิจกรรมสร้างสรรค์ที่จัด ขึน้ นีเ้ หมาะสมมากที่สุดในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สาหรับ เด็ก อนุบาล 2 ( มีการจัดทาแบบประเมินคุณภาพกิจกรรม )

ปัจจัยที่ทาให้กจิ กรรมสร้างสรรค์ "หนูคิดเป็น" ประสบความสาเร็จ ตามเป้าหมาย ความร่ ว มมื อ เกื้ อ หนุ น สนั บ สนุ น จากผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น คณะกรรมการ สถานศึกษา คณะครู และผู้ปกครองนักเรียนเป็นอย่างดี และมีการวางแผนล่วงหน้า อย่างเป็นระบบ ทาให้การดาเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ . กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ในการจัดประสบการณ์ครั้งนี้ได้มีการ ประเมิ น ระดั บ พั ฒ นาการของเด็ ก ทั้ ง ก่ อ นและหลั ง การจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ดู ผ ลของ พัฒนาการของเด็กว่ามีการพัฒนาการเพิ่มขึ้นมากน้ อยเพียงใด และนอกจากนั้นทุก ครั้งที่มีการจัดกิจกรรมมีการบันทึกพฤติกรรมเด็กทุกครั้งเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของ พัฒนาการด้วย ให้ผู้มคี วามรู้ ความสามารถในด้านการจัดประสบการณ์การจัดการ เรียนรู้ช่วยประเมิน ชี้แนะ แนะนาเพิ่มเติมกิจกรรมที่ขาดหายไปให้สมบรูณ์ยิ่งขึ้น ผลการตรวจสอบซ้า เมื่อทาการประเมินระดับพัฒนาการเด็กหลายครั้งจะเห็นว่า เด็กมีพัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นในภาพรวมของเด็กทั้งชั้นเรียน ทาให้เห็น ว่าการจัดประสบการณ์ในครัง้ นี้มีสว่ นทาให้เด็กมีพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ที่ ดีข้นึ การประชาสั พันธ์ผลสาเร็ ของการด และการเผยแพร่ 9.2.2. เมื่อนมาผลงานให้ ผู้ทจรงคุ ณวุฒิปาเนิ ระเมินนงาน และแนะน าเพิ่ม เติมพบว่า สามารถทาให้จัดกิจกรรมได้ครอบคลุมมากขึน้ ทาให้เด็กได้รับการพัฒนาการครบทั้ง 4 สารสัอมจากพั พันธ์คฒรูนาการด้ สู่ผู้ปกครอง วันทีด่ สร้10างสรรค์ สิงหาคม 2555 จัดทาแผ่นพับ สาร ด้านนอกเหนื านความคิ สัมพันธ์ผลงานการจัดประสบการณ์ Best practice วันที่ 16 สิงหาคม 2555 แจก โรงเรียนต่างๆ ในกลุ่มเครือข่ายและนอกเครือข่าย การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

129


130

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย” (ด้านการเปรียบเทียบโดยใช้นิทาน) นางสาววารี วิมลพันธ์ ครู โรงเรียนบ้านปากนาสวน โทรศัพท์ 084-3216749 E-mail : varee_1978@hotmail.com

จากหลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวั ย พุ ท ธศั ก ราช 2546 ที่ ก ล่ า วว่ า การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กแรกเกิดถึง ๖ ปี บนพื้นฐานการอบรม เลีย้ งดูและส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของ เด็กแต่ละคนตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคม วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วย ความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุ กคน เพื่อสร้างรากฐาน คุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง และสังคม จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ปฐมวั ย โดยยึ ด หลั ก การส่ ง เสริ ม กระบวนการเรี ย นรู้ และพั ฒ นาการที่ ครอบคลุ ม เด็ ก ปฐมวั ย ทุ ก ประเภท เลี้ย งดู แ ละให้ ก ารศึ ก ษาที่ เน้ น เด็ ก เป็ น ส าคั ญ พั ฒ นาโดยองค์ ร วมผ่ า นการเล่ น และกิ จ กรรมที่ เ หมาะสมกั บ วั ย ประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัวชุมชนและสถานศึกษาในการพัฒนา เด็กโรงเรียนบ้านปากนาสวนได้ตระหนักถึงความสาคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้ จัดทากิจกรรมการพัฒ นาทัก ษะพื้น ฐานทางคณิตศาสตร์ ปฐมวั ยขึ้นเพื่อต่อ ยอดจากแผนประสบการณ์ หน่วย คณิตศาสตร์ในชีวิตประจาวัน ซึ่งการสร้าง เสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัยครัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อพัฒนาทักษะพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ดา้ นการเปรียบเทียบ  เพื่อพัฒนาสื่อการจัดประสบการณ์สาหรับส่ง เสริมพัฒนาการของเด็ก ปฐมวัย  เพืแนวคิ ่อพัฒดนาด้ างกาย อารมณ์ -จิตใจในการสร้ สังคมและสติ หลัานร่ กการ ทฤษฎี ที่นามาใช้ างเสริปัญ มทัญา กษะ

พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย” โรงเรียนบ้านปากนาสวนได้นาแนวทางการจัดประสบการณ์การการพัฒนา ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัยตามแนวคิดทางสติปัญญาของเพียเจต์ และ มีความเชื่อว่าเด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านกิจกรรมโดยใช้นิทาน ประกอบภาพได้ ตามหลักการเรียนรู้ของเพียเจต์ หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐาน ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ คือ  เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพ ของตนเองให้มากที่สุด  เสนอการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่  เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ  เน้นกิจกรรมการสารวจและการเพิ่มขยายความคิดในระหว่างการเรียนการ สอน  ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยการรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่นนอกเหนือจากความคิดเห็นของตนเอง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย” กลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย ไป ใช้ ได้แก่ นักเรียนชั้นอนุบาล 2 จานวน 24 คน โรงเรียนบ้านปากนาสวน การสร้างเสริม ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย ด้านการเปรียบเทียบโดยใช้นิทานประกอบภาพได้ ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้  จัดทาหนังสือนิทานประกอบภาพสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย ด้านการเปรียบเทียบสาหรับเด็ก จานวน 10 เรื่อง คือ 1. ราชสีห์กับอูฐ การเปรียบเทียบ ใกล้ – ไกล 2. นึกว่าง่าย การเปรียบเทียบ ซ้าย – ขวา 3. หมากับเงา การเปรียบเทียบ หน้า– หลัง 4. หมีกับคนเดินทาง การเปรียบเทียบ บน– ล่าง 5. หนูบ้านนอกกับหนูในเมือง การเปรียบเทียบ นอก – ใน 6. ผึง้ กับผีเสื้อ การเปรียบเทียบ มี-ไม่มี 7. ปลาตัวใหญ่กับปลาตัวเล็ก การเปรียบเทียบ ใหญ่-เล็ก 8. หนูนิดนับเลข การเปรียบเทียบ กลางวัน-กลางคืน 9. สวนแครอทของกระต่ายน้อย การเปรียบเทียบ มาก-น้อย 10. พระอาทิตย์กับพระจันทร์ การเปรียบเทียบ จานวน-ตัวเลข  นาหนังสือนิทานประกอบภาพการสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย ด้านการเปรียบเทียบให้ผู้เชียวชาญตรวจสอบความสอดคล้อง และหาคุณภาพ  นาหนั ง สือ นิทานประกอบภาพจ านวน 10 เล่ ม ไปใช้จั ด ประสบการณ์ กั บเด็ ก ชั้น อนุบาลปีที่ 2 ใช้เวลาในการดาเนินการเป็นเวลา 20 สัปดาห์ โดยใช้นิทานประกอบภาพพัฒนา ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ดา้ นการเปรียบเทียบ เรื่องละ 2 สัปดาห์  ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเล่านิทานพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการ เปรียบเทียบโดย ขั้นนา ครูนาเด็กเข้าสู่กิจกรรมการเล่านิทาน โดยใช้การร้องเพลงประกอบท่าทาง การท่องคา คล้องจอง การสนทนา การทาท่าทาง การใช้คาถาม การใช้ส่ืออย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อกระตุ้น ให้เด็กเกิดความสนใจและสร้างความพร้อมก่อนเข้าสูก่ ิจกรรม ขั้นเล่านิทาน ครูเล่านิทานตามเนื้อเรื่องของแต่ละวัน โดยการเล่านิทานของครูแต่ละครั้ง มีการนาสื่อ มาใช้ประกอบการเล่านิทาน เช่น รูปภาพจากหนังสือนิทาน หุ่นประเภทต่าง ๆ รูปภาพ หรือให้ เด็กออกมาแสดงเป็นตัวละคร ( แสดงบทบาทสมมุต)ิ ในนิทานด้วย เมื่อครูเล่านิทานมาถึงจุดที่ มีเนื้อหาเกี่ ยวกั บการเกิด ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เรื่อ งการเปรีย บเทียบครู หยุด เปิ ด โอกาสให้เด็กทุกคน ได้ระดมความคิดและนาเสนอ ครูทาหน้าที่จดบันทึกคาพูดของเด็ก ขั้นสรุป เด็กและครูร่วมกันสรุปและตอบคาถามโดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะพืน้ ฐานทาง คณิตศาสตร์ดา้ นการเปรียบเทียบตามเนื้อเรื่องในนิทาน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

131


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

132

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ลาดับขั้นตอนของการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ (ด้านการเปรียบเทียบโดยใช้นทิ าน) ปัจจัย 1.ทรัพยากรบุคคล ผู้บริหาร ครู และนักเรียน 2.ผลการวิเคราะห์ศักยภาพของ ผู้เรียน 3.องค์ความรู้หนังสือนิทาน ประกอบภาพจานวน 10 เรื่อง 4.ผลการวิเคราะห์องค์ความรู้ 5.แผนการจัดการเรียนรู้ 6.เครื่องมือ/นวัตกรรม/แหล่ง เรียนรู้ 7.เครื่องมือวัดผลประเมินผล 8.งบประมาณดาเนินการ

กระบวนการ 1.กาหนดเวลาดาเนินการ 20 สัปดาห์ 2.เรื่องละ 2 สัปดาห์ 3.ใช้กระบวนการต่อยอด 4.ใช้วิธีการส่งเสริมพัฒนาด้าน ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม สติปัญญาและภาษาทากิจกรรม ต่างๆ 5.ใช้เครื่องมือและนวัตกรรมการ เรียนรู้ 6.ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ขั้นนา ขั้น เล่านิทาน ขั้นสรุป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1.นักเรียนเกิดทักษะตาม คุณลักษะที่กาหนดทุกคน 2.นักเรียนมีความพึงพอใจ รูส้ กึ สนุก ผ่อนคลาย ไม่ เครียด และเห็นคุณค่าของ การเรียนทุกคน 3.นักเรียนสามารถหา คาตอบและสรุปเป็นองค์ ความรู้ของตัวเองและ สามารถบอกให้อื่นรับรูไ้ ด้ ทุกคน 4.นักเรียนเกิดพัฒนาด้าน ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม สติปัญญาและ ภาษา

การตรวจสอบคุณภาพ  แบบสังเกต/แบบบันทึกคาพูดนักเรียน  แบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียน ผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครอง แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์  เด็กปฐมวัยเกิดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ดา้ นการเปรียบเทียบโดย สามารถสังเกตรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวแล้วจาแนก ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งของนั้น ๆ ตามคุณลักษณะที่กาหนดให้ได้  เด็กปฐมวัยมีความพึงพอใจ สนุกสนาน เพลิดเพลินและสนใจในลักษณะ รูปเล่มนิทานประกอบภาพที่ผู้ศกึ ษาสร้างขึน้  เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ฟังจากการเล่านิทาน และสามารถ สรุปเป็นองค์ความรู้ของตนเองได้ จนผ่านการประเมินพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญาเรื่องการเปรียบเทียบ  ครูได้แนวทางการการสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ดา้ นการ เปรียบเทียบของเด็กปฐมวัยด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน โดยใช้นทิ านประกอบภาพ  ครูได้แนวทางการพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ ของเด็กปฐมวัยด้วยรูปแบบ การจัดกิจกรรมการเล่านิทานโดยใช้หนังสือนิทานประกอบภาพ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์”  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นอนุบาล 2 จานวน 24 คน โรงเรียน บ้านปากนาสวน ได้รับการพัฒนาความสามารถและทักษะโดยใช้กิจกรรมการเล่า นิทาน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) เพื่อพัฒนาทักษะพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ดา้ นการเปรียบเทียบ 2) เพื่อพัฒนาสื่อการจัดประสบการณ์สาหรับส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 3) เพื่อพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) ร้อยละ 100 นักเรียนทุกคนได้มีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรม 2) ร้ อ ยละ 95 นั ก เรี ย นได้ พั ฒ นาการด้ า นร่ า งกาย อารมณ์ สั ง คมและ สติปัญญา 3) ร้อยละ 95 รู้จั กการสั งเกตและเปรี ยบเทีย บสามารถแก้ปัญ หาและการ ตัดสินใจ อย่างมี เหตุผล 4) ร้อยละ 95 นักเรียน ผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียนและผู้ปกครองมี ความพึงพอใจ

ปัจจัยที่ทาให้การสร้างเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ปฐมวัย” ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย 1) ด้านการบริหารจัดการ ผู้บริหารส่ งเสริม และสนั บสนุนการจัดการศึกษาอย่า ง ต่อเนื่อง 2) ด้านการจัดการเรียนการสอน คณะครูมีความสามัคคีนาการจัดประสบการณ์ให้ เด็กได้ลงมือปฏิบัตจิ ริง 3) ด้านสื่อและเทคโนโลยี จัดหาสื่อได้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก 4) ด้านการประสานชุมชน ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองในการจัดประสบการณ์ ส่งเสริมการเรียนรู้ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง จัดกิจกรรมการเล่านิทานอย่าง ต่อเนื่องแต่มีการเพิ่มจานวนเรื่องของนิทานให้มากกว่าเดิมและมีความหลากหลายของ การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ผลการตรวจสอบซ้าเด็ กมีก ารพั ฒนาทัก ษะพื้นฐานทางคณิต ศาสตร์ ด้านการ เปรียบเทียบ ครูมีการพัฒนาสื่อการจัดประสบการณ์สาหรับส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ปฐมวัย เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ การจัดนิทรรศการ ณ โรงแรมริเวอร์แคว โดยศูนย์ปฐมวัยต้นแบบและ สพป.กจ.เขต 1 มีการนาเสนอผลงาน ไปยังโรงเรียนต่างๆในเครือข่าย และ นอกเครือโดยใช้ Power Point แผ่นพับ และ CD สานสัมพันธ์ ถึงผู้ปกครอง  ในวันที่ 2 กันยายน 2555 ณ โรงแรมริเวอร์แคว  ในวันที่ 21 กันยายน 2555 ณ สพป.กจ.เขต 1 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

133


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

134

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ดอกมะลิเพื่อแม่

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อเล็กให้กับเด็กปฐมวัย ชัน้ อนุบาลปีที่ 2

นางสาวบุญเตือน ไก่นิล ครู โรงเรียนบ้านวังตะเคียน โทรศัพท์ 086-1701177 E-mail : buntana16@gmailcom

ระยะเวลาในการพัฒนา 

เริ่มสร้างนวัตกรรม เดือน มิถุนายน 2555 – สิงหาคม 2555 รวมระยะเวลาที่ใช้ 3 เดือน

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา     

นักเรียนปฐมวัยทุกคนมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย นักเรียนทุกคนมีกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ ประสานสัมพันธ์กัน นักเรียนมีจินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม นักเรียนชั้นอนุบาล 2 ทุกคนมีกล้ามเนื้อมือกับตาสัมพันธ์กันดีและ กล้ามเนื้อมือแข็งแรงหยิบจับสิ่งของต่างๆได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา หลักสูตรปฐมวัย มุ่งให้เด็กมีพัฒ นาการ ทั้ง ๔ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคมและสติปัญญาเพื่อพัฒนาให้เด็กเกิดความสุขในการเรียนรู้ เกิด ทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต รวมทั้งการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึง ประสงค์ให้แก่เด็ก การจั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ค วรเน้น ผู้ เรี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลางเปิ ด โอกาสใช้เด็กได้มีสว่ นร่วมในการกิจกรรมมีประสบการณ์ตรงได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมี ครูเป็นผู้ตอบสนองความสนใจของเด็กและส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อเล็กให้แข็งแรง ประสานสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมื อ กั บ ตา และช่ ว ยให้ เ ด็ ก ได้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ด้ ว ยการท า กิจกรรมสร้างสรรค์ และช่วยปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเองและผู้อ่ืน รู้จักประหยัด โดย ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาบูรณาการกับ การเรียนรู้ซึ่งช่วยให้เด็กรู้จักประหยัด ด้วยการทาดอกมะลิเองเพื่อมอบให้แม่ในวันที่ ๑๒ สิงหาคม ซึ่งเป็นวันแม่แห่งชาติ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา “ฟอร์แมนและฟรีท ให้ความหมายของ ความสามารถในการบังคับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อแขน มือและนิ้วในการทา กิจกรรมต่างๆโดยสัมพันธ์กับสายตา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

135

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน 10 คน จาแนกเป็น นักเรียนชาย 5 คน นักเรียน หญิง 5 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 2

/

2

/ 2

 การตรวจสอบคุณภาพ ประเมิน พัฒนาการด้า นกล้ ามเนื้อมือของเด็กปฐมวั ยก่อ นการจัด กิจกรรม พัฒนากล้ามเนื้อมือโดยสังเกตพฤติกรรมขณะที่เด็กปฏิบัติกิจกรรมและประเมินผลงาน ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรม และสอบถามความพึงพอใจของเด็กชั้นอนุบาล 2 ที่ มีตอ่ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมือของเด็ก ปฐมวัย พบว่า เด็กชั้นอนุบาล 2 มีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมือแข็งแรงสูงกว่าก่อน การจั ดกิ จกรรมพั ฒนากล้ ามเนื้อมือของเด็ก ปฐมวั ย และมีความพึงพอใจต่อการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมือแข็งแรง อยู่ในระดับ ดีขึ้น มาก  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ 1) ครูผู้สอนชั้นอนุบาลปีที่ 2 มีแนวทางในการจัดประสบการณ์ ด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 มีกิจกรรมที่หลากหลายใน การจัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมการปั้นดินน้ามัน กิจกรรมการปัน้ กระดาษ กิจกรรม การฉีกตัดปะกระดาษ กิจกรรมการร้อย คือ ร้อยดอกมะลิ ร้อยลูกปัด กิจกรรม การผสมแป้งปั้นดอกมะลิ 2) พัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการด้านร่างกายตามเกณฑ์การวัดและประเมินความพร้อมใน การเรียนรู้ระดับก่อนประถมศึกษา 3) เด็กสามารถทาดอกมะลิได้และนาไปมอบให้แม่ในกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


136

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นอนุบาล 2 มีพัฒนาการด้านร่างกายสูงขึ้น คือ ก่อนเรียนมีพัฒนาการด้าน ร่างกาย(กล้ามเนื้อมือ)ในระดับดี ร้อยละ 30.00 หลังการจัดประสบการณ์กิจกรรม สร้างสรรค์ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัย พบว่านักเรียนชั้นอนุบาล 2 มี พัฒนาการด้านร่างกาย (กล้ามเนื้อมือ)ในระดับดี ร้อยละ 90.00 และเด็กสามารถ ผสมแป้งกับกาวลาเท็กซ์ด้วยตัวเอง และทาดอกมะลิมอบให้แม่ในวันแม่แห่งชาติได้  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัตกิ ิจกรรมและมีผลการประเมินพัฒนาการ ด้านร่างกายสูงขึ้น  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) โรงเรียนเป็นที่ยอมรับและศรัทธาจากชุมชน ผู้ปกครอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านดีข้นึ 3) ครูร้อยละ 100 มีความภาคภูมใิ จต่อผลการปฏิบัติงาน 4) ผู้บริหารสถานศึกษามีความมั่นใจในการปฏิบัตงิ านของครู ความสาเร็จของ นักเรียนและมีความเชื่อมั่นต่อชุมชน ผู้ปกครองในการบริหารงาน  ปัจจัยความสาเร็จ 1) ผู้บริหาร มีวิสัยทัศน์กว้างไกล เป็นผู้นาในการเปลี่ยนแปลง เห็นความสาคัญใน การจั ด กิ จ กรรมกระบวนการเรี ย นการสอนทั้ ง ในและนอกโรงเรี ย น ส่ ง เสริ ม สนับสนุนให้เข้ารับการประชุม อบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน ให้ขวัญกาลังใจ ให้ ข้อเสนอแนะเป็นที่ปรึกษา และกากับติดตามดูแลสนับ สนุนด้านงบประมาณอย่าง ทั่วถึง 2) คณะครูทุกท่าน มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนานักเรียนร่วมวางแผนให้แนวคิด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมสูค่ วามสาเร็จ 3) ผู้ ป กครอง เห็ น ความส าคั ญ ในการจั ด กิ จ กรรม สนั บ สนุ น สื่ อ ที่ ใ ช้ ใ นการจั ด กิจกรรม ช่วยดูแล ติดตามผลการเรี ยนของบุตรหลานและสนใจให้ข้อมูลเกี่ยวกับ นักเรียนเสมอ 4) เด็กปฐมวัยมีความกระตือรือร้น ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม และรู้จัก การทางานร่วมกัน ตามขัน้ ตอนของการเรียนเรียนรู้

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า 1) รายงานผลการปฏิบัตงิ านให้ ผู้อานวยการสถานศึกษาทราบ 2) นานวัตกรรมมาใช้กับเด็กอนุบาลในปีการศึกษาต่อไป 3) ส่ ง ผลงานเข้ า ประกวดผลงานในระดั บ เครื อ ข่ า ย น าผลการแนะน าจาก คณะกรรมการมาปรับปรุงแก้ไขในจุดที่บกพร่อง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง 1) ผู้อานวยการสถานศึกษา พึงพอใจในพัฒนาการที่สูงขึ้นของเด็กปฐมวัย 2) ได้รับรางวัล Best Practice ระดับเครือข่าย

การประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ 1) ขยายผลการจั ด กิ จ กรรม โดยน ากิ จ กรรมการจั ด ประสบการณ์ ด้ ว ยกิ จ กรรม สร้างสรรค์ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ต่อโรงเรียน ต่าง ๆ ที่จัดการศึกษาในระดับปฐมวัยในกลุ่มเครือข่ายและต่างเครือข่าย 2) เผยแพร่ผลงานให้กับเพื่อนครูในโรงเรียนระดับประถมศึกษาและครูศูนย์เด็กเล็ก

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

137


138

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาพฤติกรรมเด็กก้าวร้าว

นางสาวสุธิดา ไทยถานันดร์ ครู โรงเรียนวัดลาสารอง โทรศัพท์ 089-5481294

เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็กก้าวร้าว ชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนวัดลาสารอง ระยะเวลาในการพัฒนา  ระยะเริ่มต้นการพัฒนา การสังเกตพฤติกรรม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 - 8 ธันวาคม 2554  ระยะพัฒนา วันที่ 9 ธันวาคม 2554 - 25 ธันวาคม 2554  ระยะสังเกตพฤติกรรมหลังการพัฒนา วันที่ 26 ธันวาคม - 30 ธันวาคม 2554 ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยคือ การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปี บนพืน้ ฐาน การอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการ เรีย นรู้ที่สนองต่อ ธรรมชาติ และพัฒนาการของเด็ กแต่ละคน ตามศั กยภาพ ภายใต้บริบทสังคมวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และ ความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสูค่ วามเป็น มนุษย์ท่สี มบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง และสังคม แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ในการพัฒนา  ทฤษฎีการเรียนรูว้ างเงือ่ นไขแบบการกระทา การเสริมแรงทางบวก และการปฏิสมั พันธ์ กับครู  การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย  การสังเกตตัวแบบที่แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม ใช้นิทานเป็นตัวแบบ (แต่งนิทานขึน้ เอง)  การจัดสภาพแวดล้อมที่ช่วยให้เด็กเกิดความพึงพอใจ กระบวนการพัฒนา Best Practice  กลุ่มเป้าหมาย เด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนวัดลาสารอง จานวน 1 คน (เด็กชายยอดเยี่ยม ต้องชนะ ) นามสมมุติ  ขั้นตอนการพัฒนา สังเกตพฤติก่อน การพัฒนา หนึง่ สัปดาห์พฤติกรรม ระยะพัฒนา สองสัปดาห์ และพฤติกรรมหลังพัฒนาหนึ่งสัปดาห์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุ ณ ภาพ วิ ธี ต รวจสอบคุ ณ ภาพที่ ไ ด้ คื อ ผลของ พฤติกรรมระยะพัฒนาก็เป็นที่พอใจ เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าวลดลง เพื่อความ มั่นใจจึงเกิดระยะสังเกตพฤติกรรมหลังพัฒนาอีกหนึ่งสัปดาห์เพื่อความมั่นว่าเด็กมี พฤติกรรมก้าวร้าวลงหรือไม่ ปรากฏว่า เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าวลดลง  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ เผยแพร่ให้เพื่อนครูในโรงเรียนนา วิธีการไปทดลองใช้ เผยแพร่ให้เพื่อนครูต่างโรงเรียน กลุ่มเครือข่าย นาวิธีการไป ทดลองใช้ ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ เด็กร้อยละร้อย  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าวลดลง  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ครู เพื่อน เด็กรุ่นพี่ ร้อยละ 88 วิธีการได้มาเกีย่ วกับข้อมูล โดยใช้ แบบสอบถาม กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธกี ารตรวจสอบซ้า สังเกตพฤติกรรม สอบถาม เพื่อน ครู เด็กชายยอดเยีย่ ม ต้องชนะ  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง สังเกต พฤติกรรม สอบถาม เพื่อน ครูของเด็กชายยอดเยี่ยม ต้องชนะ ปรากฏว่า เด็กชายยอดเยีย่ มต้องชนะมีพฤติกรรมการก้าวร้าวลดลง คงเดิม เป็นที่พอใจ การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่  เผยแพร่ ขยายผล ในห้องประชุมให้คณะครูในโรงเรียนฟัง ในวันประชุมครูโรงเรียนวัดลาสารอง วันที่ 16 มีนาคม 2555  เผยแพร่ ขยายผล ต่างโรงเรียน เช่น โรงเรียนวัดหนองพังตรุ โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม ฯลฯ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

139


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

140

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางสุธีรา ท้าวเวชสุวรรณ ครู โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี โทรศัพท์ 085-2664651 E-mail : sutheera@windowslivecom

 เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์  เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่องเกี่ยวกับผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์ได้

ระยะเวลาในการพัฒนา 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ถึง 1 มีนาคม พ.ศ. 2556

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสถานศึกษา เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นร่ า งกาย อารมณ์ จิ ต ใจ สั ง คม และ สติปัญญา ตามหลั กสูต รการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณ ภาพ เด็ก ปฐมวัยได้รับการ พั ฒ นาด้ า นร่ า งกาย เช่ น พั ฒ นากล้ า มเนื้ อ มั ด เล็ ก ในการปั้ น หรื อ ย่ น กระดาษ หนังสือพิมพ์ ด้านอารมณ์เด็กพึงพอใจได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเด็กมีความสุข การ ทางานร่วมกับเพื่อนๆ เด็กได้การเข้าสังคมกับเพื่อน การสร้างสรรค์ภาพและการเล่า เรื่องเป็นการส่งเสริมด้านสติปัญญา การใช้วัสดุเหลือใช้ เช่น หนังสือพิมพ์ สอดคล้อง กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์(Jerome S. Bruner) บรูเนอร์(1956) เป็นนักจิตวิทยายุคใหม่ชาวอเมริกันคนแรกที่สืบสานความคิด ของเพียเจต์ โดยเชื่อว่าพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายใน อินทรีย์ เน้นความสาคัญของสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็กจะพัฒนาได้ดี เพียงใดขึน้ อยูก่ ับประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก เขาคิดว่าควรศึกษาตัวเด็ก ในชั้นเรียน บรูเนอร์แบ่งขัน้ พัฒนาการคิดในการเรียนรู้เป็น 3 ขั้นด้วยกัน ได้แก่  ขั้นการกระทา เด็กเรียนรู้จากการกระทาและการสัมผัส  ขั้นคิดจินตนาการหรือสร้างมโนภาพ เด็กเกิดความคิดจากการรับรู้ตาม ความเป็นจริงและการคิดจากจินตนาการ  ขั้ น ใช้ สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละความคิ ด รวบยอด เด็ ก เริ่ ม เข้ า ใจเรี ย นรู้ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัวและพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งที่พบเห็น

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย เด็กปฐมวัยชัน้ อนุบาลปีที่ 1/4 จานวน 32 คน  ขั้นตอนการพัฒนา การสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ เริ่มจาก การที่ผู้รับผิดชอบโครงการสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นสื่อใช้ประกอบการ จั ด ประสบการณ์ เด็ ก ๆสนใจมาก ประกอบกั บ เด็ ก ปฐมวั ย ในชั้น อนุ บ าลปี ที่ 1/4 กล้ามเนื้อมัดเล็กยังไม่แข็งแรงมากนัก

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1) ระดมความคิดการสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ จากเด็กว่าจะทาอย่างไร ได้บ้าง เช่น การปั้น การย่น การสร้างภาพ การประดิษฐ์ 2) เด็กปฐมวัยสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์โดยวิธีการที่หลากหลาย 3) นาผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน พร้อมคาแนะนา 4) นาคาแนะนามาปรับปรุงงานของเด็กปฐมวัย การสร้างภาพจากกระดาษ หนังสือพิมพ์ให้เหมาะสมตามคาแนะนา 5) นาการสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ใช้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เด็กปฐมวัย สามารถสร้างภาพโดยการปั้น การย่น การสร้างภาพ การประดิษฐ์ได้ตามวัย 6) นามาขยายผล นาเสนอให้กับครูปฐมวัยและครูฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาการศึกษาปฐมวัย ในโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ตลอดจนครูปฐมวัย สพป.กจ.1  การตรวจสอบคุณภาพ 1) วิธีการตรวจสอบคุณภาพการสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ โดยใช้ แบบสอบถามความพึงพอใจของเด็กปฐมวัย ผลการตรวจสอบคุณภาพความ พึงพอใจที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 90 อยู่ในระดับดีมาก 2) ตรวจผลงานการสร้างภาพกระดาษหนังสือพิมพ์ภายในระยะเวลา 1 ชั่วโมง  แนวทางการนาไปใช้ 1) เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ได้ตามวัย 2) เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ ทัง้ รายบุคคลและเป็นกลุ่ม 3) สามารถนาการสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ ไปใช้ในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก ของเด็กปฐมวัย หรือเป็นวัตกรรมในงานวิจัยได้

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ได้ทุกคนคิดเป็นร้อย ละ 100  เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่องจากผลงานได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 95  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ได้ในระดับ ดี  เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่องจากผลงานการสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ได้ ระดับ ดี  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ความพึ ง พอใจของผู้ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ เด็ ก ปฐมวั ย คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 90 ครู ฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 90 ครูปฐมวัยพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 90 วิธีการ ได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ โดยการสอบถามความพึงพอใจและการตรวจชิ้นงาน ที่สร้างขึน้ ภายในเวลา 1 ชั่วโมง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

141


142 ขั้นตอนการสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์

เตรียมอุปกรณ์ หนังสือพิมพ์ กาว กรรไกร ไม้บรรทัด

 เตรียมกระดาษ หนังสือพิมพ์ไว้ หลายๆฉบับ

กระดาษ หนังสือพิมพ์ 1 คู่ แบ่งออกเป็น 4 แผ่น

นากระดาษหนังสือพิมพ์ ม้วนกลมๆทาไว้มากๆ ม้วนหลวมๆ

นากระดาษที่ม้วนแล้ว สอดไม้เข้าไปใช้มือที่ถนัด จับไว้ อีกมือย่นกระดาษ ลงมาเรื่อยๆ จนหมด ค่อยๆหมุนดึงไม้ออก

นากระดาษหนังสือพิมพ์ ที่ย่นเสร็จแล้วมาสร้าง เป็นภาพตามต้องการ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) เด็กปฐมวัยสนใจและสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ได้ทุกคน 2) ครูปฐมวัยสามารถให้คาแนะนาในการสร้างภาพจากกระดาษ หนังสือพิมพ์ได้ ทุกคน 3) เพื่อนครูนากระดาษหนังสือพิมพ์มาให้ใช้เป็นวัสดุในการสร้างภาพ

กระบวนการตรวจสอบซ้า เพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า จัดกิจกรรมการสร้างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ อย่างต่อเนื่อง เช่น ขยายผลกับผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตัวแทนเครือข่ายห้องเรียน  ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง  เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน สามารถสร้างภาพจากกระดาษ หนังสือพิมพ์ได้  เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่องจากผลงานการสร้างภาพจากกระดาษ หนังสือพิมพ์

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง  จัดทาแผ่นพับขั้นตอน การสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์  เผยแพร่ผลงานในรายการเสียงตามสาย โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี  เผยแพร่ลงใน Facebook ของ sutheera  ขยายผลการสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ให้กับครูปฐมวัยโรงเรียนอนุบาล กาญจนบุรีโดยการอธิบาย การสาธิต การลงมือปฏิบัตจิ ริง การสร้างผลงานเดี่ยว วันที่ 15 สิงหาคม 2555  ขยายผลการสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ให้กับครูฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ชัน้ ปีที่ 5 สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี โรงเรียนอนุบาล กาญจนบุรี โดยการอธิบาย การสาธิต การลงมือปฏิบัตจิ ริง การสร้างผลงานเดี่ยว วันที่ 20 สิงหาคม 2555  ขยายผลการสร้างภาพจากหนังสือพิมพ์ให้กับครูปฐมวัย สพป.กจ.1 โดยการแจกแผ่นพับ อธิบาย การสาธิต การลงมือปฏิบัตจิ ริง การสร้างผลงานเดี่ยว วันที่ 1 – 2 กันยายน พ.ศ.2555

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

143

หนูน้อยหรรษากับกิจกรรม Learning by doing เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 3.1. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง 3.2. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดจากการลงมือปฏิบัติ 3.3. เพื่อฝึกการกล้าแสดงออกผ่านการทากิจกรรม

ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2554 – ปัจจุบัน

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง กับเป้าหมาย/จุดเน้นของสพฐ. การจัดกิจกรรม หนูน้อยหรรษากับกิจกรรม Learning by doing นี้ มีความ สอดคล้องกับจุดเน้นของสพฐ.ข้อที่. ๓ ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาสูม่ าตรฐาน การศึกษาของชาติพัฒนาผู้เรียน สมรรถนะครูและบุคลากรอย่างเป็นระบบ เพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐานและปฐมวัยและการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาอย่างเต็ม ตามศักยภาพ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 5.1.ทฤษฎีของเพียเจย์ (Piaget) การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการ ทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลาดับขัน้ พัฒนาการเป็นสิ่งที่ เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ขา้ มจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์สง่ เสริมพัฒนาการของเด็ก ในช่วงที่เด็กกาลังจะพัฒนาไปสูข่ ั้นที่สูงกว่าสามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การเน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นกั เรียนใช้ศักยภาพของ ตนเองให้มากที่สุดเสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่เน้นการ เรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ เน้นกิจกรรมการสารวจและการเพิ่มขยายความคิด ในระหว่างการเรียนการสอน 5.2.ทฤษฎีของจอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ซึ่งเป็นต้นคิดในเรื่องของ “การ เรียนรู้โดยการกระทา” หรือ “Learning by Doing” (Dewey ,1963) อันเป็นแนวคิดที่ แพร่หลายและได้รับการยอมรับทั่วโลกมานานแล้ว การจัดการเรียนการสอนโดยให้ ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัตจิ ัดกระทานี้ นับว่าเป็นการเปลี่ยนบทบาทในการเรียนรู้ของ ผู้เรียนจากการเป็น “ผู้รับ” มาเป็น “ผู้เรียน” และเปลี่ยนบทบาทของครูจาก “ผู้สอน” หรือ “ผู้ถ่ายทอดข้อมูลความรู”้ มาเป็น “ผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้” ให้ผู้เรียน ซึ่ง การเปลี่ยนแปลงบทบาทนี้ เท่ากับเป็นการเปลี่ยนจุดเน้นของการเรียนรู้ว่าอยู่ที่ผู้เรียน มากกว่าอยู่ที่ผู้สอนดังนั้นผู้เรียนจึง กลายเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน เพราะ บทบาทในการเรียนรู้สว่ นใหญ่จะอยูท่ ี่ตัวผู้เรียนเป็นสาคัญ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาวอรรถยา นครจารุพงศ์ ครู โรงเรียนบ้านบนเขาแก่งเรียง โทรศัพท์ 081-1923992 E-mail : oh_oum31@yahoo.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

144

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นอนุบาล 2 จานวน 20 คน  ขั้ น ตอนการพั ฒ นา การจั ด กิ จ กรรม หนู น้อ ยหรรษากั บ กิ จ กรรม Learning by doing นี้เป็นการกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติร่วมกัน โดยให้ สอดคล้ อ งกั บหน่ว ยการเรี ย นรู้ ใ นแต่ ล ะสั ปดาห์ ซึ่ ง แต่ล ะกิ จ กรรมนี้จ ะจั ด นี้ค รู จ ะ วางแผนจัดทาหน่วยการเรียนรู้รายปี และได้กาหนดว่าหน่วยการเรียนรู้อะไรที่จะจัด กิจกรรมเสริมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติร่วมกัน ซึ่งครูจะเป็นผู้กาหนดและเลือกกิจกรรม ของในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ภาคเรียนละ 5 กิจกรรม ลาดับหน่วยการเรียนรู้

หนูน้อยหรรษากับกิจกรรม Learning by doing

1) ฟันสวยด้วยมือหนู คุณหนูฟันสวย 2) อาหารดีมีประโยชน์ ผัก ผัก ทอด ทอด 3) ปลอดภัยไว้ก่อน หนูน้อยเรียนรู้กฎจราจร 4) ประสาทสัมผัส จับ ดู เคาะ ชิม 5) สีแสนสวย ขนมบัวลอยแสนหวาน 6) ผลไม้ มะพร้าวแสนอร่อย 7) ชุมชนน่าอยู่ หนูน้อยไปวัด 8) อาชีพในฝัน หนูอยากเป็นหมอ 9) ต้นไม้ ถั่วน้อยแปลงร่าง 10) วิทยาศาสตร์น่ารู้ ไอศกรีมหวานเย็น  การตรวจสอบคุณภาพ  แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมก่อนและหลังทากิจกรรม  ผลงานศิลปะหลังการทากิจกรรม  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ การจัดกิจกรรม Best Practice หนูน้อยหรรษากับกิจกรรม Learning by doing เป็นกิจกรรมที่ช่วยในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย จากสิ่งรอบ ๆ ตัวเด็ก การลงมือปฏิบัตจิ ากประสบการณ์จริง ช่วยในการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด แก้ปัญหาได้เป็นอย่างดี

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 80 ได้ฝึกทักษะการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง และการลงมือปฏิบัติ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนร้อยละ 80 ได้แสดงออกผ่านการพูด การ ตอบคาถาม การแสดงความคิดเห็นร่วมกันผ่านการลงมือทากิจกรรม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง การจั ด ท าแบบสอบถามประเมิ น กิ จ กรรมแต่ ล ะกิ จ กรรม และการ ประเมินผลแบบสอบถามการจัดนิทรรศการความพึงพอใจของผู้เข้าชมนิทรรศการ ร้อ ยละ 100 ของผู้บริ หาร คณะครู และผู้ ปกครอง มีความพึง พอใจในการจั ด นิทรรศการหนูน้อยหรรษากับกิจกรรม Learning by doing  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ผู้บริหาร : การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน 2) ครู : คานึงถึงความสาคัญกับเด็ก การพัฒนาการเรียนรู้อย่าง เหมาะสม และการจัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัตจิ ริง 3) ผู้เรียน : ความร่วมมือในการทากิจกรรม การปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ระหว่างผู้เรียน 4) ชุมชน : การได้รับความร่วมมือในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น การเป็นวิทยากร

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า การทากิจกรรมโดยให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัตอิ กี ครัง้ และ การใช้คาถามเพื่อทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียน

 ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงผู้เรียนได้พัฒนาตรง ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง การจัดการเผยแพร่ผลสาเร็จของ Best Prectice นี้ โดยการจัดนิทรรศการ การนาเสนอผลงานผู้เรียนที่จัดขึน้ ทุกสิน้ ปีการศึกษา โดยได้รบั ความร่วมมือจาก ผู้บริหาร คณะครู และผู้ปกครอง เข้าร่วมชมนิทรรศการ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

145


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

146

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกมและนิทานสระ การพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกมและนิทานสระ มีความสอดคล้อง กับจุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา คือ นักเรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิด เลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ นักเรียน ทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ ซึ่งการพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกม และนิทานสระครัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อพัฒนาเด็ กให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ จารูปสระ จาคา และอ่านเขียนคาใน บทเรียนได้  เพื่อให้เด็กสนุกสนาน รักและภาคภูมใิ จในภาษาไทย  เพื่อเด็กได้นาความรูไ้ ปใช้ในชีวิตจริง

นางอารมย์ เหลืองแดง ครู โรงเรียนบ้านวังตะเคียน โทรศัพท์ 084-0760771 E-mail : kruarom_ld@hotmail.com

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาความรู้ ภาษาไทยจากเพลง เกมและนิทานสระ 1) 2) 3) 4) 5)

เด็กสนุก มีความสุข ทาให้จดจาและเรียนรู้ได้ดี มีเจตคติที่ดตี อ่ การเรียน สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม สอนจากง่ายไปหายากจากสิ่งที่ใกล้ตัว เด็กจะไม่เครียด สอนโดยการเน้น ย้า ซ้า ทวน (ติดตา ติดหู ติดสมอง) ทฤษฎี BBL การพัฒนาการทางสมอง การเคลื่อนไหวร่างกาย

กระบวนการพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกมและนิทานสระ  กลุ่ ม เป้ า หมายในการน าเพลง เกมและนิ ท านสระไปใช้ คื อ นั ก เรี ย นชั้ น ป.1 โรงเรีย นบ้านวัง ตะเคียน ปีการศึกษา 2553 จานวน 15 คน นักเรีย นชั้น ป.1 โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ปีการศึกษา 2554 จานวน 15 คน นักเรียนชั้นป.2,3 โรงเรียนบ้านวังตะเคียน (ที่อ่านและเขียนไม่คล่อง ) จานวน 10 คน  ขั้นตอนการพัฒนาความรูภ้ าษาไทยจากเพลง เกมและนิทานสระ 1. ขั้นเตรียม / ขั้นวางแผน 1) สารวจความสนใจของนักเรียน 2) ศึกษาคาศัพท์และเนือ้ หาของบทเรียน 3) น าค าศั พ ท์ ใ นบทเรี ย นแต่ ล ะบทผู ก เป็ น เรื่ อ งโดยเนื้ อ หาไม่ เ ปลี่ ย นไปจาก บทเรียน นามาแต่งเป็นบทเพลง 4) ทดลองร้องเพลงให้นักเรียนและเพื่อนครูฟัง เพื่อนาผล มาแก้ไขปรับปรุง 5) ศึกษาสระที่นักเรียนจารูปไม่ได้ ออกเสียงไม่ถูกต้อง 6) นาสระมาแต่งเป็นนิทาน โดยแต่งเป็นบทร้อยกรอง เพื่อให้นักเรียนได้ท่องจา และเกิดจิตนาการ 7) ทดลองนามาใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เพื่อนาผลแก้ไขปรับปรุง 8) วางแผนการจัดกิจกรรมประกอบการเรียนรู้ 9) จัดทาแบบฝึกหัดประกอบการเรียนรู้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

2. ขั้นดาเนินการตามแผน 1) แนะนาคาใหม่ในบทเรียนโดยใช้เกม “อะไรเอ่ย” 2) อ่านคา อธิบายความหมายของคา 3) อ่านเนื้อเรื่องของบทเรียน 4) ร้องเพลงประจาบทเรียนของแต่ละบท 5) จัดกิจกรรมอ่านเนื้อเพลงตามวิธีการ BBL 6) เล่นเกมแข่งขันทายคา เขียนคาจากบทเพลง 7) จัดกิจกรรมเล่า – อ่านนิทาน สระ 8) ทาแบบฝึกหัดประจาบท 3. ขั้นประเมินผล 1) สังเกตพฤติกรรม 2) ตรวจผลงาน แผนผังขั้นตอนการความรู้ภาษาไทยจากเกมและเพลง

 การตรวจสอบคุณภาพ โดยหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน จากนั้นนาไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และเก็บคะแนนระหว่างเรียน หลังเรียน เพื่อหาคุณภาพ ผลการตรวจสอบหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 0.5 สังเกตพฤติก รรมของนักเรียน ตรวจผลงานนัก เรีย น พบว่า นักเรียนมีผลการเรีย น พัฒนาขึ้น มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น และจากการสัมภาษณ์ และสารวจความพึงพอใจของ ผู้ปกครอง พบว่าพึงพอใจกับผลการเรียน  แนวทางการนาการความรู้ภาษาไทยจากเกมและเพลง ไปใช้ประโยชน์ 1) ใช้ในการจัดกิจกรรมกับการเรียนการสอนปกติ ในห้องเรียน 2) ใช้ในการจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมเด็กที่อา่ นเขียนไม่คล่อง 3) ใช้ใ นการสาธิ ต การสอน เพื่อ เผยแพร่ใ ห้ เพื่อ นครู ทั้ ง ในโรงเรี ย นและต่า ง โรงเรียน 4) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาค 5) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานต้อนรับรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ 6) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงาน ในโครงการจัดการความรู้ที่สถาบันพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

147


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

148

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขัน้ ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกมและนิทาน สระ

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นั ก เรี ย นโรงเรี ย นบ้ า นวั ง ตะเคี ย นจ านวน 40 คน ได้ รั บการพั ฒ นาทั ก ษะทาง ภาษาไทย 2) ครูที่ได้รับการเผยแพร่จากการสาธิตการสอน จานวน 120 คน 3) ค รู ไ ด้รั บก า รเ ผ ยแ พร่ จ า ก ก า รเข้า รั บก า รอ บรมแ ล ก เปลี่ ย นเรียน รู้ จานวน 150 คน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนมีความรู้ เข้าใจ จาคา และเขียนคาในบทเรียนได้ 2) ครูนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ศึกษานิเทศก์และนักวิชาการนาไปเผยแพร่วิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง  ความพึงพอใจ 1) สัมภาษณ์ความพึงพอใจจากเด็กร้อยละ 100 2) สารวจความพึงพอใจจากผู้ปกครองร้อยละ 100 3) สารวจความพึงพอใจจากครูร้อยละ 98

ปัจจัยที่ทาให้การพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกมและนิทานสระ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย 1) 2) 3) 4) 5)

ผู้บริหารให้การสนับสนุนสร้างขวัญและกาลังใจ ผู้เชี่ยวชาญให้คาชีแ้ นะ ช่วยเหลือในการพัฒนางาน คณะครูให้คาปรึกษา สนับสนุน และช่วยเหลือในการพัฒนางาน นักเรียนมีความพร้อมกล้าแสดงออก ตั้งใจเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้ข้อเสนอแนะต่างๆ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงการพัฒนาความรู้ภาษาไทยจาก เพลง เกมและนิทานสระให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง โดยวิธีการดังต่อไปนี้ 1) นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนชั้น ป.1 โรงเรียนบ้านวัง ตะเคียน 2) สาธิตการสอนโดยใช้นวัตกรรมให้กับครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 จานวน 120 คน เมื่อวันที่ 11 – 12 ตุลาคม 2553 ณ สพป.กจ.1 3) นางเรณู มงคลรั ต นาสิ ท ธิ์ ครู โ รงเรี ย นวั ด ชุ ก พี้ น าไปใช้ กั บ นั ก เรี ย นในชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 1 4) เป็นวิทยากรให้ความรู้กับครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 150 คน เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 1555 ณ โรงแรมริเวอร์แคว จังหวัดกาญจนบุรี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ผลความพึงพอใจ ของนักเรียน เท่ากับ ร้อยละ 100 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 ของครูที่เข้ารับการอบรมฯ นาไปใช้ ผลความพึงพอใจของนักเรียน เท่ากับ ร้อยละ 90 3) นั ก เรี ย นชั้น ประถมศึก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นวั ด ชุ ก พี้ ผลความพึง พอใจของ นักเรียน เท่ากับ ร้อยละ 95 4) ครู ที่ เ ข้ า รั บ การอบรม จ านวน 150 คน มี ผ ลความพึ ง พอใจเท่ า กั บ ร้อยละ 100

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 9.2.31) นั กศูเรี ก ษาปี ที่ 1 โรงเรีกยษากลุ นวั ด ชุ่มกสาระการเรี พี้ ผลความพึ นย์ยเนชั ครื้นอข่ประถมศึ ายพัฒนาคุ ณภาพการศึ ยนรูง้ภพอใจของ าษาไทย ทา นักเรียน เป็นเอกสารจานวน 150 เล่ม แจกทุกโรงเรียนในสังกัด 2) มอบเอกสารการจัดการเรียนรู้พร้อมแผ่นซีดีให้กลุ่มนิเทศติดตามผลการจัด การศึกษา 9.2.33)นั กสาธิ เรี ยตนชั ้น ประถมศึแก่กคษาปี ี่ 1 โรงเรี ย นวั ดกชุษาปี ก พี้ทผลความพึ การสอนให้ รูผู้สทอนชั ้นประถมศึ ี่ 1,2 จานวนง พอใจของ 120 คน เมื่อ นักเรียน วันที่ 11-12 ตุลาคม 2553 4) มอบแผ่นซีดีเพลงประกอบการสอนให้สมาคมครูภาษาไทยแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2553 5) ได้รับเชิญเป็นวิทยากรของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ให้ความรู้ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 150 คน เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 6) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคกลาง และภาคตะวันออก ประจาปีการศึกษา 2554 7) 10.7 จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานต้อนรับ ศาสตราจารย์ ดร.สุ ชาติ ธาดาธารงเวช รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2555 8) 10.8 จั ด นิ ท รรศการเผยแพร่ ผ ลงานโครงการจั ด การความรู้ ที่ สถาบันพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เมื่อวันที่ 27 – 31 มีนาคม 2555 จังหวัดนครปฐม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

149


150

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL

นางดวงรัตน์ สบายยิ่ง ครู โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี โทรศัพท์ 081-3856367 E-mail : tukky23@gmailcom

8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL ครั้งนี้ สอดคล้องกับเกณฑ์ ประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มาตราฐานที่5 ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะ ที่จาเป็นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 สามารถสื่อความคิดผ่านการพูด เขียน หรือนาเสนอด้วยวิธีต่าง ๆ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตัวเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่6.3 มีวิธีการ เรียนรู้ของตนเอง เรียนร่วมกับผู้อื่น ได้สนุกกับการเรียนรู้และชอบมาโรงเรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของ สพป.ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก ระดับ สอดคล้องกับกลยุทธ์โรงเรียน ที่ 1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในบทบาท ของโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรอาเซียนศึกษา หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อพัฒนาการจัดการสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อการส่งเสริมความสนใจ ความ เข้าใจ ความกระตือรือร้นในการเรียนของนักเรียน แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ใน 8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด มาตรา 24 และมาตรา 30 กล่าวว่า การจัด กระบวนการเรี ยนรู้กาหนดให้ส ถานศึกษาต้องสนับสนุน ให้ผู้ สอน สามารถจัดบรรยากาศ ใช้ส่ือ ใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อ ให้ ผู้ เรี ย นเกิ ด การเรี ยนรู้ แ ละมีค วามรอบรู้ ผู้ ทางานเกี่ ย วข้ อ งกั บสถานศึก ษา สามารถน าผลการวิ จั ย มาใช้เ พื่อ น าไปสู่ ก ารปฏิ รู ปสถานศึ ก ษา การเรี ย นรู้ ูที่ มี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้นเกิดจากการเรียนรู้ทีใ่ ห้ผู้เรียนได้มี ส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนรูู้ ได้คิดลงมือทากิจกรรมอย่างกระตือรือร้น หรือมีใจจดจ่ อผูกพัน กั บ สิ่ ง ที่ ท าด้ ว ยตนเอง เพราะฉะนั้ น ผ้ ูเ รี ย นจะต้ อ งได้ รั บ สิ่ ง กระต้ ุน ที่ ก่ อ ใหเกิ ด พฤติกรรมที่คาดหวัง ซึ่งส่ วนหนึ่งมาจากการดูแลสนับสนุนและการอานวยความ สะดวกของครูในการจัดกิจกรรม ให้ ผู้เรียนได้ สร้างความรู้ผ่านการปฏิสัมพันธกับ เพื่อน กับครูและสิ่งแวดล้ อม ดังนั้ น การจัดบรรยากาศที่เหมาะสม จะส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน เพราะการเรียนท่ามกลางบรรยากาศที่มีความสุข ผู้ เ รี ย นจะเกิ ด ความรู้ สึ ก ผ่ อ นคลาย ไม กดดั น ท าให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ไ ด้ ง่ า ยและมี ประสิทธิภาพ ปัญ หาที่ พ บได้ บ่อ ย ๆ ในชั้นเรี ย น คื อ การควบคุ ม ดู แ ลผู้ เรี ย นให้ อ ยู่ใ น ระเบียบวินัย พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ความสนใจและตั้งใจเรียนของผู้เรียน ครูที่มี ประสบการณ์ดา้ นการสอนมานานที่มีความเชื่อมั่นในวิธีการควบคุมชั้นเรียน ใน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

151

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แบบเดิม ๆ โดยใช้คาสั่ง นักเรียนต้องเชื่อฟัง และอยู่ในระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด ซึ่งครูก็ สามารถที่จะทาได้ แต่เป็นแนวทางที่ไม่สอดคลองกับแนวการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ให้นักเรียนได้มอี สิ ระในการแสดงความคิด การปฏิบัติงาน กิจกรรม ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีความสุข และประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย จากการศึกษาเอกสารงานวิจัย จะพบว่า การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นส่วนสาคัญ อันดับต้น ๆ อันจะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน และการร่วม ปฏิบัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ภายในห้องเรียน และนาไปสูู่การประสบความสาเร็จในการจัดการเรียน การสอนที่มีประสิทธิภาพและไดประสิทธิผลสูงสุด การบริหารจัด การชั้นเรียนของครู มี ความสาคัญและมีผลในการเรียนรู้อันจะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ในห้องเรียนจะมีสิ่งรบกวนอยู ู ตลอดเวลาด้ วยปัญหาทางด้านพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนในห้อง ความไมเป็น ระเบียบเรียบร้อย สิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนมีการจัดการที่ไมเหมาะสม เป็นส่วนที่มีผลต่อการ ส่ง เสริม ความสนใจ ความเข้ าใจ ความกระตือ รือ ร้น ในการเรีย นของนัก เรี ยน ส่ง ผลให้ นักเรียนไมสามารถเรียนรู้ไดอย่างเต็มที่ จากแนวคิดของนักการศึกษา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้น เรียน พบว่า ปัจจัยสาคัญของการบริหารจัดการชัน้ เรียน นอกจากจะอยู่ที่ตัวครู และ เทคนิค การสอนของครูแล้ว การดาเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการ เรียนเพื่อสร้างบรรยากาศทางกายภาพ รวมทั้งการสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กสร้างวินัยในการ ควบคุมตนเองและระงับยับยัง้ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึงการแก้ปัญหาพฤติกรรมของ นักเรียน เป็นสิ่งสาคัญและมีผลต่อการส่งเสริมความสนใจ ความเข้าใจ ความกระตือรือร้น ในการเรียนของนักเรียนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ จนบรรลุผล ตามเป้าหมายของการศึกษา ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงนาแนวคิดจากการศึก ษาเอกสารและงานวิจัย มาปรับประยุกต์เพื่อใช้ในการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการชัน้ เรียนในห้องเรียนของตนเอง ตามรูปแบบ 8 กระบวนพัฒน์ DUANGRAT MODEL กระบวนการ 8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL กลุ่มเป้าหมายในการนา8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL ไปใช้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี จานวน 1 ห้องเรียน โดยมี ขั้นตอนการพัฒนา 4 ขั้นตอน ดังนี้ .

Goals Objectives, and Domains)

.

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

Design)

.

Implementation)

.

Evaluation)


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

152

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การตรวจสอบคุณภาพ BP  กระบวนการนิเทศภายใน โดยฝ่ายบริหาร หัวหน้าแผนงานและหัวหน้ากลุ่มสาระ  ความพึงพอใจจากนักเรียน และผู้ปกครองจากการสอบถามความคิดเห็น แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์  ขยายผลกระบวนการบริ ห ารจั ด การชั้ น เรี ย น 8 กระบวนพั ฒ น์ DUANGRAT MODEL ให้กับครูคนอื่น ๆ นาไปพัฒนาหรือประยุกต์ใช้  นาเสนอเผยแพร่ให้กับผู้มาศึกษาดูงาน  จัดทาเป็นคู่มือการบริหารจัดการชัน้ เรียน ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา 8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT

MODEL

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี มีผลการประเมินใน ระดั บท้อ งถิ่ น (LAS)ในปีก ารศึกษา 2553 เฉลี่ ยร้ อ ยละ 58.72 และมีค่า เฉลี่ ยสู ง กว่า ค่าเฉลี่ยระดับ สพป.กจ.1 2) นักเรี ยนมีผ ลผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระการเรีย นรู้ภาษาไทยสูงขึ้น โดยในปี การศึกษา 2553 มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 70.10 และในปีการศึกษา 2554 มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 73.00 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 70.00 3) นักเรียนมีผลการประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉลี่ย อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม คือมีคะแนนประเมินในปีการศึกษา 2553 เฉลี่ยร้อยละ 83.75 และในปีการศึกษา 2554 เฉลี่ยร้อยละ 84.82 4) ในการตรวจสอบคุณภาพภายใน โครงการ TOP TEN นักเรียนมีผลการประเมินเฉลี่ย ในรายวิชาภาษาไทยสูงที่สุดในสายชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 จากจานวนทั้งหมด 6 ห้องเรียน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดทักษะและเกิดศักยภาพสูงสุด ผู้เรียนได้ พัฒนาสติปัญญา เกิดความรู้ ความฉลาด เกิดภูมคิ ุ้มกันที่ดี 2) นักเรียนมีความสุข และสนุกกับการเรียนรู้ในห้องเรียน 3) ครูมีแผนการดาเนินงานในการบริหารจัดการชั้นเรียนที่ดี มีคุณภาพ สามารถนาไป เป็นแบบอย่างได้ 4) โรงเรียนมีผลการพัฒนาตามมาตรฐานผู้เรียนอยูใ่ นเกณฑ์ที่ดี  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP 1) ฝ่ายบริหารมีความพึงพอใจในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู และ ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนร้อยละ 100 ซึ่งได้มาจากการสรุปผลการนิเทศภายใน ในสมุดบันทึก การนิเทศ 2) นักเรียนมีความพึงพอใจการบริหารจัดการชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด เฉลี่ยร้อย ละ 98.43 ซึ่งได้มาจากแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการ สอนของครู 3) ผู้ปกครองมีความพึงพอใจการบริหารจัดการชัน้ เรียนอยูใ่ นระดับมากที่สุด เฉลี่ยร้อย ละ 87.92 ซึ่งได้มาจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการเรียนการ สอนของครู การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

153

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้ 8 กระบวนพัฒนา DUANGRAT MODEL

ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย  การปรับการเรียน เปลี่ยนการสอน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ตาม จุดเน้น Road map เน้นการอ่านออก เขียนได้ในระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3  พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีบทบาทในการมีส่วนร่วมสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรม กระบวนการในชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง  ครูทุ่มเทแรงกายแรงใจและสติปัญญา เพื่อการจัดการในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้ พัฒนาความรูอ้ ย่างเต็มศักยภาพ โดยเน้นการเรียนรู้อย่างมีความสุข  นั ก เรี ย นสามารถก าหนดกิ จ กรรมการปฏิบัติต ามความต้อ งการ ความสนใจ ภายใต้ข้อตกลงของชั้นเรียน มีการช่วยเหลือเกือ้ กูลกันจนการดาเนินงานบังเกิดผล  ผู้ บริ ห ารให้ ก ารสนั บสนุ น โดยก าหนดนโยบาย สนั บสนุ น ด้ า นงบประมาณ ให้ กาลังใจกากับ ติดตาม นิเทศ และแก้ปัญหา จนงานดาเนินไปอย่างราบรื่น การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ วัน เดือน ปี ตุลาคม 2553

รูปแบบ/วิธกี าร จัดนิทรรศการ สื่อ และวิธีการ ใช้ส่อื ในการประชุมอบรมสัมมนา จังหวัดชลบุรี

30 ธันวาคม พ.ศ.

นาเสนอบนเวที ในการอบรมสัมมนา โครงการพัฒนาครูทั้งระบบ

2553

โรงแรมราชศุภมิตร

13 – 14 มิถุนาคม

จัดนิทรรศการสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน ตามแนวทาง

พ.ศ. 2554

พัฒนาสมอง โรงแรมริเวอร์แคว จ.กาญจนบุรี

3 สิงหาคม พ.ศ.

นาเสนอ Best Practice ที่โรงเรียนวัดศรีโลหะราษฎร์บารุง

2554

อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

30 สิงหาคม พ.ศ.

อบรมปฏิบัติการ นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

2554

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

11 กันยายน พ.ศ.

นาเสนอ Best Practice ที่โรงเรียนวัดศรีอุปลาราม อ.เมืองฯ

2555

จ.กาญจนบุรี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


154

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคามาตราตัวสะกด”

นางพิศมัย พรหมสิทธิ์ ครู โรงเรียนบ้านหนองสามพราน โทรศัพท์ 081-9813955 e – mail pisamai_tun@hotmail.com

จากจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของ สพฐ. นโยบายของโรงเรียนบ้าน หนองสามพรานด้านจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียน การสอนที่หลากหลายและใช้แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น และ การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ จัดการเรียนการสอนจาก 9 กิจกรรม ผู้รายงานจึงนาแนวคิดทั้ง 3 ประการมา สังเคราะห์เป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่องการอ่านและ เขียนสะกดคามาตราตัวสะกด โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปี ที2่  เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จาก การใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่องการอ่านและ เขียนสะกดคามาตราตัวสะกด  เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคามาตราตัวสะกด การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่องการอ่าน และเขียนสะกดคามาตราตัวสะกดในครั้งนี้ ผู้รายงานได้นาแนวคิดจากนโยบาย หลักการที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1) จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้ เรียนให้ อ่านได้ เขียนได้ ของ ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผนวกเข้ากับนโยบายของโรงเรียนบ้านหนอง สามพรานด้านจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนการ สอนที่หลากหลาย และ การบูรณาการแหล่งเรียนรู้ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 2) หลั ก การจั ด ท าหนั ง สื อ อ่ า นเพิ่ ม เติ ม โดยใช้ รู ป แบบกลอนสี่ และ เรียงลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหายากตามแนวคิดของจินตนา ใบกาซู และ สาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่2 ของหลักสูตร การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช2551 3) แนวคิดด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน “การใช้บันได้ 4 ขั้น ” ของ ศิวกานท์ ปทุมสูติ คือ1. ครูนาเด็กอ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ข้อความตามเนื้อ เรื่อง2. ครูนาเด็กฝึกกิจกรรมชวนกันอ่านออกเสียง สะกดคา 3. เด็กคัดลายมือ จากแบบฝึกทักษะการสะกดคา 4. ทดสอบการอ่านและเขียนสะกดคา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

155

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคามาตราตัวสะกด กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2 โรงเรียนบ้านหนองสามพราน อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จานวน 11 คน โดยมีกิจกรรม/วิธีการ/ขั้นตอนที่สาคัญ ที่เป็น ( Best Practice ) สรุปได้ดังแผนภาพ ต่อไปนี้

.

.

.

.

 การตรวจสอบคุ ณ ภาพ โดยน าหนั ง สื อ อ่ า นเพิ่ ม เติ ม ที่ พั ฒ นาขึ้ น ไปหา ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่2 จากการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่อง การอ่านและเขียนสะกดคา ชุด มาตราตัวสะกด สอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่2 ที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่อง การอ่านและเขียนสะกดคา ชุด มาตราตัวสะกด  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) ครูผู้สอนสามารถนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่อง การอ่านและเขียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 นี้ ไปใช้เป็น แนวทางสาหรับพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนสะกดคาเพื่อเป็นพื้นฐานของการอ่าน และเขียนในระดับที่สูงขึ้น

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


156

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

2) ครูผู้สอนสามารถนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เรื่อง การอ่าน และเขียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกด ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 นี้ ไปใช้เป็นแนวทางสาหรับ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน 3) ผู้บริหารสถานศึกษา สามารถส่งเสริมให้ครูจัดทาหนัง สือส่งเสริ มการอ่านโดยใช้ แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนประเภทอื่น ๆ รวมทั้ง แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นเพื่อนามาใช้เป็นสื่อฝึก ทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนในระดับชั้นต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดีทาให้ครูโดยทั่วไป เห็นประโยชน์ของการสอนโดยใช้ส่อื การเรียนการสอน รวมทั้งมี 4) นักเรียนสามารถใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เพื่อฝึกทักษะ การอ่ า นและการเขี ย นสะกดค า กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทย ได้ ด้ ว ยตนเองตาม ความสามารถของแต่ละคน

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียน เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคามาตราตัวสะกด  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ครูมีหนังสืออ่านเพิ่มเติมแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ประกอบ แบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนสะกดคา ชุด มาตราตัวสะกด ที่มปี ระสิทธิภาพ 89.54/84.04  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนทีใ่ ช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนประกอบแบบฝึกทักษะการ อ่านและเขียนสะกดคา ชุด มาตราตัวสะกด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2 มีความพึงพอใจต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติม แหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียนประกอบแบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนสะกดคา ชุด มาตราตัวสะกด อยู่ในระดับ มาก  ความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ปกครองนักเรียน มีความพึงพอใจต่อ หนังสืออ่านเพิ่มเติม แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนประกอบแบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนสะกดคา ชุด มาตราตัวสะกด อยูใ่ นระดับมาก  กระบวนการตรวจสอบซาเพื่อพัฒนาปรับปรุง การเผยแพร่ผลงานกับครูในโรงเรียน เดียวกัน และโรงเรียนใกล้เคียงแล้วเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะที่ได้มาปรับปรุงนวัตกรรมให้ มีประสิทธิภาพมากขึ้น การประชาสัมพันธ์นวัตกรรมเพื่อให้ผู้ปกครองได้รับทราบแนวทางการ จัดการเรียนการสอนของครู ผลการตรวจสอบซ้า หลังจากดาเนินงานพัฒนา BP จนประสบ ผลสาเร็จแล้ว ปีการศึกษาต่อมาก็ยังคงดาเนินการต่อเนื่อง โดยทาการประเมินผลการอ่านและ เขียนของนักเรียน โดยใช้รูปแบบระบบPDCA ซึ่งประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลักดังนี้  P (Plan) คือ การวางแผนพัฒนา หรือ ปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการ อ่านและเขียนของนักเรียนให้บรรลุเป้าหมายของโรงเรียน  D (Do) คือ นานวัตกรรมที่วางแผนไว้ไปปฏิบัติ  C (Check) คือ ระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนการสอนก็ดาเนินการตรวจสอบ/ ประเมินผล

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 A (Action) คือ นาผลการประเมินผลมา ปรับปรุง พัฒนานวัตกรรมให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ผลการประเมินพบว่า หนังสืออ่านเพิ่มเติม แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนประกอบแบบ ฝึกทักษะการอ่านและเขียนสะกดคา ชุด มาตราตัวสะกด เป็นนวัตกรรม ที่ช่วยฝึกทักษะ การอ่านและเขียนสะกดคาของนักเรียนได้ดี จึงควรส่งเสริมการทานวัตกรรมโดยใช้ส่ือใน ท้องถิ่นให้แพร่หลายมากขึน้ รวมทั้งส่งเสริมการประกวดผลงานครูอย่างต่อเนื่อง

ปัจจัยที่ทาให้ที่ทาให้การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด แหล่งเรียนรู้ใน โรงเรียน เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคามาตราตัวสะกด ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย 1) ปัจจัยด้านผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ การสนับสนุนของผู้บริหารสถานศึกษา และการเป็ น ขวั ญ ก าลั ง ใจในการด าเนิน งาน อ านวยความสะดวกให้ กั บ บุ ค ลากร เป็ น แบบอย่างที่ดี เชิญชวนประชาสัมพันธ์อย่างกว้างขวาง ร่วมพูดคุยซักถาม กับผู้เรียน และ เปิดโอกาสให้ครูได้ทางานอย่างเต็มที่ ยอมรับฟังความคิดเห็นของครู เคารพและให้เกียรติ ทา ให้ผลการดาเนินงานออกมาเป็นที่น่าพอใจ 2) ปัจจัยด้านครู ได้แก่  ครูปฏิบัติงานด้วยความมุ่งมั่นและเสียสละ เต็มศักยภาพ และเป็นแบบอย่าง ที่ดีแก่ นักเรียน เป็นผู้นาและให้การสนับสนุนทุกกิจกรรม  ครู มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจและทั ก ษะในการจั ด การเรี ย นรู้ แ ก่ ผู้ เ รี ย น สามารถ ปฏิบัติงานอย่า งมีประสิ ทธิ ภ าพ มีเป้า หมาย มีเทคนิค วิธีก ารที่ เหมาะสมในการ จัดการเรียนการสอนภาษาไทย  นักเรียน การให้ความร่วมมือและรูส้ ึกภาคภูมิใจที่สามารถอ่านและเขียนได้ดีข้นึ  เพื่อนครูในโรงเรียนให้การสนับสนุนในการปฏิบัตกิ ิจกรรมอย่างเต็มที่

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) ในปี การศึก ษา2552 ถึ งปั จ จุบัน ผู้ รายงานได้น าผลงานส าหรั บเผยแพร่ ที่ โรงเรียนบ้านหนองสามพราน แก่ผู้มาศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง ในจังหวัดกาญจนบุรี ภาคเหนือ ภาคใต้ และ ภาคกลาง ได้แก่ โรงเรียนบ้าน ท่ า ข่ อ ย จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก โรงเรี ย นสั ง กั ด เทศบาลเบตง จั ง หวั ด ยะลา โรงเรียนวัดยอดสุวรรณคีรี จังหวัดราชบุรี โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนา คุณ ภาพการศึก ษาห้ วยยาง จั ง หวัด ประจวบคี รีขั น ธ์ โรงเรี ย นพัฒ น์พ งศ์ โรงเรียน ตชด.ประตูด่าน โรงเรียนบ้านท่าหวี โรงเรียนบ้านหนองกลางพง โรงเรียนบ้านแหลมทอง โรงเรียนวัดบ้านยาง และโรงเรียนบ้านนากาญจน์ กาญจนบุรี เป็นต้น 2) โรงเรียนได้สง่ เสริมให้ผู้รายงานต่อยอด BP โดยส่งผู้รายงานเข้าประกวดการ เขียนเรียงความคัดลายมือในโครงการรักษ์ภาษาไทย จนได้เป็น ตัวแทนเข้า ร่วมแข่งขันระดับภาค การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

157


158

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ทางด่วนการเขียน”

นางมยุรี ศรีสนั ต์ ครู โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม โทรศัพท์ 084-3360319 E-mail : sch40@hotmail.com

ทางด่วนการเขียนครั้งนี้ สอดคล้องกับจุดเน้น สพป.กจ. ที่ 1 และ ที่ 4 และ สพฐ.ที่ 1 และ 4 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนให้มปี ระสิทธิภาพ  เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระภาษาไทย สาระการเขียน แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาทางด่วนการเขียน แนวคิดและทฤษฎีที่นามาบูรณาการในการพัฒนาทางด่วนการเขียน คือ ทฤษฎี ของกิลฟอร์ด (Guilford) และวงจรเดมมิ่ง โดยทฤษฎีของกิลฟอร์ดจะมีองค์ประกอบอยู่ 3 ประการ คือ ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องแคล่วและความคิดยืดหยุ่น โดยมีความ ละเอียดละออสอดแทรกอยู่ในองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน ส่วนวงจรเดมมิ่ง ประกอบด้วย การวางแผน การลงมือทา การตรวจสอบ และการประเมินเพื่อการนาไปใช้ ความสาคัญของการศึกษา ภาษาไทยเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ การ รับสารและการส่งสาร การรับสารจะใช้ทักษะการฟังและการอ่าน การส่งสารจะใช้ ทักษะการพูดและการเขียน โดยผู้ใช้ภาษาจะต้องใช้ทั้ง 4 ทักษะให้สัมพันธ์กัน โดยใช้ กระบวนการคิดเป็นตัวเชื่อมโยง ถ้าต้องการให้ผู้เรียนมีความแม่นยาในทักษะใดก็ควร แยกฝึกทักษะนั้นโดยเฉพาะ ดังนั้นเมื่อต้องการฝึกทักษะการเขียนต้องฝึกให้ผู้เรียนได้ เขียนอย่างถูกต้อง มีนสิ ัยที่ดใี นการเขียน นาการเขียนไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ มีคากล่าวจากนักวิชาการหลายท่านกล่าวถึงการเขียน สรุปได้ว่า การเขียน เป็นวิธีการสื่อสารที่สาคัญในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ประสบการณ์ไปยังผู้รับได้ อย่ า งกว้า งไกล คุ ณ ค่ า แห่ ง การเขี ย นคื อ การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น หลั ก ฐานถาวรที่ มองเห็นได้มากกว่าการพูด แม้ ว่าการเขียนจะเป็นทักษะที่ยุ่งยากและผู้เรียนก็ประสบ ปัญหามาก จึง จาเป็นต้องได้รับการแก้ไข ซึ่ง เป็น หน้า ที่ของครูที่ต้องให้ค วามรู้ด้า น รูปแบบการเรียน เพราะผู้เรียนสามารถใช้ทักษะการเขียนในการเรียนทุกรายวิชา ผู้นาเสนอมีประสบการณ์การสอนมากกว่า 30 ปี พบปัญหาที่เกี่ ยวกับการ เขียนของผู้เรียน คือ ผู้เรียนไม่รู้ว่า การเขียนเป็นประโยชน์ต่อตัวเองอย่างไร ขาดเนื้อ เรื่ อ งที่ จู ง ใจในการเขี ย น การฝึ ก หั ด มี น้ อ ย เน้ น การเขี ย นที่ ใ ช้ ค วามจ า เขี ย นตาม กฎเกณฑ์และยึดหลักภาษาเป็นส่วนใหญ่ ทาให้นักเรียนรู้สึกว่า การเขียนเป็นเรื่องยาก แต่ผู้นาเสนอพบข้อค้นพบว่า ผู้ เรียนขาดทักษะการคิด เพราะก่อนที่ ผู้เรียนจะเขีย น ออกมาได้เป็นเรื่องเป็นราวนัน้ จะต้องผ่านกระบวนการคิดก่อน ดังนั้นการให้ผู้เรียนได้ รู้จักค้นคว้าหาความรู้ รู้จักคิดจึงเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็น การใช้นวัตกรรมทางด่วน การเขียนจึงเป็นนวัตกรรมที่แสดงให้เห็นถึงความสาเร็จในการใช้กระบวนการฝึกการ เขียนที่สอดคล้องกับนโยบายการจัดการศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนาทางด่วนการเขียน กลุ่มเป้าหมายในการนาทางด่วนการเขียนไปใช้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่กาลัง ศึกษาในปีการศึกษา 2554 จานวน 74 คน โดยมีขั้นตอนการพัฒนาผลงานทางด่วนการเขียน 3 ขั้นตอน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1) ขั้นเตรียมพร้อมก่อนเขียน (Pre – Writing) กาหนดหัวข้อให้เขียน เริ่มจากสิ่งที่คุ้นเคยและเหมาะสมให้กับเด็กแต่ละวัย จากนั้น เข้าสูก่ ระบวนการรวบรวมข้อมูลความคิดและวางโครงเรื่องดังนี้ (1) เขียนตามใจนึก (Blind Writing) ให้นักเรียนคิดทบทวนหัวข้อที่จะเขียน แล้วให้ นักเรียนลงมือเขียนในเวลาที่กาหนด คิดอะไรก็เขียนไว้เป็นข้อๆ โดยไม่ต้องกังวลในเรื่องผิดถูก เสร็จแล้วให้นักเรียนอ่านทบทวน แล้วให้ขีดเส้นความคิดที่จะกาหนดให้เป็นหัวใจของเรื่องรวมทั้ง ความคิดอื่นๆที่มีความสาคัญรองลงมา (2) ระดมความคิด (Brainstorming) ให้นักเรียนจับคู่ บางครั้งก็แบ่งเป็นกลุ่มๆ ผลัด กันแสดงความคิดเห็น แล้วให้นักเรียนบันทึกความคิดของตนเองและเพื่อนในกลุ่ม จากนั้นเลือก ความคิดที่กาหนดให้เป็นประเด็นหลัก ประเด็นรอง และข้อมูลเสริมที่จะใสไว้ในข้อเขียนของตน (3) วางโครงเรื่อง (Outline) เป็นการเรียงลาดับเรื่องที่จะเขียน เพื่อให้ข้อเขียนนั้น สละสลวย ลื่นไหลไปในทิศทางเดียวกันและชวนอ่าน อาจเป็นกระบวนการต่อเนื่องจาก Blind – Writing หรือ Brainstorming (4) ค้นคว้า (Research) ใช้ในกรณีที่ข้อเขียนนี้ต้องอาศัยการรวบรวมข้อมูล ถ้า แหล่งข้อมูลนั้นไม่อยู่ภายในห้องเรียน หรือต้องใช้เวลาเสาะหาข้อมูล จะมอบให้นักเรียนไปทาเป็น การบ้าน เพื่อให้นักเรียนมีเวลาออกไปค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการเรียน โดยแบ่งข้อมูลเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลที่นักเรียนค้นพบด้วยตนเองจากการสังเกต สัมผัส หรือลงมือปฏิบัติ และข้อมูล ที่ได้จากการสอบถามหรือสัมภาษณ์ ส่วนใหญ่นักเรียนถนัดจาก Internet และหนังสือพิมพ์ 2) ลงมือเขียน (Writing) นาความคิดหรือข้อมูลที่เตรียมไว้ในขั้น (Pre – Writing) มาเรียบเรียงเขียนเป็น ข้อเขียนประเภทต่างๆ ตามที่ครูกาหนด ขั้นนี้จะค่อนข้างยาก แต่สะดวกในการตรวจสอบหรือสอน เบื้องต้น เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนได้ เพราะจะพูดเรื่องเดียวกัน ต่อไปจึงค่อยพัฒนาตาม ความเหมาะสมของหั ว ข้ อ หรื อ ให้ นั ก เรี ย นเลื อ กตามความถนั ด เช่ น แสดงความคิ ด เห็ น เปรียบเทียบ บอกขั้นตอน เล่าเรื่อง (นักเรียนจะชอบมากที่สุด) 3) ตรวจทานแก้ไข (Editing and Revision) ข้อ เขี ย นที่ เขี ย นในครั้ ง แรกจะไม่ส มบู รณ์ ต้อ งน ามาอ่า นซ้ า เพื่อ ตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลและตัวสะกด ครูจะช่วยนักเรียนในการเพิ่มเติมข้อมูลบางส่วนที่หลงลืม ตัดข้อมูล ที่เยิ่น เย้อ บางที ก็จ ะสับเปลี่ ยนการเรี ยงล าดั บข้ อ มูล เพื่อ ความสละสลวยของข้ อเขีย น โดยให้ นั ก เรี ย นตรวจทานแก้ ไ ขด้ ว ยตนเองก่ อ นในเบื้อ งต้ น จากนั้ น แลกเปลี่ ย นข้ อ เขี ย นกั บ เพื่ อ นใน ห้องเรียนเพื่อช่วยกันอ่านและเสนอความคิดเห็นต่องานเขียนของแต่ละคน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

159


160

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ ผู้นาเสนอได้ทดลองใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 เมื่อพบปัญหาด้านการสอน ภาษาที่ใช้ขณะสอน กิจกรรมแบ่งกลุ่ม ผู้นาเสนอจะปรับเปลี่ยนทันที ดูจากผลงาน นักเรียนที่ทา และดูจากผลการประเมินความพึงพอใจ  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ นามาใช้พัฒนาการสอนให้มีประสิทธิภาพ นามาใช้ในชีวิตประจาวัน การเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเขี ย นในการศึ ก ษาต่ อ ยอดถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของการเขี ย นเชิ ง สร้างสรรค์

ผลสาเร็จของการพัฒนาทางด่วนการเขียน  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาด้านการเขียนให้มี ประสิทธิภาพ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ด้าน สาระการเขียนพัฒนาขึ้นทุกปี นักเรียนเข้าแข่งขันทักษะด้านการเขียนได้รับรางวัลใน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อกิจกรรมทางด่วนการเขียน นักเรียนมีความพึงพอใจ เฉลี่ย 3 ปี ร้อยละ 89.34 และผู้ปกครองมีความ พึงพอใจ เฉลี่ย 3 ปี ร้อยละ 80.14

ปัจจัยที่ทาให้พัฒนาทางด่วนการเขียนประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย 1) ผู้บริหารสถานศึกษามีวสิ ัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถและมีภาวการณ์เป็น ผู้นา ให้โอกาสและสนับสนุนในการจัดกิจกรรมในชัน้ เรียน 2) ความเอาใจใส่ในการเรียนของนักเรียน 3) ความมุ่งมั่นของครูผู้สอน และมีความพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลง กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง โดย ใช้กระบวนการปฏิบัตซิ ้า โดยการสังเกต ตรวจผลงาน ตรวจสอบผลการสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน และผลการสารวจความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนมีพัฒนาการด้าน การเขียนที่มีประสิทธิภาพที่ดขี นึ้ ตามศักยภาพของนักเรียนทุกคน การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ ปีการศึกษา 2554 เผยแพร่บน website ของเขตพื้นที่การศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

161

“กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน” นการเขียน”

กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน มีความสอดคล้องตามจุดเน้นของ สพฐ. สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท1.1. ใช้กระบวนการอ่านสาระความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน จุดเน้นของ สพป.กจ.1 คือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 แสวงหาความรูด้ ้วยตนเองใช้เทคโนโลยีเพื่อ การเรียนรู้มีทักษะการคิดชัน้ สูงทักษะชีวิตและทักษะการสื่อสารได้อย่างสร้างสรรค์ ตามช่วงวัย ร้อยละ 90 ชั้ นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีความสามารถแสวงหา ความรู้ดว้ ยตนเอง ร้อยละ 95 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ แสวงหาความรู้ ด้ ว ยตนเอง ร้ อ ยละ 100 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ที่ มี ความสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ของโรงเรี ย นบ้ า นหนองหญ้ า ปล้ อ ง ในข้ อ ที่ 4 คื อ ใฝ่ เรี ย นรู้ และแนวทางการ ดาเนิน งานตามแผนพัฒนาโรงเรียนแนวทางการดาเนินงานตามยุ ทธศาสตร์ ปี 2553 – 2556 กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่ องมือในการ เรียนรู้ โดยมีกิจกรรมโครงการรักการอ่านรองรับครัง้ นี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่อให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และเกิดการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง  เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นน าไปใช้ ใ นการเรี ย นทุ ก กลุ่ ม สาระวิ ช า และครู น าทั ก ษะ กระบวนการอ่านส่งเสริมให้นักเรียนใช้ทักษะการอ่านในการเรียนให้มากที่สุด  เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาภาษาไทย แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน สมเด็จพระเทพรัตน์ ทรงแนะวิธีการ ปลูกฝังให้คน รักการอ่านหนังสือ ยัง รับสั่งถึงการปลูกฝังให้คนรักการอ่านหนังสือว่า ให้ฝึกทุกวัน วันละนิด วันละน้อย โรงเรียนหลายแห่งในต่างจังหวัดรณรงค์ในการ รักการอ่านด้วยการอ่านนิทาน ต่างๆ ซึ่งเป็นการเริ่มต้นที่ดี ช่วยสร้างให้รักการอ่านและมีจินตนาการ เด็กจะรัก การอ่าน ครอบครัวพ่อแม่ก็ควรรักการอ่านด้วย บางคน พ่อแม่ไม่มีเวลาอยู่กับลูก ก็ต้องพึ่งครูที่โรงเรียน ครูอ่าน ให้เห็นแล้วมาคุยให้เด็กฟัง แล้วให้เด็กอ่านต่อ ก็เป็น การฝึกให้เด็กรักการอ่านได้บ้าง ตอนนี้มี 2 ทฤษฎีว่า ให้สอนตั้งแต่เล็กๆ จะดี เริ่ม การอ่านตั้งแต่อายุน้อย แต่ อีกทฤษฎีให้เด็กๆที่ยังเล็กเตรียมความพร้อมเรื่องเข้า สังคม เรื่องสุขภาพไปก่อน ซึ่งก็ตอบไม่ได้แน่ชัดว่า แบบไหนดี ซึ่งพระองค์ทรงถูก สอนมาทั้ง 2 ทฤษฎี ผู้ใหญ่บอกว่าให้อ่านเร็วๆดี เลยทรงอ่านได้ตั้งแต่อยู่อนุบาล เพราะซน เหลือเกิน อ่านหนังสือแล้วจะได้อยู่กับที่ แต่อี กทฤษฎีก็บอกว่า เรียนเร็ว สมองจะเหนื่อย โตขึ้นจะไม่ค่อยดี และในช่วงท้าย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ รับสั่งว่า นอกจากเรื่องการอ่านแล้วก็ควรสอนเรื่องเกิดมาให้ช่วยเหลือคนอื่น เห็น ใครตกทุกข์ได้ยาก อย่านิ่งดูดาย แต่คนไทยทั่วไปเป็นคนมีน้าใจ ไม่ต้องสอนมาก การที่คนไทยมีนาใจช่ ้ วยเหลือกันเป็นเรื่องที่ดมี าก การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางณิชาภัทร เส็งเครือ ครู โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง โทรศัพท์ 081-1929775 E-mail : Lukpoo_Nicha@hotmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

162

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

พระราชบัญญัติการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 ในข้อ (3) จัด กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัตใิ ห้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง จากการศึกษากระบวนการสร้างนิสัยรักการอ่านได้เลือกแนวคิด ทฤษฎีที่ใช้เป็นตัวนา ทางในการศึกษา  แนวคิดเกี่ยวกับกฎการเรียนรู้  ทฤษฎีการเรียนรู้พหุปัญญา  ทฤษฎีพัฒนาการทางสิตปัญญาของเพเจต์ กระบวนการกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน กลุ่ ม เป้ า หมายในการน ากิ จกรรมส่ ง เสริม นิสั ย รั ก การอ่า นไปใช้ ได้ แ ก่ ประชากร ทั้งหมดซึ่งเป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนบ้านหนอง หญ้าปล้อง สพป.กจ. 1 จานวนทั้งสิ้น 36 คน โดยมีแผนผังขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้ /

P

D /

/

C 7 8

A

/

/

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ใช้แบบบันทึก พฤติกรรมเด็กด้านต่าง ๆ ทุกวันหลังจากทากิจกรรมเพื่อครูจะได้รู้ จุดเด่น จุดด้อยของ เด็กแต่ละคนและหาแนวทางในแก้ไขและส่งเสริมเด็กในวันต่อไป  แนวทางการน ากิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า นไปใช้ ป ระโยชน์ “กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน” ต้องให้นักเรียนปฏิบัตอิ ย่างต่อเนื่องและดาเนินการ หลากหลายวิธี จะทาให้ประสบผลสาเร็จได้ดียิ่งขึ้น

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนร้อยละ 100 มีวิธีการที่ดีที่สุดในการเรียนรู้และพัฒนาการอ่านของตนเอง (Best Practice) 2) นักเรียนร้อยละ 90.45 มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีนิสัยรักการ อ่าน และพัฒนาการอ่านของตนเองให้ดขี นึ้ อยูเ่ สมอ 3) ผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 90.20 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการ อ่าน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนได้ทากิจกรรมที่หลากหลายในการอ่าน 2) นักเรียนได้รับความรูเ้ พิ่มเติม ความรู้รอบตัว และสามารถนาไปใช้ได้ 3) นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออกทางความคิดมากขึ้น 4) นักเรียนมีนสิ ัยรักการอ่านสร้างผลงานการอ่านจากการค้นคว้าด้วยตนเอง 5) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาไทยของนักเรียนอยูใ่ นระดับดีข้นึ  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง จากการสัมภาษณ์ความพึงพอใจผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องผลปรากฏดังนี้ ครูผู้สอนจานวน 12 คน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 90 โดยใช้แบบสอบถาม นักเรียนจานวน 36 คน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 95 โดยใช้แบบสอบถาม ผู้ปกครองนัก เรีย น จ านวน 36 คน มีค วามพึง พอใจ คิ ด เป็ น ร้อ ยละ 85 โดยใช้ แบบสอบถาม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

163


164

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้ที่ทาให้กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย 1) ผู้บริ ห ารสถานศึก ษาเป็ น บุ คคลที่ มีวิสัย ทั ศ น์ก ว้า งไกล เป็ น ผู้ นาแห่ ง การ เปลี่ยนแปลง เห็น ความสาคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอก ห้องเรียน ส่งเสริมให้เข้ารับการประชุม อบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน ให้ขวัญและกาลังใจ ให้ขอ้ เสนอแนะเป็นที่ปรึกษา กากับ ดูแล สนับสนุนด้านงบประมาณอย่างทั่วถึง 2) นั ก เรี ย นให้ ค วามร่ ว มมื อ มีค วามตั้ ง ใจเรี ย น มีค วามมุ่ง มั่ น ในการปฏิบั ติ กิจกรรมการเรียน จนประสบความสาเร็จ 3) ได้ รับความร่ ว มมือ จากคณะครู โ รงเรี ย นบ้ า นหนองหญ้ า ปล้ อ ง ในการให้ ค าแนะน า จั ด “กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า น”และให้ ก าลั ง ใจ จนประสบ ความสาเร็จ 4) ผู้ปกครองเห็นความสาคัญในการจัดกิจกรรมช่วยดูแลติดตามผลการเรียน ของบุ ต รหลานและสนใจให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ นั ก เรี ย นเสมอ1332232ภ4ง เห็ น ความสาคัญในการจัดกิจกรรม สนับ 5) มีระบบการทางาน คือ มีการวางระบบที่ดี (P) มีการดาเนินงานตามระบบทุก ขั้นตอน(D)มีการตรวจสอบระบบ(C) และมีการปรับปรุงแก้ไขระบบ เพื่อนาไปวาง ระบบที่ดกี ว่าเดิม ปฏิบัตอิ ย่างต่อเนื่อง กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการ อ่านให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  มีการประชุม วิเคราะห์กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน โดยผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง  ครู ผู้ ส อนต้ อ งสร้ า งความตระหนั ก ให้ แ ก่ นั ก เรี ย น ซึ่ ง จะต้ อ งท างานตาม วัตถุประสงค์ ที่กาหนดไว้ พฤติกรรมการทางาน การร่วมมือ ต้องไม่ก่อให้นักเรียนเกิด ความทุกข์ใน การเรียน นั่นคือ นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการค้นคว้า ฝึกปฏิบัติตาม ความพร้อมของผู้เรียน  ผู้บริหารมีการกากับ นิเทศ ติดตาม ส่งเสริมสนับสนุน ให้ขวัญและกาลังใจ อย่างสม่าเสมอ การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่  เผยแพร่ในสารสัมพันธ์ของโรงเรียน 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP  แผ่นพับ • การจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านจะประสบผลสาเร็จแบบยั่งยืนได้ต้อง  ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เปิดเวทีให้นักเรียนเติบโตในการเป็นผู้ดาเนิน การจัดกิจกรรมเองโดยใช้การทางานเป็น ทีม และมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้กาลังใจอย่างใกล้ชิด • การเรียนรู้ที่ดีควรมีความยืดหยุ่น สามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกสถานการณ์ เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ และนามาปรับเปลี่ยนอย่าง เหมาะสม กับการเรียนวิชาภาษาไทยและสามารถนาประโยชน์ของการเรียนรู้ไปใช้ใน ชีวติ ประจาวันและดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข • การต่อยอดกิจกรรมโดยส่งเสริมให้นักเรียนทาหนังสือเล่มเล็ก จัดทาหนังสือ การพัฒนาคน ่มพัสาระการเรี ฒนางาน และพัยฒ น ส่งเสริมการอ่าน จัดทาโครงงานในกลุ นรูนาองค์ ้ต่างๆกรทีเป็่ยั่งนยืการกระตุ ้นให้


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

165

“เทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ” กระทรวงศึก ษาธิ ก ารได้ ก าหนดการปฏิ รูปการศึ ก ษาในทศวรรษที่ ส อง (2552–2561) มุง่ เน้นให้นักเรียนเป็นคนดี และมีความสุข สพฐ.ก็ได้กาหนดนโยบาย รองรั บการพั ฒ นาคุณ ภาพผู้เรี ยนมีจุ ด เน้นในด้า นให้ มีค วามรู้ ความสามารถ และทักษะในทุกช่วงวัย การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษไทยเป็นนโยบาย ของส านัก งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึก ษาธิ การ ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 47 โดยให้มีการประเมินคุณภาพผู้เรียนทุกระดับชั้น นอกจากนี้ หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานมุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี คุ ณ ภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญดังในสมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร และตามกลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดับชั้นตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และตามจุดเน้นข้อที่ 1 ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่ ม สาระวิชาหลัก เพิ่ม ขึ้นอย่า งน้อยร้ อ ยละ 5 ดั งนั้น จากเป้ า หมายดั ง กล่ า ว ข้างต้น จึงเป็นที่มาของการพัฒนาเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ ครัง้ นี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ได้แก่  เพื่ อ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ใ นกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทยให้ หลากหลาย น่ า สนใจและเพื่ อ กระตุ้ น เร้ า ใจผู้ เ รี ย นให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ที่ สนุกสนาน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ที่คงทน  เพื่อยกระดั บคุ ณภาพของนัก เรียนและผลสัมฤทธิ์ใ นกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาเทคนิค การสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ แนวคิ ด หลั ก การ ทฤษฎี ที่ น ามาใช้ ใ นการพั ฒ นาเทคนิ ค การสอน ภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติจากการเข้ารับการอบรมเรื่อง“เทคนิคการสอน ภาษาไทยอย่างไรให้หลากหลายรสชาติ ” จากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ทฤษฏีการสอนของ กาเย่ (Gangne) สถานการณ์ 9 ขั้นตอน ขั้นที่ 1. การกระตุ้นและดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ขั้นที่ 2. แจ้งจุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์แก่ผู้เรียน ขั้นที่ 3. สร้างสถานการณ์เพื่อดึงความรู้เดิม ขั้นที่ 4. เสนอบทเรียนเนื้อหาใหม่ ขั้นที่ 5. ชี้แนวทางการเรียนรู้ ขั้นที่ 6. การกระตุน้ ให้ผู้เรียนแสดงความสามารถและลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 7. การให้ขอ้ มูลย้อนกลับ เป็นการเสริมแรง ขั้นที่ 8. การประเมินผลการแสดงออกของผู้เรียน ขั้นที่ 9. สรุปและนาไปใช้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางอารมย์ บุญเรืองรอด ครู โรงเรียนบ้านหนองสองตอน โทรศัพท์ 089-8307180 E-mail : aaromrom@hotmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

166

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ทฤษฏีการสอนที่มุ่งพัฒนาทั กษะการคิดขั้ นสูงของ Bloom ซึ่งได้ แยกระดับของ จุดประสงค์การเรียนรู้ไว้ 6 ระดับ ดังนี้ (1 ) ความรู้ ......รู้ (2) ความเข้าใจ.....เข้าใจ (3) การประยุกต์ใช้......ประยุกต์ (4) การวิเคราะห์.....วิเคราะห์ (5) การสังเคราะห์..... สร้างสรรค์ (6) การประเมินค่า.....ประเมิน แนวคิ ด ในการจั ด กิ จ กรรมจากแหล่ ง เรี ย นรู้ แ ละภู มิ ปั ญ ญาในท้ อ งถิ่ น และการใช้ เทคโนโลยีเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมของตน สามารถ ทาให้ เด็ ก ที่ จ บการศึก ษาออกไปมีส่ วนรั บผิ ด ชอบและมีค วามสร้ า งสรรค์สั ง คมได้ และใน ปัจจุบันเป็นยุคของการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีจึงต้องจัดให้นักเรียนมีความสารถในการเลือกใช้ เทคโนโลยีในด้านต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม และหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานตามสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5 ประการ

กระบวนการพัฒนาเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ กลุ่มเป้าหมายในการนาเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติไปใช้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2552 – 2554 โดยมีขั้นตอนการดังต่อไปนี้ .... 1.

..

2.

..

3.

..

4.

...

5.

(8

)

...

6.

...

7.

...

8.

( (

/

/

)

/

/

)

...

9.

..

.

..

( (

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

)

)


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การตรวจสอบคุณภาพ จากการใช้เทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ ซึ่ง เป็ น นวั ต กรรมเกี่ ย วกั บศาสตร์ ก ารสอนที่ ข้ า พเจ้ า คิ ด ผสมผสานขึ้น มาและน ามาใช้ กั บ นั ก เรี ย นโดยมี ก ารปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาเพิ่ ม เติ ม มาเรื่ อ ยๆได้ มี ก ารตรวจสอบคุ ณ ภาพ ดังต่อไปนี้ 1) สอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งมีผลสรุปเป็นที่น่าพอใจทุก ครัง้ ที่จัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิคนี้ 2) นักเรียนเขียนแสดงความรู้สกึ ต่อครูอารมย์ บุญเรืองรอด ในแฟ้มสะสมผลงาน 3) ผลจากการประกวดแข่ ง ขั น งานศิล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย นระดั บศู น ย์เครือ ข่ า ยฯ ระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศ 4) ผลการสอบปลายปีการศึกษาของนักเรียน 5) ผลสัมฤทธิ์การสอบ NT ., O-NET ของนักเรียน จากรายการดังกล่าวข้างต้นพบว่ามีผลอยู่ในเกณฑ์ดเี ป็นที่น่าพอใจและสูงขึ้นทุกปี แนวทางการนาเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติไปใช้ประโยชน์ โดยนาไปจัด กิจกรรมการเรีย นรู้ ให้นั กเรีย นมีคุ ณลั กษณะอั นพึงประสงค์ และสมรรถนะพร้อ มทั้ งได้ มาตรฐานตรงตามตัวชี้วัดและส่งผลไปถึงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น เป็นต้นแบบให้ คณะครูได้มีวิธีการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคต่างๆ ที่หลากหลายและก่อประโยชน์อันสูงสุด สาหรับการจัดการศึกษา โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เป็น Best Practice ขยายผล ออกไปสู่ชุมชนและโรงเรียนต่างๆ ได้นาไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ปีการศึกษา 2552 – 2554) ได้เข้าร่วมการจัดกิจกรรมจากเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ คิด เป็น 99 % ( 1 % เป็นน.ร.ที่ขาดเรียน) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การสอบ O – NET , NT สูงขึ้นคิดเป็น 100 % นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนกิจกรรม ต่างๆ คิดเป็น 80 %  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ คณะครูและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ของ โรงเรียนบ้านหนองสองตอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระภาษาไทยให้มีการบูร ณาการกับสาระอื่น และมีความน่าสนใจ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีมีคุณภาพเป็นกิจกรรมที่ กระตุ้น ให้ นั ก เรี ย นได้ มีส่ ว นร่ ว มลงมือ ปฏิบัติแ ละได้ เรี ย นรู้ จ ากแหล่ ง เรี ย นรู้ ภู มิปัญ ญา ท้ อ งถิ่ น และความเปลี่ ย นแปลงในยุ ค ปั จ จุ บั น ของการใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการสื่ อ สาร ผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของโรงเรียนทั้ ง O-NET , NT สูงขึ้น และ ภาพรวมของ O-NET ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกกลุ่มสาระเปรียบเทียบปี 2553 กับ ปี 2554 สูงขึ้น นักเรียนมีความรู้ความสามารถและกล้าแสดงออกได้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขัน เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนทุกปีและมีผลการแข่งขันได้รับรางวั ลในระดับภาคและ ระดับประเทศ  ความพึงพอใจ คณะครู นักเรียนและผู้ปกครอง มีความพึงพอใจคิดเป็น 90 %

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

167


168

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้การพัฒนาเทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ในการจัดกิจกรรมก็ได้รับการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่ายซึ่งเป็นปัจจัยใน ความสาเร็จของ BP มีกลุ่มบุคคลดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารให้การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกิจกรรมทั้งในด้านของการให้คาปรึกษา อานวยความสะดวกทุกรูปแบบ พร้อมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมด้วย 2) คณะครู(ทั้งในโรงเรียนและต่างโรงเรียน)ให้ความร่วมมือเป็นคณะทางานร่วมมือกัน วางแผนการจัดกิจกรรมและดาเนินงานจนกิจกรรมเสร็จสิ้นโดยสมบูรณ์ 3) ผู้ปกครองให้การสนับสนุนร่วมมือพร้อมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนด้วย 4) นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความเต็มใจ สนุกสนาน และตื่นตัวตลอดเวลา 5) ชุมชนทั้งภาคเอกชนและภาครัฐให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมด้วยดีเสมอมาทั้ง ด้านงบประมาณ บุคลากรและสถานที่ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาปรับปรุง จากการร่ ว มกั น จั ด กิ จ กรรมโดยใช้ เทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ ของข้าพเจ้าได้มีการตรวจสอบซ้าดังนี้ จั ด กิ จ กรรมก ารเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการ(บู ร ณ าการชั้ น เรี ย น/กลุ่ ม สาระ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นฐาน(นักเรียนสร้างฐานการเรียนรู้เอง) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย การRALLY (จากแหล่งเรียนรู้และภูมปิ ัญญา) ผลการตรวจสอบซ้า โดยนาผลจาการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิคการสอนภาษาไทยให้ หลากหลายรสชาติ มาปรับปรุงและพัฒนาตั้งแต่กิจกรรม รูปแบบ ขั้นตอนการดาเนินงาน โดยศึกษาจากหลักการและแนวคิดต่างๆ แล้วนามาใช้โดยมุ่งผลให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ เนื่องจากข้าพเจ้าได้ใช้เทคนิคการสอนภาษาไทยให้หลากหลายรสชาติ ส่งผลให้ นักเรียนได้เรียนรู้ดว้ ยความสนุกสนานไม่นา่ เบื่อหน่าย นักเรียนให้ความสนใจ ตระหนัก และ เห็นคุณค่าของภาษาไทยซึ่ง เป็นเอกลักษณ์ข องชาติจึงทาให้ ได้รับการยอมรั บ ข้าพเจ้าได้มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ดังต่อไปนี้  จัดทาเอกสารแผ่นพับเผยแพร่ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ ในศูนย์เครือข่ายฯ และ โรงเรียนต่างๆ  ได้ รับเชิญให้ เป็ นวิทยากรจัด กิจ กรรมโดยใช้เทคนิค การสอนภาษาไทยให้ หลากหลายรสชาติ  เป็นคณะทางานของกลุ่มสาระภาษาไทยในระดับศูนย์เครือ ข่ายฯ ระดับเขต พื้นที่ ระดับสพฐ.กระทรวงศึกษาธิการ  นาผลงานของนักเรียนและโรงเรียนเข้าร่วมจัดนิทรรศการ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

169

การพัฒนาความสามารถด้านการสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการแข่งขันระดับชาติ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนในชั้น เรี ย นรายวิชาคณิ ต ศาสตร์ โ ดยการใช้ ตัวอย่างที่หลากหลายโดยกาหนดตัวอย่างตั้งแต่ง่ายๆไปหายาก รวมทั้งใช้การถามตอบ เกี่ยวกับตัวอย่างที่ให้นักเรียนศึกษาอย่างง่ายๆ ทาให้นักเรียนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับตัวอย่างที่เห็น มีการทางานเป็นกลุ่มและกล้าที่จะถามครูเมื่อไม่เข้าใจ ทาให้เกิด ปฏิสัมพันธ์ที่ดรี ะหว่างนักเรียนกับนักเรียนและนักเรียนกับครูซึ่งทาให้นักเรียนมีการเรียนรู้ ที่ดขี นึ้ ทุกระดับทั้งเด็กที่เก่งและเด็กที่ออ่ นก็จะมีความเข้าใจได้มากขึ้น รวมทั้งในชั้นเรียนมี การสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน คือ นักเรียนที่เก่งไปช่วยนักเรียนที่เรียนอ่อน เป็นต้น ถ้า เป็นโจทย์ปัญหาจะให้นักเรียนอ่านทาความเข้าใจก่อน ฝึก บ่อย ๆ ทาซ้า ๆ เพื่อให้เกิด ความชานาญ จากนั้นให้มาแข่งขันเข้าร่วมกับโครงการพัฒนาศักยภาพ ซึ่งจะจัดการ แข่งขันกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทุกสิน้ เดือน วัตถุประสงค์ ได้แก่  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น  นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและเสริมสร้างศักยภาพตามความ ถนัดและความสนใจ  ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก เรี ย นมี ค วามสามารถด้ า นการคิ ด สร้ า งสรรค์ ค ณิ ต ศาสตร์ โ ดยใช้ โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการแข่งขันระดับชาติ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาความสามารถด้านการ สร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการ แข่งแนวทางการจั ขันระดับชาติดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม พ.ร.บ. การศึกษาชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดแนวทางไว้ตามมาตรา 24 คือ จัดเนื้อหาสาระให้สอดคล้องกับความสนใจและ ความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้เกิดการคิดเป็นทาเป็น และมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แ ละตามหลั ก สู ต รการศึ ก ษา ขั้ น พื้น ฐาน พ.ศ. 2544 ได้ ก าหนดให้ ส าระ ภาษาไทยและคณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือแห่งการเรีย นรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในสาระ คณิตศาสตร์จาเป็นต้องมีการเพิ่มความสามารถให้กับผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ ซึ่งความรู้ที่ ต้องนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตลอดเวลาทั้งในและนอกห้องเรียน ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อ ซื้ อ ขาย การดู วั น เดื อ น ปี และเวลาบนหน้ า ปั ด นาฬิ ก า การใช้ เ งิ น ในการซื้ อ ขาย คณิตศาสตร์สามารถบูรณาการร่วมกับกลุ่มวิชาอื่น การปูพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ที่ถูก หลั ก เกณฑ์ ตั้ ง แต่ก่ อ นอนุ บ าลจนถึ ง ระดั บ ประถมศึก ษา จึ ง มีค วามจ าเป็ น อย่า งยิ่ ง เพื่อที่จะพัฒนาให้เด็กเรียนรู้อย่างถูกวิธี มีเจตคติที่ดตี อ่ คณิตศาสตร์ พัฒนาส่งเสริมด้าน กระบวนการคิด เสริมศักยภาพนักเรียนที่มีแววทางคณิตศาสตร์ และเสริมสร้างทักษะ ทางคณิ ต ศาสตร์ ข องโรงเรี ย น ซึ่ ง จะส่ ง ผลทาให้ ระดั บผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นด้ า น คณิตศาสตร์ของนักเรียนให้สู งขึ้น จึงได้พัฒนาความสามารถด้านการคิดสร้างสรรค์ คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการแข่งขันระดับชาติขนึ้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางราริน นันทพานิช ครู โรงเรียนวัดลาดหญ้า"ลาดหญ้าวิทยา" โทรศัพท์ 081-7367688 E-mail : rarin2521@hotmail.com


170

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ในปีการศึกษาที่ 2552 – 2553 ทางโรงเรียนได้เป็นตัวแทนการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม ทางวิชาการ การคิดสร้างสรรค์คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ถึงระดับสพป.กจ.1 สืบ เนื่องมาจากนักเรียนไม่แม่นยาในเนื้อหาคณิตศาสตร์โดยเฉพาะคุณสมบัติของรูปเรขาคณิต 2 มิติ ดัง นั้น ข้ า พเจ้ า จึ ง ฝึ ก ให้ นั ก เรี ย นเรี ย นรู้ โ ดยการเรี ย นการสอนในชั้น เรี ย นโดยการใช้ตั ว อย่า งที่ หลากหลายทาซ้ าๆ บ่ อ ย ๆ ซึ่ ง สื่อ การเรี ย นการสอนได้ ม าจากการอบรมของศู น ย์เ ครือ ข่ า ย โรงเรียนในฝัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) โดยกาหนดตัวอย่าง ตัง้ แต่ง่ายๆไปหายาก รวมทั้งใช้การถามตอบเกี่ยวกับตัวอย่างที่ให้นักเรียนศึกษาอย่างง่ายๆ ทา ให้นักเรียนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวอย่างที่เห็น มีการทางานเป็นกลุ่มและกล้าที่จะ ถามครูเมื่อไม่เข้าใจ ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนกับนักเรียนและนักเรียนกับครูซึ่งทา ให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่ดีขึ้นทุกระดับจะมีความเข้าใจได้มากขึ้น นักเรียนมีความสุขเวลาเรียน เนื่องจากสามารถเรียนรู้ได้ บรรยากาศในการเรียนจะมีความเป็นกันเองมากขึ้น การพัฒนาความสามารถด้านการสร้างสรรค์ดังกล่าวได้มีวิธีการจัดการเรียนรู้ มาพัฒนาการ เรียนการสอนจนนาไปสู่ผลสาเร็จเป็นอย่างดี เทคนิควิธีการการจัดการเรียนรู้ ของข้าพเจ้า มี หลักการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ การเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและแก้ปัญหาด้วยตนเอง ได้ศึกษาค้นคว้าจากสื่อและเทคโนโลยีต่าง ๆ อย่างอิสระ ข้าพเจ้าได้จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของ ผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระดับบุคคล โดยให้นักเรียนทดลองบ่อย ๆ จะผิดจะถูกไม่ว่ากัน ซึ่งครูจะค่อยแนะนาและชี้แนะในข้อบกพร่องของผู้เรียน โดยมีความเชื่อที่ว่า การสอนนักเรียน ควรมี พ้ื น ฐานกั น ทุ ก คนสามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ มี ก ระบวนการ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ข องธอร์ น ไดค์ (Thorndike) ดังนี้  กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) สภาพความพร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียน ทั้งทางร่างกาย อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและประสบการณ์เดิม สภาพ ความพร้อมของหู ตา ประสาทสมองกล้ามเนื้อ ประสบการณ์เดิมที่จะเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่หรือ สิ่งใหม่ ตลอดจนความสนใจ ความเข้าใจต่อสิ่งที่เห็น ถ้ าผู้เรียนมีความพร้อมตามองค์ประกอบ ต่างๆ ดังกล่าว ก็จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้  กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise) การที่ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้าๆบ่อยๆทา ทุกวัน ย่อมจะทาให้เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง ซึ่งเป็นการเน้นความแม่นยาด้านเนื้อหาในกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ หากนักเรียนไม่มั่นใจให้นักเรียนฝึกทาซ้า ๆ ในเรื่องเดิมเพราะเป็นการ สร้างเสริมความชานาญ จากแบบฝึกหัดที่งา่ ย และเป็นการปลูกฝังความเพียรพยายามในการทา แบบฝึกหัดให้ถูกต้อง ในการทาซ้าแต่ละครัง้ นักเรียนจะพบข้อผิดพลาดของตนเอง และค้นพบวิธี แก้ปัญหาเพี่อนาไปสู่ความสาเร็จในครั้งต่อไป ทาให้เขามีกาลังใจที่จาทาต่อไป และไม่ต้องกลัว ครูดุวา่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะเสียหายถ้าเสียหากก็จะซ่อมได้  กฎแห่งความพอใจ(Law of Effect) กฎนี้เป็นผลทาให้เกิดความพอใจ กล่าวคือ เมื่อ นักเรียนมีความพึงพอใจที่ดีต่อครู ผู้สอนไม่กลัวครูกล้าถามและสงสัยในเนื้อหาในกลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ แล้วครูผู้สอนยังสร้างบรรยากาศในการเรียนอย่างเป็นกันเองมากขึ้น จึงทา ให้นักเรียนมีความสุขเวลาเรียนเนื่องจากสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี จากการได้ใช้ทฤษฏีในการเรียนการสอนดังกล่าวนั้น ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สูงขึ้นคะแนนเฉลี่ย 12.71 ซึ่งเปรียบเทียบจากรายงานผลการ ทดสอบระดับชั้นขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2553-2554 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

171

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนาความสามารถด้านการสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการแข่งขันระดับชาติ กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จานวน 4 ห้อง รวม 132 คน โดยมี ขั้ น ตอนการพั ฒ นาความสามารถด้ า นการสร้ า งสรรค์ ผ ลงาน คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการแข่งขันระดับชาติ ดังนี้ (Thorndike)

4

1-5

20

.

.

1-3

วิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ ดังรายละเอียดนี้ 1) ศึกษาหลักแนวคิดจากทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) โดยเชื่อมโยงกับ หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของโรงเรียน 2) กาหนดเนื้อหาจากหน่วยการเรียนรู้ โดยแบ่ง 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ที่ผู้เรียนต้องเรียน เกี่ยวกับการสร้างสรรค์คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP เพราะมีห้องคอมพิวเตอร์ ไม่เพียงพอกับนักเรียน 3) กาหนดกลุม่ เป้าหมายของผู้เรียนดาเนินการดังนี้  จัดสอบการแข่งขันแต่ละห้องเมื่อทาการเรียนการสอนจบ จากหน่วยการเรียนรู้ โดยใช้ แ นวข้ อ สอบจากปี ก ารศึ ก ษาที่ ผ่ า นมา เช่ น จากสถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) การแข่งขันระดับเขตพื้นที่ต่าง ๆ จากการแข่ง ขัน ระดับภาคต่าง ๆ จากอินเทอร์เน็ต เป็นต้น  คัดกรองนักเรียนจากกลุ่มเป้าหมายห้องละ 5 คนรวมเป็น 20 คน ที่สอบคะแนน ได้สุงสุด แล้วมาสอนซ่อมเสริมเวลาพักกลางวันและหลังเลิกเรียน ในระยะเวลา 1 เดือน  จัดทาการสอบแข่งขันนักเรียนจานวน 20 คน เพื่อคัดกรองนักเรียนที่ได้คะแนน สูงสุ ด อั นดั บที่ 1- 3 โดยใช้แนวข้ อสอบจากปี การศึกษาที่ผ่ านมา เช่น จากสถาบั น ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) การแข่งขันระดับเขตพื้นที่ต่าง ๆ จาก การแข่งขันระดับภาคต่าง ๆ จากอินเตอร์ เป็นต้น แล้วนานักเรียนดังกล่าวมาส่งเสริม ทักษะศักยภาพการสร้างสรรค์คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP แข่งขันระดับชาติ ในช่วงสอนซ่อมเสริมเวลาพักกลางวันและหลังเลิกเรียนทุกวัน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


172

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจาการพัฒนาความสามารถด้านการสร้างสรรค์ผลงาน คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการแข่งขัน ระดัาเร็ บชาติ  ผลส จเชิงปริมาณ ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มสาระการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จากรายงานผลการทดสอบระดับชั้นขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2553-2554 มีการพัฒนาขึ้นคิดเป็นคะแนนเฉลี่ย 12.71  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อครูผู้สอน และสามารถไปตัว ตัวแทนการแข่งระดับกลุ่มเครือข่าย ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาคในงานศิลปหัต กรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 61 ประจาปีการศึกษา 2554  ความพึงพอใจ ได้ รับความร่ว มมือกั บผู้ปกครองได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะให้ นักเรียนสามารถอยู่เรียนได้ทุกวันในช่วงหลังเลิกเรียน ที่สาคัญผู้ปกครองและชุมชนได้เห็นว่า สถานศึกษาให้สิ่งที่ดตี อ่ บุตรหลานของเขาอย่างแท้จริง และเป็นที่มั่นใจได้ว่าลูกหลานของเรา มาเรี ย นที่ น่ีไ ด้ ค วามรู้ แ ละเป็ น คนดี ข องสั ง คม พร้ อ มทั้ ง โรงเรี ย นได้ มีก ารส่ ง ครู ด้ า นวิช า คณิตศาสตร์ได้อบรมสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ทุกปี

ปัจจัยที่ทาให้การพัฒนาความสามารถด้านการสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้ โปรแกรม GSP ของผู้เรียนเพื่อการแข่งขันระดับชาติประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย  ด้านทรั พยากร ได้รับการสนับสนุ นและค าแนะนาจากผู้บริหารโรงเรีย น นาย ประเสริฐ ประเสริฐผล ในการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โดยนักเรียน ที่เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP และให้มีการคัดเลือกนักเรียนที่เก่ง ส่งเสริมศักยภาพด้านสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GSP ไปสู่การแข่งขันระดับชาติ  ปัจจัยด้านทุน ได้รับงบประมาณจากโครงการพัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตร์ ของโรงเรียน และวัสดุอุปกรณ์ ได้รับสนับสนุนจากโรงเรียนวัดหญ้าลาด “ลาดหญ้า วิทยา” และผู้ปกครองของนักเรียนมีการส่งเสริมให้นักเรียนมีการเรียนรู้ ช่วงหลังเลิกเรียน  กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง มีการจัดการเรียนการสอนการ สร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP อย่างต่อเนื่อง แล้วให้นักเรียนฝึก ทาซ้า ๆ บ่อย ๆ ทุกวัน ที่สาคัญให้นักเรียนมีเครื่องมืออุปกรณ์นาไปใช้อยู่ที่บ้านได้ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และตัวโปรแกรม GSP  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ควรมีการจัดการแข่งขันการ สร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ในทุก ๆ เดือน เพื่อมีการกระตุ้น นักเรียนในการสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP บ่อย ๆ พร้อมทั้งนา แนวข้อสอบจากสสวท. อินเทอร์เน็ต มาฝึกฝนบ่อย ๆ ซ้า ๆ แล้วฝึกให้นักเรียนออกแบบ การสร้างสื่อด้วยตนเอง เช่น การนาเสนอข้อมูลแบบแผนภูมแิ ท่ง แผนภูมวิ งกลม เป็นต้น

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่

เผยแพร่กับกลุ่มพัฒนาการศึกษาเครือข่ายลาดหญ้า และลงวารสารสัมพันธ์ เผยแพร่ผู้ปกครองชุมชนในปีที่ 10 ฉบับที่ 2 ประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2555 พร้อมมีการ ลงหน้าเว็ปอินเทอร์เน็ตของโรงเรียน Htt://school.obec.go.th/latya_kan1

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

173

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนารูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา นโยบายของรัฐบาลในเรื่องการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. 25522561) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ การ ขับเคลื่อนนโยบายและกลยุทธ์ มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การขยายโอกาส ทางการศึกษา และประสิทธิภ าพการบริห ารจัดการศึก ษาขั้น พื้นฐาน โดยส่ งเสริ ม สนับสนุน การติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา จากผลการดาเนินงาน ด้านคุณภาพการจัดการศึกษาสพฐ. เน้นให้ผู้เรียนได้รับการ ฝึกฝนและพัฒนาด้านการคิดวิเคราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณาญาณ และได้สรุปผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนทั่วไป (O – Net ) ปีงบประมาณ 2553 พบว่า รายวิชา คณิตศาสตร์ ต่ากว่า ร้อยละ 50 ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ กาหนดทิศทางการพัฒนา โดยมีจุดเน้น ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4 โดย สพป.กจ.1 มีนโยบาย และเป้าหมาย ในการยกระดับ คุณภาพการศึกษา และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สู่มืออาชีพ สนับสนุน กากับ ติดตาม นิเทศ อย่างต่อเนื่อง และโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ได้ วางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพ ผู้เรียนขึ้น ดังนั้น จึงได้ พัฒนารูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิจัยเชิง ปฏิบัตกิ าร สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเสริมสร้าง เจตคติที่ดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์และมีความคิดสร้างสรรค์ในทาง คณิตศาสตร์  เพื่อให้การเรียนการสอนคณิตศาสตร์มีประสิทธิภาพมากที่สุด

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการ พัฒนารูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดย ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ สาหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ทฤษฎีแ ละหลั ก การเกี่ ย วกับการแก้ปัญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ การพั ฒ นา รู ปแบบการจั ด ค่ า ยคณิ ต ศาสตร์ ด าเนิน การ 4 ขั้ น ตอน ได้ แ ก่ ด้ า นการ วางแผน(Action Planning) ด้านการปฏิบัติ (Implementation) ด้านการประเมินผล (Evaluation) และการปรับปรุงแผน (Reaction) การประเมินผล 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน ปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction) ด้านการเรียนรู้ (Learning) ด้านพฤติกรรม (Behavioral) และด้านผลลัพธ์ (Result)

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางวรัญธร กัลปะ ครู โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม โทรศัพท์ 081-9434510 E-mail : waranthon05@hotmail.com ตัวอย่างกิจกรรมฐานค่ายคณิตศาสตร์ ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา กิจกรรมฐาน หกเหลี่ยมคูซ่ ี้

กิจกรรมฐาน ทิศไหน ๆ ก็ไปถูก

กิจกรรม ฝึกสมองทดลองปัญญา

ฝึกทักษะการแก้ปัญหา


174 กิจกรรมฐาน จัตุรัสมหัศจรรย์

กิจกรรมฐาน เกมบิงโก

กิจกรรมฐาน กล่องไร้กาว

กิจกรรมฐาน แข่งกับเวลาหาเศษส่วน

นางวรันธร กัลปะ และนักเรียน ร่วม จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงาน ที่โรงแรม ราชศุภมิตร จังหวัดกาญจนบุรี

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนารูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิจัยเชิง ปฏิบัติการ สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา กลุ่มเป้าหมายในการนารูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาไปใช้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 – 6 โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม โดยมีขั้นตอนการพัฒนารูปแบบ 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1) วิเคราะห์แผนปฏิบัตงิ าน 2) ศึกษาข้อมูลการจัดค่ายคณิตศาสตร์จากแหล่ง 3) วิเคราะห์ความพร้อมของสถานศึกษา ผู้เรียน และหลักสูตรสาระคณิตศาสตร์ 4) นาแผนสู่การปฏิบัติ แต่งตัง้ คณะทางานประชุมคณะทางาน 5) เตรียมสื่อ /วัสดุอุปกรณ์นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา 6) ปฏิ บั ติ กิ จ กรรม จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ แก้ ปั ญ หาและพั ฒ นาผู้ เ รี ย น พั ฒ นาสื่ อ / นวัตกรรม 7) กระบวนการวิจัย 8) กากับ ติดตาม และประเมินผลสรุปผล รายงานผล 9) แก้ปัญหา ปรับปรุง พัฒนา และ เผยแพร่ การตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิจัยเชิง ปฏิบัตกิ าร สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยนาไปทดลองใช้กับกลุม่ นักเรียน ทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ กลุ่มที่เรียนรู้ได้เร็ว กลุ่มที่เรียนปานกลางและกลุ่มที่เรียนรู้ช้า ในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 แนวทางการน ารูปแบบการจั ด ค่ ายคณิ ตศาสตร์ โดยใช้ก ารวิจั ย เชิง ปฏิบัติก าร สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาไปใช้ประโยชน์ คือ การนาไปใช้จัดกิจกรรมเสริมสร้าง เจตคติที่ดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์ ทัง้ ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ใช้เป็นสื่อในการพัฒนา เด็ ก ในระดั บ ต่ า ง ๆ เช่ น น าเกมฝึ ก สมองไปใช้ ฝึ ก สมาธิ เ ด็ ก พิ เ ศษเรี ย นร่ ว มชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 จ านวน 8 คน น าไปใช้ จั ด กิ จ กรรมเวลาว่ า งช่ ว งพั ก กลางวั น กิจกรรมเสริมทักษะประสบการณ์ดา้ นการคิดการเผชิญสถานการณ์ให้กับนักเรียนที่ทางาน เสร็จเร็วกว่าผู้อ่นื ในชั่วโมงเรียนปกติ

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนารูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4- 6 ได้เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100  ผลส าเร็ จ เชิ ง คุ ณ ภาพ นั ก เรี ย นได้ ฝึ ก ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ และทั ก ษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ มากขึ้นส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น  ความพึงพอใจ นักเรียนที่เข้าร่วมมีความพึงพอใจในการร่ วมกิจกรรมค่ายคณิต ระดับมากที่สุด ร้อยละ 89. 50 ระดับปานกลาง ร้อยละ 6.50 ระดับน้อยร้อยละ 4.00 ร้อยละ 90 ของครูผู้สอนคณิตมีความพึงพอใจและได้แนวทางการจัดกิจกรรมไปใช้ ประโยชน์ ในการได้เรียนรู้จากแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจัยที่ทาให้รูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิจยั เชิง ปฏิบัติการ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ปัจจัยที่ทาให้ที่ทาให้การพัฒนารูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การ วิจั ย เชิง ปฏิ บัติ ก าร ส าหรั บนั ก เรี ย นระดั บประถมศึก ษา ประสบความส าเร็ จ ตาม เป้าหมาย ได้แก่ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นผู้ขับเคลื่อนกลไกและวางระบบการดาเนินงาน 2) ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุน ด้ านงบประมาณ การอานวย ความสะดวก และให้กาลังใจ 3) ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ ความร่วมมือเป็นอย่างดี 4) ครูมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และนาเทคนิควิธีการสอน นวัตกรรม ใหม่ ๆ มาใช้จัดกิจกรรม เพื่อพัฒนา ศักยภาพทางด้านคณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียน กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการจัดค่ายคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ส าหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาให้เกิดผลดีอย่า ง ต่อเนื่องโดยนาสื่อที่สร้างขึ้นเพื่อประกอบกิจกรรมค่ายคณิตสาสตร์ ให้นักเรียนใน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 -6 ทดลองใช้ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความยาก ง่าย นามาปรับปรุงแก้ไข และให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน แสดงความคิดเห็น ตรวจสอบ และหาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC แก้ไขปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะ ผลการ ตรวจสอบซ้ าเพื่ อ การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง พบว่ า สื่ อ ประกอบกิ จ กรรมฐานค่ า ย คณิตศาสตร์ ที่สร้างขึ้น สามารถพัฒนาต่อได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมตัวชี้วัด ตามมาตรฐาน การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่  ได้ดาเนิน การเผยแพร่ ขยายผลให้ค รู ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 3 โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ได้นาสื่อ นวัตกรรมที่สร้างขึ้น ไปทดลอง ใช้ นาผลการดาเนินงานที่ประสบความสาเร็จ ไปนาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในคราว อบรมครูผู้ส อนคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึก ษาตามโครงการยกระดั บคุณภาพครู วิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ซึ่งได้นาสื่อ ที่สร้างขึน้ ประกอบกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ น าไปเผยแพร่ ใ นโอกาสเป็ น ครู ผู้ น าศู น ย์ ก ารอบรมครู ผู้ ส อนคณิ ต ศาสตร์ระดั บ ประถมศึกษา ด้วยระบบทางไกล ETV ในแต่ละปีการศึกษา  เผยแพร่ในงานวันวิชาการโรงเรียนในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2555  ขยายผลให้กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มวังเย็น เมื่อวันที่ 16-17 สิงหาคม พ.ศ. 2555  น าไปใช้ จั ด กิ จ กรรมค่ า ยคณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ งานสั ป ดาห์ วิทยาศาสตร์ โดยโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้น การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

175


176

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

เรียนคณิตกับลูกคิดไทย

นางอธิชา ใจบุญ ครู โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วทิ ยา”

โทรศัพท์ 085-4871442 E – mail nng_2117@hotmail.com ขั้นตอนการทาและนาไปใช้

นวั ต กรรมการเรี ย นการสอนเป็ น การผลิ ต สื่ อ นวั ต กรรม กระบวนการ พัฒนาการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนขึ้นใหม่ ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจาก การการพั ฒ นาต่ อ ยอด การเปลี่ ย นแปลง การประยุ ก ต์ ห รื อ กระบวนการเรี ย น การสอน เชื่อตรงกันว่าการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้น จะต้องมีความใหม่ อย่างเห็นได้ชัด และความใหม่นั้นจะต้องเพิ่มมูลค่าสิ่งต่าง ๆ ได้อีกด้วย โดยเป้าหมาย ของนวัตกรรมคือการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก เพื่อทาให้สิ่งต่าง ๆเปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดขี นึ้ นวัตกรรมการเรียนการสอนก่อให้ได้ผลผลิตทางการศึกษาเพิ่มขึ้น เนื่องจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนต่า อีกทั้ง มีผลการประเมินการสอบ O-NET ซึ่งเป็นการประเมินผลระดับชาติมีผลการประเมิน ในระดับต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาการเรียนการ สอน วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ(Best Practices)โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนและสื่อ นวัตกรรมการสอนเพื่อให้ได้มาซึ่งผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนให้เกิดของระดับที่สูงขึ้นเป็นที่ น่าพอใจในระดับศูนย์ ระดับ เขตพื้นที่ และระดับชาติตอ่ ไป วัตถุประสงค์ของเรียนคณิตกับลูกคิดไทย ได้แก่  เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้และเข้าใจในพืน้ ฐานการบวกลบเลข  เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนให้ สูงขึน้  เพื่อพัฒนาผลการสอบ O-NETให้สูงขึน้

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในเรียนคณิตกับลูกคิดไทย การศึกษาแนวใหม่ได้จาแนกทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์ออกเป็น 3 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีแห่ ง การฝึ ก ฝน (Drill Theory) ทฤษฎีน้ีเชื่อว่า เด็ก จะเรี ย นรู้ คณิตศาสตร์ได้โดยการฝึกทานั้นซ้าๆ หลายๆ ครั้ง การสอนเริ่มโดยครูบอกสูตร หรือกฎเกณฑ์ให้ แล้วให้เด็กทาแบบฝึกหัดมากๆ จนกระทั่งเด็กมีความชานาญ 2. ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้โดยบังเอิญ (Incedental learning Theory) ทฤษฎีน้ี เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ดี เมื่อเด็กเกิดความพร้อม หรืออยากเรียนรู้ ในสิ่ง นัน้ ๆ การสอนจะพยายามให้นักเรียนเรียนคณิตศาสตร์ในบรรยากาศที่ไม่เคร่งเครียด และน่าเบื่อหน่าย สอนโดยมีกิจกรรมหลากหลายและยึดนักเรียนเป็นสาคัญ 3. ทฤษฎีแห่งความหมาย (Meaning Theory) ทฤษฎี นี้เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้ และเข้าในสิ่งที่เรียนได้ดีเมื่อเด็กได้เรียนใน สิ่งที่มีความหมายต่อตัวเอง เรียนให้ มี ความหมายโครงสร้าง Concept และให้นักเรียนเห็นโครงสร้างของคณิตศาสตร์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ในการเรียนการสอนคณิตสาสตร์จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้ทั้ง 3 ทฤษฎี ผสมกัน แต่ใน การใช้ลู ก คิ ด ใน การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนตลอดได้ ทฤษฎีแ ห่ ง การฝึ ก ฝน (Drill Theory) ทฤษฎีน้ีเชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้โดยการฝึกทานั้นซ้าๆ หลายๆ ครั้ง การ สอนเริ่มโดยครูบอกสูตรหรือกฎเกณฑ์ให้ แล้วให้เด็กทาแบบฝึกหัดมากๆ จนกระทั่งเด็ก มี ความชานาญ

กระบวนการเรียนคณิตกับลูกคิดไทย กลุ่มเป้าหมายในการนาสื่อลูกคิดไทยไปใช้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “ อุดมราษฎร์วิทยา ” จานวน 109 คน โดย มีขั้นตอนการเรียนคณิตกับลูกคิดไทย ดังนี้

 การตรวจสอบคุณภาพ จากการทดสอบก่อนเรียนและให้นักเรียนเรียนรู้ใน กระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยใช้ลูกคิดไทยทาให้นักเรียนมีความเข้าใจละเรียนรู้ได้เร็วทา ให้ผลทดสอบหลังเรียนสูงขึ้นและเมื่อนาไปไปใช้ในการเรียนในระดับชั้นอื่น ๆ พบว่านักเรียน ตัง้ ใจเรียนและอยากเรียนรู้ทาให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น  แนวทางการน าลู ก คิ ด ไทยไปใช้ ป ระโยชน์ การน าลู ก คิ ด ไทยไปใช้ ใ น กระบวนการเรียนการสอนแล้ วนักเรียนสามารถน ามาเล่นเป็นเกม การคิดเลขเร็ว การ แข่งขันทางวิชาการเมื่อนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ลูกคิดแล้วนาไปใช้จะเกิดผลกับนักเรียนคือมี ความสามารถในการคิดเลขเร็วมี สติและสมาธิมีความจาดีขึ้นมีความเชื่อมั่นตนเองมีการ วิเคราะห์และลาดับเหตุผลมีความซื่อเรียนรู้อสัตย์ต่อตนเอง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

177


178

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการเรียนคณิตกับลูกคิดไทย  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ หลังจากการใช้ส่ือ นวัตกรรมแล้วผู้เรียนเข้าใจใน พื้นฐานการบวกลบเลขมากขึ้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนสูงขึ้น ผลการสอบ O-NETให้สูงขึ้น มีส่ือเรียนการสอนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ให้แปลก ใหม่นา่ สนใจ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ที่ใช้ สื่อ นวั ต กรรมการเรี ย นการสอนแล้ ว มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างกาเรี ย นในสาระการเรี ย น คณิตศาสตร์ที่สูงขึ้น และผลสอบ O-NET ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงขึน้  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อการเรียนคณิตด้วยลูกคิดไทย จากการ ทดสอบก่อนเรียนและให้นักเรียนเรียนรู้ในกระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยใช้ลูกคิด ไทยทาให้นักเรียนมีความเข้าใจละเรียนรู้ได้เร็วทาให้ผลทดสอบหลังเรียนสูงขึ้นและเมื่อ นาไปไปใช้ในการเรียนในระดับชัน้ อื่น ๆ พบว่านักเรียนตั้งใจเรียนและอยากเรียนรู้ทาให้ มี ผลสั ยนสู งขึ้น ตกับลูกคิดไทยประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ปัจมจัฤทธิ ยที่ท์ทางการเรี าให้การเรี ยนคณิ จากประสบการณ์การสอนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษาเรื่องการบวก ลบเลข ได้พบปัญหา มีนักเรียนบางคนบวกและลบเลขไม่ถูกจึงคิดหาวิธีการแก้ปัญหา หลักลูกคิ ดต้นแบบเกิดจากความคิดที่จะแก้ปัญหานักเรีย นบวกลบเลขไม่ถูกในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่ง มีตัว ชี้วัดในการเรียนมีตัวตั้งและผลลั พธ์ไม่เกิน จานวนเลข 1,000,000 จึงจัดทาขึ้น 7หลัก นั้นคือ หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลัก หมื่นหลักแสน หลักล้าน ถ้านาไปใช้ในชั้นอื่น ๆ ควรประยุกต์การประดิษฐ์ ตามชั้นที่ใช้ เช่น ชั้น ประถมศึก ษาปีที่ 1ทา 3 หลั ก , ชั้น ประถมศึก ษาปีที่ 2 ทา 4 หลัก , ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ทา 6 หลัก , ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทา 7 หลัก ขึ้น ไป, ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ทา 10 หลักขึน้ และไปเพื่อใช้ในกระบวนการเรียนการสอน กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงลูกคิดไทยให้เกิดผลดีอย่างไร วิธีก ารตรวจสอบซ้าน าสื่อ ที่ผลิ ตครั้ งแรกไปทดลองใช้กั บนัก เรีย นชั้น ป 5 พบว่า มี ข้อจากัดในเรื่องวัสดุที่ใช้ไม่แข็งแรงทนทานเกิดการชารุดและมีส่ือไม่เพียงพอต่อความ ต้องการของนักเรียน ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง จากผลการ ตรวจสอบซ้าจึงได้นาจุดอ่อนมาวิเคราะห์และปรับปรุงในเรื่องของวัสดุโดยใช้ไม้จริงมา ผลิตลูกคิด เพื่อความแข็งแรงขึน้ กว่าเดิมและผลิตเพิ่มขึ้นให้ครบกับจานวนนักเรียน การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) นาไปใช้กับนักเรียนชั้นอื่น ๆ 2) ครูนาผลงานที่สมบูรณ์ร่วมประกวดในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ระดับเขตพื้นที่ 3) ครูนาผลงานที่ได้รับรางวัลร่วมจัดนิทรรศการประกวดผลงานที่ดีเลิศและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4) โรงเรียนนาผลงานเผยแพร่ในจุลสารโรงเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

179

ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบระดับชาติ (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากผลการสอบระดับชาติ( O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ปีการศึกษา 2553 ค่อนข้างต่า มาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มี วิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ ตัวบ่งชี้ ที่ 1 ผู้เรียน มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ตัวบ่งชี้ ที่ 2 ผู้เรียนมีทักษะการคิดสังเคราะห์ ตัวบ่งชี้ ที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ คิดไตร่ตรอง ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนมี ทักษะการคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะ ที่จาเป็นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ระดับ 3-4 ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ ในระดับชั้น ป.3 ป.6 ม.3 และ ม.6 จุดเน้น สพฐ. ปี2554 ในด้านผลสัมฤทธิ์ คือ คาดหวังผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 4 และนโยบาย สพป.กจ.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระ วิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง ข้อ4 คือใฝ่เ รียนรู้ นั้น จึงได้บริหารงานวิชาการเพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบระดับชาติ (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ขึน้ โดยมีมวี ัตถุประสงค์  เพื่อยกระดับผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรีย นรู้คณิตศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3  เพื่อให้ผลการสอบระดั บชาติ( O-NET)กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ปีการศึกษา2554 สูงขึน้  แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการบริหารงานวิชาการเพื่อ

ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบระดับชาติ(ONET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้กาหนดคุณภาพของผู้เรียน ว่า เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี แล้ว ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาสาระคณิตศาสตร์ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีเจตคติที่ดีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ ตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์ และสามารถนาความรู้ทาง คณิตศาสตร์ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนสามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ไปเป็ น เครื่อ งมือ ในการเรี ย นรู้ สิ่ ง ต่างๆ และเป็ น พื้น ฐานในระดั บที่ สู ง ขึ้น การที่ ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างมีคุณภาพนัน้ ต้องมีความสมดุลระหว่าง สาระทางด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรมและ ค่านิยมดังนี้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายณัฐภัทร์ ตวันคา ครู โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง โทรศัพท์ 081-7051759 E-mail : Khraisree23@hotmail.com


180

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

มีความรู้ความเข้าใจ ในคณิตศาสตร์พนื้ ฐานเกี่ยวกับจานวนและการดาเนินการ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะห์ ข้อมู ล และความน่าจะเป็ น พร้อมทั้ง มี ความสามารถนาความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ได้  มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จาเป็นได้แก่ ความสามารถในการ แก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมายทาง คณิ ต ศาสตร์ และการน าเสนอ การเชื่อ มโยงความรู้ ต่า งๆทางคณิ ต ศาสตร์ แ ละ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ การมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  มี ค วามสามารถในการท างานอย่ า งเป็ น ระบบ มีระเบี ย บวินั ย มีค วาม รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดี ต่อวิชาคณิตศาสตร์

กระบวนการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ผลการสอบระดับชาติ(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากกลุ่มเป้าหมายในการนากระบวนการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและผลการสอบระดับชาติ( O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไปใช้กับ นักเรียน ชั้น มั ธ ยมศึก ษาปี ที่ 3โรงเรี ย นบ้ า นหนองหญ้ า ปล้ อ ง ปี ก ารศึก ษา 2554 โดยมีขั้ น ตอน กระบวนการบริหารงานวิชาการ ดังนี้  จัดการเรียนรู้  การวิเคราะห์หลักสูตร  การวิเคราะห์ผู้เรียน  การเตรียมเนื้อหาสาระการเรียนรู้  การเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอน  การเตรียมสื่อและแหล่งเรียนรู้  การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้  การวิจัยในชัน้ เรียน  กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร์ ดังนี้ 1) จัดอบรมโปรแกรม The Geometer’Sketchpad ให้กับนักเรียนระดับ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่1-3 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2) จัดทาเอกสารประกอบสอนคณิตศาสตร์และแบบฝึกทักษะเพิ่มเติมตามโครงการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์เพื่อใช้ในการเรียนคณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียน 3) จัดประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 4) จัดกิจ กรรมโครงการการเรี ยนรู้ นอกห้องเรียนคณิต ศาสตร์บูรณาการกั บกลุ่ ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จังหวัดปทุมธานีและงาน มหกรรมวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี 5) จัดหาสื่อประกอบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมจากบทเรียน เช่น จัดหาซีดีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาคณิตศาสตร์ ซีดีโจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ใช้ในห้องปฏิบัตกิ ารคณิตศาสตร์และห้องสมุด 6) จัดกิจกรรมค่าย O-NET การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การตรวจสอบคุ ณ ภาพของกระบวนการบริ ห ารงานวิ ช าการเพื่ อ ยกระดั บ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบระดับชาติ( O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ แ ก่ การศึ ก ษาและวิ เคราะห์ ห ลั ก สู ต รกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ การ คัดเลือกหน่วยการเรียนรู้ที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ต่าและไม่ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด การศึกษาค้นคว้านวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ และการ ทดสอบเพื่อประเมินความก้าวหน้า แนวทางการนากระบวนการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและผลการสอบระดับชาติ(O-NET) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ไปใช้ประโยชน์  ประชุม ชี้แ จงคณะครู แ ละนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึก ษาปี ที่ 3 ให้ มี ค วามเข้ า ใจ เกี่ยวกับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบระดับชาติ( O-NET)กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ครู น ากระบวนการยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นและผลการสอบ ระดับชาติ(O-NET)กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ทั้ง 3 ขั้นตอนใช้กับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3  ผู้ อ านวยการโรงเรี ย นและผู้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการ นิ เ ทศติ ด ตามผลการ ดาเนินงาน และนาผลมาปรับปรุงให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ปัจจัยที่ทาให้การบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและผลการสอบระดับชาติ(O-NET) ประสบความสาเร็จตาม เป้าหมาย ปัจจัยที่ทาให้ที่ทาให้การบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและผลการสอบระดับชาติ(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประสบความสาเร็จตาม เป้า หมาย คื อ การได้รับความร่ วมมือจากนัก เรีย นชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีก ารศึกษา 2554 และได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ได้รับความร่วมมือจากคณะครูและนักเรียน โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง โดยมีกระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงวิธีการบริหารงานวิชาการให้ เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ด้วยการตรวจสอบการดาเนินการทุกขั้นตอน ถ้ามีปัญหาเข้า ปรับปรุงแก้ไขทันที จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จากการทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลาย ๆ ครัง้ และ ร้อยละความพึงพอใจของผู้ท่เี กี่ยวข้อง ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง คือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ดขี นึ้ และร้อยละความพึงพอใจของผู้ท่เี กี่ยวข้อง ครู ผู้ปกครอง นักเรียนอยูใ่ นระดับดีมาก การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) วันที่16 พฤษภาคม 2555 ประชุม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง 2) คณะครู นักเรียน รับทราบผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่3 ปีการศึกษา 2554 3) วารสารเผยแพร่ความรู้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

181


182

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นายวรรณชัย นิลผึ้ง ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 086-0698819

 เพื่อพัฒนาทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ ให้หลากหลาย  เพื่อให้มเี จตคติที่ดตี อ่ คณิตศาสตร์  เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น

ระยะเวลาในการพัฒนา ขั้นตอน วิธีการ ระยะเวลา

กรรมการเครือข่าย

 ขั้นเริ่มต้น 1) วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อดูขอ้ มูลพื้นฐานนักเรียน 2) จัดทาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3) ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา 4) กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2 เดือน  ขั้น พั ฒ นา ด าเนิน การพั ฒ นาตามขั้น ตอนการบริ หารจั ด การวิ ชา คณิตศาสตร์ เรียนโดยนาผลการวิเคราะห์ผู้เรียน การจัดระบบดูแลนักเรียน แผนการ จัดการเรียนรู้และนวัตกรรมช่วยในการพัฒนา 7 เดือน  ขั้นหลังการพัฒนา วิเคราะห์และสรุปผล 1) ประเมินผลความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ 2) ประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในด้านเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้นกว่าเดิมอย่างมี นัยสาคัญ 4) นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์และนาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวันได้ 1 เดือน

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสถานศึกษา ประชุมคณะครู

การพัฒนาทักษะด้านการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ช่วยให้นักเรียนมี เจตคติที่ดตี อ่ คณิตศาสตร์ และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น โดย ครูต้องมีการบริหารจัดการชัน้ เรียนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รูจ้ ักผู้เรียน การ จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวสามารถเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพป./สพฐ. และหลักสูตรสถานศึกษา ที่วา่ คณิตศาสตร์ทาให้ มนุษย์มคี วามคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล คิดอย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ ถี่ถ้วน สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ เพื่อจะนาไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวติ รวมทั้งใช้เป็น พื้นฐานและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ต่อไป

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา การพัฒนา ใช้แนวคิด หลักการ และทฤษฏี ในการจัดการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ ตามแนวการจัดการเรียนรู้ตาม พ.ร.บ. 2542 โดยเน้นความสาคัญ 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม และ แนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้สอนควรคานึงถึงความสนใจ ความถนัด ของผู้ เ รี ย น และความแตกต่า งของผู้ เ รี ย น การจั ด สาระการเรี ย นรู้ จึ ง ควรจั ด ให้ มี หลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ รูปแบบของการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนควรมีหลากหลายไม่วา่ จะเรียนรวมกันทั้งชั้น เรียนเป็นกลุ่มย่อย เรียน เป็นรายบุคคล สถานที่จัดก็ควรมีทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน บริเวณสถานศึกษา มี การจัด ให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่อยูใ่ นชุมชนหรือในท้องถิ่น จัด ให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาและความเหมาะสมกับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ได้ มาตรฐานตามที่หลักสูตรกาหนด ในการจัดกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย ตนเอง ได้ลงมือปฏิบัติจริง ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น รู้จักบูรณาการ ความรู้ต่า ง ๆ เพื่อ ให้ เกิ ด องค์ ค วามรู้ ใ หม่ รวมทั้ ง ปลู ก ฝั งคุ ณ ธรรม ค่า นิย ม และ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ฝึ ก ให้ ผู้ เ รี ย นรู้ จั ก ประเมิ น ผลงานและปรั บ ปรุ ง งาน ตลอดจนสามารถนาความรู้แ ละประสบการณ์ไ ปใช้ในชีวิต และอยู่ใ นสัง คมได้อย่างมี ความสุข

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย 22 คน  ขั้นตอนการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

183


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

184

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

บริเวณหน้าห้องเรียน

 การตรวจสอบคุณภาพ  วิธีการตรวจสอบคุณภาพ ใช้แบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรม ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่สร้างขึ้น แบบประเมินความพึงพอใจ นา ผลการประเมินที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อดูคุณภาพ ของผลการตรวจสอบคุ ณ ภาพที่ ไ ด้ นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ที่ ดี ต่ อ คณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น ดูจากแบบ สังเกตพฤติกรรมและความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์  ใช้ในการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์และนักเรียนสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา

บริเวณมุมห้องเรียน

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 90 มีความสาเร็จใน การเรียนคณิตศาสตร์และมีเจตคติที่ดี  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นั ก เรี ย นร้ อ ยละ 85 มี ค วามพึ ง พอใจใน ระดับมาก – มากที่สุด ได้มาจากแบบสังเกตความพึงพอใจโดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ประเมิน

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง

มุมประสบการณ์ในห้องเรียน

 วิธีก ารตรวจสอบซ้า ตรวจสอบปั ญหาเพื่อหาสาเหตุข้ อบกพร่อ งแต่ล ะ ขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข และหารูปแบบใหม่ ๆ ที่นา่ สนใจมาเสนอ ให้เหมาะสม กับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า  ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียน สามาร พัฒนาการเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีขึ้น และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และนาไปใช้ได้ อย่างยั่งยืน

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง นั ก เรี ย นที่ ส นใจคณิ ต ศาสตร์ เข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น ตอบปั ญ หาทั ก ษะทาง คณิตศาสตร์ในหลาย ๆ โครงการ ประสบผลสาเร็จบ้างในบางโครงการ และได้เผล แพร่ผลงานให้แก่ครูที่สอนคณิตศาสตร์ในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาชาว วัง และ อ.ท่าม่วง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

185

เอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เรื่องเส้นขนาน คณิตศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน เป้าหมาย /วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนาผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  เพื่อให้นกั เรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด มีความรู้ความเข้าใจและ คิดอย่างเป็นระบบ  เพื่อให้นักเรียนเกิดเจตคติที่ดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์ ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มกิจกรรมการใช้เอกสารประกอบการเรียนตั้งแต่ ปีการศึกษา 2554 และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 1 ปี ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์เป้าหมายสถานศึกษา 1) นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์และดารงชีวติ ตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และใช้ส่อื เทคโนโลยีในการเรียนรู้ แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ได้กาหนดคุณภาพของผู้เรียน ว่าเมื่อ ผู้เรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี แล้ว ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา สาระคณิตศาสตร์ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีเจตคติที่ดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์ ตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์ และสามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไ ปพัฒนา คุณภาพชีวิต ตลอดจนสามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ สิ่งต่างๆ และเป็นพื้นฐานในระดับที่สูงขึ้น การที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อย่างมีคุณภาพนั้น ต้องมีความสมดุลระหว่างสาระทางด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมดังนี้  ความรู้ ความเข้ าใจ ในคณิ ตศาสตร์ พ้ืน ฐานเกี่ย วกับจ านวนและการ ดาเนินการ การวัด เรขาคณิ ต พีชคณิ ต การวิเคราะห์ข้ อมู ล และความน่าจะเป็ น พร้อมทั้งมี ความสามารถนาความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ได้  มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จาเป็นได้แก่ ความสามารถใน การแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ การมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  มีความสามารถในการทางานอย่างเป็น ระบบ มีระเบียบวินัย มีความ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดี ต่อวิชา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาวโชติกา พุฒเครือ ครู โรงเรียนบ้านหนองไผ่ โทรศัพท์ 080-6510185 E-mail : bachotika2012@gmailcom


186

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านหนองไผ่  ขั้นตอนการพัฒนา 1) วางแผนจัดทางานเอกสารประกอบการเรียน 2) วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 3) จัดทาเอกสารประกอบการเรียน 4) ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เอกสารประกบการเรียน 5) ประเมินผลการใช้เอกสารประกบการเรียน 6) รายงานผลการใช้เอกสารประกบการเรียน  การตรวจสอบคุณภาพ 1) ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2) คัดเลือกหน่วยการเรียนรู้เพื่อการศึกษาผู้จัดทาได้คัดเลือกหน่วยการ เรียนรู้เรื่อง เส้นขนาน เนื่องจากเป็นหน่วยการเรียนรู้ที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนต่าและไม่ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด 3) ศึกษาค้นคว้านวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 4) การทดสอบเพื่อประเมินความก้าวหน้า  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ 1) ช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเอง ตามกาลังความสามารถ ของตนเป็นการ 2) กระตุน้ ความสนใจ เพราะเอกสารประกอบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มี ความพร้อมที่จะให้ผู้เรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์ ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองทันทีที่ มีเวลาว่าง 3) ผู้เรียนทีข่ าดเรียนก็สามารถเรียนได้โดยศึกษาหาความรู้เมื่อมีเวลาว่าง 4) ผู้เรียนสามารถประเมินผลด้วยตนเอง 5) ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด การคิด ได้สมบูรณ์ 6) เพื่อฝึกทักษะกระบวนการคิด โดยใช้แผนที่ความคิด (Mind Mapping) 7) เพื่อฝึกให้ผู้เรียนมีการทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ 8) เพื่อปรับเปลี่ยนบรรยากาศการเรียนรู้ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้ดี มีความสุข 9) ผู้เรียนมีเจตคติที่ดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึน้ ประโยชน์ตอ่ ผู้สอน ความสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 13 คน มีผล การเรียนดีขนึ้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ความสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนมีการพัฒนาผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ดขี นึ้ 2) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีการพัฒนาที่ดขี นึ้ 3) นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด มีความรู้ความเข้าใจและคิดย่างเป็นระบบ 4) นักเรียนเกิดเจตคติที่ดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์  ความพึงพอใจของผู้ทเี่ กี่ยวข้อง จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 80 ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจ  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา /ประสบการณ์เรียนรู้จากการนาไปใช้  ได้รับความร่วมมือจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  ได้รับความร่วมมือจากคณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ กระบวนการตรวจสอบซาเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า  จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน  จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลาย ๆ ครัง้  ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ดขี นึ้  ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ครู ผู้ปกครอง นักเรียนอยูใ่ นระดับ ดีมาก การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่  แบบเผยแพร่นวัตกรรม  จัดนิทรรศการ ในระดับกลุม่ เครือข่าย

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

187


188

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป เรื่องสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม

นำงวำรุณี สุขสรำญ ครู โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม โทรศัพท์ 087-1553737

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องสิ่งมีชีวิตกับ กระบวนการดารงชีวติ  เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีเจตคติที่ดตี อ่ วิชาวิทยาศาสตร์

ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2552 – ปีการศึกษา 2554 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสถานศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมี ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิด ไตรตรองและมีวิสัยทัศน์ รวมทั้งพัฒนานักเรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการและเจต คติ เพิ่มศักยภาพทางการเรียนอย่างต่อเนื่อง การจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียน สาเร็จรูปเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้ และสรุปความรู้ได้ ด้วยตนเอง และสามารถใช้บทเรียนสาเร็จรูปมาทบทวนความรู้ที่ได้เรียนรู้มาแล้วและ นาไปเป็นข้อมูลในการเรียนรู้ส่งิ ใหม่ตอ่ ไป

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีทีนามาใช้ในการพัฒนา บทเรียนสำเร็จรูป จัดเป็นเทคโนโลยีทางการศึกษาอย่างหนึ่ง ซึ่งนักการศึกษา พยายาม สร้ า งขึ้ น เพื่ อ น ามาใช้ ใ นการแก้ ปั ญ หาทางการศึ ก ษาให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ บทเรียนสาเร็จรูป มีช่ือเรียกต่างกันไปหลายอย่าง ทั้งชื่อภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ตามลักษณะการใช้ เช่น บทเรียนโปรแกรมเครื่องช่วยสอน แบบเรียน ด้วยตนเอง โปรแกรมการสอน การสร้างบทเรียนสาเร็จรูป ต้องอาศัยพื้นฐานทาง จิตวิทยาการเรียนรู้ ซึ่งมีนักจิตวิทยาที่มีบทบาทสาคัญต่อทฤษฎีการเรียนการสอนโดย ใช้บทเรียนสาเร็จ เช่น ทฤษฏีการเสริมแรงของ บรูเนอร์และทฤษฏีของธอร์นไดด์ กำรจัดบรรยำกำศในชั้นเรียน 1) ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) การมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กแต่ละคนบนพืน้ ฐานการยอมรับความเข้าใจอย่าง ทัดเทียม ไม่ลาเอียง 3) ให้นักเรียนมีอสิ ระในการแสดงออก ความสนใจ และความคิดเห็น 4) การจัดกิจกรรมการเรียนให้สนองความสนใจและความต้องการของเด็ก ขจัดอุปสรรค ที่จะมาขัดขวางการทากิจกรรมอิสระของเด็ก ขจัดสิ่งซึ่งจะ นามาซึ่งความวิตกกังวล เคร่งเครียด

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

5) ให้โอกาสเด็กเรียนได้ช้าเร็วตามความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมีเทคนิควิธี และกิจกรรมที่สนองความแตกต่างของเด็กและพยายามให้เด็กได้ประสบ ความสาเร็จไปตามศักยภาพของตน ทฤษฎีกำรสร้ำงควำมรู้ดว้ ยตนเอง (Constructivism) ทฤษฏีพัฒ นาการทางเชาว์ปัญ ญาของเพีย เจต์และวีก็อ ทสกี้ เป็ น รากฐานที่ สาคัญของทฤษฎี การสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) เพียเจต์อธิบายว่า พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของบุคคลมีการปรับตัวผ่านทางกระบวนการซึมซาบหรือดูด ซึ ม (assimilation) และกระบวนการปรั บ โครงสร้ า งทางปั ญ ญา (accommodation) พัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อบุคคลรับและซึมซาบข้อมูลหรือประสบการณ์ใหม่เข้าไปสัมพันธ์กับ ความรู้หรือโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยูเ่ ดิม หากไม่สามารถสัมพันธ์กันได้ จะเกิดภาวะ ไม่ ส มดุ ล ขึ้ น (disequilibrium) บุ ค คลจะพยายามปรั บ สภาวะให้ อ ยู่ ใ นภาวะสมดุ ล (equilibrium) โดยใช้กระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา(accommodation) กำรประยุกต์ใช้ทฤษฎีในกำรเรียนกำรสอน 1) ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ ผลของการเรียนรู้จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้าง ความรู้ และการตระหนักรู้ในกระบวนการนั้น เป้าหมายการเรียนรู้จะต้องมาจากการ ปฏิบัติง านจริ ง ครูจ ะต้องเป็ นตั ว อย่า งและฝึ กฝนกระบวนการเรี ยนรู้ ใ ห้ผู้ เรี ยนเห็ น ผู้เรียนจะต้องฝึกฝนการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง 2) เป้าหมายของการสอนจะเปลี่ยนจากการถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้รับสาระความรู้ที่ แน่นอนตายตัว ไปสู่การสาธิตกระบวนการแปลและสร้างความหมายที่หลากหลาย การ เรียนรู้ทักษะต่างๆ จะต้องให้มปี ระสิทธิภาพถึงขั้นทาได้และแก้ปัญหาจริงได้ 3) ในการเรี ย นการสอน ผู้ เ รี ย นจะเป็ น ผู้ มี บ ทบาทในการเรี ย นรู้ อ ย่ า งตื่ น ตั ว ผู้ เ รี ย นจะต้ อ งเป็ น ผู้ จั ด กระทากั บ ข้ อ มู ล หรื อ ประสบการณ์ ต่า ง ๆ และจะต้ อ งสร้ า ง ความหมายให้กับ ให้เกิดขึ้น กล่าวคือ ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสเรียนรู้ในบรรยากาศที่เอื้อ ต่อการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งทางสังคมถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญของการสร้างความรู้ เพราะ ลาพังกิจกรรมและวัสดุอุปกรณ์ทั้งหลายที่ครูจัดให้หรือผู้เรียนแสวงหามาเพื่อการเรียนรู้ ไม่ เ ป็ น การเพี ย งพอปฏิ สั ม พั น ธ์ ท างสั ง คม การร่ ว มมื อ และการแลกเปลี่ ย นความรู้ ความคิดและประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและบุคคลอื่น ๆ จะช่วยให้การเรียนรู้ ของผู้เรียนกว้างขึน้ ซับซ้อนขึน้ และหลากหลาย 4) ในการเรียนการสอน ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยผู้เรียนจะ นาตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้ เช่นผู้เรียนจะเป็นผู้เลือกสิ่งที่ต้องการเรียนเอง ตัง้ กฎระเบียบเอง แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเอง ตกลงกันเองเมื่อเกิดความขัดแย้งหรือมีความ คิดเห็นแตกต่างกัน เลือกผู้ร่วมงานได้เอง และรับผิดชอบในการดูแลรักษาห้องเรียน ร่วมกัน 5) ในการเรี ย นการสอนแบบสร้า งความรู้ ครูจ ะมีบทบาทแตกต่างไปจากเดิ ม คื อ จ าก กา รเป็ น ผู้ ถ่ า ยทอด คว ามรู้ แ ละค วบคุ ม กา รเรี ย นรู้ เปลี่ ย นไปเป็ น การให้ความร่วมมือ อานวยความสะดวก และช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้คือการ เรียนการสอนจะต้องเปลี่ยนจาก “ instruction”ไปเป็น “construction” คือ เปลี่ยนจาก การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

189


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

190

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

“การให้ความรู้ ” ไปเป็น “การให้ผู้เรียนสร้างความรู้ ” บทบาทของครูก็ คือ จาต้องทา หน้าที่ช่วยสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดแก่ผู้เรียนจัดเตรียมกิจกรรม การเรียนรู้ที่ตรงกับ ความสนใจของผู้เรียน ดาเนินกิจกรรมให้เป็นไปในทางที่ส่งเสริมพัฒนาของผู้เรียน ให้ คาปรึกษาแนะนาทั้งทางด้านวิชาการและด้านสังคมแก่ผู้เรียน ดูแลให้ความช่วยเหลือ ผู้เรียนที่มีปัญหาและประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน นอกจากนั้นครูยังต้องมีความเป็น ประชาธิปไตยและมีเหตุผลในการสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วย 6) ในด้านการประเมินผลการเรียนการสอน เนื่องจากการเรียนรู้ตามทฤษฎี การสร้างความรู้ดว้ ยตนเองนี้ ขึน้ กับความสนใจและสร้างความหมายที่แตกต่างกันของ บุค คล ผลการเรี ย นรู้ ที่เกิ ด ขึ้น จึง มีลั ก ษณะหลากหลาย ดั ง นั้น การประเมิน ผลจึ ง จาเป็นต้องมีลักษณะเป็น “goal free evaluation” ซึ่งหมายถึงการประเมินตาม จุด มุ่งหมายในลั กษณะที่ยืด หยุ่น กั น ไปในแต่ล ะบุค คล หรืออาจใช้วิธีการที่ รีย กว่า “socially negotiated goal” และการประเมินควรใช้วิธีการหลากหลาย ซึ่งเป็นการ ประเมินจากเพื่อน แฟ้มผลงาน (portfolio)รวมทั้งการประเมินตนเองด้วย นอกจากนั้น การวัดผลจาเป็นต้องอาศัยบริบทจริงที่มีความซับซ้อนเช่นเดียวกับการจัดการเรียนการ สอนที่ต้องอาศัยบริบทกิจกรรมและงานที่เป็นจริง การวัดผลจะต้องใช้กิจกรรมหรือ งานในบริบทจริงด้วย ซึ่งในกรณีที่จาเป็นต้องจาลองของจริงมา ก็สามารถทาได้ แต่ เกณฑ์ที่ใช้ควรเป็นเกณฑ์ที่ใช้ในโลกของความเป็นจริง (real world criteria) ด้วย

1) 2)

3)

4) 5) 6)

7) 8)

ลักษณะสำคัญของบทเรียนสำเร็จรูป มีการก าหนดวัตถุ ประสงค์ ไว้อ ย่า งชัดเจน สามารถวัด จริ งได้ หรือเรีย กได้ว่า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เนื้อหาวิชาจะถูกแบ่งเป็นหน่วยเล็ก ๆ หรือหน่วยย่อย ๆ แล้วนามาจัดลาดับแต่ละ ขั้นย่อยๆ นั้นเรียกว่า กรอบ (Frame) แต่ละกรอบอาจจะมีความสั้นยาวแตกต่าง กันออกไปตามความเหมาะสม จั ด เรี ย งล าดั บกรอบของบทเรี ย นเอาไว้ต่ อ เนื่อ งกั น จากง่ า ยไปหายาก และ เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียนมีการย้าทวน และให้ผู้เรียนได้ทดสอบตนเอง อยู่ตลอดเวลา ผู้เรียนมีโอกาสตอบสนองหรือมีส่วนร่วมในการเรียนจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่กาหนด ไว้ในกรอบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหา และมีทักษะในเรื่องที่เรียน มีการให้ข้อมูลย้อนกลับทันที ผู้เรียนสามารถตรวจสอบคาตอบด้วยตนเองได้ทันที จากคาเฉลย และอาจจะมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้ด้วย มีก ารเสริ ม แรงทุ ก ระยะขั้ นตอนที่ ส าคั ญ จะช่วยให้ผู้ เรี ย นเกิ ดความสนใจและ ต้องการเรียนต่อไป การเสริมแรงนี้อาจอยู่ในรูปคาชม หรือการให้ผู้เรียนรู้ว่าทา ได้ถูกต้องแล้ว ไม่จากัดเวลาเรียน ผู้เรียนสามารถใช้เวลาเรียนได้ตามความสามารถของแต่ละคน มีการวัดผลที่แน่นอน คือมีทั้งการทดสอบในระหว่างเรียน ทดสอบก่อนและหลัง เรียน เพื่อวัดความก้าวหน้าทางการเรียนให้เห็นอย่างชัดเจนด้วย

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้ำหมำย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลวัดไชย ชุมพลชนะสงคราม  ขั้นตอนกำรพัฒนำ 1) ศึกษารูปแบบ ลักษณะการสร้างบทเรียนสาเร็จรูป 2) วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรสถานศึกษา คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา มามาตรฐาน ตัวชีว้ ัด 3) เขียนโครงสร้างบทเรียนสาเร็จรูป 4) เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ 5) ทดลองใช้บทเรียนสาเร็จรูปกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 6) ปรับปรุงแก้ไข 7) นาไปใช้จริง  กำรตรวจสอบคุณภำพ 1) ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน 2) ตรวจสอบคุณภาพจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์  แนวทำงกำรนำไปใช้ประโยชน์  ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียน  ใช้ทบทวนความรู้ของผู้เรียน

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสำเร็จเชิงปริมำณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิตสูงขึน้ ร้อยละ 85  ผลสำเร็จเชิงคุณภำพ ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ และสรุปความรู้ได้ดว้ ยตนเอง  ควำมพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ จากการสารวจความพึงพอใจ การ ใช้บทเรียนสาเร็จรูปในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบสอบถามความ พึงพอใจ พบว่า  ผู้เรียนมีความพึงพอใจ ร้อยละ 80  ผู้สอนมีความพึงพอใจ ร้อยละ 85  ผู้ปกครองมีความพึงพอใจ ร้อยละ 87  ปัจจัยควำมสำเร็จของกำรพัฒนำ / ประสบกำรณ์เรียนรูจ้ ำกกำร นำ ไปใช้  ผู้สอนมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน  ผู้สอนมีการพัฒนาความรู้ ความสามารถโดยการศึกษาความรูด้ ้วย ตนเอง และเข้าร่วมการอบรมสัมนนาเชิงปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ ต่างๆ แล้วนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในสร้างนวัตกรรมสาหรับการ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

191


192

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน  บุคลากรภายในโรงเรียนให้คาแนะนา และช่วยเหลือด้านต่างๆ  โรงเรียนให้การสนับสนุนงบประมาณ

กระบวนการตรวจสอบซ้ำเพื่อพัฒนำและปรับปรุง  วิธีกำรตรวจสอบซ้ำ 1. นาบทเรียนสาเร็จรูปไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในปีการศึกษาต่อมา 2. สารวจความพึงพอใจของผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครองในปีการศึกษาต่อมา  ผลกำรตรวจสอบซ้ำเพื่อกำรพัฒนำและปรับปรุง  ผู้เรียนมีความพึงพอใจ ร้อยละ 80  ผู้สอนมีความพึงพอใจ ร้อยละ 90  ผู้ปกครองมีความพึงพอใจ ร้อยละ 90

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง  เผยแพร่ผลงานให้แก่เพื่อนครูในโรงเรียนในสังกัด และผู้มาศึกษาดูงาน ของโรงเรียน ปีการศึกษา 2552 – ปีการศึกษา 2554

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

193

การบริหารจัดการในชั้นเรียนแบบบูรณาการ โดยใช้โครงงานวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 3.1. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3.2 เพื่อให้นักเรียนนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการทาโครงงาน 3.3 เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถด้านความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา เดือน พฤษภาคม 2555 – สิงหาคม 2555 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของนักเรียนโรงเรียนบ้าน ดงยางให้มีความพร้อมด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กลยุทธ์ที่ 1 เร่งรัดพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างมีคุณภาพสู่มาตร ฐานสากล กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากลใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยยึดหลักของการเป็น Global Education อย่างสร้างสรรค์ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ที่ เกิดกับนักเรียนเป็นสาคัญ กลยุทธ์ที่ 4 สร้า งเครือข่ายร่วมพัฒนาในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับประเทศและระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่ม สาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 5 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ นักเรียนทุกคน อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น และนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียน คล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความ รักชาติไทย เพิ่มศักยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้าน เทคโนโลยี สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน มี ภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบ ประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและได้รับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษาในพื้นที่ชนบท โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และ โรงเรียนสู่มาตรฐานสากล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตาม เกณฑ์มาตรฐานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นักเรียนมีทักษะชีวิตในการรับมือกับ สถานการณ์และภัยพิบัตติ า่ งๆ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาวนิลวรรณ เกษมโศธน์ ครู โรงเรียนบ้านดงยาง โทรศัพท์ 081-9012416 E-mail: ninwan1426@hotmailcoth


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

194

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิดหลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา แนวคิดทฤษฎีการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ แนวคิดของกลุ่มเกสตัลท์ และนักจิตวิทยา ดังนี้ 1) เอาใจใส่ต่อสิ่งเร้าซึ่งมีลกั ษณะแปลกใหม่และซับซ้อน 2) ต้องการความสอดคล้องกันระหว่างความรูค้ วามเข้าใจ 3) ต้องการความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรง 4) ต้องการแสวงหาความจริง 5) ต้องการควบคุมสิ่งแวดล้อม กฎการเรียนรู้ของเกสตัลท์ เกิดขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้เกิดขึ้นจาก 2 ลักษณะคือ  การรับรู้ (Perception) เป็นการแปรความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะ สัมผัสทัง้ 5 ส่วนคือ หู ตา จมูก ลิน้ และผิวหนัง การรับรู้ทางสายตาจะประมาณร้อย ละ 75 ของการรับรู้ทั้งหมด ดังนัน้ กลุ่มของเกสตัลท์จึงจัดระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็น กฎ 4 ข้อ เรียกว่า กฎแห่งการจัดระเบียบ คือ 1) กฎแห่งความชัดเจน (Clearness) การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและ แน่นอน เพราะผู้เรียนมีประสบการณ์เดิมแตกต่างกัน 2) กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู้ใน สิ่งที่คล้ายคลึงกันเพื่อจะได้รู้ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน 3) กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity) เป็นการกล่างถึงว่าถ้าสิ่งใดหรือ สถานการณ์ใดที่มีความใกล้ชิดกัน ผู้เรียนมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้ แบบเดียวกัน 4) กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนว เดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน 5) กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer) สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียน สามารถรับรู้ให้เป็นภาพสมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม  การหยั่งเห็น (Insight) หมายถึง การเกิดความคิดแวบขึน้ มาทันทีทันใด ในขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขัน้ ตอน จนสามารถแก้ปัญหาได้ เป็นการมองเห็นสถานการณ์ในแนวทางใหม่ ๆ ขึ้น โดยเกิด จากความเข้าใจและความรูส้ ึกทีม่ ตี อ่ สถานการณ์วา่ ได้ยินได้คน้ พบแล้ว ผู้เรียนจะ มองเห็นช่องทางการแก้ปัญหาขึน้ ได้ในทันทีทันใด กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนโรงเรียนบ้านดงยาง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ขั้นตอนการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

195

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

Flow Chart ระบบการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานในบูรณาการ ศึกษาและวิเคราะห์

หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียน

ต้องให้ความ ช่วยเหลือ

(ใช่)

ปรับพื้นฐาน จัดกลุ่มผู้เรียน

หรือไม่ (ไม่) จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ประเมินผลการเรียนรู้

ผ่านเกณฑ์ หรือไม่

(ไม่)

(ผ่านย)นรู้/วิจัยพัฒนา พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี

สรุป / รายงานผลระบบการเรียนรู้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

แก้ไขปรับปรุง/ วิจัยปฏิบัติการ


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

196

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนการดาเนินงานที่มีการปฏิบัตทิ เี่ ป็นเลิศในระบบการเรียนรู้โดยใช้โครงงานวิทยาศาสตร์ ศึกษาและวิเคราะห์ หลักสูตร

วิเคราะห์ผู้เรียน

(ใช่)

ต้องให้ความ ช่วยเหลือ

ปรับพื้นฐาน จัดกลุ่มผู้เรียน

หรือไม่ (ไม่) การจัดกิจกรรม การเรียนรูบ้ ูรณา การ

โครงงาน วิทยาศาสตร์

จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การนิเทศการสอนแบบ กัลยาณมิตร

ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้

ผ่านเกณฑ์ หรือไม่

(ไม่)

แก้ไขปรับปรุง/ วิจัยปฏิบัติการ

(ผ่านย)นรู้/วิจัยพัฒนา พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี

สรุป / รายงานผลระบบการเรียนรู้

 การตรวจสอบคุณภาพ 1) นักเรียนนาเสนอผลการทดลองในกลุ่มและหลังจากปรับปรุงภายในกลุ่ม แล้วนาเสนอในกลุ่มใหญ่ทั้งระดับชัน้ ครู ตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกต้องและให้ ข้อเสนอแนะ 2) นักเรียนปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม 3) นักเรียนทารายงานฉบับสมบูรณ์ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่ รายงานการทดลอง รายงานการสารวจ และ สิ่งประดิษฐ์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ 1) นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงาน 2) ใช้กระบวนการสอนแบบบูรณาการในการจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนมีความรู้ความสามารถด้านกระบวนการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้าน วิทยาศาสตร์  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ คณะครู และผู้ปกครองร้อยละ 90 มีความ พึงพอใจระดับมากในการจัดกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา /ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา ไปใช้ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้โครงงาน

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ตรวจสอบจากประเมินคุณภาพนักเรียน  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นาผลการประเมินมาพัฒนา กระบวนการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1. นาผลการวิจัยไปนาเสนอในงานเผยแพร่งานวิจัยที่มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. นากระบวนการจัดการเรียนการสอนมาใช้ในโรงเรียนบ้านดงยาง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

197


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

198

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) เป้าหมาย / วัตถุประสงค์การพัฒนา นำยภมรพล หงษ์เวียงจันทร์ 3.1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบวัฏจักร การเรียนรู้ 7 ขั้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ ครู โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ 3.2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ที่สูงขึ้น โทรศัพท์ 086-0092899 E-mail : pamornpol5@gmailcom

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มปีการศึกษา 2552 ถึงปัจจุบัน (เป็นกิจกรรมพัฒนาอย่างต่อเนื่อง)

ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง กับเป้าหมาย

รำงวัลชมเชย การประกวดผลงานสิง่ ประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ป.1 – ป.6 ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2552 ภาคกลาง และภาคตะวันออก ณ จังหวัดลพบุรี

รำงวัลชมเชย การประกวดเครื่องบินกระดาษพับ ระดับชั้น ม. 1- ม.6 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2552 ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดลพบุรี

รำงวัลเหรียญทอง การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ป.1 – ป.6 ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2553 ภาคกลางและภาค ตะวันออก ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

 ผลต่อผู้เรียน การสอนการพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ มี ความสุขในการเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความสามารถในการคิด วิเ คราะห์ ปัญ หาต่ า ง ๆ และน าความรู้ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการประดิ ษ ฐ์ ผ ลงานด้ า น วิทยาศาสตร์ เรื่อง กล่องสุขา เข้าร่วมประกวดในการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2553 - 2554 ได้รับรางวัล อื่น ๆ อีกมากมาย  ผลต่อโรงเรียน โรงเรียนได้รับความไว้วางใจจากผู้ปกครอง ชุมชน ให้โรงเรียนเป็น แหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงานจากหน่วยงานอื่น ๆ อาทิ โรงเรียนในเขตพื้นที่บริการ และนอกเขตพื้นที่บริการ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบลต่าง ๆ  ผลต่อผู้ปกครอง ชุมชน ผู้ปกครองและชุมชนได้รับความรู้ในการสร้างและออกแบบประดิษฐ์ สิ่งประดิษฐ์และนาไปใช้ประโยชน์ และมีความพึงพอใจต่อการทางานของโรงเรียน  ผู้นำองค์กร ผู้ บ ริ ห าร คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ให้ ค วาม ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งสนับสนุนด้านงบประมาณ ส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารับการ อบรมเพื่อ พั ฒ นาศั ก ยภาพของตนเอง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง สร้ า งบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมของการทางานในสถานศึกษาให้เป็นมิตร ให้ขวัญกาลังใจ รางวัล โดย ดาเนินการด้วยความรวดเร็ว ใช้กระบวนการทางวินัยเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพในการ ส่งเสริมคนดี ทาให้เกิดการขับเคลื่อนกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของครู ไปสู่การ พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ อันก่อให้เกิดผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้ บรรลุตามจุดมุง่ หมายของหลักสูตร

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 บุคลำกรภำยในโรงเรียน บุคลากรภายในโรงเรียนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งปันประสบการณ์ในการ ทางาน ให้ความช่วยเหลือในการปฏิบัติงาน ให้การยอมรับ ให้ความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นข้อดี ข้อบกพร่องในการทางาน ซึ่งโรงเรียน อนุ บาลศรี สวั ส ดิ์ เป็ น โรงเรี ย นแกนน ายกระดั บผลสั มฤทธิ์ วิชาวิทยาศาสตร์ ซึ่ ง ได้ รับ งบประมาณและวัสดุ ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ และครูได้รับการ พัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง และที่สาคัญครูตระหนักและเห็นความสาคัญ ของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน  บุคลำกรท้องถิน่ บุคลากรท้องถิ่นให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน การประกอบอาชีพของผู้ปกครอง ทา ให้ทราบถึงความคาดหวังของผู้ปกครอง ชุมชน ที่มีต่อโรงเรียนและครู รวมถึงให้ ความรู้ที่เป็นภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนรู้

199

รำงวัลเหรียญทองแดง การประกวดผลงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.1 – ม.3 ในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ปี 2553 ภาคกลางและภาค ตะวันออก ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การสอนตามแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น เป็นการสอนที่เน้นการถ่ายโอนการ เรียนรู้และให้ความสาคัญเกี่ยวกับ การตรวจสอบความรู้เดิมของเด็ก ซึ่งเป็นสิ่งที่ครู ละเลยไม่ได้และการตรวจสอบความรู้พนื้ ฐานเดิมของเด็กจะทาให้ครูค้นพบว่านักเรียน ต้องเรียนรู้อะไรก่อนก่อนที่จะเรียนรู้ใน เนือ้ หาบทเรียนนั้น ๆ ซึ่งจะช่วยให้เด็กเกิดการ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นของกำรเรียนรู้ตำมแนวคิดของ Eisenkraft 7 ขั้น ดังนี้ 1) ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) ในขั้นนี้จะเป็นขั้นที่ครูจะตั้งคาถาม เพื่อกระตุ้น ให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ เดิมออกมา เพื่อครูจ ะได้รู้ว่า เด็กแต่ละคนมีพ้ืน ความรู้เดิมเท่าไร จะได้วางแผนการสอนได้ถูกต้อง และครูได้รู้ว่านักเรียนควรจะเรียน เนื้อหาใด ก่อนที่จะเรียนในเนื้อหานั้น ๆ 2) ขั้นเร้ำควำมสนใจ (Engagement Phase) เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่ สนใจจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนเอง หรือเกิดจากการ อภิปราย ภายในกลุ่ม เรื่องที่น่าสนใจอาจมาจากเหตุการณ์ที่กาลังเกิดขึ้นอยู่ในช่วงเวลา นั้น หรือเป็นเรื่องที่เชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่เด็กเพิ่งเรียนรู้ มาแล้ว ครูเป็นคนกระตุ้นให้ นักเรียนสร้างคาถามกาหนดประเด็นที่จะกระตุ้น โดยการเสนอประเด็นขึ้นก่อน แต่ไม่ ควรบังคับให้นักเรียนยอมรับประเด็นหรือคาถามที่ครูกาลังสนใจเป็นเรื่องที่จะใช้ศกึ ษา 3) ขั้นสำรวจและค้นหำ (Exploration Phase) ในขั้นนี้จะต่อเนื่องจากขั้นเร้า ความ สนใจ ซึ่งเมื่อนักเรียนทาความเข้าใจในประเด็นหรือคาถามที่สนใจจะศึกษาอย่างถ่องแท้ แล้วก็มี การวางแผนก าหนดแนวทางควรสารวจตรวจสอบ ตั้งสมมุติฐาน กาหนด ทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ ต่าง ๆ วิธีการตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยสร้างสถานการณ์จาลอง (Simulation) การศึกษาหาข้อมูล จากเอกสารอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะใช้ใน ขั้นต่อไป การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

รำงวัลเหรียญทองแดง การประกวดโครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ระดับชัน้ ป.4 – ป.6 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2553 ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

แข่งขันผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น “กล่องฉุกเฉิน” ได้รับรางวัล เหรียญทอง


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

200

แข่งขันโครงงานทดลอง ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบ เชือ้ เพลิงอัดแท่งกับแอลกอฮอล์แข็ง” ได้รับรางวัล เหรียญทอง

แข่งขันโครงงานสิง่ ประดิษฐ์ ป. 4-6 เรื่องอุปกรณ์หั่นเอนกประสงค์ ได้รับรางวัล เหรียญเงิน

แข่งขันโครงงานทดลอง ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบ เชือ้ เพลิงอัดแท่งกับแอลกอฮอล์แข็ง” ได้รับรางวัล เหรียญเงิน

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

4) ขั้นอธิบำย (Explanation Phase) ในขั้นนี้เมื่อนั กเรียนได้ข้อมูลมาอย่าง เพียงพอจากการสารวจตรวจสอบแล้ว จึงนาข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุ ปผล และน าเสนอผลที่ ไ ด้ ในรู ปต่า ง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้า งแบบจ าลองทาง คณิตศาสตร์ หรือรูปวาด สร้างตารางฯลฯ การค้นพบ 5) ขั้นขยำยควำมคิ ด (Expansion Phase/Elaboration Phase) เป็น การน า ความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนา แบบจาลองหรือข้อสรุปที่ไปใช้อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อ่ืนๆ ถ้าใช้อธิบาย เรื่องต่างๆ ได้มากก็แสดงว่าข้อกากัดน้อย ซึ่งก็จะช่วยให้เชื่อมโยงกับเรื่องราวต่างๆ และทาให้เกิดความรู้สกึ กว้างขวางขึ้น 6) ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase) ในขัน้ นีเ้ ป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วย กระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด จากขั้น นี้จะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในด้านอื่นๆ 7) ขั้น น ำควำมรู้ ไ ปใช้ (Extension Phase) ในขั้ นนี้เป็ น ที่ค รู จ ะต้อ งมีก าร จัด เตรี ย มโอกาสให้ นั ก เรี ย นได้ น าสิ่ ง ที่ ไ ด้ เรี ย นมาไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ ห้ เกิ ด ประโยชน์ใ น ชีวิตประจาวัน ครู จะเป็นผู้กระตุ้นให้นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปสร้างเป็น ความรู้ที่เรียกว่า “การถ่ายโอนการเรียนรู้” จากขั้นตอนต่าง ๆ ในรูปแบบการสอนโดยวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น จะเห็นได้ว่า รูปแบบการสอนโดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น จะเน้นการถ่ายโอนการเรียนรู้และให้ ความสาคัญกับการตรวจสอบความรู้เดิมของเด็ก ซึ่งเป็นสิ่งที่ครูไม่ควรละเลย หรือ ละทิ้ง เนื่องจาก การตรวจสอบพื้ นความรู้เดิมของเด็กจะทาให้ครูได้ค้นพบว่านักเรียน จะต้อง เรียนรู้อะไรก่อนที่จะเรียนในเนื้อหานั้น ๆ นักเรียนจะสร้างความรูจ้ ากพื้นความรู้ เดิ ม ที่ เด็ ก มี ทาให้ เ ด็ ก เกิ ด การเรี ย นรู้ อ ย่า งมี ค วามหมายและไม่คิ ด แนวความคิ ด ที่ ผิดพลาด การละเลยหรือเพิกเฉยในขั้นนี้ จะทาให้ยากแก่การพัฒนาแนวความคิดของ เด็ก ซึ่งจะไม่เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่ครูวางไว้ นอกจากนี้ยังเน้นให้นักเรียนสามารถนา ความรู้ที่ได้รับไประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้ำหมำย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 25 คน ครูโรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ จานวน 22 คน  ขั้นตอนกำรดำเนินงำน  การวิเคราะห์โดยใช้ (SWOT) ความคาดหวังของ โรงเรียน ผู้ปกครอง และนักเรียน  นาหลักการทางานของวงจรเดมมิ่ง (PDCA) มาใช้วางแผนในการ จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์  จัดทาแผนจัดการเรียนรู้พัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ทาง วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยมีขนั้ ตอนการสอน ดังนี้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1) ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) ใช้คาถามสอบถามความรู้เดิม เช่น มี สิ่งของอะไรบ้างที่บ้านของนักเรียนที่จะเป็นสิ่งประดิษฐ์ได้บ้าง ? 2) ขั้นเร้าความสนใจ (Engagement Phase) ครูยกตัวอย่างชิ้นงาน เช่น แก้ว ถ้วย กาแฟ แล้วใช้คาถามว่า ทาอย่างไรที่จะทาให้การใช้งานสะดวกมากขึน้ ? 3) ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration Phase) การสังเกต จินตนาการ สร้างมโนทัศน์ 4) ขั้นอธิบาย (Explanation Phase) วิเคราะห์ผลงานเบือ้ งต้น ออกแบบรายละเอียด 5) ขั้นขยายความคิด (Expansion Phase/Elaboration Phase) ลงมือประดิษฐ์ ทดลองใช้ 6) ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase) เป็นการประเมินว่าผู้เรียนมีความรู้อะไรบ้าง ชิ้นงานประสบผลสาเร็จหรือไม่ 7) ขั้นนาความรู้ไปใช้ (Extension Phase) จัดนิทรรศการและประกวดผลงานของ นักเรียน ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันวิชาการในระดับต่าง ๆ  เครื่องมือ

201

แข่งขันผลงานสิ่งประดิษฐ์ทาง วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น “กล่องฉุกเฉิน V 3”วันที่ 13 มกราคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ได้รับ รางวัล เหรียญทอง

แข่งขันการแสดงทางวิทยาศาสตร์ Science Shows ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วันที่ 11 มกราคม 2555 ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฎกาญจนบุรี ได้รับรางวัล เหรียญทอง

ผังกระบวนการพัฒนาจาก 5 E ไป 7E ตามแนวความคิดของ Eisenkraft (2003 : 58) จากแนวความคิดดังกล่าวจึงนามาบูรณาการใช้ในการพัฒนานักเรียนโรงเรียน อนุบาลศรีสวัสดิ์ดังนี้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


202

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสำเร็จเชิงปริมำณ 1) ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนแบบโครงงาน 2) นักเรียนได้เรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างมีระบบและหลากหลาย 3) นักเรียนนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้กับการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆ 4) ผู้ปกครองร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมที่โรงเรียน กาหนด  ผลสำเร็จเชิงคุณภำพ สัมฤทธิผลจากรางวัลต่างๆ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลอย่างต่อเนื่อง  วิธีกำรตรวจสอบซ้ำ  ประเมินและตรวจสอบคุณภาพของ โดยใช้ หลักการ (SWOT) ใน การวิ เ คราะห์ วางแผนงาน และในการปฏิ บั ติ ง านจะใช้ ว งจรเดมมิ่ ง (PDCA)ช่ ว ย ตรวจสอบการปฏิบัติงาน และมีการจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบภาคเรียนละ 1 ครัง้  ผลกำรตรวจสอบซ้ำเพื่อพัฒนำและปรับปรุง  ผลการตรวจสอบพบว่ า สถานศึ ก ษาได้ วิ เคราะห์ ขั้ น ตอนและ ทดลองใช้ แ ล้ ว สรุ ปว่ า ขั้ น ตอนของ การพั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด สร้ า งสรรค์ ท าง วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) มีคุณภาพสามารถนาสู่การ ปฏิบัตไิ ด้ เกิดผลดีตอ่ การจัดการเรียนรู้ในระดับดีมาก

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง  ขยายให้กับครูผู้สนใจภายในสถานศึกษา และสถานศึกษาใกล้เคียงที่มี ความสนใจรูปแบบการดาเนินการ นาสู่การปรับใช้ในสถานศึกษา  ขยายผลการจัดกิจกรรมในงานมหกรรมวิชาการระดับต่าง ๆ และคณะ ที่มาศึกษา ดูงานที่โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ และได้รับการคัดเลือก เป็นตัวแทน สพป.กจ.1 ไปนาเสนอนวัตกรรมเรื่องการพัฒนาทักษะ การคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) ในระดับประเทศ ในวันที่ 2-5 สิงหาคม 2555 ณ โรงแรมริ เวอร์ไซด์กรุงเทพ จัดโดย สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

203

ชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดระดับสูงด้านการแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นพัฒนา ปีการศึกษา 2546 - 2548 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสถานศึกษา กระบวนการคิดเป็นหัวใจสาคัญในการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติ การศึก ษาแห่ ง ชาติ พุ ทธศั ก ราช 2542 และตามมาตรฐานการศึก ษาขั้ น พื้น ฐาน พุทธศักราช 2544 รวมทั้ งมาตรฐานที่ 4 ของส านั กงานรับรองมาตรฐานและการ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ซึ่งยังต้องใช้ความพยายามอีกมากเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายนี้

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 ให้ความสาคัญเรื่องความ แตกต่างระหว่างบุคคล ดัง กล่าวไว้ในความนาของหลั กสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งกล่าวโดยสรุปได้ ดังนี้ การจั ด การศึ ก ษามุ่ ง เน้ น ความส าคั ญ ทั้ ง ด้ า นความรู้ ความคิ ด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อพัฒนาคน ให้ มีค วามสมดุ ล โดยยึด หลัก ผู้เรี ยนส าคั ญที่ สุ ด ทุ กคนมีค วามสามารถเรีย นรู้แ ละ พัฒนาตนเองได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ให้ความสาคัญต่อความรู้เกี่ยวกับตนเอง ให้สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น การฝึกทักษะกระบวนการคิด จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึก การปฏิบัตใิ ห้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องผสมผสาน สาระความรู้ต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ของผู้เรียน จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ การจัดการเรียนรู้ตามแนวของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดแก่ผู้เรียน เป็น แนวคิดที่มุ่งให้ผู้เรียนได้มโี อกาสคิดอย่างมีอิสระ เรียนรู้จากการปฏิบัตจิ ริงด้วยวิธีการที่ หลากหลาย โดยครูเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากผู้ให้ความรู้ ผู้บอกความรู้ มาเป็นผู้ ที่ให้ การช่วยเหลือ ให้ บริ การให้ คาแนะน าแก่ ผู้ เรี ยนในการใช้กระบวนการคิ ดค้ นหา ความรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง ครูเปลี่ยนบทบาทจากผู้สอนมา เป็ น ผู้อ านวยความสะดวก คื อ เป็ น ผู้เตรี ยมสถานการณ์ และสื่อการเรี ยนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนใช้ศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยสรุปก็คือ การจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญต้องมีการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน และให้ ผู้เรียนเรียน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางวิไลพร ขาจิตต์ ครู โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงครามโทรศัพท์ โทรศัพท์ 089-8265903 E-mail : wilaikumjil@gmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

204

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

อย่างมีความรู้ เพื่อมุ่งสูค่ วามเป็นคนเก่ง และเป็นคนดีจากเหตุผลดังกล่าวผู้รายงาน จึงได้ทาการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียน จากบันทึกหลังการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ของ ปีการศึกษา 2545 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนไม่เป็นที่น่าพอใจ คือไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด จากการ วิเคราะห์สาเหตุพบว่าครูได้ทาการสอนโดยใช้กระบวนการที่ยังไม่เน้นความแตกต่าง ระหว่างบุคคลเท่าที่ควร เป็นผลให้ผู้เรียนที่มีศักยภาพในการเรียนรู้ได้เร็วต้อง เสียเวลาในการรอคอยนักเรียนที่มีศักยภาพในการเรียนรู้ช้า ส่งผลให้กระบวนการ เรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นได้น้อยมาก ผู้รายงานจึงได้นาแนวของเพียเจย์ ที่ว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น โดยผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความ เข้าใจที่มีอยู่เดิม เป็นปรัชญาที่มีข้อสันนิษฐานว่า ความรู้ไม่สามารถแยกจากความ อยากรู้ ความรู้ได้จากการสร้างเพื่ออธิบาย แนวคอนสตรักติวิส ม์ เน้นให้ผู้เรียน สร้างความรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดด้วยตนเอง โดยผู้สอนไม่สามารถปรับเปลี่ยน โครงสร้ า งทางปั ญ ญาของผู้ เ รี ย นได้ แต่ ผู้ ส อนสามารถช่ ว ยผู้ เ รี ย นปรั บ เปลี่ ย น โครงสร้ า งทางปั ญ ญาได้ โ ดยการจั ด สถานการณ์ ใ ห้ ผู้ เรี ย นเกิ ด ความขั ด แย้ง ทาง ปัญญาหรือเกิดภาวะไม่สมดุลขึน้ ซึ่งเป็นภาวะที่ประสบการณ์ใหม่ ไม่สอดคล้องกับ ประสบการณ์ เ ดิ ม ผู้ เ รี ย นต้ อ งพยายามปรั บ ข้ อ มู ล ใหม่ กั บ ประสบการณ์ เ ดิ ม ให้ สอดคล้องกันแล้วสรุปเป็นความรู้ใหม่ นามาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในกลุ่ม สาระวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ด้วยตนเองนี้นาไปใช้ในการ จัดการเรียนการสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการสอนที่ 4 เรื่องสารวจ โลก ปีการศึกษา 2546 ทาการทดลองใช้กับนักเรียนทั้งกลุ่มเก่ง ปานกลาง และอ่อน โดยให้นักเรียนทั้ง 3 ประเภทอยู่กลุม่ เดียวกันกลุ่มละ 1-5 คน ซึ่งจานวน 84 คน  ขั้นตอนการพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนของการจัดการเรียนรู้โดย ให้นักเรียนสร้างความรู้ด้วย ตนเองแบบสร้างสรรค์ความรู้ตามแนวคอนสตรักติวิสม์ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) ขั้นนา เป็นขัน้ ที่ผู้เรียนจะรับรู้ถึงจุดมุง่ หมายและแรงจูงใจในการเรียน บทเรียน 2) ขั้นล้วงความคิด เป็นขัน้ ที่ผู้เรียนแสดงออกถึงความรูค้ วามเข้าใจเดิมที่ มีอยู่เกี่ยวกับเรือ่ งที่เรียน วิธีการที่ผู้เรียนแสดงออก อาจทาได้โดยการอภิปรายกลุ่ม 3) การให้ผู้เรียนออกแบบโปสเตอร์ หรือให้ผู้เรียนเขียนเพื่อแสดงความรู้ ความเข้าใจที่เขามีอยู่ ขั้นนี้ทาให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา หรือเกิดภาวะไม่สมดุล 4) ขั้นปรับเปลี่ยนแนวความคิด นับเป็นขัน้ ตอนที่สาคัญของบทเรียน แบบการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง ขั้นนี้ประกอบด้วยขัน้ ตอนย่อยๆ ดังนี้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

205

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ทาความกระจ่างและแลกเปลี่ยนความคิด ผู้เรียนจะเข้าใจได้ดยี ่งิ ขึน้ เมื่อ ได้พิจารณาความแตกต่างและความขัดแย้งระหว่างความคิดของตนเองกับความคิด ของคนอื่น  สร้างความคิดใหม่ จากการอภิปรายและการสาธิต ผู้เรียนจะเห็นแนวทาง รูปแบบ วิธีการที่หลากหลายในการตีความปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์แล้วกาหนด ความคิดใหม่ 5) ขั้นนาความคิดไปใช้ เป็นขัน้ ตอนที่ผู้เรียนมีโอกาสใช้แนวคิดหรือ ความรู้ความเข้าใจที่พัฒนาขึ้นมาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งที่คนุ้ เคยและไม่คุ้นเคยเป็น การแสดงว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย 6) ขั้นทบทวน เป็นขัน้ ตอนสุดท้ายที่ผู้เรียนจะได้ทบทวนว่าความคิดความ เข้าใจของเขาได้เปลี่ยนไป โดยการเปรียบเทียบความคิดเมื่อเริ่มต้นบทเรียนกับ ความคิดของเขาเมื่อสิน้ สุดบทเรียน  การตรวจสอบคุณภาพ ชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง มีลาดับ การสร้างดังนี้ 1) ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของนักการศึกษา นักจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการ สร้างความรู้ดว้ ยตนเองแบบสร้างสรรค์ความรู้ตามแนวคอนสตรักติวิสม์ จากเอกสาร ตารา และงานวิจัยเพื่อเป็นแนวทางในการกาหนดขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) ศึกษารายละเอียดของสาระการเรียนรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของ ดิน น้า หินและแร่ จากเอกสาร ตารา หนังสือเรียนและคู่มือครูวิทยาศาสตร์ในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น เลือกและวิเคราะห์สาระการเรียนรู้และทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เพื่อให้สอดคล้องกับการสร้างชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง 3) ดาเนินการสร้างชุดกิจกรรมตามแนวทางที่วางแผนไว้ 4) นาชุดกิ จ กรรมการสร้า งความรู้ด้ ว ยตนเองที่ ส ร้า งขึ้นไปให้ผู้ เชี่ย วชาญ 5 ท่านตรวจเกี่ยวกับความเที่ยงตรงของสาระการเรียนรู้ ความเหมาะสมของภาษาและ กิจกรรมในแบบฝึก ผลการตรวจสอบมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80 1.00 ซึ่งแสดงว่าเป็นชุดฝึกกิจกรรมการสร้างความรู้ด้วยตนเองที่มีความเที่ยงตรงตาม เนื้อหา ของแผนการจัดการเรียนรู้และชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง 5) น าชุด กิ จ กรรมการสร้ า งความรู้ ด้ ว ยตนเองไปทดลองใช้กั บนั ก เรี ย นในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยดาเนินการทดลองดังนี้ 5.1 ทดลองรายบุคคล จานวน 5 คน เพื่อดูความเหมาะสมของกิจกรรมและ เวลาที่ใ ช้พร้ อมทั้ ง จดบันทึ กปัญ หาต่างๆ แล้ วปรั บปรุ งในส่วนที่บกพร่อ ง และส่ว นที่ ยั ง เป็น ปัญ หาจากที่บันทึ กไว้ แล้ว นาผลการทดลองมาศึกษา ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองต่อไป โดยใช้สูตรดังนี้ E1 = หรือ E1 = X 

E1

N A

 100

X  100 A

คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ  X คือ ผลรวมของคะแนนนักเรียนที่ได้จากการวัดระหว่างเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

206

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

A N E2

คือ คะแนนเต็มของแบบวัด คือ จานวนผู้เรียน = Y 

N B

 100

หรือ E2 =

X  100 B

E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ได้จากคะแนนเฉลี่ยของการทาแบบสอบหลัง เรียนของผู้เรียนทั้งหมด Y คือ คะแนนรวมของผลลัพธ์หลังเรียน B คือ คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน โดยเกณฑ์ที่ยอมรับว่าชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองมีประสิทธิภาพ E1/E2 มี ค่า 70/70 ขึน้ ไป E1/E2 โดยที่คา่ ต้องไม่แตกต่างกันเกินกว่าร้อยละ 5 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองมีผลดัง ตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการสร้างความรูด้ ้วยตนเอง กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 4 เรื่องสารวจโลก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คะแนนระหว่างเรียน คะแนนหลังเรียน คะแนนเต็ม เฉลี่ย ร้อยละ (E1) คะแนนเต็ม เฉลี่ย ร้อยละ(E2) 1. ส่วนประกอบของโลก 3 2.80 93.33 6 5.40 90.00 2. การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก 10 8.00 80.00 10 8.20 82.00 3. การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก 10 7.40 74.00 5 3.60 72.00 4. กาเนิดดิน 10 7.40 74.00 6 4.20 70.00 5. การชะล้างพังทลายของดิน 5 4.20 84.00 5 4.40 88.00 6. แหล่งน้า 10 8.00 80.00 8 6.60 82.50 7. ทรัพยากรน้า 10 8.00 80.00 8 6.80 85.00 8. การอนุรักษ์แหล่งในน้า 5 4.00 80.00 8 6.00 75.00 9. ชนิดและวัฏจักรของหิน 6 4.80 80.00 5 3.80 76.00 10 ชนิดและสมบัติของแร่ 10 8.00 80.00 6 4.80 80.00 รวม 79 62.60 79.24 67 53.80 80.30 ชื่อชุดกิจกรรม

จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าชุดกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองมีประสิทธิภาพ อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจมากทุก ชุดกิจกรรมเนื่องจากมีค่าเกินร้อยละ 70 ทั้งระหว่างเรียนและหลังเรียนและค่าร้อยละก่อนเรียนกับร้อยละหลังเรียนมี ค่าแตกต่างกันไม่เกินร้อยละ 5 ทุกชุด ดังนี้คอื ชุดที่ 1 ส่วนประกอบของโลก มีค่า (E1/E2) = 93/90 ชุดที่ 6 แหล่งน้า มีค่า (E1/E2) = 80/82 ชุดที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก มีค่า (E1/E2) ชุดที่ 7 ทรัพยากรในน้า มีค่า (E1/E2) = 80/85 = 80/82 ชุดที่ 8 การอนุรักษ์แหล่งน้า มีค่า (E1/E2) = 80/75 ชุดที่ 3 การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก มีคา่ (E1/E2) = ชุดที่ 9 ชนิดและวัฏจักรของหิน มีค่า (E1/E2) = 74/72 80/76 ชุดที่ 4 เรื่องกาเนิดดิน มีคา่ (E1/E2) = 74/70 ชุดที่ 10 ชนิดและสมบัตขิ องแร่ มีค่า (E1/E2) = ชุดที่ 5 เรื่อง การชะล้างพังทลายของดิน มีค่า (E1/E2) 80/80 = 84/88

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ถึงแม้วา่ ทุกชุดจะมีประสิทธิภาพเป็นที่น่าพอใจ แต่ต้องปรับปรุงเพิ่มเติม เช่นการตรวจ คาผิด หรือในชุดที่มีผลแตกต่างกันค่อนข้างมาก เช่น ชุดที่ 2 ชุดที่ 7 ชุดที่ 8 ที่แตกต่าง กันร้อยละ 5 ได้ดาเนินการตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไขให้มีคุณภาพมากขึ้น 5.2 นามาใช้จริงกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 84 คน  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ ได้นารูปแบบกิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ย ตนเองมาใช้กัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหน่วยการเรียนรู้อื่นและในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตลอดจนนาไปเผยแพร่แก่เพื่อนครูทั้งภายในและนอกสถานศึกษา

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 62 มีความสามารถในการคิด แก้ปัญหาได้ดีข้นึ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถนากระบวนการเรียนรู้ที่ตนเองได้ ปฏิบัตขิ ณะเรียนรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพ มี ความอดทนต่อการทางานมากขึน้ และที่สาคัญเป็นผู้มคี วามซือ่ สัตย์สุจริต เป็นผู้ที่ ยอมรับความคิดเห็นของเพื่อนมากขึ้น  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ จากการออกแบบสอบถามผู้ที่เกี่ยวข้องใน การใช้กิจกรรมการสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง พบว่าร้อยละ 81.80 มีความพึงพอใจ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา /ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา ไปใช้ จากประสบการณ์ ที่ ใ ช้ กิ จ กรรมการสร้ า งความรู้ ด้ ว ยตนเองพบว่ า ปั จ จั ย ที่ ป ระสบ ความสาเร็จเกิดจากผู้เรียนมีอิสระในการคิด ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนเพราะใช้ ระบบกลุ่มในการปฏิบัติงาน ได้ทราบความสาเร็จของตนเองทันที่จากการปฏิบัติจริง และผลการสอบก็ สามารถทราบผลการเรีย นรู้ไ ด้ ทัน ที เนื่อ งจากในชุดฝึ ก มีก ารเฉลย คาตอบไว้ และได้เล่นและทดลองด้วยตนเองอย่างอิสระ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า เมื่อนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ บันทึกและวิเคราะห์ผลการเรียนทุกครัง้ และทาการปรับปรุงพัฒนาข้อบกพร่อง โดยใช้ กระบวนการวิจัย  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนมีผลการเรียน ความแตกต่างจากก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.01 จึงถือได้วา่ ชุด กิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองจึงเป็นเครื่องมีที่สามารถทาให้นักเรียนพัฒนาตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง หลังจากทาการ ทดลองและปรับปรุงพัฒนาตลอดจนนากิจกรรมการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองไปใช้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้จริง แล้วในปีการศึกษา 2547 และได้นามาเผยแพร่แก่ คณะครูที่มาศึกษาดูงานโรงเรียน และนาไปเผยแพร่ในการจัดนิทรรศการในกระ ดับเขตพื้นที่ และหน่วยงานทางราชการที่เชิญมาโดยตลอดตัง้ แต่ผ่านการ ประเมินในปีการศึกษา 2549 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

207


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

208

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์ เรื่องสารละลาย เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร นางเนตรดาว ทศพร ครู โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร โทรศัพท์ 081-9810647 E-mail : netdao_12@hotmail.com

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อ พั ฒ นาชุ ด การสอนรู ปแบบวีดี ทั ศ น์ เรื่อ งสารละลาย เพื่ อ สร้ า งแรง บันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สพป.กจ.1ที่มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์  เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์

ระยะเวลาในการพัฒนา

กรกฎาคม – สิงหาคม 2555

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของสถานศึกษา  กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้  จุดเน้น ที่ 4 เพิ่มศั กยภาพนัก เรีย นด้ านคณิต ศาสตร์ ด้า นวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี  กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสูม่ อื อาชีพ  จุดเน้นที่ 5 นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ พัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและ สั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม โดยการพั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึก ษาทั้ ง ระบบให้ สามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวคิด/หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในการดารงชีวิต เพราะวิทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยีมีค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บการด าเนิน ชีวิต และการใช้ ชีวติ ประจาวันของคนเรา ซึ่งเราปฏิเสธไม่ได้ว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีส่วนช่วย ในพัฒนาประเทศชาติทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมให้เจริญก้าวหน้ามากมาย รวมถึง ทางด้ า นการศึ ก ษาที่ วิ ท ยาศาสตร์ มี บ ทบาทส าคั ญ ในการสร้ า งผู้ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถมากมาย ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์จึงเป็นการจัดการเรียนรู้แห่งคุณภาพและมีคุณค่าด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่ หลากหลาย เช่น การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยการนาเอาโปรแกรม Inspiring science จากความร่วมมือของหน่วยงานต่าง ๆ มาใช้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพื่อให้นักเรียนเกิดความสนใจเรียน เกิดแนวคิด การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

สร้างสรรค์ เกิดแรงบันดาลใจ และสามารถเรียนรู้ได้อย่างสนุกสนาน ในการสอน แบบสร้ า งแรงบั น ดาลใจทางวิ ท ยาศาสตร์ น้ี เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นการสอนวิ ช า วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 และช่วยให้ครูสามารถนาการ เรียนรู้แบบใช้บริบทเป็นฐาน รูปแบบการเรียนแบบ 5E ของสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ การค้นคว้าหาความรู้เชิง วิทยาศาสตร์ การสอนที่มีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และ การ เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านสื่อการเรียนการสอน ไปใช้ในทางปฏิบัติในห้องเรียนได้ โดยมีส่ือ นาเสนอของครู (Teacher presentations) ช่วยจัดบริบทและทาให้การเรียนวิทยาศาสตร์ เห็นภาพมากขึ้นซึ่งจะเป็นเครื่องมือช่วยให้ครูสอนวิทยาศาสตร์ตามหลักสูตร แต่เมื่อนา โปรแกรม Inspiring science มาใช้สอนกับนักเรียนจริง ๆ ทาให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จากการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีน้ีคือ สื่อนาเสนอที่ โครงการจัดให้มานั้นส่วนใหญ่ เป็นภาพนิ่งซึ่งเมื่อใช้ไปได้ระยะหนึ่งก็ขาดความเร้าใจ ไม่ดึงดูดความน่าสนใจอีกต่อไป ทาให้นักเรียนขาดความกระตือรือร้นที่ใฝ่เรียนรู้ และเกิดความไม่เข้าใจในบทเรียน ครู จึงต้องคิดหาและสร้างนวัตกรรมที่จะมาใช้เพื่อเสริมการสอนวิธีน้ีด้วยการทาชุดการสอน ด้วยรูปแบบวีดีทัศน์ เรื่องสารละลาย เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ขึน้ ชุดการสอนด้วยรูปแบบวีดีทัศน์ เป็นนวัตกรรมหนึ่งที่ช่วยพัฒนาประสิทธิภาพใน การเรี ยนรู้ข องนัก เรี ยน สามารถทาให้ผู้เรีย นเรีย นรู้ ด้า นมิ ติแ ห่ง ความจริ ง มิติด้า น สถานที่ ที่วีดีทัศน์สามารถเปิดการเรียนรู้สู่โลกกว้างให้แก่นักเรียนได้ และด้านมิติแห่ง เวลาวีดีทัศน์สามารถนาเสนอที่ที่เกิดไปแล้วมาให้นักเรียนเรียนรู้อีกครั้งได้ ซึ่งจะนาไปสู่ การเกิดแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นเขาดิ น วิ ท ยาคาร ปีการศึกษา 2555 จานวน 33 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) กาหนดปัญหา 2) กาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3) การดาเนินการทดลอง 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล 5) การวิเคราะห์ขอ้ มูล สรุปผลและอภิปรายผล  การตรวจสอบคุณภาพ 1) การตรวจสอบชุดกิจกรรมด้วยผู้เชี่ยวชาญ 2) การหาค่าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของชุดกิจกรรม 3) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์ 4) การใช้แบบสอบถาม สอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนรู้โดยใช้ชุด กิจกรรมนี้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

209


210

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) นาไปเป็นสื่อประกอบการสอนวิทยาศาสตร์ ม. 1 2) นาไปประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนการสอนในวิชาอื่น ๆ 3) เป็นแนวทางในการสร้างสื่อหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กับครูผู้สอนและผู้ที่สนใจ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนน ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์ เพิ่มขึ้น  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เกิดแรงบันดาลใจ ในการเกิดแนวคิด การตั้งคาถาม การสืบเสาะหาคาตอบ และเกิดความคิดสร้างสรรค์ ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึน้  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์ที่สง่ เสริมการเกิดแรงบันดาลใจในการเกิด แนวคิด การตัง้ คาถาม การสืบเสาะหาคาตอบ และเกิดความคิดสร้างสรรค์ ในการ จัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ตัวนักเรียน นักเรียนต้องมีความสนใจที่จะปฏิบัตกิ จิ กรรมด้วยความสนุกสนาน และมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวจนเกิดแรงบันดาลใจใน การเรียนรู้ 2) ครูผู้สอน ต้องมีใจรักงาน อุทิศเวลา ทุ่มเท สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา ผู้เรียนอย่างเต็มที่ รวมถึงสร้างความเข้าใจกับผู้ปกครองเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ กับครูผู้สอน 3) ผู้ปกครอง มีส่วนสาคัญยิ่งเพราะต้องได้รับการสนับสนุนให้นกั เรียนเข้าร่วม กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ 4) ผู้บริหารโรงเรียนในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน มีวสิ ัยทัศน์ในการพัฒนา สถานศึกษาอย่างเต็มที่ สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดกี ับชุมชนและผู้ปกครอง เปิดโอกาสให้นักเรียนนาเสนอผลงานต่อสาธารณชน ตรวจสอบติดตามและ ประเมินผลการส่งเสริมการทากิจกรรมอย่างใกล้ชิด

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า นาชุดการสอนรูปแบบวีดีทัศน์น้ีไปใช้กับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างรายงานผลการพัฒนาชุดการสอนรูปแบบ วีดีทัศน์นี้  ผลการตรวจสอบซ้ าเพื่ อ การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 สามารถปฏิบัตกิ ิจกรรมที่กาหนดในชุดกิจกรรมได้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

211

พี่พาน้อง ร่วมเรียนรู้ ปูชนียบุคคล เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา    

เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญในท้องถิ่น เพื่อให้นักเรียนใช้วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อสร้างจิตสานึกในการรักท้องถิ่นของตน เพื่อสร้างแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เป็นพหุปัญญาด้วยวิธีการบูรณาการ ข้ามสายชัน้  เพื่อฝึกทักษะการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของนักเรียนในการดูแลน้อง

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นการพัฒนา วันที่ 10 มกราคม 2554 ถึง วันที่ 17 มกราคม 2554 เรียนรู้ก่อนไปแหล่งเรียนรู้ วันที่ 21 มกราคม 2554 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2554 ไปแหล่งเรียนรู้ วันละ 2 ชั่วโมง วันที่ 1 - 5 กุมภาพันธ์ 2554 นักเรียนจัดทาผลงานนาเสนอ รวมเวลาเรียน/ห้อง 6 ชั่วโมง

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย  เป้าหมายของสถานศึกษา โรงเรียนจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรอาเซียน จัดการศึก ษาครบ 8 กลุ่มสาระอิงมาตรฐานสากล เพื่อ ส่งผลต่อคุ ณภาพผู้ เรี ยน คื อ บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม สื่อสารโดยใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศได้ และร่วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย  เป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป.กจ.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชา หลักเพิ่มขึ้น อย่างน้อ ยร้อ ยละ 5 นั กเรีย นทุก คนมีค วามสานึก ในความรั กชาติไทย ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนได้รับการ พัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคม พหุวัฒนธรรม  เป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ. ผลสัมฤทธิ์ในวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความเป็นไทย จิตสาธารณะ อยู่อย่างพอเพียงนักเรียน ได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community)

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา  พหุปัญญา ตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ ชี้ให้เห็นถึงความหลากหลายทาง ปัญญาของมนุษย์ ซึ่งมีหลายด้าน หลายมุม แต่ละด้านก็มีความอิสระในการพัฒนาตัว ของมันเองให้เจริญงอกงาม ในขณะเดียวกันก็มีการบูรณาการเข้าด้วยกัน เติมเต็มซึ่งกัน และกัน แสดงออกเป็นเอกลักษณ์ทางปัญญาของมนุษย์แต่ละคน คนหนึ่งอาจเก่งเพียง ด้านเดียว หรือเก่งหลายด้าน หรืออาจไม่เก่งเลยสักด้าน แต่ที่ชัดเจน คือ แต่ละคนมักมี ปัญญาด้านใดด้านหนึ่งโดดเด่นกว่าเสมอ ไม่มใี ครที่มีปัญญาทุกด้านเท่ากันหมด หรือไม่มี เลยสักด้านเดียว นับเป็นทฤษฎีที่ชว่ ยจุดประกายความหวัง เปิดกระบวนทัศน์ใหม่ใน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางพรพรรณ ธรธัช ครู โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี โทรศัพท์ 087-1630423 E-mail : maw_anb@hotmail.com

ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ พี่ป.5 พาน้องไปเรียนรูท้ ี่วัดไชยชุมพลชนะสงคราม


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

212

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การศึกษาด้านสติปัญญาของมนุษย์ สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ทั้งในกลุ่มเด็กปกติ เด็กที่มคี วามบกพร่อง และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ  หลักการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ กระบวนการสร้างความรู้โดย นัก เรี ย นเป็ น เจ้า ของการเรี ยนรู้ เอง เป็ น การเรี ย นรู้ ที่อ าศัย ประสบการณ์เดิ ม ของ นักเรียน ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง นักเรียนสามารถกาหนดหลักการที่ ได้จากการปฏิบัติและสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีหรือหลักการได้อย่างถูกต้อง เป็น การเรียนรู้ที่สง่ เสริมการทางานเป็นกลุ่ม มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับนักเรียน และ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งนั ก เรี ย นด้ ว ยกั น เอง ก่ อ ให้ เ กิ ด เครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ อ ย่ า ง กว้างขวาง มีการแสดงออกทั้งการเขียนและการพูด  หลักการเรียนรู้แบบบูรณาการ การสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การ จั ด การเรี ย นรู้ โ ดยการเชื่ อ มโยงเนื้อ หาความรู้ ที่เ กี่ ย วข้ อ งจากศาสตร์ ต่า งๆ ของ รายวิชาเดียวกันหรือรายวิชาต่างๆ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนา ความคิดรวบยอดของศาสตร์ต่างๆ มาใช้ในชีวิตจริงได้  การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning Management) หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามความสนใจ ความสามารถ โดยเชื่ อ มโยงเนื้ อ หาสาระของศาสตร์ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ กั น ให้ ผู้ เ รี ย น เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สามารถนาความรู้ ทักษะและ เจตคติไปสร้างงาน แก้ปัญหา และใช้ในชีวิตประจาวันได้ดว้ ยตนเอง

กระบวนการพัฒนา  กลุ่ ม เป้ า หมาย นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 จ านวน 289 คน นักเรียนชั้น อนุบาลปีที่ 2/1 ป.1/3 ป.2/3 ป.3/4 และ ป.4/1 จานวน 201 คน  ขั้นตอนการพัฒนา  การตรวจสอบคุณภาพ นารูปแบบไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ใน ท้ อ งถิ่ น โดยใช้ วิ ธี ก ารทางประวั ติ ศ าสตร์ 5 ขั้ น ตอน และให้ หั ว หน้ า งานวิ ช าการ รอง ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้อานวยการโรงเรียนเป็นฝ่ายตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิธีการทางประวัติศาสตร์ มากยิ่งขึน้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของระดับสถานศึกษาสูงกว่าเกณฑ์ที่โรงเรียนตั้ง ไว้ 70 % ได้ 74.83 %  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน กิจกรรมพัฒนาผู้เ รียน โดยเรียนรู้แบบบูรณาการ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และการนา หลั ก การเรี ย นรู้ บุ ค คลส าคั ญ ในท้ อ งถิ่ น ไปใช้ ใ นการจั ด กิ จ กรรมวิ ถี พุ ท ธ เพื่ อ เสนอขอ โรงเรียนบาเพ็ญประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ( เสาเสมาธรรมจักร)

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

213

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แผนภูมิ วิธีการจัดกิจกรรม / กระบวนการ / ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ขั้นเตรียมการ วางแผนติดต่อครูที่รว่ มกิจกรรม กาหนดแหล่งเรียนรู้ เขียนโครงการ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ติดต่อแหล่งเรียนรู้ ติดต่อยานพาหนะ ขออนุญาตผู้ปกครอง ประชุมครูที่เกี่ยวข้อง

ขั้นดาเนินการ ประชุมครูที่รว่ มกิจกรรม

ขั้นสรุปผล ประเมินผลการทากิจกรรม นักเรียนสรุปองค์ความรู้

กระบวนการเรียนรู้ วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ขั้นตั้งหัวข้อที่จะเรียนรู้ ขั้นรวบรวมข้อมูล ขั้นตรวจสอบข้อมูล ขั้นวิเคราะห์/สรุปองค์ความรู้ ขั้นนาเสนอภาระงาน

พหุปัญญา ๘ ด้าน ด้านภาษาการสื่อสาร ด้านความเข้าใจศิลปะ ด้านดนตรีและจังหวะ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านคณิตและตรรกะ ด้านความสามารถพิเศษ ด้านการวิเคราะห์ตนเอง ด้านความเข้าใจธรรมชาติ ขั้นกระบวนการเรียนรู้

(ขั้นสอน) ขั้นที่ ๑ ขั้นกระตุกกระตุ้น ขั้นที่ ๒ ขั้นตระหนัก

ขั้นที่ ๕ ขั้นตลบคิด ขั้นที่ ๓ ขั้นตริตรอง

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 289 คน และนักเรียนชั้น อนุบาล 2 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 จานวน 201 คน ได้เรียนรู้ประวัตบิ ุคคล สาคัญในท้องถิ่น ด้วยวิธีการทางประวัตศิ าสตร์และร่วมทาจิตสาธารณะ และประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา ครบ 100 %  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนมีความรู้ เกิดความภาคภูมิใจในบุคคลสาคัญในท้องถิ่นตน 2) นักเรียนมีทักษะในการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์ดว้ ยวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ 3) นักเรียนมีจิตสาธารณะต่อชุมชน 4) นักเรียนมีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น 5) นักเรียนสามารถประกอบศาสนพิธีทางศาสนาพุทธในชีวิตประจาวันได้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ขั้นที่ ๔ ขั้นตรวจสอบ


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

214

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้อง สรุปผลการประเมินโครงการพี่พาน้อง ร่วมเรียนรู้ ปูชนียบุคคล ณ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม จ. กาญจนบุรี ระหว่างวันที่ 21 – 31 มกราคม 2554 ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ระดับความพึงพอใจ รายการประเมิน 4– 3– 2– 1– ดีมาก ดี ปานกลาง ปรับปรุง พาหนะในการเดินทาง 18 25 10 1 ความรู้ที่ได้รับจากประวัติหลวงปู่เปลี่ยน 38 15 1 สถานที่ในการศึกษาเรียนรู้ 25 25 4 พิธีกรรมทางศาสนา (การถวายสังฆทาน) 28 21 5 กิจกรรมจิตสาธารณะ 19 19 13 3 ระยะเวลาในการเรียนรู้ 14 15 21 4 39 13 2 การบรรยายของพระวิทยากร ความพึงพอใจในการศึกษาเรียนรู้ 25 19 9 1

สรุปผล เฉลี่ย ร้อยละ/ลาดับที่ 3.11 3.69 3.39 3.43 3.00 2.72 3.69 3.26

77.78 – 6 92.13 - 1 84.7 2 – 4 85.65 - 3 76.39 – 7 68.06 - 8 92.13 – 1 81.48 - 5

 ความประทับใจในการไปเรียนรู้ พระวิทยากรให้ความรู้ละเอียด หุ่น ขีผ้ งึ้ หลวง ปู่เปลี่ยนสวยมากน่าเกรงขาม ได้ทาบุญที่วัด เข้าโบสถ์ เก่า ไหว้พระสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้ร่วมกันทาจิตสาธารณะ ทาให้วัด สะอาดสวยงาม  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) การได้รับความร่วมมือระหว่างครูในแต่ละสายชั้น 2) การสนับสนุนจากผู้บริหารสถานศึกษา เจ้าอาวาสวัดไชยชุมพลชนะ สงคราม พระวิทยากร 3) นักเรียนสายชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ทุกคนที่มคี วามตัง้ ใจในการปฏิบัติ กิจกรรม 4) เงินงบประมาณจากงบอุดหนุน 5) ความมุ่งมั่นของครูที่สร้างโครงการ พี่พาน้อง ร่วมเรียนรู้ปูชนียบุคคล

9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า นาผลการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมกับ นักเรียนชั้น ป.4 เรื่องศึกษาพิพธิ ภัณฑ์บ้านเก่า และชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องส่ง ครามเก้าทัพ (ให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ หลังจากเรียนรู้ทุกขั้นตอน)  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนมีความรู้ความ เข้าใจในประวัตขิ องบุคคลสาคัญ และวิธีการเรียนรู้ทางประวัตศิ าสตร์ โดยดูผลจาก คะแนน O – NET ในมาตรฐาน ส 4.1 ระดับโรงเรียน ได้ 74.83 ระดับประเทศได้ 69.37

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง 1) การนาเสนอโครงการ ด้วย BEST PRACTICE ที่ ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ ประวัตศิ าสตร์ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ในการอบรมครูผู้สอนสังคมศึกษา ตลอดปีการศึกษา 2554 2) การนาเสนอโครงการด้วย BEST PRACTICE ที่โรงแรมราชศุภมิตร กาญจนบุรี ในการนาเสนอผลงานที่เป็นเลิศในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประจาปี การศึกษา 2554 3) การนาเสนอโครงการด้วยแผ่นพับ ในการเป็น BEST PRACTICE ตัวอย่างแก่ เพื่อนครูที่มาศึกษาดูงาน ณ ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์ โรงเรียน อนุบาลกาญจนบุรี 4) การนาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมวิถีพุทธ เสนอต่อคณะกรรมการพิจารณา เสาเสมาธรรมจักรทองคา ผล โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรีได้รับรางวัลเสา เสมาธรรมจักรทองคาประจาปี 2555 5) จัดทารูปเล่มโครงการพี่พาน้อง ร่วมเรียนรู้ปูชนียบุคคล แก่เพื่อนครูที่เข้าร่วม โครงการทุกระดับชัน้ เพื่อเป็นตัวอย่างในการสรุปผลโครงการและจัดแสดงที่ ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์ 6) การนาเสนอนิทรรศการในการต้อนรับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่ โรงแรมราชศุภมิตร ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2555 7) ได้รับการคัดเลือกการจัดทาสื่อ BEST PRACTICE พี่พาน้อง ร่วมเรียนรู้ปูชนีย บุคคลส่งสพฐ .ให้เข้าร่วมการประชุมสัมมนา ๑๐๐ ปี ศรีรัตนโกสินทร์ ที่ศูนย์ มนุษย์วทิ ยาสิรินทร เมื่อวันที่ 8 – 10 สิงหาคม 2555

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

215


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

216

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนขยะมีประโยชน์” (กองทุนบุญจากขยะ)

ความเป็นมา / สภาพปัญหา ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดาเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ตามพุทธศักราช 2544 ดังนี้ ครู โรงเรียนอนุบาลวัดไชย ตามมาตรฐาน ส.5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสรรพสิ่งแวดล้อมทาง ชุมพลชนะสงคราม กายภาพ ที่กอ่ ให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และจิตสานึกอนุรักษ์ทรัพยากรและ โทรศัพท์ 081-9214103 สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ การพั ฒ นายั่ ง ยื น ตามมาตรฐานการเรีย นรู้ 5.2.3 เข้ า ใจ E-mail : Panyotop-2498-56@hotmail.com ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม ตระหนั กถึงผลจากการ กระท าของมนุ ษ ย์ ที่ มี ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มด าเนิ น ชี วิ ต ตามแนวทางการอนุ รั ก ษ์ ทรั พยากรธรรมชาติแ ละสิ่ ง แวดล้อ ม มีส่ ว นร่ ว มแก้ปัญ หา และส่ งเสริม คุ ณภาพ สิ่งแวดล้อม เริ่ ม จากข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ต นตามแนวพระราชด ารั ส พระบาทสมเด็ จ พระ เจ้าอยู่หัวในเรื่องการอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อมภายในบ้านของตนเอง จากที่นักเรียนและครู ได้เดินรอบ ๆ อาคารเรียนเพื่อสารวจสิ่งแวดล้อมรอบโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม ปรากฏว่ามีขยะที่มีประโยชน์มากมาย นักเรียนและครู มีแนวคิดที่จะ เก็บของเหล่านี้ เพราะมีประโยชน์ พุทธศักราช 2550 ได้นาขยะมีประโยชน์ดังกล่าว มาจัดกิจกรรมกับนักเรียนในชั้นเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดไชยชุมพลชนะ สงคราม อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี กิจกรรมดังกล่าว ได้จัดถึง พุทธศักราช 2552 ได้ขยายไปในทุก ๆ ห้องเรียน แต่ละห้องเรียนมีขยะที่มีประโยชน์ เป็นของตนเอง พุทธศักราช 2552 กิจกรรม “ขยะมีประโยชน์”นักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมร่างโครงงานคุณธรรมเยาวชนทาดีถวายในหลวง(สพป.กจ.1) นักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมร่างโครงงานคุณธรรมเยาวชนทาดีถวายในหลวง

นางปัญญาทิพย์ อานาจ

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อดาเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระดารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ ัวภูมพิ ลอดุลยเดช 2) เพื่อปลูกฝังคุณธรรม สร้างจิตสานึก การจัดการขยะที่ดี ช่วยลดมลภาวะ รักษาสิ่งแวดล้อมนาขยะมาทาให้เกิดประโยชน์ 3) เพื่อฝึกการทางานที่เป็นระบบ ทางานเป็นทีม การใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 4) มีรายได้จากขยะมีประโยชน์ ทีน่ ักเรียนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นาไปซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการเรียนของตนเองทุกปี 5) รายได้ส่วนหนึ่งของ “ขยะมีประโยชน์” ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้ นาเงิน ส่วนหนึ่งของ“ขยะมีประโยชน์ ” ฝึ กกิ จกรรมทองม้ว นทองพั บ เพื่อ บู ร ณาการภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ในกลุ่ ม สาระสั ง คมศึ ก ษา ศาสนาและ วั ฒ นธรรม ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรม 1 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ 1 ชั้น เรี ย น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม เป็ น ทุนการศึกษาของนักเรียนตั้งแต่พุทธศักราช 2550 จนถึงปัจจุบัน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ทองม้วนทองพับ เป็นกิจกรรม 1 ผลิตภัณฑ์ 1 ชัน้ เรียน ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 มีการเผยแพร่ผลงานออกจาหน่าย ดังนี้  วันเปิดบ้านคุณธรรม  งานวันวิชาการโรงเรียน เช่น วันภาษาไทย (ประจาทุกปี)  งานศิลปหัตถกรรม ครัง้ ที่ 60 ระดับภาคกลางและภาคตะวันออกจังหวัด กาญจนบุรี (ม.ค. 2555) และเผยแผ่ผู้ที่มาศึกษาดูงานของโรงเรียนต่าง ๆ โรงเรียนเห็นความสาคัญของกิจกรรม “ขยะมีประโยชน์” จึงได้จัดรูปแบบพัฒนา กิจกรรมมาเป็น โครงการ “กองทุนบุญจากขยะ” ตัง้ แต่พุทธศักราช 2552 เพื่อเป็น ทุนการศึกษาแก่นักเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างจิตสานึกในการใช้สิ่งแวดล้อม 2) เพื่อฝึกให้นักเรียนมีนสิ ัยรักความสะอาด 3) รายได้จากการปฏิบัตกิ ิจกรรม “กองทุนบุญจากขยะ” ในครั้งนี้ เป็น ทุนการศึกษาของนักเรียนโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม 4) นักเรียนได้นาความรู้ที่ได้ฝึกปฏิบัตนิ าไปใช้ในชีวิตประจาวัน ฝึกให้นักเรียน เสียสละ มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา มีความภาคภูมใิ จที่มสี ่วนร่วมใน กิจกรรม “กองทุนบุญจากขยะ”

217 ตัวอย่างอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เริ่มจากที่บ้านคุณครูปัญญทิพย์ อานาจ

ขยะที่นี้หมายถึง...หลอดยาสีฟัน กล่องสบู่...กล่อง...กระดาษ...ฯลฯ ปกติขยะบ้านครูจะไม่ทิ้งเลย

วิธีดาเนินการกองทุนบุญจากขยะ”  ชี้แจงนักเรียนทุกสายชั้น  ดาเนินตามกิจกรรม  สรุปผลและรายงานผลสิน้ ปีการศึกษา

ผลสาเร็จของงาน  การปฏิบัตกิ ิจกรรมในครัง้ นี้นักเรียนทุกชัน้ เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม  ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตาม หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ตามพุทธศักราช 2551

การประเมินความสาเร็จ 1) นักเรียนได้รับทุนการศึกษาต่อเนื่องทุกปี 2) นักเรียน คณะครู ผู้ปกครอง และชุมชนมีส่วนร่วมในการนาขยะมาบริจาค จากการบริจาคในกิจกรรมกองทุนบุญจากขยะ ได้นาเงินมาจัดสรรเป็นทุนการศึกษา ดาเนินการต่อเนื่องจากขยะมีประโยชน์ตงั้ แต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 5 ปี 3) กิจกรรมกองทุนบุญจากขยะได้เข้าร่วม ประเมิน “โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก ได้รับรางวัลที่ 2 ระดับประเทศ”

ปัจจัยเกื้อหนุนที่ทาให้เกิดความสาเร็จ 1) นักเรียนมีจิตสานึกในการลดขยะ 2) นักเรียนมีความเสียสละมีจติ อาสาและภาคภูมใิ จ ที่มสี ่วนร่วมในกิจกรรม “กองทุนบุญจากขยะ”

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ผู้ปกครองกับนักเรียนมาซือ้ ขยะที่บา้ นค่ะ ขายได้ประมาณ 1 คัน รถซาเล้งได้ 80 บาท


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

218

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การเผยแพร่ / การยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ

เริ่มมาช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน โรงเรียนของ 4/4 (ขยะมีประโยชน์)กาลังช่วยกันรวบรวมขยะ ส่งคุณครูครับ

1) เข้าร่วมประเมินโครงการคุณธรรมในสถานศึกษา โรงเรียนได้รับรางวัล (Quality Award)ระดับจังหวัด ประเภทโรงเรียนประถมศึกษา/ ขยายโอกาส เมื่อ 13 ธันวาคม 2) นานักเรียนเข้าร่วมร่างโครงงานคุณธรรมเยาวชนไทยทาดีถวายเพื่อในหลวง โครงงาน ขยะมีประโยชน์ (Useful Refuse) วันที่ 29 พฤษภาคม 2552 3) เข้าร่วมประเมินมาตรฐานศีลธรรมในสถานศึกษา เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2552 4) กิจกรรมขยะมีประโยชน์ เข้าร่วมประเมินโครงการสร้างจิตสานึกประหยัด พลังงานในสถานศึกษา 5) ตัวแทนครูและนักเรียนเข้าร่วมการวิจัย เรื่องบ้านอยูส่ บายของฉัน เมื่อที่ จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2553 6) เข้าร่วมประเมินโครงการคุณธรรมในสถานศึกษา ได้รับรางวัลที่ 2 ระดับประเทศ ระดับโรงเรียน เครือข่าย ขยายโอกาส วันที่ 26 มิ.ย. 2553 7) กิจกรรม“ขยะมีประโยชน์”เมื่อสิ้นปีการศึกษาได้มอบรายชื่อนักเรียนที่ได้รับ ทุน ส่งต่อในสายชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 (ตัง้ แต่พุทธศักราช 2550 - 2552) ต่อมาโรงเรียนเห็นความสาคัญของกิจกรรม “ขยะมีประโยชน์” ได้ขยาย มาเป็นโครงการของโรงเรียน คือ “กองทุนบุญจากขยะ” และได้มอบ ทุนการศึกษาให้กับนักเรียนโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงครามในวัน ไหว้ครูของทุกปี โดยพระราชวิสทุ ธิเมธีสงคราม

ส่งขยะ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

219

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

“เทคนิค Walk Rally ที่กาญจนบุรีเก่า” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม Walk Rally ให้เหมาะสมและสอดคล้อง กับกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม  เพื่อจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบค้นพบ โดยใช้ กระบวนการกลุ่มจากกิจกรรม Walk Rally  เพื่อเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นความสนใจ เกิดความสนุกในการเรียนให้ ผู้เรียนสนใจในการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรมมากขึน้

ระยะเวลาในการพัฒนา พฤษภาคม 2551 – พฤษภาคม 2555 ความเชื่อมโยง /ความสัมพันธ์เป้าหมายสถานศึกษา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมส่วนใหญ่มเี นื้อหาที่เป็นนามธรรม นักเรียนเบื่อหน่ายในการเรียนแบบเดิมคือ อ่านเนื้อหาแล้วตอบคาถามจากเนื้อหา ในการ สอนระดับประถมศึกษาครูจึงจาเป็นต้องหาเทคนิค วิธีการสอนให้นักเรียนเรียนรู้ดว้ ย กระบวนการกลุ่ม เพื่อเชื่อมโยงความรู้ความเข้าใจ กระตุน้ ความสนใจ ให้นักเรียนในการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ พร้อมทั้งพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ด้านการมีวินัยของ นักเรียนในการเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการกลุ่ม

แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบโมเดลซิปปา ( CIPPA MODEL)

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1– ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” จานวน 109 คน  ขั้นตอนการพัฒนา การ ทบทวน ความรู้เดิม

การสรุป และจัด ระเบียบ ความรู้ การ แลกเปลี่ยน ความรู้ความ เข้าใจกับกลุ่ม

การ แสวงหา ความรู้ใหม่

การศึกษา ทาความ เข้าใจ ข้อมูล

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสุจนิ ตนา บุษกรจงกลกุล ครู โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า "อุดมราษฎร์วิทยา" โทรศัพท์ 087-0866918 E-mail : sujin02@hotmail.com กิจกรรม Walk Rally เข้าค่ายพุทธบุตร – พุทธธรรม


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

220

กิจกรรม Walk Rally รักการอ่าน

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ ในการตรวจคุณภาพ ได้ใช้วธิ ีการประเมินผล การดาเนินงานเป็น ๓ ระยะ คือ ประเมินก่อนดาเนินการ ประเมินระหว่างดาเนินการ และประเมินหลังสิ้นสุดการดาเนินการ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินจะมีหลากหลาย เช่น แบบสังเกต แบบสอบถาม เป็นต้น และเมื่อประมวลผลจากการประเมินแล้ ว จะ นาผลที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนา ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ ต่อไป  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) ใช้ในการจัดกิจกรรมเข้าค่ายพุทธบุตร-พุทธธรรม ในรายสาระพุทธศาสนา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัด กาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” 2) ใช้ในโครงการมัคคุเทศก์นอ้ ย ในรายสาระประวัตศิ าสตร์ การจัดกิจกรรม มัคคุเทศก์นอ้ ย พาน้องศึกษาแหล่งเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์ เมืองกาญจนบุรีเก่า 3) ใช้ในการจัดกิจกรรม “Walk Rally รักการอ่าน” โครงการห้องสมุด  ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 95.00 มีวนิ ัยในการร่วม กิจกรรมและสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีความสุข สนุกสนานในการเรียน แบบเป็นฐานการเรียนรู้ และทุกกลุ่มสามารถนาเสนอผลงานหลังจากร่วมกิจกรรม “Walk Rally”  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนมีความพึงพอใจและมีความสุข ในการเรียนโดยใช้“เทคนิคการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม Walk Rally”โดยสังเกตจากการ ปฏิบัตกิ ิจกรรมร้อยละ 100  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความสนใจใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองได้ 2) ผู้บริหาร เพื่อนครูให้การสนับสนุน 3) กระบวนการเรียนรู้ การวางแผน ดาเนินงานมีประสิทธิภาพ

กระบวนการตรวจสอบซา  วิ ธี ก ารตรวจสอบซ้ า จั ด กิ จ กรรมอย่า งต่ อ เนื่อ ง โดยมีก ารประเมิ น กิจกรรมทุกครั้ง นาผลการประเมินมาใช้ ปรับปรุงและพัฒนาต่อไป  ผลการตรวจซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นาผลประเมินมาปรับปรุง พัฒนาเทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรม Walk Rally ให้มีคุณภาพยิ่งขึน้ และมีการเผยอย่างแพร่หลาย

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) เผยแพร่โครงการมัคคุเทศก์นอ้ ยให้กับนักเรียนในเครือข่ายลาดหญ้า ในโครงการเข้าค่ายลูกเสือ – เนตรนารี ปีการศึกษา 2552 จานวน 7 โรงเรียน 2) เผยแพร่โครงการมัคคุเทศก์นอ้ ยให้กับคณะครูในเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 ที่เข้ารับการอบรมห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2552 3) เผยแพร่โครงการมัคคุเทศก์นอ้ ยให้กับนักศึกษาจีน จากมหาวิทยาลัยราชภัฎ กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2552 4) เผยแพร่โครงการมัคคุเทศก์นอ้ ยให้กับคณะศึกษาดูงานจากหอการค้าจังหวัด กาญจนบุรี 5) เผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการมัคคุเทศก์นอ้ ยให้กับคณะครูและ นักเรียนจังหวัดสุพรรณบุรี-กาญจนบุรีในโครงการ “ตามรอยภูมินามวรรณคดี เรื่องขุนช้าง-ขุนแผนสุพรรณบุรี-กาญจนบุร”ี ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎ กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2552 6) เผยแพร่ทาง จุลสารและ websiteโรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์ วิทยา” 7) นักเรียนได้รับรางวัล การประกวดมารยาทไทย ชนะเลิศระดับกลุม่ เครือข่าย โรงเรียน รางวัลเหรียญทอง ระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต1 ปีการศึกษา 2553 และรางวัลเหรียญทอง อันดับ 2 ในปีการศึกษา 2554 8) โครงงานคุณธรรม “ถุงนมลดโลกร้อน” เข้าประกวดในโครงการโรงเรียนวิถี พุทธได้รับรางวัลเหรียญทอง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

221 กิจกรรม Walk Rally มัคคุเทศก์นอ้ ย


222

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

“การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยการทาโครงงาน” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นำงฐิติรัตน์ ธูปทอง ครู โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม โทรศัพท์ 089-9181106 E-mail : Sampan@hotmail.com

 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียน อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม  เพือ่ ฝึกกระบวนการทางปัญญา (ทางสังคม)ในการแก้ปัญหาในการทา โครงงาน และเรื่องอื่นๆ  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีนสิ ัยรักการค้นคว้า แสวงหาความรู้ ใช้ความรู้ให้ เป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง และสังคม  เพื่อสร้างคนดีให้สังคม จะได้ช่วยแก้วกิ ฤตของชาติต่อไป

ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2554 ปีการศึกษา 2555 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา

กิจกรรมสืบทอดศาสนา

โรงเรีย นอนุ บาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม เป็นโรงเรียนที่มีบริบทเป็ น โรงเรียนวัด ดังนัน้ การจัดการเรียนการสอนจึงมุง่ เน้นการใช้หลักคุณธรรมนาความรู้ที่ สนองกลยุทธ์ สพฐ.ข้อ 2 : ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และ วิถี ชีวิต ตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และเพื่อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บการประกั น คุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 1 : ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมที่พึง ประสงค์และ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวสิ ัยทัศน์ รวมทั้งพัฒนานักเรียน ทั้งด้าน ความรู้ และทักษะกระบวนการ และเจตคติ เพิ่มพูนศักยภาพทางการเรียน อย่าง ต่อเนื่อง จุดเน้นของผู้เรียนมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน มีทักษะชีวิต มีคุณลักษณะใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักการทางาน มีจิตสาธารณะ

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา

กิจกรรมศูนย์ผู้พักพิง

โครงงานคุณธรรม หรือโครงงานความดี ส่งเสริมการทาความดีมคี ุณธรรม เชิงรุก โดยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สกึ เป็นเจ้าของ ผ่านเทคนิควิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach )โดยประเด็นที่เลือกทาโครงงานจะต้องมาจากความคิดริเริ่มของ ผู้เรียนเอง เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง ในลักษณะวิจัยเชิงปฏิบัติการ ( action research ) นาไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านความเสื่อมทรามทางศีลธรรม หรือ ส่งเสริม การบ่มเพาะความดีมคี ุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ รวมทั้งการขยายการ มีส่วนร่วม (win-win situation )ไปสู่บุคคลต่างๆในสถานศึกษาและชุมชน โครงงาน คุณธรรมจึงมีลักษณะเปิดกว้างไร้ขีดจากัด ( education for all) เน้นการนาปัญหาใน ชีวติ จริงมาเรียนรู้ผ่านการทาโครงงาน อันจะเป็นการเรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิตด้วย กระบวนการทางปัญญา (ทางสังคม) แก่นของการเรียนรู้ก็คือ “ร่วมกันทำดีอย่ำงมี ปั ญญำ”โดยเริ่ ม จากความเป็ น กั ล ยาณมิต ร ที่ ใ ฝ่ คิ ด ดี ใฝ่ ทาดี ที่ ประยุ ก ต์ม าจาก กระบวนการเรียนรู้วิถีพุทธ(กระบวนการ3ป ) การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

223

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แบบจำลองกระบวนกำร 3 ป

D

กัลยาณมิตร

A

B

ปัญญา จิตใจ พฤติกรรม

 ควำมหมำย ลูกศร A : ปริยัติ คือ การรู้วา่ ศีล สมาธิ ปัญญา คืออะไรบ้างและมีลักษณะอย่างไร ลูกศร B : ปฏิบัติ คือ การนาเอาความเข้าใจในเรื่อง ศีล สมาธิ ปัญญา มาลงมือทา ลูกศร C : ปฏิเวธ คือ ผลที่เกิดขึ้นกับตนหลังจากการปฏิบัตติ ามหลัก ศีล สมาธิ ปัญญา และยึดหลัก 8 คุณธรรมพื้นฐาน ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวนิ ัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีนาใจ ้ อีกทัง้ กิจกรรมโครงงานคุณธรรมจะต้องสอดคล้องกับหลัก เศรษฐกิจพอเพียง พอดี พออยู่ พอกิน เสมอ ลูกศรD : ต่อเนื่อง

ปัญญา จิตใจ สังคม กาย

C

เล่นดนตรี

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้ำหมำย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม  ขั้นตอนกำรพัฒนำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุม พลชนะสงคราม ยังมีความสามารถในการทาโครงงานคุณธรรมน้อยมาก อีกทั้งขาด ทักษะในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ จึงต้องฝึกกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคุณธรรม ทั้งในและนอกเวลาเรียน เนื่องจากมีเวลาเป็นตั วแปร ทาให้ขาดโอกาสในการเรียนรู้ ดังนัน้ ครูผู้สอนจึงเลือกจัดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคุณธรรมขึ้น โดยศึกษาหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาเป็นสาคัญ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีจุดเน้น เรื่องคุณภาพ สมรรถนะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แล้วจึงดาเนิ นการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนการทาโครงงานคุณธรรม 6 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1  ตระหนักรู้  ประชุมชีแ้ จงสร้างความเข้าใจเกีย่ วกับการทาโครงงาน  ใช้คาถามจุดประกายความคิดในเรื่องเหตุการณ์ปัจจุบัน หรือเรื่องที่ทันสมัย หรือเรื่องที่เกิดรอบตัว เรื่องที่นักเรียนสนใจ  เสนอหรือเลือกเรื่องที่สนใจ เรื่องที่อยากรู้ อยากทา อยากค้นคว้า  วางแผนการจัดทาโครงงานจากประเด็นเรื่องที่อยากทา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

เล่นกีฬา


224

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนที่ 2  กำรรวบรวมองค์ควำมรู้ทเี่ กี่ยวข้อง  ดาเนินการรวบรวมข้อมูลจากหนังสือห้องสมุด จากการสัมภาษณ์ จากการ สังเกต จากการสารวจ จาก internet ขั้นตอนที่ 3  กำรจัดทำร่ำงโครงงำน

เล่นกีฬา

เรียนรู้ ท้องถิ่น

 ขั้นตอนนีเ้ ป็นการคิดพิจารณาวางแผนงานในรายละเอียดและภาพรวมทั้งหมด โดยนาข้อมูลทั้งหมดมาเรียบเรียงและจัดทาเป็นเอกสารโครงงานที่มีหัวข้อต่างๆ ตามที่กาหนดไว้อย่างน้อย 13 หัวข้อ (จานวน10-20 หน้ากระดาษขนาดA4)ดังนี้ 1) ชื่อโครงงาน 2) กลุ่มเยาวชนที่รับผิดชอบโครงงาน และสถานศึกษา 3) ที่ปรึกษาโครงงาน 4) วัตถุประสงค์ (ไม่ควรเกิน 5 ข้อ ) 5) สถานที่และกาหนดระยะเวลาดาเนินการ 6) ผังมโนทัศน์ 7) สาระสาคัญของโครงงาน 8) การศึกษาวิเคราะห์ 9) วิธีการดาเนินงาน 10) งบประมาณและแหล่งที่มาของงบประมาณ 11) ผลที่คาดว่าจะได้รับ 12) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา 13) ความคิดเห็นและความรูส้ กึ ของประธานกลุม่ เยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน ขั้นตอนที่ 4  กำรดำเนินกำรโครงงำน มี 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 บุกเบิก-แก้ปัญหา (ส่งเสริม บ่มเพาะ) ระยะที่ 2 ตอกย้า-ขยายผล ขั้นตอนที่ 5  กำรสรุปประเมินผลและเขียนรำยงำน  ขั้นตอนนีม้ าจากร่างโครงงานทั้ง 13 หัวข้อที่ทาไว้ จากข้อมูลที่ได้จากการสรุป นามาใช้จัดทาเป็นเอกสารนาเสนอโครงงาน 5-6 รายการ ดังนี้ 1) รายงานโครงงาน 2) สรุปย่อโครงงาน 1 หน้ากระดาษ 3) แผ่นพับนาเสนอโครงงาน 4) สื่อ Presentation เช่น Powerpoint หรือVCD 5) แผ่นป้ายนิทรรศการโครงงาน 6) เวบเพจ ขั้นตอนที่ 6  กำรนำเสนอโครงงำน  กำรตรวจสอบคุณภำพ 1) แบบประเมินผลงานโครงงานคุณธรรม ) คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 81 2) แบบวัดเจตคติทางสังคม ระดับมาก 3) แบบทดสอบทักษะและกระบวนการทางสังคม คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 83

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 แนวทำงกำรนำไปใช้ 1) นามาพัฒนาการทาโครงงานในด้านต่างๆ ในโอกาสต่อไป 2) ทาให้นักเรียนมีจิตสาธารณะ กล้าแสดงออก มีความสามารถในการ ตัดสินใจ มีมารยาท มีนาใจ ้ มีความกล้าหาญทางจริยธรรม เช่น การสมัคร เป็นประธานนักเรียน การประกวดกล่าวสุนทรพจน์ การเข้าร่วมรณรงค์ กิจกรรมต่างๆ ทางสังคม 3) พัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมอื่นๆ เช่น กิจกรรมวันสาคัญ กิจกรรมพุทธชยันตี ฯลฯ 4) เผยแพร่ผลงานนี้ไปยัง ผู้ที่สนใจ เป็นสาธารณะประโยชน์ และเป็นธรรมทาน

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสำเร็จเชิงปริมำณ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนอนุบาลวัดไชย ชุม พลชนะสงครามได้พั ฒ นาทั ก ษะและกระบวนการทางสั ง คมจากการทาโครงงาน คุณธรรมได้ ร้อยละ 83  ผลสำเร็จเชิงคุณภำพ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนอนุบาลวัดไชย ชุมพลชนะสงครามมีเจตคติที่ดที างสังคม มีความสามารถในการทาโครงงานคุณธรรม และสามารถนาความรู้ไปพัฒนาทาโครงงานวิชาอื่นๆ  ควำมพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรี ยนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงครามมี เจตคติทางสังคมระดับมาก (แบบวัดเจตคติทางสังคม) 2) ครู ชุมชน และผู้ปกครองมีความภาคภูมิใจเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาของ โรงเรียน 3) ผู้บริหารเห็นความสาคัญของกิจกรรม ให้คาแนะนา และสนับสนุน  ปัจจัยควำมสำเร็จของกำรพัฒนำ 1) การสอดแทรกกระบวนการทาโครงงานคุณธรรมในกิจกรรมการเรียนการสอนในและ นอกชัน้ เรียน 2) นักเรียนมีครูผู้สอนเป็นที่ปรึกษาปัญหา ข้อสงสัย และเสนอแนะแนวทางในการ ดาเนินงาน 3) นักเรียนนาผลสาเร็จของโครงงานไปขยายผล ในชั้นเรียน ในชุมชน ในสังคม 4) ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย 5) นักเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีกำรตรวจสอบซ้ำ ตรวจสอบผลงาน (โครงงานคุณธรรม) วัดเจตคติทาง สังคม (ทางปัญญา) และประเมินพฤติกรรมนักเรียน (ขณะปฏิบัตโิ ครงงาน)

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

225


226

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลกำรตรวจสอบซ้ำเพื่อกำรพัฒนำและปรับปรุง 1) นักเรียนได้สง่ ผลงานเข้าประกวด จนได้รับรางวัลดังนี้  โครงงานคุณธรรมเรื่อง เยาวชนจิตอาสาพัฒนาบวร ลดโลกร้อนโดย อยู่อย่างพอเพียง เอาเยี่ยงสมเด็จพ่อ ได้รับรางวัลชนะเลิศ โครงงาน เฉลิมพระเกียรติฯ สพป.กจ.1  โครงงานคุณธรรมเรื่อง นักเรียนวัดใต้มใี จกรุณา อาสาดูแลผูป้ ระสบ อุทกภัย เพื่อถวายในหลวง ได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศ อันดับ 1 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 61 สพป.กจ.1 2) นักเรียนมีสามารถในการทาโครงงานคุณธรรมเพิม่ ขึ้นมาก 3) นักเรียนมีเจตคติที่ดตี ่อการทาโครงงานคุณธรรมมากขึน้

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) นาเสนอจัดนิทรรศการที่หอ้ งปฏิบัตธิ รรมเจ้าคุณไพบูลย์ ณ อาคาร 72 ปี โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม แก่ผู้มาศึกษาดูงานตลอดปี การศึกษา 2554 -2555 2) นาเสนอจัดนิทรรศการวันวิชาการ (Academic Show Share 2012 ) วันที่ 27กรกฎาคม 2555 ณ โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม 3) นาเสนอโครงงานคุณธรรมเยาวชนจิตอาสาพัฒนาบวร ลดโลกร้อนโดยอยู่ อย่างพอเพียง เอาเยี่ยงสมเด็จพ่อ ณ ห้องประชุม 1 สพป.กจ.1 ( 21 กันยายน 2554 ) 4) นาเสนอโครงงานคุณธรรมเรื่องนักเรียนวัดใต้มใี จกรุณา อาสาดูแลผู้ประสบ อุทกภัย เพื่อถวายในหลวง ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่61 ระดับ เขตพื้นที่ ณ โรงเรียนอนุบาลท่าม่วง สพป.กจ.1 5) จัดทาเอกสารเผยแพร่ แผ่นพับ สื่อประกอบโครงงาน CD แบบสรุป โครงงาน 1หน้า ภายในโรงเรียน ในศูนย์เครือข่ายฯ ระหว่างศูนย์เครือข่าย และระหว่างจังหวัด เช่น เครือข่ายลาดหญ้า จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดเพชรบุรี ฯลฯ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

227

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

“ชุดกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ด้านมีความสามัคคีด้วยเพลงปลุกใจ ” หลักการเหตุผล / ความเป็นมา จากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม 2548 กล่าวว่านางอุไร วรรณ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เปิดเผยว่า จากโพลสารวจ วัฒนธรรมการใช้ชีวิตของเด็กและเยาวชน เรื่อง ชีวิตกับความเสี่ยง ของโครงการ ความร่วมมือระหว่างกระทรวงวัฒนธรรมกับสถาบันรามจิตติ ได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างเด็ก และเยาวชน 3,360 คน ระดับชัน้ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ใน 7 ภาค รวม 14 จั งหวัด โดยส ารวจตั้ง แต่ช่ว งเดือ น ก.ย. – ต.ค. ที่ ผ่า นมา แบ่งเป็น 5 หัวข้อ ได้แก่ หัวข้อ 1. ชีวิตท่ามกลางควันบุหรี่ มีเด็กและเยาวชนสูบบุหรี่ ถึงร้อยละ 11.4 สาเหตุที่ทาให้เด็กสูบบุหรี่ คือ อยากลองอยากเท่ เรายังพบอีกว่า เด็กระดับอาชีวะสูบบุหรี่สูงสุดร้อยละ 31.0 และเด็กมหาวิทยาลัยสูบบุหรี่จัดสุด 8 มวนต่อวัน ซึ่งจะเห็นได้ว่าเด็กที่อยู่หอพักจะสูบบุหรี่ถึงร้อ ยละ 21.8 เด็กอยู่บ้านสูบ บุหรี่ร้อยละ 11.7 นอกจากนี้เด็กคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.5 – 2.00 สูบบุหรี่ถึงร้อยละ 29.2 ส่วนคะแนนเฉลี่ย 3.5 – 4.00 สูบบุหรี่ร้อยละ 3.2 หัวข้อที่ 2. ชีวิตในวงเหล้า พบว่าเด็กไทยดื่มเหล้าถึงร้อยละ 25.8 โดยเพศ ชายดื่มเหล้าร้อยละ 40.3 เพศหญิงดื่มเหล้าร้อยละ 19.1 สาเหตุมาจากความอยาก ลองอยากเท่ ตามเพื่อน ตามรุ่นพี่ ภาคเหนือตอนล่างมีอัตราเด็กและเยาวชนดื่มเหล้า สูงถึงร้อยละ 38.6 รองลงมากรุงเทพฯและปริ มณฑลร้อยละ 35.6 และเมื่อเทียบ ระดับการศึกษาเด็กมหาวิทยาลัยจะดื่มเหล้าสูงสุดถึงร้อยละ 56.5 ตามด้วยเด็กอาชีวะ ร้อยละ 51.4 เด็กที่อยู่หอพักดื่มเหล้าร้อยละ 42.3 แต่ขณะที่เด็กอยู่บ้านตัวเองดื่ม เหล้าร้อยละ 28.2 อย่างไรก็ตามเด็กคะแนนเฉลี่ยต่ามีแนวโน้มดื่ม เหล้ามากกว่า โดย คะแนนเฉลี่ย 1.5 – 2.00 ดื่มเหล้าร้อยละ 42.0 ส่วนคะแนนเฉลี่ย 3.5 – 4.00 ดื่ม เหล้าร้อยละ 10.7 หัวข้อที่ 3. ชีวิตเสี่ยงโชค ท้าพนัน พบว่าเด็กและเยาวชนชอบเล่นการพนัน คือ เล่นไพ่ พนันบอล หวยใต้ดิน บนดิน เด็กอาชีวะเล่นพนันมากที่สุดร้อยละ 46.6 ซึ่งเด็กและเยาวชนในภาคเหนือตอนล่างเล่นการพนันสูงถึงร้อยละ 47.0 และยังบอกอีก ว่าเพื่อนในกลุ่มที่สนิทกันยังมีการเล่นพนันบอลถึงร้อยละ 21.2 ทั้งนี้ยังมีเด็กร้อยละ 20.9 เคยพบเห็นความรุนแรงหรืออาชญากรรมที่มาจากการพนัน คือ การทาร้าย ร่างกาย ลักขโมย การขู่กรรโชคทรัพย์ รีดไถเงิน การค้าประเวณี และยังคิดว่าการส่ง เอสเอ็มเอสชิงโชคเป็นการส่งเสริมให้วัยรุ่นติดการพนันด้วย หัวข้อ 4. ชีวติ เสี่ยงตีรันฟันแทงนัน้ พบว่า เด็กร้อยละ 41.2 มีประสบการณ์ ชกต่อยหรือตีกับผู้อนื่ โดยเด็กระดับอาชีวะศึกษามีประสบการณ์สูงสุดร้อยละ 49.7 ตามด้วยมัธยมต้นร้อยละ 49.2 ส่วนเด็กหอพัก คอนโดฯ มีประสบการณ์ชกต่อย มากกว่าเด็กที่อยู่บ้านตัวเองร้อยละ 53.2 ขณะที่เด็กชานเมืองชก การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางพิมพรรณ อยู่สขุ ครู โรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ โทรศัพท์ 083-3128075 E-mail : pimpun2011@hotmail.com

การศึกษาวิเคราะห์สภาพสังคม

ปัจจุบัน

ภาพความขัดแย้งทางการเมือง


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

228

ภาพความขัดแย้งของ สถาบันการศึกษา

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ต่อยตบตีมากกว่าเด็กในเมืองร้อยละ 46.3 ในขณะเดียวกันเด็กร้อยละ 40.5 เคยพบ เห็นเพื่อนในโรงเรียนพกอาวุธ อันดับหนึ่งจะเป็นมีดร้อยละ 57.02 อันดับสองปืน หรือปืนปากการ้อยละ 20.18 อันดับสามดาบร้อยละ 11.02 อันดับสี่ระเบิดขวดร้อย ละ 6.19 และเด็กร้อยละ 37.4 บอกว่ามีเพื่อนในกลุ่มเคยตีกับนักเรียนโรงเรียนอื่น ส่วนเด็กร้อยละ 34.8 ยังบอกอีกว่าถ้าเพื่อนถูกทาร้ายมาต้องแก้แค้น หั ว ข้ อ ที่ 5. สุ ด ท้ า ยชี วิ ต ซิ่ ง บนท้ อ งถนน พบว่ า เด็ ก ร้ อ ยละ 67.9 นิ ย มขี่ มอเตอร์ไซค์ ในจานวนนี้ร้อยละ 30.8 ไม่ชอบสวมหมวกกันน็อก ด้วยเหตุผลที่ว่า มองไม่ถนัด ร้อน และความหล่อ ความสวย นอกจากนี้เด็กยังชอบเสพสื่อที่สร้าง ความรุนแรงและสื่อลามก โดยเด็กร้อยละ 54.4 บอกว่าชอบดูหนังยิงกัน ฆ่ากัน ร้อยละ 43.8 ชอบเล่นเกมต่อสูใ้ นคอมพิวเตอร์ซึ่งเด็กและเยาวชนร้อยละ 19.4 บอก ว่าชอบดูส่ือหรือรูปโป๊ ร้อยละ 35.7 บอกว่ าในกลุ่มมีเพื่อนสนิทที่ชอบดูส่ือโป๊ และ ร้อยละ 20.6 บอกว่าเคยเห็นสื่อโป๊ในบ้านตนเอง นอกจากนี้เด็กร้อยละ 20.9 ยัง ชอบคุยเรื่องเซ็กซ์ และร้อยละ 36.8 มีเพื่อนสนิทที่ชอบคุยเรื่องเซ็กซ์ อีกทั้งเด็กร้อย ละ 20.9 ยังบอกว่ามีเพื่อนมาชวนหนีเรียนก็จะไป อย่ างไรก็ตามจากผลการสารวจ เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงสาหรับเยาวชนไทย เนื่องจากเป็นกลุ่มคนที่จะต้องมาเป็นกาลัง ของชาติในอนาคต จาต้องมีการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกันอีกครั้งเพื่อหาแนว ทางแก้ไขและจัดทาเป็นนโยบายในการเสริมสร้างให้เด็กและเยาวชนเห็นโทษภัยของสิ่ง เหล่านี้มากยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์  เพื่อผลิตสื่อชุดกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการด้านมี ความสามัคคีด้วยเพลงปลุกใจ  เพื่อพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการด้านมีความสามัคคี ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ

แนวคิด / ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ปฐมาพร อาสน์วิเชียร ให้ความหมายของชุดกิจกรรมว่า หมายถึง ชุดการ สอนที่ครูนานวัตกรรมและกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต่าง ๆ มาบูรณา การ เพื่อให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมอันพึงประสงค์ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ในการ เรียนที่วางไว้ ชัยพร รูปน้อย กล่าวว่าเพลงก่อให้เกิดความสนุกสนาน ร่าเริง เพลิดเพลิน ใจ และผ่อนคลายความเครียด ส่งเสริมให้เกิดรสนิยมที่ดีต่อศิลปะในด้านบทเพลง และดนตรี ถ้านาเพลงไปใช้ในการเรียนการสอนแล้วจะทาให้นักเรียนไม่เบื่อหน่ายต่อ วิ ช าที่ เ รี ย น และยั ง ช่ ว ยให้ เ ข้ า ใจในบทเรี ย นยิ่ ง ขึ้ น ท าให้ ผ ลการเรี ย นดี ขึ้ น ด้ ว ย นอกจากนี้เพลงยังส่งเสริมให้มีความกล้าแสดงออก ทาให้เกิดความสามัคคีในหมูค่ ณะ อีกด้วย

การดาเนินงาน สาเหตุที่แท้จริงของปัญหาปัญหาในโรงเรียน จากการสารวจปัญหานักเรียนโรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ สามารถสรุป ปัญหา ดังนี้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

229

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1. นักเรียนไม่ทาเขตรับผิดชอบ 2. นักเรียนลอกการบ้าน 3. นักเรียนขาดเรียน 4. นักเรียนมาโรงเรียนสาย 5. นักเรียนไม่มมี ารยาท 6. นักเรียนแต่งกายไม่ถูกระเบียบ 7. นักเรียนทะเลาะกัน

8. นักเรียนก้าวร้าว 9. นักเรียนไม่รักษาความสะอาด 10. นักเรียนออกนอกบริเวณโรงเรียน 11. นักเรียนเข้าแถวไม่เป็นระเบียบ 12. นักเรียนทานอาหารไม่เป็นที่ 13. นักเรียนไม่ทาความสะอาดห้องน้า 14. นักเรียนติดเกม 15. นักเรียนไม่รักษาทรัพย์สมบัตขิ องโรงเรียน การนาปัญหาทีพ ่ บจากการสารวจจากนักเรียนโรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ นามาสังเคราะห์กับคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ติดเกม

ไม่ตงั้ ใจทาเขตรับผิดชอบ

ประหยัด

ลอกการบ้าน

ขยัน

ซื่อสัตย์

แต่งกายไม่ถกู ระเบียบ

ไม่รักษาทรัพย์สมบัตโิ รงเรียน มาโรงเรียนสาย

มีวนิ ัย

คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ

ขาดเรียนเข้า

มีนาใจ ้

แถวไม่เป็นระเบียบ

ไม่มมี ารยาท

ห้องน้าไม่สะอาด

สุภาพ

ก้าวร้าว

สะอาด

สามัคคี ทานอาหารไม่ถกู ที่

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ไม่รักษาความสะอาด ทะเลากัน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

230

ภาพประกอบชุดกิจกรรมการพัฒนา คุณธรรมพืน้ ฐาน 8 ประการ ด้านความสามัคคีด้วยเพลงปลุกใจ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

จาก การสารวจปัญหาในโรงเรียนแล้วนามาสังเคราะห์สรุปได้ว่า เด็กและ เยาวชนไทยขาดคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ในทุก ๆ ด้านทั้ง ขยัน ประหยัด สื่อสัตย์ มีนาใจ ้ สะอาด สามัคคี สุภาพ มีวนิ ัย และด้วยสภาพสังคมไทยปัจจุบัน เกิดการแตกแยกอย่างเห็นได้ชัด ข้าพเจ้าจึงสนใจการพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการด้านสามัคคี ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่สังคมไทยต้องการให้เกิดขึ้นอย่างมาก

แผนการดาเนินงาน / ระยะเวลาในการดาเนินงาน การดาเนินงานในระยะที่ 1 1) ประชาสัมพันธ์แจ้งให้ทราบเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรม 2) เปิดเพลงปลุกใจช่วงเวลาเช้าก่อนเคารพธงชาติ และช่วงพักรับประทาน อาหารกลางวัน 3) เชิญชวนผู้สนใจประกวดร้องเพลงปลุกใจ โดยแยกประเภทการประกวดเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การประกวดร้องเพลงปลุกใจประเภทบุคคล และ ประเภททีม มีรายละเอียดดังนี้ ลาดับที่ กิจกรรม 1 การแข่งขันร้องเพลงปลุกใจ การแข่งขันร้องเพลงปลุกใจ 2 ประกอบท่าทาง

ประเภท บุคคล

กลุม่ -

ทีมไม่เกิน 5 คน

กลุม่ ที่ 1-5

การดาเนินงานในระยะที่ 2 กลุ่มผู้รับผิดชอบ ครูที่ปรึกษากิจกรรม คณะครูและนักเรียนโรงเรียน วัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ ร่วมกันถอดบทเรียนการพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการด้านความสามัคคีดว้ ยเพลงปลุกใจ

ปัจจัยที่ทาให้ประสบผลสาเร็จ  ผู้บริหารโรงเรียนให้การสนับสนุน เป็นกาลังใจ ผู้ปกครอง ชุมชนให้ความ ร่วมมือ คณะครูและนักเรียนในโรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะเข้าร่วมกิจกรรม

บทเรียนที่ได้รับ  ทาให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรักใคร่ เห็นใจ และ ช่วยเหลือกัน ทาให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปฏิบัตหิ น้าที่สาเร็จไปด้วยดี และรวดเร็ว ทาให้สังคมในโรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ มีความสงบสุขและ เจริญก้าวหน้า  จุดเด่น ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ ด้วยตนเองตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้สอนคานึงถึง ผู้เรียนเป็นสาคัญ ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัตกิ ิจกรรมนัน้ ๆ อย่างไม่เบื่อ หน่าย และไม่ท้อถอยต่อการเรียน อีกทัง้ ยังเป็นการช่วยฝึกการทางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข  ข้อจากัด เนื่องจากนวัตกรรมนี้เป็นการพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียน ฉะนั้นต้องพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนซ้า ๆ บ่อย ๆ ละต่อเนื่อง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

231

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาทักษะนาฏศิลป์ ด้วยการแสดงจินตลีลาประกอบเพลงลูกทุ่ง ” เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนาทักษะทางนาฏศิลป์ให้สูงขึ้น  เพื่อให้เกิดค่านิยมในการร่วมกันอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยและเพลงลูกทุ่งไทย  เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชานาฏศิลป์สูงขึ้น

ระยะในการพัฒนา ขั้นตอน ขั้นเริ่มต้น

ขั้นพัฒนา ขั้นหลัง การ พัฒนา

วิธีการ 1. สารวจความสนใจของนักเรียนในเรื่องการฝึกทักษะนาฏศิลป์กับ เพลงลูกทุ่ง 2. ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา 3. กาหนดแผนการเรียนรูต้ ามหลักสูตร 4. หาสื่อวิดิทัศน์นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์มาให้นักเรียน ศึกษา และปฏิบัติท่านาฏศิลป์ ฝึกปฏิบัติท่ารานาฏศิลป์ ประกอบการแสดงจินตลีลาเพลงลูกทุ่ง ในเพลงต่างๆ นาวิธกี ารมาใช้กับนักเรียน วิเคราะห์และสรุปผล 1. ประเมินผลความรู้ความเข้าใจโดยการทดสอบภาคปฏิบัติและ นานักเรียนออกแสดงตามงานต่างๆ ส่งนักเรียนเข้าแข่งขันใน งานศิลปหัตถกรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึน้ 3. นักเรียนประสบผลสาเร็จในการแข่งขันทักษะทางวิชาการได้ เป็นตัวแทนไปแข่งขันในระดับภาคและระดับประเทศ

ระยะเวลา 2 สัปดาห์ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดือน 3 เดือน 2 เดือน

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสถานศึกษา การพัฒนาทักษะนาฏศิลป์ด้วยจินตลีลาประกอบเพลงลูกทุ่ง ช่วยให้นักเรียนเข้าใจ และศึก ษาทบทวนด้ วยตนเองได้ใ นเวลาว่าง โดยมีครู เป็น ผู้ สาธิต ท่ าราเป็ นต้น แบบที่ ถูก ต้อ งให้ เมื่อ ฝึ ก ฝนบ่ อ ยๆเข้ า จะเกิ ด ทั กษะราได้ อ ย่างสวยงาม การพั ฒ นาทั ก ษะ นาฏศิลป์จึงสัมพันธ์กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพป. / สพฐ.และหลักสูตรสถานศึกษาที่ว่า กลุ่มสาระนี้จะช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิน ตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่าซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ รู้และ เข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์และการละคร สามารถเปรียบเทียบการ แสดงประเภทต่า งๆของไทยในแต่ล ะท้ อ งถิ่ น และสิ่ ง ที่ ก ารแสดงสะท้ อ นวั ฒ นธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา เห็นคุณค่าการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา การพัฒนา ในการนาไปใช้ในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะนาฏศิลป์นั้น ผู้สอนได้ ใช้ทฤษฎีรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (โมเดลซิปปา :CIPPA การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางภรณ์นภัส ภู่ทอง ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 081-7362996 E-mail : ku29@hotmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

232

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

Model) เป็น กิจกรรมการเรีย นรู้ที่ช่วยให้ผู้เรี ยนรู้จักการปฏิสัม พันธ์กับบุ คคลและ สิ่งแวดล้อมรอบตัว ผ่านกิจกรรมหลากหลายทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ควบคู่ไปกับ กระบวนการ จนเกิดความสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้การพัฒนารูปแบบนี้ เกิดขึน้ จากประสบการณ์ที่ได้ใช้แนวคิดทางการศึกษา นอกจากนั้น ครูต้องมีความคิด ริ เริ่ ม สร้ า งสรรค์ ใ นการสร้ า งการแสดงชุ ด ใหม่ขึ้น มาเรื่อ ยๆ โดยอาศั ย หลั ก วิช า นาฏศิลป์ ภาษาท่า และนาฏยศัพท์ในการใส่ท่าราให้ถูกต้อง จัดหาเวทีให้นักเรียน ได้แสดงออกเพื่อสร้างประสบการณ์ให้แก่นักเรียน ตามธรรมชาติของวิ ชานาฏศิลป์ ครู จะต้องเป็นแบบอย่างสาธิตท่าราให้นักเรียนดูเรียกว่าการสอนแบบอธิบายและสาธิต การสอนแบบให้นักเรียนปฏิบัติและฝึกด้วยตนเอง การสร้างเอกสารประกอบการเรียน การสอนพร้อมวีดิทัศน์ การหาสื่อการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ การสร้างค่านิยม ให้รักและภูมใิ จในนาฏศิลป์ไทย

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 ในชุมนุมนาฏศิลป์ โรงเรียนวัดหนองเสือ 25 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) ศึกษา วิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตร 2) กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร 3) จัดกระบวนการเรียนการสอนตามบบซิปปาโมเดล 4) ฝึกปฏิบัตกิ ับนักเรียนจนเกิดทักษะที่สวยงาม 5) ประเมินผลการเรียนโดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับวิธีการสอนวิธีการสอน  การตรวจสอบคุณภาพ 1) ครูผู้สอนสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่นักเรียน ต้องทางานให้ตรงตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ 2) ผู้บริหารกากับติดตาม นิเทศ ส่งเสริมสนับสนุนให้ขวัญและกาลังใจในการทางาน 3) ประยุกต์ความรู้ให้ใช้ได้ทุกสถานการณ์เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดสร้างสรรค์อยู่ เสมอและสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ 4) มีการประเมินผลการเรียนโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนของ นักเรียนและผู้ปกครอง  ผลการตรวจสอบคุณภาพทีไ่ ด้ 1) นักเรียนปฏิบัตทิ ่าราประกอบจินตลีลาเพลงลูกทุ่งได้อย่างถูกต้องสวยงาม 2) ผลสัมฤทธ์ทางการเรียนของนักเรียนในวิชานาฏศิลป์สูงขึ้น  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนาทักษะนาฏศิลป์และปลูกฝัง ให้เกิดความรักภาคภูมใิ จในนาฏศิลป์ไทย

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 85 ปฏิบัตไิ ด้ถูกต้อง สวยงาม

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนปฏิบัตทิ ักษะนาฏศิลป์ได้ถูกต้องครบถ้วน และ สามารถสรุปองค์ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับ การพัฒนา ผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ โดยใช้ส่อื วีดทิ ัศน์ เพื่อนช่วยเพื่อนและพี่ช่วยน้องช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้เร็วและ ดีข้นึ สามารถทบทวนศึกษาบทเรียนด้วยตัวเองได้

กระบวนการตรวจสอบซ้าพือ่ พัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอน แล้ ว น ามาปรั บปรุ ง แก้ ไ ข ได้ แ ก่ ก ารพั ฒ นาสื่อ การเรี ย นการสอนทั ก ษะนาฏศิล ป์ ใ ห้ มี รูปแบบใหม่ๆเสมอ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า  ผลการตรวจสอบซ้ าเพื่ อ การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง นั ก เรี ย นสามารถ พัฒนาการใช้ทักษะนาฏศิลป์ในการเรียนรู้ได้ดขี นึ้

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  นานักเรียนออกแสดงในงานวัดหนองเสือเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2555 งานมอบ ทุนการศึกษาของโรงงานกระดาษคราฟท์ไทย ราหน้าศพงานชาวบ้านในชุมชน งาน วันกีฬากลุ่มชาววัง และวันพ่อแห่งชาติ งานแจกประกาศนียบัตรนักเรียน เพื่อเผยแพร่ให้ ประชาชนได้ชม ส่งเข้าประกวดทักษะงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาค ตะวันออกครั้งที6่ 1ได้รับรางวัลเหรียญเงินในระดับประเทศและได้เผยแพร่ผลงานให้แก่ครู ที่สอนวิชานาฏศิลป์ในกลุ่มชาววังและอ.ท่าม่วง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

233


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

234

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

สืบสาน.....ดนตรี ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางสุวรรณา ตั้งติพงษ์ตระกูล พนักงานราชการ โรงเรียนอนุบาล วัดไชยชุมพลชนะสงคราม โทรศัพท์ 085-2665447 E-mail : Noona-Ploy@hotmail.com

 นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัตดิ นตรีไทย ดนตรีพนื้ บ้าน  เพือ่ ปลูกฝังจิตสานึกในการอนุรักษ์ดนตรีไทยให้กับนักเรียน  นักเรียนรัก ซาบซึ้ง เห็นคุณค่า และตระหนักถึงความสาคัญของดนตรีไทย และดนตรีพนื้ บ้านและเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ ส่งเสริมดนตรีสบื ไป ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2552 ถึง ปีการศึกษา 2554 ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง กับเป้าหมายสถานศึกษา โรงเรียนดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและเป้าหมายของหน่วยงานทางการศึกษา ทุกระดับ นามากาหนดในวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียน โดยเปิด โอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการ สาหรับนักเรียน จะได้รับการพัฒนาให้มีทักษะทางด้านดนตรีไทยเพิ่มมากขึน้ ทั้งช่วยเผยแพร่การเรียนรู้ เรื่องของดนตรีไทย ให้แก่เพื่อนนักเรียน ผู้ปกครอง หรือ บุคคลทั่วไป ที่มคี วามสนใจ ความสาม เพิ่มทางเลือกด้านการศึกษาต่อ อาชีพ และ ประสบผลสาเร็จในการดาเนินชีวติ อย่างมีความสุข แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-Efficacy) ของ Bandura 4 วิธี คือ 1) ประสบการณ์ที่ประสบความสาเร็จ (Mastery Experiences) 2) โดยการใช้ตัวแบบ (Modeling) 3) การใช้คาพูดชักจูง (Verbal Persuation) 4) การกระตุ้นทางอารมณ์ (Emotional Arousal) กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 35 คน ที่ยากจน กลุ่มเสี่ยง ด้อยโอกาส นักเรียนที่มีความสนใจต้องการใช้เวลาว่างเรียนรู้เพิ่มเติม ความสามารถด้านดนตรี และโรงเรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบท ของโรงเรียนได้ ซึ่งโรงเรียนยังต่อยอดพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพคุณภาพด้าน ดนตรีให้สูงขึ้น

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

235

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ขั้นตอนการพัฒนา กาหนดวัตถุประสงค์

สร้างกระบวนการบริหารจัดการชัน้ เรียน

บรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้ จิตวิทยา

การจัดชั้นเรียนด้านสิง่ แวดล้อม

การจัดชั้นเรียนด้าน

ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ช่วยแบ่งเบาภาระครอบครัวและอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข  การตรวจสอบคุณภาพ โรงเรียนมีการตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้วิธีการ ประเมินผลการดาเนินงาน 3 ระยะ ทุกกิจกรรม คือ ประเมินก่อนดาเนินการ ประเมิน ระหว่างดาเนินการ และประเมินหลังดาเนินการ ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินจะมี หลากหลาย เช่น แบบสารวจ แบบคัดกรอง แบบทดสอบ แบบสังเกต เป็นต้น และเมื่อ ประมวลผลจากการประเมิน แล้ ว าจะน าผลที่ ไ ด้ ม าปรั บปรุ ง และพั ฒ นาให้ มี ประสิทธิภาพยิ่งขึน้ ต่อไป ซึ่งจะเป็นกระบวนการพัฒนานักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) เป็นทางเลือกเพื่อการศึกษาต่อ 2) เข้าร่วมการประกวดแข่งขันดนตรีไทย 3) จัดแสดงความสามารถของนักเรียนต่อสาธารณชน 4) เป็นแนวทางสู่มอื อาชีพ  ผลสาเร็จจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ร้อยละ 100 นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะ ทางดนตรีไทยเต็มตามศักยภาพ แสดงความสามารถต่อสาธารณชน งานบริการสังคม ผู้ปกครอง วัด ชุมชน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หน่วยงานต่างๆ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียน รัก ซาบซึ้ง เห็นคุณค่า ตระหนักถึง ความส าคั ญ ของดนตรี ไ ทยในการอนุ รัก ษ์ แ ละส่ ง เสริ ม ความสามารถด้ า นดนตรี ไ ทย แข่ ง ขั น ดนตรี ไ ทยประเภทเดี่ ย ว วงดนตรี ไ ทย และวงดนตรี ลู ก ทุ่ ง ทั้ ง ในเวที ระดั บ เครือข่าย ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค และระดับชาติ ได้รับรางวัลและเกี ยรติบัตร จานวนมากมาย

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


236

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ ร้อยละ 100 ผู้ปกครอง ครู ผู้บริหาร บุคลากรในโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา มีความสุขและภาคภูมใิ จ กับความสามารถของนักเรียน ที่มีการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ประสบผลสาเร็จ และสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน เป็นที่ยอมรับของทุกคน  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา /ประสบการเรียนรู้จากนา ไปใช้ 1) ผู้บริหารให้การสนับสนุน เข้าใจ และให้ความสาคัญ 2) บุคคลากรในโรงเรียนให้ความร่วมมือ 3) นักเรียนมาสมัครเป็นสมาชิกชุมนุมดนตรีดว้ ยความสมัครใจ 4) ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการอนุญาตให้นักเรียนฝึกซ้อมดนตรีหลังเลิกเรียน 5) คณะกรรมการสถานศึกษาให้การสนับสนุน 6) นักเรียนมาสมัครเป็นสมาชิกชุมนุมดนตรีดว้ ยความสมัครใจนักเรียนให้ความ ร่วมมือในการฝึกซ้อมดนตรี 7) ครูผู้สอนทุ่มเทการสอน การฝึกซ้อมให้แก่นักเรียนด้วยหัวใจรัก 8. นักเรียนนาผลสาเร็จไปประกอบอาชีพ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า การตรวจสอบซ้าใช้วธิ ีการเดิมที่ตรวจสอบในครั้ง แรกเพื่อดูความเที่ยงตรงของกระบวนการดาเนินงาน  ผลการตรวจซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นาผลประเมินมาปรับปรุง พัฒนาเทคนิคการสอนดนตรีไทยให้มีคุณภาพมากยิ่งขึน้ และมีการเผยแพร่อย่าง แพร่หลาย การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง 1) ประชาสัมพันธ์ในสารสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียน 2) รายงานให้คณะกรรมการสถานศึกษาทราบ 3) รายงานให้หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 4) ประชาสัมพันธ์ทางเคเบิล้ ทีวีของท้องถิ่น 5) ประชาสัมพันธ์ให้แก่โรงเรียนภายในกลุ่มเครือข่าย 6) 6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ ในระหว่างโรงเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

237

การพัฒนาการเรียนรู้โน้ตดนตรี สากล ความเป็นมาและความสาคัญของปัญ” หา ดนตรีเป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ เพราะดนตรีเป็นศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อน อารมณ์ความรู้สกึ ดนตรีสามารถกล่อมเกลาอารมณ์และความคิดของมนุษย์ได้ ทาให้ผู้ ที่สัมผัสกับดนตรีเกิดความรู้สึกชื่นชมทาให้มีความสุขุมเยือกเย็นช่างสังเกต พิจารณา ไตร่ตรองและเห็นคุณค่าในความงามของดนตรีความรู้สึกดังกล่าวไม่สามารถรับรู้และ สัมผัสได้ทุกคน หากแต่ต้องเรียนรู้ สัมผัสและสร้างความเข้าใจ จึงจะส่งผลต่อการพัฒนา ความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดังนั้นดนตรีจึงถือว่ามีความสาคัญต่อมนุษย์ซึ่ง สามารถสื่อความหมายและถ่ายทอดความนึกคิดให้เข้าถึงด้วยเสียง ด้วยทักษะการขับ ร้อง การเล่นเครื่องดนตรี สามารถเรียนได้ดว้ ยตนเองตามความถนัดหรือความสนใจหรือ เรียนได้จากการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน หากเด็กได้สัมผัส ได้เล่นดนตรีโดยผ่าน สื่อและเครื่องมือประกอบการเรียบเรียง การบรรเลงอย่างมีความสุขและสนุกสนาน จะ ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว เกิดความคิดสร้างสรรค์ในขั้นสูง การพัฒนาสมอง เด็กโดยผ่านกิจกรรมดนตรีจึงเป็นการวางพื้นฐานสาหรับเด็กที่โตต่อไปในอนาคต เด็กจะ เป็นผู้ที่มีความคิดฉับไวในการแก้ปัญหาเพราะดนตรีช่วยพัฒนาความฉลาดให้กับเด็กได้ ในขณะเดียวกันก็จะเป็นผู้ที่มีวัฒนธรรมมีความประณีตมีเสน่ห์และมีความงามอยูใ่ นตัว ข้าพเจ้าจึงคิดหาวิธีการสอนด้วยการสร้างสื่อการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะดนตรีได้ อย่างถูกต้อง โดยการทาเอกสารประกอบการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนเกิดการ พัฒนาการเรียนรู้โน้ตตนตรีสากล และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาดนตรีสูงขึ้น

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 1. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้โน้ตดนตรีสากล โดยใช้ชุดฝึกทักษะรีคอร์เดอร์ 2. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนดนตรี ตระหนักและเห็นคุณค่าของดนตรี 3. เพื่อให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4. เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาดนตรีสูงขึ้น

ระยะเวลาในการพัฒนา ทาการพัฒนาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ใช้เวลาในการพัฒนา 1 ภาค เรียน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดหนองเสือ

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มุง่ พัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลัง ของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกใน ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่ จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญบนพืน้ ฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็ม ศักยภาพ การพัฒนาที่สาคัญคือ การพัฒนาที่สมดุลอย่างเป็นองค์รวมทุกด้าน เพื่อ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดีทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาววาณี แท่นกาญจนภรณ์ ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 087-1698844 E-mail : Wanee6083@hotmail.com


238

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ดนตรีจึงเป็นสิ่งสาคัญต่อชีวติ มนุษย์ เพราะดนตรีเป็นศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อน อารมณ์ความรู้สกึ ดนตรีสามารถกล่อมเกลาอารมณ์และความคิดของมนุษย์ได้ ทาให้ ผู้ที่สัมผัสกับดนตรีเกิดความรู้สกึ ชื่นชมทาให้มีความสุขุมเยือกเย็นช่างสังเกต พิจารณา ไตร่ตรองและเห็นคุณค่าในความงามของดนตรีความรู้สกึ ดังกล่าวไม่สามารถรับรู้และ สัมผัสได้ทุกคน หากแต่ตอ้ งเรียนรู้ สัมผัสและสร้างความเข้าใจ จึงจะส่งผลต่อการ พัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา  แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ ดนตรี ความไพเราะของดนตรี ไ ด้ เ พิ่ ม อรรถรสในอารมณ์ความรู้สึกของการฟังอย่างมหาศาล สามารถสร้างจินตนาการ ชัก จูงและโน้มน้าวอารมณ์อย่างวิเศษ นอกจากนี้ดนตรียังมียังคุณค่ามากมาย ดังที่สุนทรภู่ ได้กล่าวไว้ในวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี ดังนี้ อันดนตรีมีคุณค่าทุกอย่างไป ย่อมใช้ได้ดังจินดาคาบุรินทร์ ถึงมนุษย์ครุฑาเทวราช จตุบาทกลางป่าพนาสิน แม้ปี่เราเป่าไปให้ได้ยิน ก็สุดสิน้ โทโสที่โกรธา ให้ใจอ่อนนอนหลับลืมสติ อันลัทธิดนตรีดหี นักหนา ที่สงสัยไม่ส้นิ ในวิญญาณ์ จงนิทราเถิดจะเป่าให้เจ้าฟัง ดังนั้นในการสอนดนตรีไม่ว่าในลักษณะใด ย่อมมีหลักการผู้สอนยึดเป็นแนว ปฏิบัตกิ ารศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ย่อมช่วยให้การสอนดนตรีมีประสิทธิภาพขึ้นได้ ทั้งนี้ เพราะครูผู้สอนย่อมมีความเข้าใจกระบวนการการเรียนของผู้เรียน และสามารถจัด กิจกรรมการสอนดนตรีให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากที่ สุด ผู้สอนจึงควรมีความรู้ความ เข้าใจในเรื่องต่อไปนี้  หลักการสอนดนตรี ดาลโครซ เป็นครูสอนดนตรีชาวสวิส ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกเรื่องการเคลื่อนไหวกับ ดนตรี เชื่ อ ว่ า ร่ า งกายเป็ น เครื่ อ งตอบสนองต่อ อารมณ์ ด นตรี ไ ด้ ดี ที่ สุ ด ดั ง นั้น การ แสดงออกทางดนตรีด้วยการเคลื่อนไหวร่างกายจะเป็นการสร้างความเป็นนักดนตรี ให้กับเด็กได้อย่างแท้ จริง นอกจากนี้ยังพบว่าการใช้ วิธีการยูริธึมมิกซ์ จะช่วยเสริ ม ร่างกาย สมอง อารมณ์ สังคมของเด็กทาให้เกิดความรักและเข้าใจดนตรีมากขึ้น ออร์ฟ (Carl Orff) เน้นที่กระบวนการ ผู้เรียนมีโอกาสในการทดลองสารวจ เกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรีซึ่งสัมพันธ์กับการเคลื่อนไหว และได้รับประสบการณ์ตรง จากการประกอบกิจกรรมต่างๆ ในกระบวนการเรียนการสอน เรียนจากเรื่องง่ายไปสู่ เรื่องที่ยากและลึกซึ้ง พยายามเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับดนตรีและถ่ายทอดโดย การเคลื่อ นไหว ต่อ พั ฒ นาการเคลื่อ นไหวให้ เป็ น ไปในรู ปของการสร้ า งสรรค์ และ สุดท้ายเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีซึ่งสะท้อนให้เห็น ถึงประสบการณ์ทางดนตรีที่ ผู้เรียนแต่ละคนมีอยูห่ รือได้รับจากกระบวนการเรียนสอน โคดาย (Zoltal Kodaly) เริ่มต้นการเรียนรู้ด้วยเครื่องดนตรีธรรมชาติที่ทุกคนมี อยู่ประจาตัว คือ เสียงร้อง การเรียนดนตรีให้เกิดการรับรู้โดยสมบูรณ์ควรเริ่มตั้งแต่ ระดับอนุบาลหรือประถมศึกษา ควรเริ่มจากการเรียนดนตรีพ้ืนบ้าน ดนตรีที่ใช้เรียน ควรเป็นดนตรีที่มีคุณค่าพอเพียง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น ภาษาของมนุษย์มคี วามแตกต่างกันไปตามชนชาติและภูมลิ าเนาของแต่ละชาติ ชาติใดเจริญรุ่งเรือง ภาษาของชาตินั้นก็จะเป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย ในภาษาต่างๆ เหล่านี้ มีภาษาหนึ่งที่ทุกชาติทุกภาษารู้ความหมายเข้าใจกันได้ ภาษานัน้ คือ ภาษาดนตรี แม้วา่ ภาษาแต่ละชนชาติจะไม่เหมือนกัน แต่ภาษาดนตรีก่อให้เกิดความรู้สกึ ที่เหมือนกัน ทางด้านอารมณ์ เช่น ความรัก ความเศร้า ความตื่นเต้น ความดีใจ ฯลฯ โดยไม่เลือกชน ชาติ ดังนัน้ จึงกล่าวได้ว่า ดนตรีเป็นภาษาสากล การเรียนรู้ทฤษฎีดนตรีสากลเริ่มด้วยการทาความเข้าใจกับเครื่องหมายดนตรี ในระดับพืน้ ฐานซึ่งเป็นเครื่องหมายที่มีความสาคัญอาจเปรียบได้กับพยัญชนะ สระ และ วรรณยุกต์ อันเป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการเขียนและการอ่านภาษาไทยซึ่งใช้สอนผู้เริ่ม เรียน เช่น 1.) โน้ต (Note) 2.) เครื่องหมายหยุดหรือตัวหยุด (Rests) 3.) บรรทัด 5 เส้น 4.) กุญแจประจาหลัก (Time Signature) 5.) เครื่องหมายกาหนดจังหวะ 6.) การกั้นห้องเพลง  ทักษะทางดนตรี ส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งของสาระดนตรีคอื ทักษะทางดนตรีซึ่งเป็นส่วนที่ช่วยให้ เกิดความเข้าใจสาระดนตรีได้และจัดเป็นหัวใจของการศึกษาดนตรี ทักษะดนตรีแต่ละ ประเภทย่อมมีความสาคัญเท่าเทียมกัน ดังนัน้ ในการจัดการเรียนการสอนดนตรี ควรมี การเสนอทักษะดนตรีต่างๆ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ 1.) ทักษะการฟัง 2.) ทักษะการร้อง 3.) ทักษะการเล่น 4.) การเคลื่อนไหว 5.) การสร้างสรรค์ 6.) การอ่าน  จิตวิทยาการเรียนรู้ ในการเรียนการสอนดนตรีที่จะให้เกิดผลดีนนั้ ผูส้ อนจะต้องทราบถึงจิตวิทยา การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนการสอนดาเนินไป ทาให้เกิดผลดีแก่ ผู้เรียน

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดหนองเสือ อาเภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จานวน 20 คน  ขั้นตอนการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

239


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

240

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1) วิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) 2) กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระ ดนตรี) 3) สร้างเอกสารประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) 4) จัดทาคู่มือประกอบการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน 5) จัดกิจกรรมฝึกทักษะโดยนาเอกสารประกอบการเรียนการสอนที่จัดทาขึ้น 6) นักเรียนศึกษาเนือ้ หาในเอกสารประกอบการเรียนการสอน โดยครูผู้สอนเป็นผู้ สาธิตวิธีปฏิบัตทิ ี่ถูกต้องเป็นต้นแบบให้ดูและใช้เอกสารประกอบด้วย 7) นักเรียนทบทวนแบบฝึกหัดจากเอกสารประกอบการเรียนการสอน 8) ครูคอยเสริมกาลังใจและฝึกซ้อมบ่อยๆ โดยฝึกจากแบบฝึกหัดที่งา่ ยไปหายาก 9) จัดหาเวทีให้นักเรียนได้แสดงความสามารถในกิจกรรมต่างๆในโรงเรียนและชุมชน

การตรวจสอบคุณภาพ  วิธีการตรวจสอบคุณภาพ  ทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ การทดสอบปฏิบัตวิ ัดทักษะพื้นฐานด้านดนตรี  ดาเนินการสอนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝึกทักษะรีคอร์เดอร์  ทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนที่ใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝึกทักษะ รีคอร์เดอร์โดยการทดสอบปฏิบัตทิ ักษะพื้นฐานด้านดนตรีและใช้แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  ผู้บริหารมีการกากับ นิเทศ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบผล ตลอด ระยะเวลาการพัฒนา  ผลการตรวจสอบคุณภาพ 1) ผลจาการประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียน โดยการหาผลการประเมิน ประสิทธิภาพของ เอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ในชุดที่สร้างขึน้ นีม้ คี ่าเท่ากับ 81.90 / 82.20 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 80 / 80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.01 3) ผลจากการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝึกทักษะรีคอร์เดอร์ ทาให้ นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้เรื่องโน้ตดนตรีสากล และสามารถต่อยอดความรู้ ในการปฏิบัตเิ ครื่องเป่าดนตรีสากลประเภทอื่นๆ ได้ เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต เป็น ต้น จนสามารถเข้าประกวดการแข่งขันในระดับชาติได้  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ กิจกรรมดนตรีนั้น เป็นกิจกรรมใน การวางรากฐานโดยแท้จริงและถ้าผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ดนตรีได้อย่างถูกต้องนั้น เป็นไปตามพัฒนาการการเรียนรู้ ก็ย่อมช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ โครงสร้างของสาระดนตรี ได้อย่างถ่องแท้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การจัดกิจกรรมดนตรี  ควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนสอน  ในการสอนสาระดนตรีควรเน้นเสียงก่อนสัญลักษณ์  สัญลักษณ์ที่ใช้ระยะแรกควรเป็นสัญลักษณ์ภาพ หรือสัญลักษณ์ที่งา่ ยต่อการจา  การจัดกิจกรรมดนตรีควรยึดทักษะทางดนตรี โดยให้ผู้เรียนได้ปฏิบัตทิ ักษะต่างๆ โดยตรง  ควรจัดกิจกรรมดนตรีเพื่อให้ผู้เรียนรักและสนใจดนตรี  ผู้สอนควรสารวจความถนัดของผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการแนะนา  แนวทางในการสอนเล่นดนตรี  ผู้เรียนทุกคนควรได้เล่นเครื่องดนตรีในการประกอบกิจกรรมทางดนตรี  เครื่องดนตรีควรอยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งานอยู่เสมอ  การเก็บรักษาเครื่องดนตรี ผู้สอนควรปลูกฝังนิสัยการเก็บรักษาเครื่องดนตรีหลัง การเล่น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเคยชินกระทาจนเป็นนิสัย  การเล่นเครื่องดนตรี ผู้สอนควรสอนวิธีการเล่นเครื่องดนตรีให้กับผู้เรียน และควร ทบทวนเสมอเพื่อให้เสียงที่ออกมาไพเราะน่าฟัง นอกจากนีก้ ารเล่นเครื่องดนตรี อย่างถูกวิธี เป็นสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้เครื่องดนตรีทนทานไม่ชารุดเสียหายอย่างรวดเร็ว

ผลสารวจที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณและคุณภาพ 1) ผลจาการประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียน โดยการหาผลการประเมิน ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุม่ ศิลปะ (สาระดนตรี) ในชุดที่สร้างขึน้ นีม้ คี ่าเท่ากับ 81.90 / 82.20 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ที่ตั้งไว้คอื 80 / 80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3) ผลจากการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝึกทักษะรีคอร์เดอร์ ทาให้ นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้เรื่องโน้ตดนตรีสากล และสามารถต่อยอด ความรู้ในการปฏิบัตเิ ครื่องเป่าดนตรีสากลประเภทอื่นๆ ได้ เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต เป็นต้น จนสามารถเข้าประกวดการแข่งขันในระดับชาติได้  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนที่ได้รับการพัฒนาการเรียนรู้โน้ต สากล โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนชุดฝึกทักษะรีคอร์เดอร์ มีความสนใจ กระตือรือร้นและสนุกสนานในการเรียน เนื่องจากได้ฝึกปฏิบัตจิ ริง และเป็นสิ่งที่นักเรียน ชอบ โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุนและให้คาปรึกษาในการจัดทาและส่ง นักเรียนเข้าแข่งขันการประกวดทักษะทางวิชาการ 2) คณะครูในโรงเรียนให้ความร่วมมือและให้กาลังใจในการทางานและส่งนักเรียนไป ร่วมแข่งขันทางวิชา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

241


242

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) คณะกรรมการสถานศึกษาให้การสนับสนุน 4) ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้นักเรียนฝึกซ้อมดนตรีหลังเลิกเรียนและ วันหยุดเสาร์-อาทิตย์ 5) นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนาทักษะด้านดนตรี

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า จากการทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝึกทักษะรีคอร์เดอร์ กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างในเบื้องต้น พบว่ามีนักเรียนจานวน 4 คน ยังไม่เข้าใจเรื่องการอ่านโน้ตสากล จึงทาการปรับปรุงแบบฝึกหัดเรื่องการอ่านโน้ต สากลให้มีความง่ายมากยิ่งขึน้ และใช้ส่อื ภาพและเพลงประกอบการสอนเพื่อให้ง่ายต่อ การจดจา  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ผลจากการพัฒนาและ ปรับปรุงเอกสารประกอบการเรียนการสอนให้มีความง่ายขึ้น และให้นักเรียนฝึกปฏิบัติ บ่อยๆ โดยใช้ภาพและเพลงเป็นสื่อประกอบการสอนแล้ว พบว่านักเรียนเกิดความเข้าใจ และให้ความสนใจในการฝึกปฏิบัตมิ ากขึ้น และยังสามารถปฏิบัตเิ ครื่องเป่าดนตรีสากล ชนิดอื่นๆ ได้ เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต เป็นต้น

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  ประชาสัมพันธ์ในวารสารโรงเรียน  รายงานผลการพัฒนาให้ต้นสังกัดทราบ  เผยแพร่ผลงานของนักเรียนโดยจัดเวทีการแสดงดนตรีในงานต่างๆ ของ โรงเรียนและชุมชน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

243

การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน การแสดงพื้นเมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย สาหรับนักเรียนชั้น ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์พนื้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย วิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เพื่อพัฒนาทักษะนาฏศิลป์พนื้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย ของนักเรียนที่ผ่าน การเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นพัฒนา ปีการศึกษา 2548-2549 ระยะเวลาที่ ใช้ในการพัฒนา จานวน 2 ภาคเรียน และใช้ทดลองกับนักเรียนในปีการศึกษา 2550

นางวณิชย์ชยา โพชะเรือง ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 081-364131 E-mail : wanitchaya9947@hotmail.co.th การแสดงพืน้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง กับเป้าหมาย เนื่องจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระ การเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์) มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการ ทางศิลปะ เกิดความซาบซึง้ ในคุณค่าของศิลปะ ช่วยพัฒนาให้ผเู้ รียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่ง มีผลต่อคุณภาพชีวติ มนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนาไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ ในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะ สาระนาฏศิลป์ตามแนวหลักสูตรใหม่ พบว่าปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนในหลายปีที่ผ่าน มา ข้าพเจ้าจะสอน ตามเอกสารเท่าที่รวบรวมได้ ซึ่งเอกสารดังกล่าวมีเนื้อหาสาระที่ไม่ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ขาดข้อมูลที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนสามารถทาได้ ในวงจากัด นักเรียนขาดประสบการณ์ตรง ไม่ได้ใช้ ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการเรียนรู้ ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประเด็น ได้แก่ 1) ตัวนักเรียนไม่มพี ้ืนฐานในการเรียนนาฏศิลป์และได้รับการฝึกฝนมาน้อย 2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่เหมาะกับวิชานาฏศิลป์ สือ่ การเรียนการ สอน ไม่เหมาะกับเนื้อหา และเครื่องมือวัดผลประเมินผลไม่ชัดเจน 3) สภาพทั่วไปสภาพห้องเรียนไม่เหมาะกับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลการ เรีย นของนั กเรี ยน ให้ มีความซาบซึ้งในหลักวิชาและสร้า งจิต สานึกในการอนุรัก ษ์ภู มิ ปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมไทย จึงได้จัดทาสื่อประกอบการเรียนการสอน เพื่อสร้าง ความสนใจในการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย เอกสารประกอบการเรียนการสอน ในเนื้อหา รายวิชา แบบทดสอบต่าง ๆ ซึ่งนักเรียนสามารถที่จะศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง เพื่อ เกิดความเข้าใจและให้มีส่ือการเรียนการสอนในปัจจุบันเพิ่มขึ้น เพื่อการปรับตัวทันต่อ การเปลี่ยนแปลง และสามารถดารงชีพอยู่อย่างมีความสุข การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ออก ท่าที่ 1

ท่าตากฝ้าย


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

244

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้

ท่าชวนกันไปเก็บฝ้าย

ในการสอนวิชานาฏศิลป์ขา้ พเจ้าใช้แนวคิดของกาเย่ โดยจะต้องมีการกระตุ้น ความสนใจเพื่อเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะเรียน โดยที่ผู้เรียนควรทราบ ถึงวัตถุประสงค์ในการเรียน มีการนาเสนอเนื้อหาและที่สาคัญควรมีการยกตัวอย่าง พร้อมสาธิตประกอบ เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกทักษะปฏิบัติ โดยเริ่มสอนจากง่ายไป หายาก เมื่อนักเรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจนเกิดความชานาญ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ที่ได้รับจากการเรียนไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและในการดารงชีวติ

กระบวนการพัฒนา

ท่าดีดผ้าย

ท่าตากไจฝ้าย

ท่ากระตุกกี่

 เป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดหนองเสือที่เรียน วิชานาฏศิลป์ ปีการศึกษา 2553 จานวน 24 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) ศึกษาเอกสาร/งานวิจัย/หลักสูตร 2) จัดทาเอกสารประกอบการสอน 3) เอกสารประกอบการสอนที่มีคุณภาพ 4) นาเอกสารที่ได้ไปสอน 5) สรุปผล ปรับปรุงแก้ไข 6) เอกสารประกอบการสอนที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 7) เอกสารประกอบการสอนที่มีคุณภาพมีประสิทธิภาพและผู้ใช้มคี วามพึงพอใจ  การตรวจสอบคุณภาพ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบของรายวิชา นาฏศิลป์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย จาแนกออกเป็น 3 ส่วน คือ กิจกรรม เนื้อหา และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2) นาเอากิจกรรมที่กาหนดในรายวิชามาวิเคราะห์หารูปแบบการสอน 3) นาเอาเนื้อหาหลักของรายวิชามาวิเคราะห์เนื้อหาย่อย 4) นาเอาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังแต่ละข้อมาจาแนกเป็นด้าน คือ ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะ  แนวทางนาไปใช้ประโยชน์ นาวิชานาฏศิลป์ ไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้หรือนาไปเป็นแบบอย่างในการจัดการเรียนการสอนวิชาอื่น ๆ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา

ท่าเก็บผ้าฝ้ายที่ทอเสร็จแล้ว

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เรียนด้วยเอกสาร ประกอบการเรียนการสอนการแสดงพืน้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.82/ 84.03 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ 80/ 80 แสดงว่าเอกสาร ประกอบการเรียนการสอนการแสดงพืน้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย สามารถช่วยให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึน้ หรือมีทักษะการเรียนสูงขึน้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนการ สอน การแสดงพืน้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย แล้วเมื่อเข้าแข่งขันในระดับต่าง ๆ ประสบผลสาเร็จได้รับรางวัลชนะเลิศประเภทต่างๆ มากมาย  ความพอใจของผู้เกี่ยวข้อง จากการสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน วัดหนองเสือ ที่เรียนรายวิชานาฏศิลป์ เรื่อง การแสดง พื้นเมือง ชุดระบาทอผ้าฝ้าย โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน พบว่า นักเรียนมี ความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ เอกสารประกอบการเรียนการสอนในระดับมาก  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ฝ่ายผู้บริหาร/คณะครูให้ความสาคัญในการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน นาฏศิลป์พนื้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย วิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) ได้รับความร่วมมือจากคณะครูและนักเรียนในการดาเนินการพัฒนาเอกสาร ประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์พนื้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย วิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นอย่างดี 3) นักเรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์อย่าง อิสระซาบซึง้ และเห็นคุณค่าของศิลปะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รัก หวงแหนมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ัญญาไทย

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า นาเอกสารประกอบการเรียนการสอนสาระนาฏศิลป์ พื้นเมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย วิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ไปใช้สอน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีถัดไป แล้วสารวจผลการเรียนว่าเป็นไปตามการประเมิน ครัง้ แรกหรือไม่ ถ้าผลการเรียนลดลงต้องแก้ไขในเอกสารประกอบการเรียนและ แบบทดสอบเพื่อปรับปรุงงานให้พัฒนาขึ้น  ผลการตรวจสอบซ้า ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อปรับปรุงพบว่าเอกสารมี ประสิทธิภาพได้ตามผลการประเมินในครัง้ แรก

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่  ได้มีการขยายผลโดยการเผยแพร่ ในวันที่ 16 สิงหาคม 2554 โรงเรียนวัดไชยชุมพลชนะสงคราม  ได้มีการขยายผลโดยการเผยแพร่ ในวันที่ 19 กันยายน 2554 ณ โรงแรมราชศุภมิตร

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

245


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

246

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แบบฝึกทักษะการวาดภาพ กับการสอนแบบ ซิปปา (CIPPA) เป้าหมายของการพัฒนา

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 4 คน จากจานวน 19 คน

นางกัณฑา วีรเสนีย์ ครู โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ โทรศัพท์ 087-8203782 E-mail : Kantata@hotmail.com

วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best practice  เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการวาดภาพก่อนและหลังเรียน โดยใช้ แบบฝึกการร่างภาพ การระบายสี  เพื่อให้นักเรียนวาดภาพระบายสี และมีความความคิดสร้างสรรค์

ระยะเวลาในการพัฒนา ระยะเวลาในการพัฒนาเริ่มใน ปีการศึกษา 2554 มีปัญหาการร่างภาพ ระบายสีไม่ชัดเจน โดยศึกษากับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมด ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากการที่สังเกตพฤติกรรมในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปีการศึกษา 2554 พบว่าพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ และทักษะพื้นฐาน ทางการวาดภาพการระบายสี เป็นปัญหาที่พบ จึงเป็นสาเหตุให้ทาการศึกษาขึ้นซึ่งอยู่ ใน ปีการศึกษา 2554 – 2555 ทาการฝึกระหว่างเวลา 16.00 – 17.00 น. ของทุกวัน

ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์กับเป้าหมาย การจัดการเรียนการสอนมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาให้นักเรียนเกิดทักษะการ วาดภาพขั้นพื้นฐาน และการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เป็นทักษะที่มีความสาคัญ เพื่อ ใช้ในการถ่า ยทอดผลงานทางศิล ปะในระดั บสู งต่อ ไป แต่จากการทดสอบของ นักเรียนชั้น ม. 3 โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ จานวน 4 คน จากนักเรียน 19 คน ซึ่งเป็น เด็กนักเรียนที่มีพรสวรรค์ในด้านศิลปะ แต่ พบว่า นักเรียนมีพ้ืนฐานการวาดภาพและ ความคิดสร้างสรรค์ยังไม่ดีเท่าที่ควร จึงควรหาทางพัฒนาให้นักเรียนสามารถวาดภาพ ได้ชัดเจน และถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ดขี นึ้ ข้าพเจ้าในฐานะครูผู้สอนจึงสนใจที่จะ สร้างแบบฝึกการร่างภาพ การระบายสี และแบบการต่อเติมความคิดสร้างสรรค์ของ นักเรียน เพื่อนาไปใช้พัฒนาความสามารถในการวาดภาพของนักเรียน ของโรงเรียน อนุบาลศรีสวัสดิ์ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย และการมีส่วน ร่วมในการบริหารจัดการ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การสอนตามรูปแบบ ซิปปา ( CIPPA ) หมายถึง กระบวนการสอนที่เน้นให้ ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และการตัดสินใจอย่างเป็นระบบ สามารถสร้างความรู้ ค้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง นักเรียนมีบทบาทมากในกิจกรรมการเรียนการสอน และ ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ CIPPA-Story Model ผสาน 3 แนวคิด สาคัญ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

247

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

C (Construction) A (Application)

CIPPA P (Process Learning)

P (Physical Participation)

C (Construction) I (Interaction)

คื อ ครู จั ด กิ จ กรรมที่ ใ ห้ ผู้ เ รี ย นมี โ อกาสสร้ า งความรู้ ด้ ว ยตนเอง คือ ให้นักเรียนทากิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มี ปฏิสัมพันธ์ทาง สังคมกับบุคคล และ แหล่งความรู้ที่หลากหลาย P (Physical Participation) คื อ จั ด กิ จ กรรมที่ ใ ห้ ผู้ เ รี ย นได้ เ คลื่ อ นไหวร่ า งกาย P (Process Learning) คื อ จั ด กิ จ กรรมที่ ใ ห้ นั ก เรี ย นได้ เ รี ย นรู้ ก ระบวนการต่ า งๆ เช่ น กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทางานให้สาเร็จ A (Application) คือ การจัดกิจกรรมที่ให้นักเรีย นได้นาความรู้ไปประยุกต์ ใช้ใน ชีวิตประจาวัน หลักการจัดการเรีย น การสอนซิปปา CIPPA-Story Model

รู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอนซิ ป ปาสเตอรี (CIPPA-Story Model) พัฒนาขึ้นโดย ผศ.ดร.ชนาธิป พรกุล แห่งคณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎสวนดุสิต การ จัดการเรียนการสอนนี้มาจาก การผสมผสานแนวคิด และหลักการสาคัญ 3 ประการ ได้แก่ CIPPA Model, Storyline Approach และทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการ คิด โดยอาจารย์ชนาธิปให้เหตุผลว่า ที่นาสามแนวคิดนี้มาประสานกัน เนื่องจากเล็งเห็น ว่า ทั้งหมดมีลักษณะร่วมบางประการที่สอดคล้องต้องกันนั้น คือ เป็นการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง แตกต่างกันเพียงจุดเน้นของแต่ละทฤษฎี ซึ่งหากมี การนาจุดเด่นของแต่ละแนวทางมาผนวกเข้าด้วยกันน่าจะเป็นการเสริมให้การเรียนการ สอนรูปแบบใหม่น้มี ีจุดเน้นที่ชัดเจนขึน้ รูปแบบการเรียนการสอนตามหลักซิปปา รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึด ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง: โมเดลซิปปานีพ้ ัฒนาขึ้นโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์ของ รูปแบบ คือ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนอย่างแท้จริงโดย การให้ผู้เรียนสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง โดยอาศัยความร่วมมือจากกลุ่ม และพัฒนาทักษะ กระบวนการต่างๆ ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 7 ขั้น แต่ละขั้นประกอบไปด้วยหลักการ และวิธีสอนหรือเทคนิคการสอนที่เสนอแนะไว้ดังต่อไปนี้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

I (Interaction)


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

248

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นที่ 1 ผู้สอนสารวจความรูเ้ ดิม ความรู้พนื้ ฐานที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ใหม่ขนั้ นี้เป็นการ ดึงความรู้เดิมของผู้เรียนในเรื่องที่จะเรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการ เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ของตน ซึ่งผู้สอนอาจใช้วธิ ีการต่าง ๆ ได้อย่าง หลากหลาย ขั้นที่ 2 ผู้เรียนแสวงหาข้อมูล ขัน้ นี้เป็นการแสวงหาความรู้ขอ้ มูลความรู้ใหม่ของผู้เรียน จากแหล่งข้อมูลหรือ แหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งครูอาจจัดเตรียมมาให้ผู้เรียนหรือให้ คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้ ขั้นที่ 3 ผู้เรียนศึกษาข้อมูล สร้างความรู้ดว้ ยตนเองขัน้ นี้เป็นขัน้ ที่ผู้เรียนจะต้องศึกษา และทาความเข้าใจกับข้อมูล/ความรู้ที่หา มาได้ ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมาย ของข้อมูล/ประสบการณ์ใหม่ๆโดยใช้กระบวนการต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ใช้ กระบวนการคิด และกระบวนการกลุม่ ในการอภิปรายและสรุปความเข้าใจ เกี่ยวกับข้อมูลนัน้ ๆ ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม ขั้นที่ 4 ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความรู้ขนั้ นี้เป็นขัน้ ที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือในการ ตรวจสอบความรู้ความ เข้าใจของตน รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้ กว้างขึน้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนแก่ผู้อ่นื และ ได้รับประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมกัน ขั้นที่ 5 ผู้เรียนสรุปและจัดระเบียบความรู้ขนั้ นี้เป็นขัน้ ของการสรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและความรูใ้ หม่ และจัดสิ่งที่เรียนให้เป็นระบบระเบียบเพื่อช่วยให้ ผู้เรียนจดจาสิ่งที่ เรียนรู้ได้งา่ ย ขั้นที่ 6 ผู้เรียนแสดงความรู้ ผลงานหาก ข้อความรู้ที่ได้เรียนรู้มาไม่ได้มกี ารปฏิบัติ ขั้นนี้ จะเป็นขัน้ ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มโี อกาสแสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนให้ผู้อ่นื รับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้ตอกย้าหรือตรวจสอบความเข้าใจของตนและ ส่งเสริมให้ ผู้เรียนใช้ความคิดสร้างสรรค์ แต่หากต้องมีการปฏิบัตติ ามข้อความรู้ที่ ได้ ขั้นนี้จะเป็นขัน้ ปฏิบัติ และมีการแสดงผลงานที่ได้ปฏิบัตดิ ้วย ขั้นที่ 7 ผู้เรียนนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ขั้น นี้เป็นขัน้ ของการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ ฝึกฝนการนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ในสถานการณ์ตา่ งๆ ที่หลากหลายเพื่อเพิ่ม ความชานาญความเข้าใจความสามารถในการแก้ปัญหาและความจาในเรื่องนัน้ ๆ

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 4 คน ครูผู้สอน จานวน 1 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 1. ขั้นตอนการสร้างแบบการร่างภาพระบายสี การต่อเติมความคิด ครูผู้สอน ดาเนินการดังนี้ 1.1 ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการร่างภาพระบายสี และความคิดของนักเรียน 1.2 วิเคราะห์ปัญหาและรวบรวมปัญหาของนักเรียน 1.3 ปรับปรุงแบบฝึกและจัดทาแบบฝึก 2. การใช้ตัวอย่างการร่างภาพระบายสี และแบบฝึกความคิดสร้างสรรค์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3. นักเรียนในทดลอง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 4 คน ปีการศึกษา 2554 - 2555 มีปัญหาการร่างภาพระบายสีไม่ชัดเจน โดยศึกษากับนักเรียน ทั้งหมด 4. เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ผลงานนักเรียน และแบบฝึก 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยให้นักเรียนฝึกฝนการร่างภาพ การฝึกความคิด สร้างสรรค์ เพื่อการเปรียบเทียบการพัฒนางาน 6. การวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการเปรียบเทียบผลงานจากการฝึกฝนครั้งแรกจนถึงครั้ง สุดท้าย  การตรวจสอบคุณภาพ เพื่อให้เกิดผลและคุณภาพที่ดีในการจัดการเรียน การสอนในรู ปแบบการเรียนการสอนแบบ ซิปปา (CIPPA) พัฒนาการวาดภาพและ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ จึ ง ได้ น ามาพั ฒ นาปรั บปรุ ง ให้ เหมาะสมกั บสภาพของโรงเรี ย น นักเรียน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ดาเนินการดังนี้ 1. จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจของ 2. จัดทาแบบวัดพัฒนาก่อนฝึก – หลังฝึก การร่างภาพ การระบายสี และฝึก ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) นักเรียนมีความสามารถในการร่างภาพก่อนการระบายสี 2) นักเรียนสามารถมีความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ 3) นักเรียนมีแนวทางเพื่อพัฒนาทักษะการวาดภาพระบายสี มีสมาธิและความคิด สร้างสรรค์

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา 1. 2.

1. 2.

1) 2)

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนมีความสามารถในการวาดภาพหลังจากที่ได้ผา่ นการเรียน โดยใช้แบบฝึก การร่างภาพ การระบายสีได้ในระดับดี จานวน 4 คน นักเรียนสามารถวาดภาพระบายสี และมีความคิดสร้างสรรค์ที่มีการพัฒนาขึ้น อย่างชัดเจน จานวน 4 คน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถนาความรูท้ ี่ได้รับจากการผ่านการเรียน การฝึกการร่างภาพ การ ระบายสี เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพ นักเรียนสามารถนาความรูจ้ ากการวาดภาพระบายสี และมีความคิดสร้างสรรค์ที่มี การพัฒนาขึน้ อย่างเห็นได้ชัดเจนจากการแสดงผลงาน และการเข้าร่วมประกวด แข่งขัน  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน ผู้บริหาร คณะครู ผู้ปกครอง มีความเข้าใจบทบาทการดาเนินการในรูปแบบการ เรียนการสอนแบบซิปปา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

249


250

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) ทางโรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ให้การสนับสนุน ส่งเสริมในเรื่องงบประมาณและวัสดุ อุปกรณ์ ในการเรียน การสอนวิชาศิลปะได้อย่างทั่วถึง 4) ทางด้านผู้ปกครองให้ความร่วมมือ และได้รับการสนับสนุนส่งเสริมบุตรหลานเป็น อย่างดี ในการให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนศิลปะ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า มีการดาเนินการตรวจสอบคุณภาพของ โดย จัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ภาคเรียนละ 1 ครัง้  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ผลการตรวจสอบ พบว่าสถานศึกษาได้วิเคราะห์ขนั้ ตอนและทดลองใช้แล้วสรุปได้ว่าขั้นตอนของ Best practice มีคุณภาพสามารถนาสู่การปฏิบัตไิ ด้ เกิดผลดีตอ่ การจัดการศึกษาใน ระดับดี

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  มีการประชาสัมพันธ์ขยายผลให้กับโรงเรียนในเครือข่าย และคณะครู ผู้สนใจภายในสถานศึกษาใกล้เคียงที่มีความสนใจรูปแบบการดาเนินการ นาไปสูก่ าร ประยุกต์ใช้ในสถานศึกษา  เผยแพร่ขอ้ มูลทางเว็ปไซค์ของโรงเรียน http://sswwww.no-ip.info:81/

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

251

กิจกรรมนักคิด ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพ ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 – ชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 6  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรวมกลุม่ นักคิดผลิตภัณฑ์สมุนไพรฟักข้าวเพื่อแก้ไขปัญหา สุขภาพ  เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการรักษาสุขภาพเบือ้ งต้น  เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดใี นการปฏิบัติตนเพื่อรักษา สุขภาพโดยใช้หลักเพื่อนเตือนเพื่อน หรือพี่สอนน้อง  เพื่อส่งเสริมการใช้กระบวนการกลุม่ การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องหรือยึด หลักการทางานเน้นการมีส่วนร่วม ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2553 - 2555

นำงสำวดำรณี ป้อมสกุล ครู โรงเรียนบ้านท่าแย้ โทรศัพท์ 086-7757408 E-mail : darani2505@gmail.com

ผลิตภัณฑ์สมุนไพรฟักข้าว

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง กับเป้าหมาย/จุดเน้นของสพป./สพฐ. จุดเน้น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต

การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์

เป้าหมาย เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรวมกลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์ สมุนไพรเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ 1.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดใี นการ ปฏิบัติตนเพื่อรักษาสุขภาพโดยใช้หลักเพื่อนเตือนเพื่อน หรือพี่สอนน้อง 2.เพื่อส่งเสริมการใช้กระบวนการกลุม่ การมีสว่ นร่วมของ ผู้เกี่ยวข้องหรือยึดหลักการทางานเน้นการมีสว่ นร่วม 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการรักษา สุขภาพเบือ้ งต้น 2.เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 – 2 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6

คุณลักษณะสำหรับผู้เรียนในแต่ละช่วงวัย คุณลักษณะ ใฝ่ดี

แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ 1. จัดกิจกรรมให้รจู้ ักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบัติได้ 2. รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 3. เชื่อฟังคาสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4. ตั้งใจเรียน 5. รู้จักปรับปรุงตัวเองในข้อผิดพลาด 6. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรูจ้ ักมัธยัสถ์ และเก็บออม 7. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้จักอดทน กล้าแสดงสิ่งที่ถูกต้อง รักษากฎ ระเบียบ ข้อบังคับของชุมชน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นำฟักข้ำว


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

252

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

คุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้

น้าชาใบฟักข้าว น้าฟักข้าว

สบู่เมล็ดฟักข้าว

แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ 1. ตั้งใจเรียนรู้ 2. เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน 3. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรูต้ ่าง ๆ 4. ศึกษาค้นคว้า หาความรูจ้ ากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรูท้ ั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้ส่อื ได้อย่างเหมาะสม 5. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ ความรู้ 6. แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ และนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา  การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสาคัญที่สุด เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มุ่งประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ผู้เรียนมีทักษะใน การแสวงหาความรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ผู้เรียนสามารถนาวิธีการเรียนรู้ไปใช้ ในชีวิตจริงได้ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในทุกขัน้ ตอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน  เทคนิคในการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ  แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้ำหมำย นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1-2 และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2553-2555  ขันตอนกำรพัฒนำ 1) จัดตั้งคณะทางาน 1 ชุด ประกอบด้วย บุคลากรในโรงเรียน, เครือข่าย สุขภาพและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานสาธารณสุขจังหวัด ดาเนินการดังนี้  ประชุมเพื่อวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพนักเรียน วางแผนการทางาน  จัดกิจกรรมคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล สารวจและศึกษาข้อมูล นักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการตรวจสุขภาพ การสัมภาษณ์เก็บรวบรวม ข้อมูลจากตัวนักเรียน ครูประจาชัน้ และผู้ปกครอง  ประชุมเพื่อสรุปผลการคัดกรองข้อมูลนักเรียน ปีการศึกษา 2553 เป็น 3 กลุ่ม(กลุ่มสุขภาพกายดี กลุ่มเสี่ยงต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มต้องรับการส่งต่อ) นักเรียนที่อยูใ่ นกลุ่มเสี่ยง จาแนกได้ดังนี้ นักเรียน ที่เป็นเหา 19.30% นักเรียนเป็นโรคผิวหนัง มีเม็ดผดผื่นคัน กลากเกลื้อน มีกลิ่นตัว 17.54% นักเรียนฟันผุ 12.28% นักเรียนปวดท้องโรค กระเพาะ 8.77% 2) การมีจัดกิจกรรม ทั้งหมด 4 กิจกรรม  การอบรมอาสาสมัครแกนนา ใช้เวลา 2 วัน เพื่อให้ได้รับความรู้ ความ เข้าใจด้านอนามัย และมีทักษะในการให้คาปรึกษาผู้อื่นในเรื่องต่าง ๆ สามารถขยายผลโดยวิธีเพื่อนช่วยเพื่อน พี่ชว่ ยน้องในสถาบันต่อไป การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การเลือกอาสาสมัคร ตามความสมัครใจและเน้นนักเรียนที่ชอบกิจกรรมและมี เพื่อนมาก  การพัฒนาอนามัยนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ด้านอนามัย 33 คน ใช้เวลา 1 วัน เพื่อให้ นักเรียนมีความรู้  ความเข้าใจในเรื่องการรักษาสุขภาพเบือ้ งต้น มีทัศนคติที่ดใี นเรื่องการระวังรักษา สุขภาพอนามัย รู้ผลกระทบจากการปฏิบัตติ นไม่ถูกต้อง 3) ประชุมผู้ปกครอง ใช้เวลา 1 วัน 4) ส่งเสริมให้นักเรียนรวมกลุม่ นักคิดผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมการใช้กระบวนการกลุม่ การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องหรือยึดหลักการทางาน เน้นการมีสว่ นร่วม จากการสารวจสมุนไพรในชุมชนพบว่า ตามลาน้าธรรมชาติใกล้ โรงเรียนมีตน้ ฟักข้าวขึน้ อยูม่ ากกมาย จึงหาความรูจ้ ากภูมิปัญญาท้องถิ่น และศึกษา ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต จึงนาสมุนไพรฟักข้าวมาจัดทาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในรูป โครงงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียนชั้นอนุบาล 1 – ป. 6 ปีกำรศึกษำ 2553  กลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์นาสมุ ้ นไพรฟักข้าว ลดการดื่มน้าอัดลมแก้โรคฟันผุ โรค กระเพาะอาหาร ปีกำรศึกษำ 2554  กลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์นาชาใบฟั ้ กข้าว ลดการดื่มน้าอัดลมแก้โรคฟันผุ โรค กระเพาะอาหาร  กลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์สบู่ต้นฟักข้าว แก้แผลพุพอง คันตามผิวหนัง กลากเกลือ้ น  กลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์แชมพูสระผมต้นฟักข้าว แก้เหา บารุงเส้นผม  กลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์ครีมอาบน้าเม็ดฟักข้าว แก้แผลพุพอง คันตาม  ผิวหนัง กลากเกลื้อน ดับกลิ่นตัว ปีกำรศึกษำ 2555  กลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์ครีมนวดผมต้นฟักข้าว แก้เหา บารุงเส้นผม 5) จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้นักเรียนมีสุขนิสัย ที่ดใี นการปฏิบัตติ นเพื่อรักษาสุขภาพโดยใช้หลักเพื่อนเตือนเพื่อน หรือพี่สอนน้อง เช่น แปรงฟันหลังอาหารให้ถูกวิธี ตรวจสุขภาพประจาวัน ได้แก่ ตรวจผม เล็บ ผิวหนัง ฟัน เสื้อผ้า เป็นต้น  การตรวจสอบคุณภาพ การจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมต้องมีการประชุมเพื่อ ประเมินผลทุกครัง้ โดยคณะทางานและตัวแทนอาสาสมัครแกนนา  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ นาผลิตภัณฑ์ไปใช้ทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน นาผลิตภัณฑ์ไปจาหน่ายในชุมชนเป็นการหารายได้ระหว่างเรียน และเผยแพร่ความรู้ ให้แก่ผู้ปกครองในชุมชน และผูท้ ี่สนใจ ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

253

แชมพูสระผมต้นฟักข้าว สบู่เมล็ดฟักข้าว

ครีมนวดผมต้นฟักข้าว

ครีมอาบน้าเมล็ดฟักข้าว สบู่เมล็ดฟักข้าว


254

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสำเร็จเชิงปริมำณ 1) ปีการศึกษา 2555 นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาสุขภาพให้ดขี นึ้ คงเหลือ นักเรียนฟันผุ 0% ปวดท้องโรคกระเพาะ 1.41% เป็นเหา 8.45% และเป็นแผล พุพอง คันตามผิวหนัง กลากเกลื้อน มีกลิ่นตัว 2.82% 2) มีนักเรียนรวมกลุม่ นักคิดผลิตภัณฑ์สมุนไพรฟักข้าวเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพและ ปฏิบัตงิ านสาเร็จอยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก จานวน 6 กลุ่ม  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการรักษาสุขภาพเบือ้ งต้น 2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดใี นการปฏิบัติตนเพื่อรักษา สุขภาพ 3) เพื่อส่งเสริมการใช้กระบวนการกลุม่ การมีสว่ นร่วมของผู้เกี่ยวข้องหรือยึด หลักการทางานเน้นการมีส่วนร่วม แสดงผลงานที่โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ 4) ผลงานกลุ่มนักคิดผลิตภัณฑ์สมุนไพรฟักข้าวเพื่อสุขภาพ ได้รับรางวัลการแข่งขัน กาญจนบุรี ในงานต่างๆ มากมาย  ควำมพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ค่าร้อยละของความพึงพอใจจาก ผู้เกี่ยวข้อง 100% วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ ใช้แบบสารวจความ พึงพอใจผู้ร่วมกิจกรรม และสัมภาษณ์ความพึงพอใจผู้ร่วมกิจกรรม  ปัจจัยควำมสำเร็จของกำรพัฒนำ ได้แก่ การสนับสนุนของผู้บริหารในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะงบประมาณ, ขวัญกาลังใจ ความร่วมมือของชุมชน หน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้อง การใช้กระบวนการกลุ่ม การมีสว่ นร่วมของอาสาสมัครกลุ่มนักคิดใน การท าผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส มุ น ไพร หรื อ ยึ ด หลั ก การท างานเน้ น การมี ส่ ว นร่ ว ม การ ประสานงานประสานความร่วมมือในคณะทางาน และการคัดเลือกอาสาสมัครต้อง สาธิตทาน้าฟักข้าวและน้าชาใบฟักข้าว มาจากความสมัครใจและรักการทากิจกรรม กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีกำรตรวจสอบซำ 1) ผู้บริหารตรวจสอบ นิเทศการทางาน ให้ข้อเสนอแนะเพื่อนาไปพัฒนางานให้ดีข้ึน 2) สาธารณสุขอาเภอด่านมะขามเตี้ย ทาการตรวจสอบสุขภาพร่างกายนักเรียนภาค เรียนละ 1 ครัง้  ผลกำรตรวจสอบซำเพื่อพัฒนำปรับปรุง 1) ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรักษาสุขภาพของนักเรียนเป็นรายบุคคล อย่างต่อเนื่อง 2) ส่งต่อนักเรียนรายทีมีปัญหาสุขภาพที่โรงเรียนไม่สามารถแก้ไขได้ เช่นฟันแท้ผุ การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง โดยวิธีจัดทาแผ่นพับเผยแพร่ความรู้ จัดนิทรรศการแสดงผลงาน เป็นศูนย์ การเผยแพร่ให้ความรู้ เรียนรู้ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน และโรงเรียนอื่น ๆ ที่สนใจ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตาบลด่านมะขามเตี้ย

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

255

จากแหล่งเรียนรู้ สู่โครงงานสุขภาพ ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  นักเรียนสร้างองค์ความรู้จากแหล่งเรียนรู้  พัฒนาความคิดให้เกิดความรู้ใหม่  เชื่อมโยงความรู้สร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์

ระยะเวลาในการพัฒนา ตัง้ แต่ปีการศึกษา 2550 ถึงปัจจุบัน

นางธารนภา ฉายเกียรติ์ขจร ครู โรงเรียนวัดท่ามะขาม โทรศัพท์ 089-4534120 E-mail : Tannapa1@hotmail.com

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดประสงค์ สพป./สพฐ./สถานศึกษา ใช้ รู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอนโดยมุ่ ง เน้ น ความรู้ และ สมรรถนะ ภาพจากแหล่งเรียนรู้....สูโ่ ครงงาน (Competency ) ทั้งในทาง วิชาการและวิชาชีพ โดยใช้หลักสูตรเพื่อส่งเสริมการมีงานทา นานักเรียนที่สนใจเรื่องสมุนไพรอบเชยไปศึกษา สวนสมุนไพรอบเชยที่บ้านสวนจันทร์ นากระบวนการเรียนการสอนจากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่โครงงาน เพื่อ สุขภาพเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิต มีความสามารถในทางอาชีพ ตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรฐานที่ 6 การศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ซึ่งโรงเรียนวัดท่ามะขามได้ตระหนักเห็นว่า การที่จะพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ได้ต้องเริ่มต้นที่การมีสุขภาพที่ดี เพราะ สุขภาพเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซึ่งทุกคนจะได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะการ ปฏิบัติด้ า นสุ ข ภาพจนเป็ น กิ จ นิสั ย อั น จะส่ ง ผลให้ สั ง คมโดยรวมมีคุ ณ ภาพ อีก ทั้ ง ได้ ตระหนักเห็นความสาคัญของแหล่งเรียนรู้ ทั้งในโรงเรียน ในชุมชม รวมทั้งภูมิปัญญา นักเรียนได้ศึกษาตั้งแต่ลักษณะของต้นอบเชย ท้องถิ่น สรรพคุณของอบเชย จนถึงกระบวนการผลิต การใช้แหล่งเรียนรู้ เป็นสื่อสาคัญในกระบวนการจัดการเรียนรู้ สาหรับผู้เรียนรู้ อบเชยกลั่นบริสุทธิ์และบรรจุลงผลิตภัณฑ์ เพราะผู้ เรี ย นสามารถเรี ย นรู้ จ ากสภาพจริ ง การจั ด การเรี ย นรู้ จ ากแหล่ ง เรี ย นรู้ จ ะ วิทยากรคือ คุณบุญส่ง จันทร์ส่องรัศมี เกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ ธรรมชาติ หน่วยงานองค์กร สถานประกอบการ ชุมชน และ เจ้าของสวนสมุนไพรอบเชย สิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ซึ่งผู้เรียน ผู้สอน สามารถศึกษาค้นคว้าหาความรู้ หรือเรื่องที่สนใจได้ จากแหล่ งเรีย นรู้ ทั้ งที่ เป็ นธรรมชาติ และที่ มนุ ษย์สร้ างขึ้น ชุมชนและธรรมชาติเป็ น ขุมทรัพย์มหาศาลที่สามารถค้นพบความรู้ได้ไม่รู้จบ ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสร้าง องค์ความรู้ดว้ ยตนเอง สุดท้ายผู้เรียนจึงนามาพัฒนาต่อยอดเป็นโครงงานต่าง ๆ ตามที่ ปรากฏ

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดท่ามะขาม อาเภอ เมือง จังหวัดกาญจนบุรี  ขั้นตอนการพัฒนา รูปแบบวิธีการดาเนินการ 1. สารวจแหล่งเรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถิ่นในชุมชน 2. จัดทาทะเบียนภูมปิ ัญญาท้องถิ่น การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

256

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3. จัด การเรี ย นการสอนโดยให้ นั กเรี ย นทาโครงงานตามสาระการเรีย นรู้ ซึ่ ง เป็ น โครงงานที่นักเรียนมีกรอบการทางานภายใต้จุดประสงค์ของการเรียนรู้ในเนื้อหาแต่ละ เรื่อง หรือโครงงานตามความสนใจ นักเรียนอาสาสมัครทาตามความสนใจจากการ สังเกต จากความสนใจส่วนตัว 4. ทบทวนและสอนซ้าเกี่ยวกับ “สุขภาพที่ด”ี อยู่เสมอ 5. พยายามสอนให้นักเรียนแต่ละคนให้ทั่วถึง พร้อมกับกระตุ้นให้นักเรียนได้พัฒนา สุขภาพของตนเอง และยึดถือค่านิยมที่ดที างสุขภาพด้วย 6. สอนให้นักเรียนแต่ละคนรับผิดชอบสุขนิสัยของตนเอง 7. จุดมุ่งหมายของการสอน คือ ทาให้นักเรียนมีความสุข ปรับตัวได้ดี และมีสุขภาพ สมบูรณ์ 8. บทเรียนทุ กบท มีความน่าสนใจ ตรงตามความต้อ งการและความสามารถของ นักเรียน ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิด ชอบที่ดีต่อตนเองและ สังคม 9. สอนสุขศึกษาให้สัมพันธ์กับชีวิตประจาวันของนักเรียน และเน้นเนื้อหาที่จาเป็นต่อ การดารงชีวิต 10. บูรณาการให้สัมพันธ์เนื้อหากับประสบการณ์ของวิชาสุขศึกษากับวิชาอื่น ๆ ให้ได้ มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ 11. ในการสอนควรใช้ส่ือการเรียนจากวิทยาศาสตร์ เช่น วิชากายภาพ สรีระศาสตร์ และ อื่น ๆ เข้าช่วย ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและสามารถแก้ปัญหาสุขภาพ ของตนเองได้ดขี นึ้ 12. สื่อการเรียนทุกชนิดที่นามาใช้ควรสัมพันธ์กับเรื่องสุขภาพของนักเรียน ซึ่งจะช่วย ให้นักเรียนตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสุขภาพของตนเองได้ 13. เมื่อจบการสอนสุขศึกษาจะต้องมีเครื่องมือ (Means)ที่นาไปสู่การเรียนรู้อย่างอื่น ๆ ต่อไป มิใช่จบภายในตัวของตนเองเท่านัน้

การตรวจสอบคุณภาพ เกณฑ์การประเมินการประกวดโครงงานสุขภาพ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ แนวทางการนา รูปแบบ จากแหล่งเรียนรู้…สู่ โครงงานสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ คือ 1. สอนให้นักเรียนรู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตัวเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง มีความสุข และสามารถกระทาการใด ๆ อย่ างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิตของ ตัวเอง ครอบครัว และชุมชน 2. ส่งเสริมให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคคลอื่น ๆ เกิดความเข้าใจและเจตคติที่ดี ต่อการรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตัวเอง ครอบครัว และชุมชน 3. ปรับปรุงการดารงชีวิตของตัวเองและชุมชน ให้เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพอยู่ เสมอ ซึ่งเป็นการช่วยให้ประชากรของชาติมีสุขภาพดียิ่งขึ้น 4. ผลจากการที่เด็กมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ จะมีผลให้เด็กเกิดความสัมฤทธิ์ ทางด้านการเรียนและการดารงชีวิตของตนเอง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาระดับสถานศึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  ปีการศึกษา 2553 เท่ากับ 81.62 สูงกว่าเป้าหมาย (73.00) เท่ากับ 8.62  ปีการศึกษา 2554 เท่ากับ 85.20 สูงกว่าเป้าหมาย (76.00) เท่ากับ 9.20 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6  ปีการศึกษา 2553 เท่ากับ 58.57 สูงกว่าระดับประเทศ (54.31) เท่ากับ 4.26  ปีการศึกษา 2554 เท่ากับ 61.45 สูงกว่าระดับประเทศ (58.87) เท่ากับ 2.58 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 สูงกว่าปีการศึกษา 2553 (58.57) เท่ากับ 2.88 4. ปีการศึกษา 2554 เด็กหญิงอินทิรา สมสี และคณะนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5โรงเรียนวัดท่ามะขาม ได้รบั ทุนการศึกษา 2,000 บาท จากมูลนิธิพระบรมราชา นุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี จาก การทาโครงงาน เรื่อง การใช้ถ่านผสมสมุนไพรในท้องถิ่นดับกลิน่ และสร้างบรรยากาศที่ดี ในห้องสุขา 5. ปีการศึกษา 2554 นักเรียนโรงเรียนวัดท่ามะขาม จานวน 3 คน ได้รับรางวัล เหรียญทอง จากกิจกรรมโครงงานสุขภาพ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 61 ระดับ ภาค 6. ปีการศึกษา 2553 นักเรียนโรงเรียนวัดท่ามะขาม จานวน 3 คน ได้รับ รางวัลเหรียญทอง จากกิจกรรมโครงงานสุขภาพ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 60 ระดับภาค 7. ปีการศึกษา 2552 นักเรียนโรงเรียนวัดท่ามะขาม จานวน 3 คน ได้รับรางวัล เหรียญทองแดง จากกิจกรรมโครงงานสุขภาพ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 59 ระดับชาติ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1.โรงเรียนผ่านการรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรจาก กระทรวงสาธารณสุข 2. ความสาเร็จทางด้านสุขภาพของนักเรียนนามากาหนดเป็นอัตลักษณ์ของ นักเรียน คือ สุขภาพดี มีคุณธรรม  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ โรงเรียนผ่านการรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จาก กระทรวงสาธารณสุข

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

257


258

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา ไป ใช้ คือ โรงเรียนวัดท่ามะขาม ได้ดาเนินการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และ ได้ รับความร่ ว มมือ จากบุ ค ลากรในโรงเรี ย น ชุม ชน องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพประจ าต าบล โรงพยาบาลพหลพลพยุ ห เสนา ศู น ย์ อนามัยที่ 4 ราชบุรี และจากแหล่งเรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถิ่น  กระบวนการตรวจสอบซ้ า เพื่อพัฒ นาปรับปรุง ให้เกิด ผลดี อย่า ง ต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ได้นาเสนอการสอนแบบโครงงานในวั นวิชาการ โรงเรียน และขยายผลสู่โรงเรียนต่าง ๆ เช่น โรงเรียนบ้านหัวนา โรงเรียนวัดบ้านยาง เป็นต้น  ผลการตรวจสอบซ้ าเพื่ อ การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง กระทรวง สาธารณสุข ได้ให้การรับรองมาตรฐานเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง โรงเรี ย นวั ด ท่ า มะขาม เป็ น สถานที่ ศึ ก ษาดู ง านเกี่ ย วกั บ โรงเรี ย นส่ ง เสริ ม สุขภาพระดับเพชร นักเรียนนาความรูท้ ี่ได้รับมาพัฒนา ต่อยอดเป็นโครงงานสุขภาพ เรื่อง ผลการศึกษาการใช้เจลล้างมือ สมุนไพรอบเชยเพื่อสุขภาพ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

259

ถอดรหัสหัวใจ คีตะมวยไทยสู่ความเป็นเลิศ ” เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา .  เพื่อให้ผู้บริหาร ครู นักเรียนศึกษาแนวทางการฝึกแม่ไม้มวยไทยได้ดว้ ยตนเอง  เพื่อให้ผู้บริหาร ครู มีแนวทางในการฝึกสอนแม่ไม้มวยไทย นาไปสู่การประกวด

ระยะในการพัฒนา

ปีการศึกษา 2554 – ปีการศึกษา 2555

ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา    

เป็นฐานข้อมูล แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนสารวจ สืบค้น ทาโครงงาน จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา . ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม (behaviorism) ได้มีแนวความคิดว่า พฤติกรรม ทุกอย่างเกิดขึ้นได้โดยการเรียนรู้และสามารถสังเกตได้ พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวม ของการเรียนที่เป็นอิสระหลายอย่างและแรงเสริม จะช่วยทาให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้และ ได้เสนอวิธีการสอนโดยใช้เครื่องมือช่วยสอน หรือการสอนแบบโปรแกรมขึน้ ซึ่งเชื่อว่า เป็นการช่วยครูได้อย่างมากและผลก็คือจะทาให้นักเรียนทุกคนเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ หลักการและแนวคิดของทฤษฎีปัญญานิยม สามารถนามาใช้ในการพัฒนา บทเรียน วีดีทัศน์ประกอบการสอนได้ดังนี้ 1) ใช้เทคนิคเพื่อสร้างความสนใจแก่ผู้เรียนก่อนเริ่มเรียน โดยการผสมผสาน ข้อมูลและ การออกแบบ title ที่เร้าความสนใจ 2) ควรสร้างความน่าสนใจในการศึกษาบทเรียนอย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธีการและ รูปแบบที่แตกต่างกันออกไป 3) การใช้ภาพและกราฟิกประกอบการสอนควรต้องคานึงถึงความสอดคล้องกับ เนื้อหา 4) คานึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนในแง่ของการเลือกเนื้อหาการเรียนการเลือก กิจกรรมการเรียน การควบคุมการศึกษาบทเรียน การใช้ภาษา การใช้กราฟิก ประกอบบทเรียน 5) ผู้เรียนควรได้รับการชีแ้ นะในรูปแบบที่เหมาะสม หากเนือ้ หาทีศ่ กึ ษามีความ ซับซ้อนหรือมีโครงสร้างเนื้อหาที่เป็นหมวดหมู่และสัมพันธ์กัน 6) ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทบทวนความรู้เดิมที่สัมพันธ์กับความรู้ใหม่ในรูปแบบที่ เหมาะสม 7) กิจกรรมการสอนควรผสมผสานการให้ความรู้ การให้คาถามเพื่อให้ผู้เรียนคิด วิเคราะห์หาคาตอบ 8) สร้างแรงจูงใจโดยเน้นความพึงพอใจที่เกิดขึ้นจากความสาเร็จในการเรียนรู้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นายอดิศักดิ์ บุญมา ครู โรงเรียนบ้านหนองปล้อง โทรศัพท์ 081-0111048 E-mail : Adisak_boonma@hotmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

260

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา .   1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 1) 2) 3) 1) 2)

 กลุ่มเป้าหมายในการนาไปใช้ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ผู้บริหารและครูที่สนใจในการฝึกแม่ไม้มวยไทยเพื่อประกวดและแข่งขัน  ขั้นตอนการพัฒนา ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแม่ไม้มวยไทยในโรงเรียนและนอกโรงเรียน หาวิธีการแก้ไขปัญหา ด้วยการสร้างสื่อ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เขียนโครงการการจัดทาสื่อ นวัตกรรม และเสนอโครงการจัดทาวีดที ัศน์ ประชุมวางแผนการดาเนินงาน ดาเนินการจัดทาสื่อ นวัตกรรม วีดีทัศน์คตี ะมวยไทยเพื่อความเป็นเลิศ นาไปใช้ตามโรงเรียนต่างๆที่สนใจฝึกคีตะมวยไทยเพื่อส่งเข้าประกวด ติดตาม ประเมินผล สรุปผล เขียนรายงาน  การตรวจสอบคุณภาพ ทดลองใช้กับผู้เรียนกลุ่มต่างๆในโรงเรียน นาข้อบกพร่องมาแก้ไข ปรับปรุง ทดลองใช้กับผู้เรียน โรงเรียนใกล้เคียง นาข้อบกพร่องมาแก้ไข ปรับปรุง ผลการทดลองใช้ . สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ ตรงตามวัตถุประสงค์  แนวทางการนา.ไปใช้ประโยชน์ ผู้เรียนสามารถนา.ไปศึกษาด้วยตนเองที่บ้านเพื่อศึกษารูปแบบและแนวทาง นา.ไปใช้กับโรงเรียนที่สนใจเพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อความเป็น เลิศ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา

 

  

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้สื่อ นวัตกรรม . ภายในโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้บริหาร ครูผู้สอนและนักเรียนได้ใช้สื่อวีดี ทัศน์คตี ะมวยไทยเพื่อความเป็นเลิศ คิดเป็นร้อยละ 90  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้สื่อ นวัตกรรม . ภายในโรงเรียนมีพัฒนาการด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่ดี สามารถพัฒนา ผู้เรียนได้ตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนได้เป็นตัวแทนของจังหวัดกาญจนบุรีเข้าร่วมการแข่งขันศิลปะมวยไทย ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย นักเรียนได้เป็นตัวแทนของจังหวัดกาญจนบุรีเข้าร่วมการแข่งขันคีตะมวยไทย สพฐ.เกมส์  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ผู้บริหารมีความพึงพอใจร้อยละ 100 ผู้เรียนมีความพึงพอใจและมีความสุขกับการใช้ส่อื ร้อยละ100 วิธีการที่ได้มาเกี่ยวกับความพึงพอใจ โดยเครื่องมือ แบบสอบถาม สังเกตและ สัมภ่าษณ์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา การใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ จาก การศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นาไปสู่การคิดและผลิต นวัตกรรม และนามาทดลองใช้ เพื่อหาข้อบกพร่อง นาไปปรับปรุง แก้ไข จนมี ประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนจนสูค่ วามเป็นเลิศได้ ก่อนจะนาไปเผยแพร่เพื่อเป็น แนวทางให้กับครูและนักเรียนโรงเรียนอื่นๆต่อไป

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า การทดลองใช้ จากการปฏิบัตกิ ิจกรรมของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรม ดูผลงาน และความรู้ที่ผู้เรียนได้รับ  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง มีคุณภาพสามารถ นาสู่การปฏิบัตไิ ด้ เกิดผลต่อการจัดการศึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพล ศึกษาและสามารถนาไปเผยแพร่ได้

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1)

การเผยแพร่ โดยจัดทาโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ จัดทาสื่อ.เผยแพร่ตามโรงเรียนต่างๆ ปีการศึกษา 2555 2) ครูและนักเรียนได้รับเชิญเป็นวิทยากรแนะนาแนวทางการจัดกิจกรรม 3) จัดนิทรรศการ แสดงผลงาน การนาวิธีการ รูปแบบและการใช้นวัตกรรม เผยแพร่ต่อผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน จัดทาเอกสารแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ 4) ประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ของศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา

นักเรียนของโรงเรียนบ้านหนองปล้องเป็นตัวแทนแข่งขันคีตะมวยไทย ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 15 ณ ลานเอนกประสงค์หน้าอาคารนิมบิ ุตร สนามกีฬาแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

261


262

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ส่งเสริมทักษะกรีฑานักเรียนสู่ระดับจังหวัด ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นายประจวบ ธูปหอม ครู โรงเรียนบ้านหนองสองตอน โทรศัพท์ 081-2990077 E-mail : Toophom_01@hotmail.com

 เพื่อพัฒนาทักษะกรีฑาให้แก่นักเรียนที่มีความสนใจและมีความสามารถ พิเศษ  เพื่อปลูกฝังคุณลักษณะนิสัยการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่ข้องเกี่ยวกับ อบายมุข และสิ่งเสพติดทั้งปวงให้แก่นักเรียน  เพื่อคัดเลือกนักเรียนที่มีทักษะและความสามารถที่ดีเป็นนักกรีฑาตัวแทน โรงเรียนไปแข่งขันในระดับต่าง ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2552 – 2555

ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่าง กับเป้าหมาย/จุดเน้นของสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ส อง (พ.ศ. 2552 – 2561)มุ่งเน้นให้ นัก เรีย นเป็ นคนดี คนเก่ง และมีความสุ ข ส านัก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก็ได้กาหนดนโยบายรองรับการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน มีจุดเน้นในด้านให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในทุกช่วงวัย นอกจากนี้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญดังในสมรรถนะที่ 4 ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต และตามกลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก ระดับชั้นตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้ และประกอบกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 7 ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพกายและออกกาลังกายสม่าเสมอ ตัวบ่ งชี้ที่ 7.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง และ มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ในมาตรฐานที่ 15 ตัวบ่งชี้ที่ 15.3 มี การจัดกิจกรรมส่งเสริมและตอบสนองความสามารถพิเศษและความถนัดของผู้เรียน ให้เต็มตามศักยภาพ ตัวบ่งชี้ ที่ 15.4 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม และ ตัวบ่ งชี้ที่ 15.5 มีก ารจัดกิ จกรรมส่ง เสริม ด้านศิล ปะ ดนตรี /นาฎศิลป์ และกี ฬา/ นันทนาการ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ที่นามาใช้ในการพัฒนา 1) พัฒนาด้วยวิธีเสริมพลัง (Empowered Development Approach) แบ่ง ออกเป็น 4 มิติ คือ1) การอบรมสั่งสอน (Training) 2) การเป็นพี่เลีย้ ง (Mentoring) 3) การชีแ้ นะ (Coaching) 4) การตรวจสอบผล(นิเทศ) (Supervision) 2) ใช้กระบวนการวงจรของเดมมิ่ง ( Deming Cycle) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผน (Plan) 2) การดาเนินการ (Do) 3) การตรวจสอบ (Check) 4) การปรับปรุง (Action)

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมายนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2552 – 2555  ขั้นตอนการพัฒนา ผู้สอนได้ใช้รูปแบบเทคนิค วิธีการ แนวคิด ทฤษฏีต่างๆ มาผสมผสานเพื่อให้เหมาะกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนอย่างหลากหลาย โดย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1) สร้างความตระหนัก ให้เห็นคุณค่า 2) อธิบายและสาธิตอย่างเป็นขัน้ ตอน 3) ฝึกปฏิบัตเิ ป็นขัน้ ตอนง่ายไปหายากสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม หลักธรรม 4) สอนบูรณาการ...กับสาระอื่น( 8 สาระ) 5) ใช้กิจกรรม และเกมนันทนาการให้ผู้เรียนเรียนอย่างสนุกสนาน ทางานเป็นทีม มีนาใจนั ้ กกีฬาสรุปสาระสาคัญจากการเรียนการสอน เน้นย้าทักษะที่ถูก ต้องการพัฒนาและการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม(ข่าว/เหตุการณ์/อาเซียน) มีการ บันทึกการประเมินผล แจ้งผลให้ผู้เรียนทราบ เพื่อเป็นแนวให้ผู้เรียนได้ปรับปรุง ตนเองและผู้สอนได้ปรับปรุงวิธีการ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  การตรวจสอบคุณภาพ รายงานของนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อ ปลายปีการศึกษา และผลจากการเข้าแข่งขันกีฬาภายในกรีฑานักเรียนระดับศูนย์ เครือข่ายฯ กรีฑานักเรียนระดับจังหวัด  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ 1) ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ พร้อมทั้งได้มาตรฐานตรงตามตัวชีว้ ัดและส่งผลไปถึงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ที่ สูงขึน้ 2) เป็นต้นแบบให้คณะครูได้มีวิธีการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคต่างๆ ที่หลากหลายและ ก่อประโยชน์อันสูงสุดสาหรับการจัดการศึกษา 3) โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็น Best Practice 4) ขยายผลออกไปสู่ชุมชนและโรงเรียนต่างๆ ได้นาไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ปีการศึกษา 2552 – 2555) ได้เข้าร่วม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย คิดเป็นร้อยละ 99 ( ร้อยละ 1 เป็น น.ร.ที่ขาดเรียน) 2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อปลายปีการศึกษาสูงขึน้ คิดเป็นร้อย ละ 100 3) นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกิจกรรมกีฬาภายในของโรงเรียน คิดเป็นร้อย ละ 99 (ร้อยละ 1 เป็นน.ร.ที่ขาดเรียน) 4) นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกรีฑานักเรียน นักศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี และได้รับรางวัล คิดเป็นร้อยละ 100 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

263


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

264

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) คณะครูและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ของโรงเรียนบ้านหนองสองตอนมี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสุขศึกษาพลศึกษาให้มีการบูรณาการกับ สาระอื่น และมีค วามน่า สนใจ ก่ อ ให้ เกิ ด การเรี ย นรู้ ที่มีคุ ณ ภาพเป็ น กิจ กรรมที่ กระตุ้นให้นั กเรีย นได้มีส่ว นร่ วมลงมือ ปฏิบัติแ ละได้ เรี ยนรู้จ ากแหล่ง เรี ยนรู้ ภู มิ ปัญญาท้องถิ่น และทันต่อความเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน 2) ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สุ ข ศึ ก ษาพลศึ ก ษาเมื่ อ ปลายปี การศึกษา สูงขึน้ ตารางเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาพลศึกษาเมื่อ ปลายปีการศึกษา ที่

ชัน้

1 2 3

ม.1 ม.2 ม.3

ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา2554 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 82.78 94.19 85.10 86.77 82.79 83.88

เพิ่มขึ้น (ร้อยละ) 11.41 1.67 1.09

 ผลสัมฤทธิ์ภาพรวมของ O-NET ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกกลุ่มสาระ เปรียบเทียบปี 2552 กับ ปี 2553 และ ปี 2553 กับ ปี 2554 สูงขึน้ ตารางเปรียบเทียบปีการศึกษา 2552 กับ ปีการศึกษา 2553 ข้อสอบ

ชัน้

O-NET ม.3

ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 เพิ่มขึ้น (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 32.21 34.61 2.39

ตารางเปรียบเทียบปีการศึกษา 2553 กับปีการศึกษา 2554 ข้อสอบ O-NET ม.3

ชัน้

ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา2554 เพิ่มขึ้น (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 34.61 44.28 9.67

 ครูและนักเรียนมีความรู้ความสามารถและกล้าแสดงออกได้เข้าร่วม กิจกรรมการแข่งขันกรีฑานักเรียน นักศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ประจาปี 2555 และ ได้รับรางวัลระดับจังหวัด  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ผู้สอนได้ตรวจสอบความพึงพอใจจาก การจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากบุคคลหลาย ฝ่ายดังต่อไปนี้ - คณะครู นักเรียนและผู้ปกครอง มีความพึงพอใจคิดเป็น 90 %

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ในการจัดกิจกรรมก็ได้รับการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่ายซึ่ง เป็นปัจจัยในความสาเร็จของ มีกลุ่มบุคคลดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารให้การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกิจกรรมทั้งในด้านของการให้ คาปรึกษา อานวยความสะดวกทุกรูปแบบ พร้อมทั้งเข้าร่วมกิจกรรม 2) คณะครู(ทั้งในโรงเรียนและต่างโรงเรียน)ให้ความร่วมมือเป็นคณะทางาน ร่วมมือกัน 3) วางแผนการจัดกิจกรรมและดาเนินงานจนกิจกรรมเสร็จสิ้นโดยสมบูรณ์ 4) ผู้ปกครองให้การสนับสนุนและร่วมมือพร้อมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการ สอน 5) นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความเต็มใจ สนุกสนาน และตื่นตัวตลอดเวลา 6) ชุมชนทั้งภาคเอกชนและภาครัฐให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมด้วยดีเสมอ มาทั้งด้านงบประมาณ บุคลากรและสถานที่

กระบวนการตรวจสอบซาเพือ่ การพัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า 1) จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม เช่น การ แข่งขันกีฬาภายในโรงเรียน 2) ส่งผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันกรีฑาระดับจังหวัด  ผลการตรวจสอบซ้า 1) สังเกต พูดคุยซักถามการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนหรือประเด็นปัญหาต่างๆ ในแต่ละวัน 2) อบรมคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กิจกรรมการพัฒนา 3) ประเมินความพึงพอใจที่มตี อ่ การจัดกิจกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณา ปรับปรุงกิจกรรม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวผู้เรียนกิจกรรม นาผลการ ประเมิน การจั ด กิ จ กรรม มาท าเป็ น ข้ อ มู ล สารสนเทศ เพื่ อ ทบทวน ก ากั บ ติดตาม และพัฒนากิจกรรมให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง สรุปผล และ รายงานผลต่อผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลการตัดสินใจของผู้บริหารใน การดาเนินงานกิจกรรมในครัง้ ต่อไปเพื่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ผู้เรียนอย่างสูงสุด

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกกว้าง 1) ยกย่อง ชมเชย ในที่ประชุมเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และประชุมผู้ปกครองนักเรียน 2) จัดทาเอกสารแผ่นพับ เผยแพร่ผลงานการแข่งขันของนักเรียนไปถึงผู้ปกครอง 3) ประชาสัมพันธ์ออกเสียงตามสายภายในหมูบ่ ้าน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

265


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

266

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ลานกีฬาต้านยาเสพติด ” เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นายจรูญ ธนะฤกษ์ ครู โรงเรียนบ้านพุเลียบ โทรศัพท์ 081-8573459 E-mail : tim_tim2501@hotmail.com

1. เพื่อให้นักเรียนได้ออกกาลังกายและเล่นกีฬา 2. เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3. เพื่อให้นักเรียนมีนาใจเป็ ้ นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รูอ้ ภัยและห่างไกลยาเสพติด

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นพัฒนา ปีการศึกษา 2554 ( พฤษภาคม 2554 ) ถึง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ( กันยายน 2555 )

ความเชื่อมโยง / ความสัมพันธ์กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. จุดเน้น สพฐ.

สพป.กจ.1 โรงเรียนบ้านพุเลียบ

ยุทธศาสตร์ - ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนได้รับโอกาสในการ พัฒนาเต็มตามศักยภาพ - พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร - พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เน้นการมีสว่ นร่วมจากทุกภาค ส่วน - ส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือ และพัฒนาทักษะชีวิต

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ในการพัฒนา ใช้แนวคิด ทฤษฎี Liberal Model ทฤษฎีน้ีมีความเชื่อว่าในสังคมที่ซับซ้อน ศีลธรรมเสื่อม การสร้างความเปลี่ยนแปลง ในสภาวะแวดล้อมจาเป็นต้องสอดคลอง กับการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคล และดาเนินไปพร้อม ๆ กัน โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมใน กิ จ กรรมในลั ก ษณะค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไปโรงเรี ย นถึ ง ชุ ม ชน เช่ น สาธารณสุ ข จั ง หวั ด พั ฒ นาการจั ง หวั ด สภาต าบล ผู้ น าชุ ม ชน เจ้ า ของหอพั ก และผู้ ป กครอง เป็ น คณะกรรมการร่ว มกับโรงเรีย น เพื่อหาแนวทางร่ว มกัน ป้องกันและแก้ไขเด็ก และ เยาวชนที่ใช้ยาในทางที่ผิด กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านพุ เลียบ จานวน 70 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) ศึกษาปัญหาการเรียนการสอนเกี่ยวกับยาเสพติด 2) หาวิธีการแก้ไข้ปัญหา ด้วยการเล่นกีฬา 3) เขียนโครงการลานกีฬาต้านยาเสพติด 4) แต่งตัง้ คณะกรรมการและประชุมวางแผนดาเนินงาน 5) ดาเนินงานตามโครงการลานกีฬาต้านยาเสพติด 6) ติดตาม ประเมินผล สรุปผล เขียนรายงาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ 1. ประเมินผลกิจกรรมลานกีฬาต้านยาเสพติด 2. ประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ครู นักเรียนและผู้ปกครอง  แนวทางการนานวัตกรรม ไปใช้ประโยชน์ 1) นากิจกรรมลานกีฬาต้านยาเสพติดไปใช้ในปีการศึกษาต่อไป 2) ขยายผลไป โรงเรียนใน เครื่อข่ายและผู้สนใจ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา นวัตกรรม  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านพุเลียบ จานวน 70 คน ได้รับการพัฒนา มีผลงาน ที่มคี ุณภาพ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เกิดความรู้ และมีผลงานลานกีฬาต้าน ยาเสพติด 2) นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการเล่นกีฬา 3) สืบสาน และอนุรักษ์ ลานกีฬาต้านยาเสพติดอย่างสร้างสรรค์  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) นักเรียนมีความพึงพอใจกับกิจกรรม ลานกีฬาต้านยาเสพติด ในระดับ มาก ที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 100 2) ผู้บริหาร และครูในโรงเรียนมีความพึงพอใจกับกิจกรรมลานกีฬาต้านยาเสพติด ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 100 3) ผู้ปกครอง มีความพึงพอใจกับกิจกรรม ลานกีฬาต้านยาเสพติด ในระดับ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 100  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนานวัตกรรม 1) นักเรียนมี ความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนาการเล่นกีฬา 2) นักเรียนสนุกสนาน กระตือรือร้น ในการร่วมกิจกรรม 3) ผู้บริหารโรงเรียน ให้การสนับสนุน ครูมีสว่ นร่วมในการให้กาลังใจ ผู้ปกครอง ให้ความ ร่วมมือในการสนับสนุนบุตรหลาน

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า นานวัตกรรม ไปใช้สอนกับนักเรียน ในกิจกรรมชุมนุม ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนเล่นกีฬาได้อย่าง ถูกวิธีและขั้นตอนผลงานพัฒนาขึน้ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์อย่างหลากหลาย ไม่มี นักเรียนติดยาเสพติด

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล 1) 2) 3) 4)

แสดงผลงานในนิทรรศการวันวิชาการโรงเรียน 16 มีนาคม 2555 นาเสนอ จัดนิทรรศการ เผยแพร่ ลานกีฬาต้านยาเสพติด โรงเรียนบ้านพุเลียบ จัดนิทรรศการ ประเมินคุณภาพภายใน โดยสพป.กจ.1 แผ่นพับ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

267


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

268

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

Crossword Game For Learning English Vocabulary (การพัฒนาทักษะการเรียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจากปริศนาอักษรไขว้ ) ” เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา

นางสาวอาภัสรา อัศวพิทักษ์พงศ์

 เพื่อให้นักเรียนจดจาคาศัพท์ต่างๆ  เพื่อให้นักเรียนมีความสนุกสนานกับการจดจาคาศัพท์  เพื่อสร้างเจตคติที่ดตี อ่ วิชาภาษาอังกฤษ

ระยะเวลาในการพัฒนา

ครู โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2554 โทรศัพท์ 089-9149258 การศึกษา E-mail : Kate_aphat@hotmail.co.th

ถึง มีนาคม 2555 รวมระยะเวลา 1 ปี

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา ใช้ ก รอบการน าทั ก ษะการคิ ด สู่ ก ารพั ฒ นา ผู้เรียน ให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ ความสามารถใน ทักษะการคิด ขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยทักษะการคิดที่ ใช้ ใ นการสื่ อ สาร และทั ก ษะการคิ ด ที่ เ ป็ น แกน และ ความสามารถในทั ก ษะการคิ ด ขั้ น สู ง ประกอบด้ ว ย ทั ก ษะการคิ ด ซั บ ซ้ อ น ทั ก ษะพั ฒ นาลั ก ษณะการคิ ด ทักษะกระบวนการคิด โดยมีทักษะการคิดเป็นกรอบใน การพัฒนา ดังนี้ 1. ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน 1.1 ทักษะการคิดที่ใช้ในการสื่อสาร ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน 1.2 ทักษะการคิดที่เป็นแกน ทักษะการสังเกต ทักษะการสารวจ ทักษะการสารวจค้นหา ทักษะการตั้งคาถาม ทักษะการระบุ ทักษะการรวบรวมข้อมูล ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการคัดแยก ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการจาแนกประเภท ทักษะการเรียงลาดับ ทักษะการแปลความ ทักษะการตีความ ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะการสรุปย่อ ทักษะการสรุปอ้างอิง ทักษะการให้เหตุผล ทักษะการนาความรูไ้ ปใช้ 2. ทักษะการคิดขั้นสูง 2.1 ทักษะการคิดซับซ้อน ทักษะการให้ความกระจ่าง ทักษะการสรุปลงความเห็น ทักษะการให้คาจากัดความ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการสังเคราะห์ ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะการจัดระเบียบ ทักษะการสร้างความรู้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

269

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ทักษะการจัดโครงสร้าง ทักษะการปรับโครงสร้าง ทักษะการหาแบบแผน ทักษะการพยากรณ์ ทักษะการหาความเชื่อพืน้ ฐาน ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการพิสูจน์ความจริง ทักษะการทดสอบสมมติฐาน ทักษะการตั้งเกณฑ์ ทักษะการประเมิน 2.2 ทักษะพัฒนาลักษณะการคิด ทักษะการคิดคล่อง ทักษะการคิดหลากหลาย ทักษะการคิดละเอียด ทักษะการคิดชัดเจน ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล ทักษะการคิดถูกทาง ทักษะการคิดกว้าง ทักษะการคิดไกล ทักษะการคิดลึกซึ้ง 2.3 ทักษะกระบวนการคิด ทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจ ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการวิจัย ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา แนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาและการนาไปประยุกต์ใช้ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget) แนวคิด เด็กมีการรับรู้ เข้าใจ และสามารถดารงชีวิตได้ เกิดจากการรับรูผ้ ่าน ประสาทสัมผัสซึ่งเรียกว่า เป็นการซึมซับประสบการณ์ เพื่อสร้างเป็น ประสบการณ์เดิมเก็บไว้ในการรับรู้ และเมื่อเด็กได้รับประสบการณ์ใหม่ เด็กมีการนาประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงสัมพันธ์ กัน เด็กสามารถรับรู้ เข้าใจ ปฏิบัติ และนาไปใช้ได้ หากประสบการณ์เก่า และใหม่มีภาวะสมดุลกัน มีการปรับโครงสร้างทางสติปัญญาด้วยการ ค้นหาความคิดและวิธีการในรูปแบบใหม่มาอธิบาย และแก้ปัญหาเพื่อ ความชัดเจนจนเกิดเป็นภาวะสมดุลระหว่างประสบการณ์เดิมและ ประสบการณ์ใหม่ และเก็บไว้ในโครงสร้างทางสติปัญญา ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของไวก๊อตสกี้ (Vygotsky) เด็กเกิดการเรียนรู้และพัฒนาสติปัญญาจากการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและ ทางานร่วมกัน เด็กวัยนีจ้ าต้องได้รับการช่วยเหลือแนะนาจากผู้ใหญ่ หรือผู้ ที่มีประสบการณ์ ทาให้เด็กสามารถแก้ปัญหาและเกิดการเรียนรู้ได้ในชั้น เรียน ครูสามารถเป็นผู้ให้การช่วยเหลือ แนะนา ใช้คาถามกระตุ้น ในการ แก้ปัญหาและการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้เด็กแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง หน้าที่ ครูคอื การจัดสื่อสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ จัดกิจกรรมที่เด็กมี โอกาสทางานร่วมกับเพื่อน และจัดกิจกรรมที่หลากหลายให้เด็กได้ปฏิบัติ ตามวิธีของตนเอง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

การนาไปประยุกต์ใช้ 1. ให้เด็กได้เรียนรูจ้ ากการใช้ประสาทสัมผัส 2. ให้เด็กได้เรียนรูผ้ ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย 3. ให้เด็กได้เรียนรู้ดว้ ยการสะท้อนประสบการณ์ ออกมาด้วยการพูด หรือการปฏิบัติ 4. ให้เด็กได้เรียนรู้ดว้ ยการลงมือปฏิบัติในการ ค้นหาประสบการณ์

1. จัดกิจกรรมให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์จากกลุม่ เล็ก กลาง และใหญ่ 2. ครูคอยแนะนาช่วยเหลือระหว่างการทากิจกรรม 3. จัดกิจกรรมที่กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นของ เด็กด้วยการใช้คาถาม สื่อ หรือสภาพแวดล้อมที่ เอือ้ ต่อการเรียนรู้ 4. ให้เด็กได้อธิบายและแสดง ความคิดเห็นจาก กิจกรรมหรือผลงานของตนเองและกลุ่มเพื่อน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

270

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ประจาปีการศึกษา 2554จานวน 12 คน  ขั้นตอนการพัฒนา Flow Chart วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และกาหนดหน่วยการเรียนรู้

รู้จักนักเรียนรายบุคคล

วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ Crossword Game

จัดเตรียมสื่อประกอบการสอน

ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน

ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ผ่านตามเกณ ์ระดับ

ไม่ผ่าน

ผ่าน นาไปพัฒนาเพิ่มเติม จัดประกวดแข่งขันเพื่อคัดเป็นตัวแทนของโรงเรียน

ส่งนักเรียนที่ได้รับการคัดเลือกไปแข่งขัน

 การตรวจสอบคุณภาพ ทุกๆสัปดาห์ครูจะประเมินโดยใช้แบบทดสอบ เพื่อประเมินการจาคาศัพท์ของนักเรียนเป็นรายบุคคล และบันทึกผลการประเมิน หลังจากนัน้ นาผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนากิจกรรมนี้ต่อไป  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) ครูนาผลของวิธีปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2) ครูติดตามดูแลและประเมินผลการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศไปใช้ 3) รายงานผลการปฏิบัตติ อ่ ผู้บังคับบัญชา เป็นระยะ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 85.35 จดจาคาศัพท์ได้เป็น อย่างดี 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 89.25 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษดีขนึ้  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนร้อยละ 95 มีเจตคติที่ดีต่อวิชา ภาษาอังกฤษ  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความพึงพอใจกับวิธีปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศนี้ 2) จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 92.58 ของผู้ปกครอง มีความพึงพอใจกับวิธีปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศนี้ 3) จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 94.89 ของนักเรียนมี ความพึงพอใจกับวิธีปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศนี้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ผู้บริหารมีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล เห็นความสาคัญในการจัดกระบวนการเรียนการสอน ทั้งในและนอกสถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูเข้ารับการประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และเป็นที่ปรึกษาในทุกๆ ด้านเป็นอย่างดี 2) คณะครูในโรงเรียน ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือการจัดกิจกรรมส่งเสริม และ พัฒนาการเรียนการสอน เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัตกิ ารที่วางไว้ 3) จากการให้นักเรียนเล่นเกม Crossword ที่เริ่มจากการจดจาคาศัพท์รู้จักบ้างไม่รู้จัก บ้าง เป็นแรงจูงใจอย่างหนึ่งที่จะทาให้นักเรียน มีความอยากรู้อยากจะเล่น ตลอดจนมี การแข่งขันก็ย่งิ ให้ความสนใจและสนุกสนานมากขึน้ จนเกิดการเรียนรู้ได้โดยอัตโนมัติและ เริ่มคุ้นเคยกับคาศัพท์นั้นๆมากขึ้น 4) ถ้าหากนักเรียนได้ฝึกทาในเรื่องเดิมซ้าๆทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างถาวรและ เกิดความแม่นยาความคล่องแคล่วในคาศัพท์นั้นๆมากกว่าเรียนเพียงระยะเวลาอันสั้น 5) ถ้านักเรียนทราบผลคะแนนของตนเองในแต่ละครัง้ ทาให้นักเรียนเกิดการพัฒนา ครัง้ ต่อไปให้ดขี นึ้ และเกิดการพัฒนาตัวเองอยูต่ ลอดเวลาว่าจะต้องทาในครั้ง ต่อไปให้ดขี นึ้ กว่าเดิมเรื่อยๆ 6) นักเรียนมีทักษะการใช้คาศัพท์ดขี นึ้ นักเรียนเกิดทักษะการคิดการค้นคว้า พัฒนาการจาคาศัพท์ และการเรียนรู้ของนักเรียนได้เป็นอย่างดี จากเกมปริศนา อักษรไขว้ 7) ทาให้นักเรียนมีเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนวิชาภาษาอังกฤษ และเกิดความรู้สกึ ภูมใิ จ ในตัวเอง

กระบวนการตรวจสอบซ้า เพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า 1) ตรวจสอบการดาเนินงานทุกขั้นตอน ถ้าพอปัญหาแก้ไขในทันที 2) ตรวจสอบผลการพัฒนาการจาคาศัพท์ของนักเรียน โดยใช้แบบทดสอบ เป็นระยะ 3) ตรวจสอบจากแบบสอบถามความพึงพอใจจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับวิธีปฏิบัตทิ ี่ เป็นเลิศนี้  ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง 1) นักเรียนมีเจตคติที่ดตี อ่ วิชาภาษาอังกฤษ และตั้งใจเรียนมากขึน้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มสูงขึ้น 3) ส่งนักเรียนเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการและต่อยอดความรู้ไปถึงกิจกรรม Spelling Bee ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่มีพนื้ ฐานของการใช้ Cross Word Gameได้อีกด้วย

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) 16 ก.พ. 55 ร.ร.บ้านหนองหญ้าปล้อง แผ่นพับ 2) 3 ก.ย. 55 ร.ร.ริเวอร์แคว นิทรรศการและแผ่นพับ 3) 20 ก.ย. 55 ร.ร.อนุบาลวัดไชยชุมพลฯ นิทรรศการและแผ่นพับ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

271


272

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

English is Love” ( Love to Learn - Learn to Live - Live to Love ) ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

นางพวงทิพย์ เด่นดวงใจ ครู โรงเรียนบ้านช่องสะเดา(การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตอุปถัมภ์) โทรศัพท์ 089-9101779 E-mail : puangthipden@hotmail.com

 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบ O –NET ให้สูงขึน้  เพื่อโรงเรียน นักเรียนและครูมีสถานที่เป็นเอกเทศ( English Home) มี บรรยากาศสวยงาม ร่ ม รื่ น และมี ส่ื อ อุ ป กรณ์ เ ทคโนโลยี พร้ อ มจั ด กิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษที่หลากหลาย  เ พื่ อ นั ก เ รี ย น มี เ จ ต ค ติ ที่ ดี ต่ อ ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ภาษาต่างประเทศ สื่อสารในสถานการณ์ต่ างๆแสวงหาความรู้ ประกอบ อาชีพและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ระยะเวลาในการพัฒนา ช่วงเริ่มต้นการพัฒนาตัง้ แต่ปีการศึกษา 2529 และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา ปีการศึกษา 2554

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา เชื่อมโยงกับเป้าหมายของสถานศึกษาดังนี้ โรงเรียนบ้านช่องสะเดา(การ ไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต อุ ป ถั ม ภ์ ) มุ่ ง พั ฒ นานั ก เรี ย นเป็ น คนดี มี ปั ญ ญา มี ค วามสุ ข มี ศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ พึ ง ประสงค์ เห็ น คุ ณ ค่ า ของตนเองมี วิ นั ย และปฏิ บั ติ ต นตามหลั ก ธรรมของ พระพุทธศาสนา ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้ ความสามารถในการ สื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต มีความรักชาติ มี จิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่ มุง่ ทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดงี ามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ในสังคมโลกปัจจุบันการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสาคัญและจาเป็นอย่าง ยิ่งในชีวิตประจาวัน เนื่องจากเป็นเครื่องมือสาคัญในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม และวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมและ มุมมองของสังคมโลก นามาซึ่งมิตรไมตรีและความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ช่วย พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามเข้าใจตนเองและผู้อ่ืนดีขึ้น เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของ ภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อ การสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์ความรู้ต่างๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น และมีวิสัยทัศน์ใน การดาเนินชีวิต

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

273

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ขั้นตอนการพัฒนา การพัฒนาโดยใช้วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) ศึกษาสภาพทั่วไป Plan นักเรียน

โรงเรียน

ครอบครัว

ชุมชน

ศึกษาหลักสูตรและทฤษ ีเกี่ยวกับรูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ ดาเนินการจัดทา

( Do )

นาเสนอผูเ้ ชี่ยวชาญ Check ปรับปรุงแก้ไขและนาเสนอผู้เชี่ยวชาญ ทดลองและใช้และปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ

1) 2)

1) 2) 3) 4)

( Act )

 การตรวจสอบคุณภาพ สอบถามนักเรียนและครูผู้ใช้ โดยใช้แบบสอบถาม และผลการตรวจสอบคุณภาพ ผู้ใช้มคี วามพึงพอใจร้อยละ 100 คณะกรรมการจากศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังด้ง-ช่องสะเดาเข้า ตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งมีผลผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบ O –NET ให้สูงขึน้ เพื่อปรับปรุงและซ่อมเสริมนักเรียนที่เรียนรู้ช้าให้บรรลุเป้าหมายที่โรงเรียนกาหนด เพื่อเผยแพร่ไปยังโรงเรียนต่างๆ นาแนวทางการจัดการเรียนรู้ เป็นต้นแบบพัฒนางานครัง้ ต่อๆไป

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในระดับสถานศึกษาสูงขึ้น 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 มีค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในระดับชาติ (O-NET) สูงกว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปี การศึกษา 2553 และสูงกว่าระดับประเทศ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา2554 มีความรักและเจตคติที่ดตี อ่ วิชา ภาษาอังกฤษ 2) โรงเรียน นักเรียนและครูมสี ถานที่เป็นเอกเทศ( English Home) มีบรรยากาศ สวยงาม ร่มรื่นและมีสื่อ อุปกรณ์เทคโนโลยี พร้อมจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชา ภาษาอังกฤษที่หลากหลาย  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง จากการสอบถามโดยใช้แบบสอบถาม นักเรียน ชัน้ ป.6 คณะครูและผู้ปกครองมีความพึงพอใจในวิชาภาษาอังกฤษร้อยละ 100 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

274

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) นักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และร่วมวาง แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ มีเนื้อหาเหมาะสมกั บวัย และสภาพภายในท้อ งถิ่น ซึ่ ง สอดคล้องกับหลักสูตรและตามธรรมชาติวิชา 2) มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น  นักเรียนนาความรูเ้ ดิมเป็นพืน้ ฐานในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและนาวิชา ภาษาอังกฤษ บูรณาการกับกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น  เน้นประสบการณ์ตรงสร้างองค์ความรู้ เรียนรู้จากสิ่งที่งา่ ยไปสิง่ ที่ยากและ จากสิ่งใกล้ตัวไปสู่สิ่งไกลตัว เรียนรู้แบบเน้น ย้า ซ้าทวนและเพิ่มเติม ฯลฯ 3) ใช้วัสดุอุปกรณ์มีอยู่ในท้องถิ่นประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยนักเรียนมี ส่วนร่วมในการผลิต มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย 4) นักเรียน ครู และผู้ปกครองร่วมมือจัดแหล่งเรียนรู้ บรรยากาศที่น่าสนใจและเกิด การเรียนรู้ 5) นั ก เรี ย น ครู และผู้ ป กครองร่ ว มมื อ ในการวั ด และประเมิ น ผลด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ หลากหลาย และนาผลที่ได้ใช้ปรับปรุงและพัฒนานักเรียนอย่างต่อเนื่อง 6) ครูให้การเสริมแรงตลอดเวลา 7) ครูซ่อมเสริมนักเรียนและใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง 8) นักเรียนมีโอกาสได้แสดงออกและสามารถนาเสนอผลงานของตนเองตามศักยภาพ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า สอบถามนักเรียนและครูผู้ใช้  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ผลการตรวจสอบมี ความพึงพอใจที่ได้ร้อยละ 100

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง วัน เดือน ปี /รูปแบบ

สถานที่

25 พ.ย. 45 จัดนิทรรศการสาขาภาษาอังกฤษและการใช้กระบวนการวิจยั ใน ชั้น เรียนในงาน“วันประถมศึกษา” 20-21 ก.พ. 46 จัดนิทรรศการสาขาภาษาอังกฤษในงาน “ครูรางวัลเกียรติยศ ” 14-16 ก.พ. 49 จัดนิทรรศการสาขาภาษาอังกฤษในงาน “มหกรรมการศึกษา กจ.” 16 ม.ค. 51 จัดนิทรรศการการบูรณาการภาษาอังกฤษกับกิจกรรมชีววิถชี ีวพี อเพียง และโครงงานหนังสือเล่มเล็กในงาน “ศิลปหัตถกรรม” 15 ม.ค. 52 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงาน“ครูดีในดวงใจ ” 29 ม.ค. 53 แลกเปลี่ยนเรียนรู้การประชุมครูผู้สอน(KM) สาขาภาษาอังกฤษ 20 ส.ค. 54 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการประชุมครูผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ปลูกฝัง คุณลักษณะ : อยู่อย่างพอเพียง 27 ธ.ค. 54 เผยแพร่ผลงานการใช้กระบวนการวิจัยในชัน้ เรียน วิชาภาษาอังกฤษ “รายงานการวิจัยเชิงคุณภาพ” 13-14 ก.ย. 55 “ค่ายส่งเสริมการอ่าน” (ภาษาอังกฤษ) และกิจกรรมการเรียนรู้ ปลูกฝังคุณลักษณะ : อยู่อย่างพอเพียง

ห้างสรรพสินค้า คาสเซิลมอล จังหวัดกาญจนบุรี

จังหวัด

เมืองทองธานี

ประเทศ จังหวัด สพป.กจ.1

สานักงานเทศบาลเมือง โรงเรียนวิสุทธรังษี โรงแรมริเวอร์ไซด์ กทม. จังหวัดนครราชสีมา โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพมหานคร

ระดับ

ประเทศ ประเทศ ประเทศ

สพป.กจ.1

สพป.กจ.1

โรงเรียนบ้านถ้าองจุ อาเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

สพป.กจ.1

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

275

การใช้สื่อปะสมคอมพิวเตอร์ในการฝึกออกเสียงและเรียนรู้ คาศัพท์ภาษาอังกฤษ สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ” วัตถุประสงค์ของการพัฒนา เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังเรียนโดยสื่อประสมคอมพิวเตอร์ประกอบการเรียน การสอน

ระยะเวลาในการพัฒนา 1 พฤษภาคม 2553- 30 มีนาคม 2554 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสถานศึกษา เป้าหมาย คือ มุง่ พัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพของตน และได้รับสิทธิเท่า เทียมกันทางการศึกษา ดังนัน้ การพัฒนาความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้ สื่อประสมคอมพิวเตอร์ จึงมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับนโยบายของสพฐ.ที่มุ่งยกระดับ คุณภาพผู้เรียนและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ นอกจากนี้ กลยุ ท ธ์ ส พฐ.ข้ อ ที่ 3 ยกระดั บ คุ ณ ภาพสถานศึ ก ษาของชาติ พัฒนาผู้เรียนสมรรถนะครูและบุคลากรอย่างเป็นระบบเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร หลักสูตรการศึกษาอย่างเต็มศักยภาพ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 อ่านออกเขียน ได้ คิดเลขเป็นมีทักษะการพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารย่างสร้างสรรค์ ใช้ เทคโนโลยีช่ว ยประมวลผลข้ อ มู ล ให้ ส าระสนเทศ เอกสารแนะน าชิ้ น งานและสไลด์ นาเสนอข้อมูล อย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบ การใช้ทักษะการใช้ โดยวิธีการให้ ผู้เรียนสังเกตรูปภาพสัตว์แล้วให้ผู้เรียนจัดกลุ่ม รูปภาพ สามารถบอกได้ว่าเป็นสัตว์ใด และออกเสียงคาศัพท์ได้ถูกต้อง มีค วามสอดคล้ อ งกั บวิสั ย ทั ศ น์ และพั น ธกิ จ ของโรงเรี ย นวั ด ถ้ าองจุ ดั ง นี้ โรงเรียนวัดถ้าองจุจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนมีคุณภาพมาตรฐานการศึกษา แห่งชาติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนวัย เรียนทุกคนให้ได้รับการพัฒนาเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและคุณลักษณะตาม มาตรฐานการศึกษา ด้วยระบบการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การผลิตสื่อเพื่อจัดการเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจมากขึน้ เนื่องจากวิชา ภาษาอังกฤษเป็นวิชาที่นักเรียนไม่ชอบเรียนมากที่สุดและไม่ค่อยสนใจเรียน เพื่อเป็นการ เปลี่ยนเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเนื่องจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 3 ของ นักเรียนโรงเรียนวัดถ้าองจุ นักเรียนส่วนใหญ่ใช้ภาษากะเหรี่ยงในชีวิตประจาวัน ซึง่ จะ ใช้ภาษาไทยน้อยมาก จึงต้องทาให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่น่าเรียนมากขึน้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางกัญญาทิพย์ ชีพนุรัตน์ ครู โรงเรียนวัดถ้าองจุ โทรศัพท์ 083-310-9759 E-mail : kanyathip1@G-mailcom


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

276

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6  ขั้นตอนการพัฒนา 1) การสังเกตการณ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน 2) การทาแบบสอบถาม วิเคราะห์ปัญหาของการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3) การทาวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4) จัดทาสื่อประสมคอมพิวเตอร์ประกอบการเรียนการสอน 5) นาสื่อการเรียนการสอนไปทดลองใช้กับนักเรียน 6) ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน-หลังใช้สื่อประสมคอมพิวเตอร์ 7) จัดทารายงานการใช้ส่อื ประสมคอมพิวเตอร์ประกอบการเรียนการสอนฯ  การตรวจสอบคุณภาพ วัดเจตคตินักเรียนที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ และวัด ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนก่อนและหลังเรียน  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ นาไปใช้กับนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียน วัดถ้าองจุและโรงเรียนใกล้เคียง

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดถ้าองจุ ปี การศึกษา 2553จานวน 20 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6ในปีการศึกษา 2554  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ก่อนเรียนและหลังเรียนกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 60% ก่อนเรียนได้ 58.25 หลังเรียน 74.13  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง บรรยากาศในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3.60 กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3.50 ประโยชน์ของภาษาอังกฤษ 3.71 และ ความคิดเห็นโดยรวมต่อการเรียนภาษาอังกฤษ3.61  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) คะแนนทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้สื่อ ประสมคอมพิวเตอร์ประกอบได้ สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 60 % 2) นักเรียนที่ได้เรียนโดยใช้สื่อประสมทางคอมพิวเตอร์มีความรู้ความสามารถด้าน เรียนรู้คาศัพท์ได้มากกว่าเดิมและเป็นความรู้คงทน 3) นักเรียนเกิดความสนุกสนานในการเรียนภาษาอังกฤษ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า นาไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กับ โรงเรียนวัดถ้าองจุและโรงเรียนใกล้เคียง  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง เนื้อหาน้อยไป เสียง เบา รูปภาพไม่ดงึ ดูดความสนใจ ได้ทาการพัฒนาปรับปรุงเพิ่มคาศัพท์เสียงดังขึ้นและ ปรับภาพให้สสี ันสดใสมีการเคลือ่ นไหวได้

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง นาไปใช้กับนักเรียนโรงเรียนวัดถ้าองจุและโรงเรียนใกล้เคียง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

277

สื่อครบเครื่อง เรื่องภาษาอังกฤษ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ” เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ปลายปีของโรงเรียน วิชาภาษาอังกฤษ ปี การศึกษา 2554 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้สูงขึน้ กว่า ปีการศึกษา 2553 ร้อยละ 4  เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิด์ ้านการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 (O – Net) ปีการศึกษา 2554 ให้สงู ขึน้ กว่าปี การศึกษา 2553 ระยะเวลาในการพัฒนา ในช่วงเริ่มต้นของการพัฒนา นั้น ผู้พัฒนาได้ศึกษา วิเคราะห์นักเรียน ด้าน ความรู้ ทักษะ ตลอดจนการมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษแล้วสรุปหาสาเหตุที่เป็นอุปสรรคต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เมื่อได้ขอ้ สรุปแล้วจึงได้ทาการออกแบบรูปแบบ ของ แล้วจึงนามาปรับใช้กับนักเรียนตลอดปีการศึกษา 2554 ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมายโรงเรียน กระทรวงศึ กษาธิการได้กาหนดการปฎิ รูป การศึ ก ษาในทศวรรษที่ส อง (พ.ศ. 2552 - 2561) มุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดนโยบายรองรับการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน มีจุดเน้นในด้านให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในทุกช่วงทุกวัย ในปีการศึกษา 2554 โรงเรียนได้ดาเนินงานตามกลยุทธ์ของสถานศึกษา และตอบสนองมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 5 นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้รับการพัฒนาส่งเสริมด้านวิชาการในทุกกลุ่มสาระมี ผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึน้ ร้อยละ 4 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา และปีการศึกษา 2553 ที่ผา่ นมาจากการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ O – NET ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาภาษาอังกฤษ พบว่ามีคา่ เฉลี่ย ระดับประเทศต่ากว่าร้อยละ 24.58 ดังนั้นครูผู้สอนจึงจาเป็นต้องปรับปรุงและเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการสอน ภาษาอังกฤษให้เกิดการพัฒนาขึน้ เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และมีเจตคติทด่ี ตี ่อวิชาภาษาอังกฤษ ซึง่ จะส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ให้สงู ขึน้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาวจิตรตา เปรียบสม ครู โรงเรียนบ้านหนองสองตอน โทรศัพท์ 081-0641217 E-mail : Noinheag0125@hotmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

278

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบันครูผู้สอนต้อง เป็นผู้นาในการเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปการเรียนการสอน การจัดหารูปแบบสื่อ การผลิตสื่อ นวัตกรรม เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย การนาเทคโนโลยีที่ ทั น สมั ย มาใช้ ใ นการพั ฒ นานั ก เรี ย น ให้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาภาษาอังกฤษ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดี ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษและสามารถนาความรู้ ไปใช้ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น ได้ การด าเนิ น งานที่ ท าให้ ก ารพั ฒ นาครั้ ง นี้ ป ระสบ ความสาเร็จ ใช้กระบวนการวงจรของเดมมิ่ง ( Deming Cycle ) คือการ ดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1.) ขั้นเตรียม (Plan) 2.) ขั้นดาเนินการ (Do) .) ขั้นระดับระเมินผล (Check) 4.) ขั้นรายงานผล (Action) กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 29 คน  ขั้นตอนการพัฒนา ารเพิ่มระดับผลสัมฤทธิ์ปลายปีและ ผลสัมฤทธิ์ (O- Net ) โดยใช้หลักการหรือทฤษฏีวงจรของเดมมิง่ (Deming Cycle) Flow Chart ศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะ และการมีเจตคติ ที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จัดทาสื่อเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใช้ส่อื จัดกิจกรรมการเรียนการสอน สังเกตประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อที่นามาใช้ บรรลุวัตถุประสงค์

ดาเนินงานตามแผน

สรุปผลการดาเนินงาน พัฒนากิจกรรมการใช้ส่ืออย่างต่อเนื่อง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

279

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1) 2) 3) 4) 1) 2)

 การตรวจสอบคุณภาพ จากการดาเนินงาน การจัดกิจกรรมที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้สื่อทีห่ ลากหลายในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พบว่า ใช้การสังเกตการณ์มีส่วนร่วม ความสนใจ การมีปฏิสัมพันธ์รว่ มกันระหว่าง ผู้สอน – ผู้เรียน ผู้เรียน – ผู้เรียน และผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรูไ้ ด้เร็วขึ้น เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติทด่ี ีตอ่ การเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน (O-Net) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี การพัฒนาในทางที่ดีขนึ้ ครูผจู้ ัดกิจกรรมมีความมั่นใจและเปลีย่ นแปลงทักษะด้านการสอนเพิม่ มากขึ้น  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในระดับชั้นอืน่ ๆ ใช้ในการเข้าค่ายเตรียมความพร้อมภาษาอังกฤษแบบเข้ม (O- Net)

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายปีของโรงเรียนวิชา ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 สูงขึน้ กว่า ปีการศึกษา 2553 ดังนี้ ที่ 1.

ข้อสอบ ปลายปี

ชั้น ม. 3

ปีการศึกษา 2553 (ร้อยละ) 71.74

ปีการศึกษา 2554 (ร้อยละ) 75.28

เพิ่มขึ้น (ร้อยละ) 3.54

ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (O – Net) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพิ่มขึ้น ดังนี้ ที่

ข้อสอบ

ชั้น

ปีการศึกษา 2553 (ร้อยละ)

ปีการศึกษา 2554 (ร้อยละ)

เพิ่มขึ้น (ร้อยละ)

1.

O - Net

ม. 3

12.21

33.10

20.89

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายปีของโรงเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2553 พบว่า สูงขึน้ ร้อยละ 3.54 2) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (O – Net) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2553 พบว่าสูงขึน้ ร้อยละ 20.89  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) โรงเรียนได้ทาการประชุมผู้ปกครองนักเรียนปีการศึกษา 2555 ครั้งที่ 1 /2555 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ได้แจกแบบสอบถามความ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

280

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

พึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารงานของโรงเรียน โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จานวน 263 คน ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 225 คน คิดเป็นร้อยละ 85.55 % ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายการ

5 โรงเรียนมีการบริหารจัดการโดยให้โรงเรียนมี 154 ส่วนร่วม คุณครูสอนให้นักเรียนมีคุณภาพตาม 165 หลักสูตร (ผลการสอบ) โรงเรียน ผู้บริหาร ครู และนักเรียนได้รับ 164 รางวัล / เกียรติบัตร ความประพฤติของนักเรียน 125 การแข่งขันกีฬาเครือข่ายหนองบัว – แก่ง 175 เสี้ยน การจัดกิจกรรมออมทรัพย์วันละบาท 216 การพานักเรียนไปแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ 182 (ทัศนศึกษา) การทาประกันอุบัติเหตุนักเรียนหมู่ 204 เฉลี่ย 1,385

4 150

3 21

-

ระดับความพึงพอใจ 1 รวม เฉลี่ย 1,433 4.41

150

10

-

-

1,455

4.48

139

22

-

-

1,442

4.44

127 127

72 22

1 1

-

1,351 1,451

4.16 4.46

97 122

11 21

-

1 -

1,502 1,461

4.62 4.49

2

1

1,491 11,586

4.59 4.46

108 13 1,020 192

2

เกณฑ์ 4.50 - 5.00 มาก ที่สุด 3.50 - 4.49 มาก 2.50 - 3.49 ปาน กลาง 1.50 - 2.49 น้อย 1.00 - 1.49 น้อย มาก

จากตารางโดยภาพรวมระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาดที่สุด (4.62) ระดับ ความพึงพอใจมากที่สุดคือ การจัดกิจกรรมออมทรัพย์วันละบาท (4.62) รองลงมาคือ การทาประกันอุบัตเิ หตุนักเรียนหมู่ (4.59)  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนครู นักเรียน ผู้ปกครอง 2) ผู้บริหารสนับสนุนด้านการพัฒนาครูทั้งระบบและเสนอแนวทางการพัฒนาจัดทา สื่อ นวัตกรรม เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง 3) ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยอมรับในการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของ ตนเองอย่างต่อเนื่อง 4) ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 5) นักเรียนมีการเชื่อมโยงกระบวนการความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6) นักเรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้ตามสภาพจริง จากสื่อที่หลากหลาย กระบวนการตรวจสอบซาเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า 1) การทดลองใช้ จากการปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียน สังเกตพฤติกรรม นักเรียน สามารถพัฒนาทักษะด้านการฟัง พูด เกิดทักษะการคิด การค้นคว้าพัฒนาการจา ฝึกการอ่าน การเขียนและการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายปีของโรงเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงขึน้ ร้อยละ 3.54 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (O – Net) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงขึ้น ร้อยละ 20.89  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ใช้กับผู้เรียนต่าง ระดับชั้นยังได้ผลเช่นเดิม นักเรียนให้ความสนใจ ความเพลิดเพลิน ทาให้นักเรียนมีเจต คติที่ดตี อ่ การเรียนวิชาภาษาอังกฤษ

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผลงาน ในวงกว้าง 1) นาผลงานของนักเรียน จัดนิทรรศการวันประชุมผู้ปกครองนักเรียนวัน เปิดภาคเรียน ปีการศึกษา 2555 2) เสนอผู้บริหารรับทราบ 3) นาเสนอผลงานนักเรียนและสื่อการสอนให้กับคณะกรรมการประเมิน เศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

281


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

282

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

คลายปม ผูกเงื่อน ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

นางสายชลี คูหาอุดมลาภ ครู โรงเรียนวัดวังศาลา โทรศัพท์ 081-1453921 E-mail : pacsaihalee@yahoo.com

 เพื่อศึกษาและพัฒนานวัตกรรม คลายปม ผูกเงื่อน ในการบริหารจัดการชัน้ เรียน  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 -ได้รับการพัฒนาดูแลเต็มตามศักยภาพของ ตนเอง ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มพัฒนาปีการศึกษา 2553 ใช้เวลาในการพัฒนา 3 ปี

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสพฐ. มีความเชื่อมโยง สัมพันธ์กับเป้าหมายข้อที่ 1 ของโรงเรียน คือ ผู้เรียนทุกคน มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐานและพัฒนาสูค่ ุณภาพที่สูงยิ่งขึ้น

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา 1) พรหมวิหาร 4 ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา 2) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และ ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

กระบวนการพัฒนา ไปใช้  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1- 3 ปีการศึกษา 2553 จานวน 83 คน ปีการศึกษา 2554 จานวน 89 คนและปีการศึกษา 2555 จานวน 70 คน  ขั้นตอนการพัฒนา  การตรวจสอบคุณภาพ ใช้การหาค่าดัชนีความสอดคล้องโดยใช้ แบบสอบถามความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อวิธีการบริหารจัดการชัน้ เรียน ผู้เชี่ยวชาญดังกล่าวได้แก่ 1) นายสุวรรณ เรือนอินทร์ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนวัดวังศาลา 2) นางณัฏฐ์ชนันท์ สุญาณวนิชกุล ครูชานาญการพิเศษโรงเรียนวัดวังศาลา 3) นายนเรศ พนานุสรณ์ศิลป์ ครูชานาญการพิเศษโรงเรียนวัดวังศาลา ผลการประเมินพบว่า ค่าดัชนีความสอดคล้องมีค่าเท่ากับ 0.96 อยูใ่ นระดับดี มากที่สุด  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ นาแนวทางบริหารจัดการในจัดเรียน ไปใช้สาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษ ในชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2554 และ ปีการศึกษา 2555

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

283

คลายปม ผูกเงื่อน ผูกเงื่อน

คลายปม

สร้างข้อตกลงร่วมกัน

ศึกษานักเรียนรายบุคคลเชิงลึก

ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ตรวจสอบความรู้พ้ืนฐาน เติมเต็มพื้นฐานความรูน้ ักเรียน เรียกชื่อนักเรียนได้ในครัง้ แรกที่พบ เน้นระเบียบวินัยและความสะอาด จัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย ฝึกปฏิบัติก่อนให้งาน มอบหมายงานตามความสามารถ ส่งงานเป็นระบบหมู่ ฝึกปฏิบัติงานเพื่อส่วนรวม ยึดถือระบบยุติธรรม ประสานความร่วมมือ ประเมินอย่างหลากหลาย บนฐานความรักและหวังดี

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ คะแนนเฉลี่ยวิชา ภาษาอังกฤษ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 สูงกว่าระดับจังหวัด 1.02  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ทุกคน ผ่าน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดี  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ผู้พัฒนาได้ดาเนินการประเมินความ พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 2 ฉบับ ได้แก่ แบบ ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัด กิจกรรมการเรียน การสอนรายวิชา ภาษาอังกฤษ และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษ และได้ผลสรุปดังนี้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


284

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1) นั ก เรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจโดยรวมระดั บ 3.99 อยู่ใ นระดั บดี ม าก สามารถ เรียงลาดับระดับความพึงพอใจในรายข้อ ได้ดังนี้ การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน 4.08 การมีข้อตกลงร่วมกันในการเรียนการสอน 4.04 การมอบหมายงานของครู 3.96 การแจ้ ง รายละเอี ย ดการวั ด และประเมิ น ผล 3.94 และกิ จ กรรมเสริ ม นอก ห้องเรียน 3.94 2) การประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองพบว่า โดยรวม ระดับ 4.04 อยู่ใน ระดับ พึงพอใจมาก โดยเรี ยงลาดั บความพึงพอใจตามรายข้ อได้ดั งนี้ การประชุม ผู้ ป กครอง 4.20 การเยี่ ย มบ้ า นนั ก เรี ย น 4.08 การมอบหมายการบ้ า น 4.08 พฤติกรรมนักเรียน 3.86 และผลการเรียนของนักเรียน 3.80  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) การพั ฒ นาตนเองด้ ว ยการเข้ า รั บอบรมที่ จั ด โดยหน่ ว ยงานราชการ หน่ว ยงาน เอกชน การสมัครเรียนรู้ดว้ ยตนเองทางสื่อออนไลน์ 2) การนาความรู้ที่ได้รับมาฝึกปฏิบัติเพิ่มเติม ปรับใช้กับการบริหารจัดการชั้นเรียน อาทิการสร้างสื่อนวัตกรรมจากโปรแกรม Microsoft Office Power Point Hot Potatoes 3) การสมัครเป็นสมาชิกhttp://www.eslprintables.com ซึ่งเป็นเว็ปไซต์ ที่เป็นแหล่งสื่อ การเรียน การสอนภาษาอังกฤษที่สมาชิกต้องนาเสนอผลงานของตนเองก่อนที่จะ สามารถดาวน์โหลดสื่อมาใช้ได้ 4) การประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะนักเรียน ซึ่งข้อมูลที่ได้รับเป็น ปัจจัยในการพัฒนา

กระบวนการตรวจซ้าเพือ่ การพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า การตรวจสอบซ้า โดยการประเมินการส่งงานของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 รายวิชาภาษาอังกฤษ เนื่องจากการส่งงานเป็นตัวบ่งชี้ สาคัญที่แสดงถึงความรับผิดชอบ การยอมรับข้อตกลง การมีความรู้ความเข้าใจใน บทเรียน ซึ่งก็เป็นตัวชีว้ ัดของการบริหารจัดการชัน้ เรียนนั่นเอง  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง จากผลการประเมิน การส่ ง งานของนั ก เรี ย นพบว่า นั ก เรี ย นมั ธยมศึก ษาปี ที่ 1-3 ทุ ก คนส่ ง งาน รายวิชา ภาษาอังกฤษ และประเมินในเชิงลึกพบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนส่งงาน ตรงเวลา โดยมีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 80 และ ร้อยละ 75 ตามลาดับที่สง่ งานตรงเวลา ซึ่งย่อมเป็นตัวชีว้ ัดที่ชัดเจนว่า การใช้ ตัวนี้ สามารถพัฒนาศักยภาพนักเรียนได้ผลดี แต่ตอ้ งใช้ระยะเวลา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง ผู้พัฒนาได้เผยแพร่ผลงานของตนเองซึ่งจัดทาในหลายรูปแบบ โดยมุ่งหวังเพื่อ ประโยชน์ของเพื่อน ร่วมอาชีพได้ใช้ประโยชน์ จึงเผยแพร่ลงในสือ่ ออนไลน์ ซึ่งทุกคน สามารถเข้าถึงได้โดยง่ายสะดวกและ รวดเร็ว อาทิ 1) ผลงานสื่อเพาเวอร์พอยด์ เรื่อง Classroom Management [Thai Style] ใน http://www.eslprintables.com/powerpoint.asp?id=63592#thetop เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2555 2) Comparative Adjectives ใน http://www.youtube.com/watch?v=EO_1XZlRlc&feature=plcp เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2555 3) ผลงานขยายผลชิน้ อื่นๆปรากฏใน http://www.eslprintables.com/buscador/author.asp?user=1407748#thet op 4) https://sites.google.com/site/saichaleepatunam/bi-ngan-baeb-fuk ตัวอย่างหน้า website ที่เผยแพร่ผลงาน

http://www.eslprintables.com/buscador/author.asp?user=1407748#thetop

http://www.youtube.com/watch?v=EO_1-XZlRlc&feature=plcp

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

285


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

286

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาทักษะการเรียนภาษาอังกฤษด้วยการทาโครงงาน ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 

นางสุรีย์พร ทับทิม ครู โรงเรียนบ้านวังลาน โทรศัพท์ 086-1685219

เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และ มีทักษะในการทางานมากขึ้น  เพื่อแก้ปัญหาในการเรียนและฝึกให้มีทักษะในการทางานอย่างเป็นระบบ  เพื่อให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพในการนาความรูไ้ ปใช้ให้กว้างขึน้ และ สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้ ระยะเวลาในการพัฒนา ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นจากปีการศึกษา 2554

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสพฐ. จากจุดเน้นของสพป. และ สพฐ. คือ พัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การศึกษาให้ประชากรในวัยเรียนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพโดยเน้นการพัฒนา ผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามแนวปฏิรูปการศึกษาเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง สถานศึกษาก็รองรับนโยบายของสพป. และ สพฐ. ดังนัน้ จึงมีการจัดกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนอย่างหลากหลายรวมทั้งพัฒนา ทักษะการเรียนภาษาอังกฤษด้วยการทาโครงงานด้วย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ได้ใช้หลัก ของ P D C A วงจรเดมิง (Deming Circle)

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียน บ้านวังลาน จานวน 76 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) วิเคราะห์ขอ้ มูลความรู้พนื้ ฐานของนักเรียน 2) กาหนดกิจกรรมพัฒนาทักษะการเรียนรู้ดว้ ยการทาโครงงาน 3) ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยให้นักเรียนทาโครงงาน  การตรวจสอบคุณภาพ 1) สังเกตการลงมือปฏิบัตงิ าน 2) ประเมินผลจากขั้นตอนการปฏิบัตงิ านและการนาเสนอ อย่างมีขั้นตอน 3) สัมภาษณ์และสอบถามความพึงพอใจ  แนวทางในการนา ไปใช้ประโยชน์ นาไปใช้ในการพัฒนาทักษะการเรียนภาษาอังกฤษและยังสามารถนาไปบูรณา การกับการเรียน ของนักเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุม่ อื่นๆด้วย

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  นักเรียนมีทักษะในการเรียนภาษาอังกฤษได้ดขี นึ้ ร้อยละ 80  นักเรียนมีความพึงพอใจในการพัฒนาทักษะการเรียนภาษาอังกฤษ ร้อยละ 100 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

287

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ มากขึ้น มีการทางานอย่างมีขั้นตอน เป็นระบบ มีการวางแผนในการทางาน ทางาน อย่างมีขั้นตอน และมีเจตคติทดี่ ีต่อการเรียน ภาษาอังกฤษ และมีทักษะในการเรียน ภาษาอังกฤษได้ดขี นึ้  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนมีความพึงพอใจจากการ เรียนรู้โดยการทาโครงงานในระดับมาก  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) นักเรียนปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ตามจุดเน้นของการปฏิรูปการศึกษา 2) จากการนาเทคนิควิธีสอนที่หลากหลายของครูผู้สอนมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ และจั ด กิ จ กรรมโครงงานเป็ น เทคนิ ค หนึ่ง ที่ ช่ ว ยให้ ก ารปฏิ รู ปการเรี ย นรู้ บั ง เกิ ด ผล เนื่องจากกิจกรรม โครงงานเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจด้วยตนเอง แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง โดยมีครูให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและอานวยความสะดวก ให้กับนักเรียน เป็นสิ่งที่ช่วยให้งานสาเร็จ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนา ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  การตรวจสอบซ้า จากการดาเนินการจัดการเรียนการสอน การ สอบถาม การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง แล้วนามาปรับปรุงพัฒนา ให้ดียิ่งขึ้น  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนมีการพัฒนา ตนเองและมีทักษะในการเรียนภาษาอังกฤษดีขนึ้

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ (การพัฒนาทักษะการเรียน ภาษาอังกฤษด้วยการทาโครงงาน) ได้เผยแพร่ให้กับนักเรียน ครู ในโรงเรียน และ นักเรียน ครูตา่ งโรงเรียนในวันวิชาการของโรงเรียนและจากการมาศึกษาดูงานจากครู โรงเรียนต่าง ๆ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนดีขึ้น ทางาน ตามความสนใจ

ทางาน อย่างเป็น ระบบ

แสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง

ผลจากการทา โครงงานส่ง ผลดี ต่อนักเรียน

สามารถนา ความรู้ ไปใช้ในชีวิตจริง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

มีคุณลักษณะ อันพึง ประสงค์ คิดเป็น ทา เป็น แก้ปัญหาได้

English is so Fun.


288

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ไม้ไผ่ ครู และภูมิปัญญา บูรณาการสู่เด็ก ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา เนื่องจากโรงเรียนบ้านหนองสามพรานเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก แต่ไม่ผ่านการ รับรองมาตรฐานจาก การประเมิน ภายนอกรอบสองทั้ง ในระดับปฐมวั ยและระดั บ นายสหชัย บัวชุม ประถมศึกษาเมื่อเดือนมกราคม 2550 ในมาตรฐานที่ 4,5,9 ได้แก่ ด้านทักษะการคิด ครู โรงเรียนบ้านหนองสามพราน ความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร และ การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผู้เรียน โทรศัพท์ 084-3649310 เป็นสาคัญ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอน “ไม้ไผ่ ครู และภูมิปัญญา บูรณาการสู่ E-mail : sahachaibouchum@hotmail.com เด็ก”จึงมีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อให้นักเรียนได้เลือกเรียนกิจกรรมด้านอาชีพในท้องถิ่นตามความ สนใจ  เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิดโดยผ่านการปฏิบัตจิ ริง และทา โครงงาน  เพื่อบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอนกลุ่ม สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2551 ต่อเนื่องมาจนถึงปีการศึกษา 2554

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา การปฏิรูปการเรียนรู้เป็ นหัวใจของการปฏิรูปการศึกษาและเป้าหมายของการ ปฏิรูปการเรีย นรู้คื อ การพั ฒนาผู้เรี ยนให้มีคุ ณสมบัติที่พึง ประสงค์ ตามมาตรฐาน การศึกษาด้านผู้เรียน จึงจาเป็นต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแนวทางที่ กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้งสอดคล้องกับนโยบาย จุดเน้น และยุทธศาสตร์ของ กระทรวงศึกษาธิการ การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน บ้านหนองสามพรานสู่การจัดการเรียนการสอนจึงสอดคล้องกับ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึก ในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ตามหลั ก สู ต รและส่ ง เสริ ม ความสามารถ ด้ า น เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติ ไทย และวิถชี วี ติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านหนองสามพราน 1) ส่งเสริมการบริหารจัดการแบบบูรณาการและการมีส่วนร่วมที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ 2) จัด ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการเรียนรู้ คู่คุณธรรมอย่างทั่วถึง 3) พัฒนาความเข้มแข็งในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีคุณภาพ 4) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้มาตรฐานวิชาชีพ ใช้ความรู้เป็น ฐานในการปฏิบัตงิ าน ให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและการให้บริการทางวิชาการแก่ผู้เรียนและสังคม การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

5) เสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีคุณภาพเต็ม ตามศักยภาพ บรรลุมาตรฐานท้องถิ่น ดาเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมุ่งสู่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุ ป ได้ ว่ า หน่ ว ยงานทางการศึ ก ษาทั้ ง กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพป.กจ.1และโรงเรียนบ้านหนองสามพราน ได้ กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์เกี่ยวกับพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับชั้น การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติโดยเฉพาะด้านการจัดการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การพัฒนา ในครั้งนี้ ได้สังเคราะห์แนวคิดด้านการสอนแบบโครงงานซึ่งเป็น รูปแบบการจัดการเรีย นการสอนที่ เน้น ผู้เรี ยนเป็น สาคั ญอีกรูปแบบหนึ่งที่บูรณาการ ทักษะการคิด เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของ ผู้เรียนอย่างลุ่มลึก โดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะเป็น ผู้ลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเองที่นาไปสู่การมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตาม หลักสูตร โดยเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เน้นการมีส่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่น และบูรณาการหลั กปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักเรียนระดับประถมศึกษา ตัง้ แต่ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3-6 จานวน 40 คน  ขั้นตอนการพัฒนา การจัดการเรียนการสอน “ไม้ไผ่ ครู และภูมปิ ัญญา บูรณาการสูเ่ ด็ก” มีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของผู้เรียนโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 2) สารวจข้อมูลแหล่งเรียนรู้ และข้อมูลภูมปิ ัญญาท้องถิ่นด้านอาชีพในท้องถิ่นบ้าน หนองสามพราน พบว่า มีแหล่งเรียนรู้ที่น่าสนใจคือ ศูนย์โอทอปผลิตภัณฑ์ไม้รวกไม้ไผ่ 3) วิเคราะห์ข้อมูล ปรึกษาเพื่อนครู และเสนอขออนุมัติโครงการต่อผู้อานวยการ โรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการที่ปรึกษา และเครือข่าย ผู้ปกครองโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 4) ประสานงานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของศูนย์โอทอปฯ คือ คุณธีรพงศ์ วุฒิศิริ เพื่อเชิญมาเป็นวิทยากรสอนอาชีพด้านผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ให้กับนักเรียนร่วมกับครู 5) ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน และบูรณาการการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลัก ปรั ชญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งด้ านอาชีพ ในท้องถิ่น ด้านผลิ ตภัณ ฑ์ไ ม้ไผ่ ใน กิจกรรม “ไม้ไผ่ ครู และภูมปิ ัญญา บูรณาการสู่เด็ก” ทุกบ่ายวันพฤหัสบดี 6) ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แล้วรายงานผลต่อผู้อานวยการ โรงเรียน และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

289


290

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ 1) ผู้อานวยการโรงเรียน และครูฝ่ายวิชาการนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน 2) ครูผู้รับผิดชอบโครงการนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ในการน ากิ จ กรรม “ไม้ ไ ผ่ ครู และภู มิ ปั ญญา บู ร ณาการสู่ เ ด็ ก ” ไปใช้ ประโยชน์ มี ดังนี้ 1) ส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถโดดเด่นด้านการทาผลิตภัณฑ์ไม้รวก ไม้ไผ่ เข้าร่วมประกวดกิจกรรมจักสานไม้ไผ่ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนทั้งในระดับเขต พื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับประเทศ 2) ส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถโดดเด่นด้านการทาผลิตภัณฑ์ไม้รวก ไม้ไผ่ เข้าร่วมประกวดโครงงานอาชีพผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนทั้งใน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับประเทศ 3) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานนักเรียนในโอกาสต่าง ๆ ทั้งระดับท้องถิ่นและ ระดับประเทศ 4) จัดกิจกรรมยกย่อง เชิดชูเกียรติภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสาระต่าง ๆ สูงขึ้น โดยเฉพาะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การ งานอาชีพและเทคโนโลยีในปีการศึกษา 2554 ปรากฏ ดังนี้  คะแนนทีเฉลี่ย(Average T score) ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน = 57.69  คะแนนทีเฉลี่ย(Average T score) ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน = 84.38 2) ค่าทีเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสาขา/สาขาวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอน  คะแนนทีเฉลี่ย (Average T score) ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงาน อาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2553 = 21.91  คะแนนทีเฉลี่ย (Average T score) ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงาน อาชีพ และเทคโนโลยี ระดับชั้น ประถมศึก ษาปี ที่ 3 ปี การศึก ษา 2554 = 29.65 3) ผลการประเมินและหรือการทดสอบของสาขา/สาขาวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ สอนในระดับเขต/ประเทศ  คะแนนเฉลี่ยของผลผลการสอบ NT ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2553 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 สพป.กจ.1 ปรนัย = 54.92

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 คะแนนเฉลี่ยของผลผลการสอบ NT ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2554 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สพป.กจ.1 ปรนัย = 64.81อัตนัย =77.52

1) 2)

3) 4)

5)

6)

 ผลการพัฒนาด้านอื่นๆ ผู้เรียนในสาขา/สาขาวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เสนอในระดับชั้น ป.3 จานวน 9 คน ผู้ เ รี ย นมี ก ารพั ฒ นาด้ า นสุ ข ภาพ ร่ า งกาย สติปั ญ ญา อารมณ์ และสั ง คมตาม หลักสูตร/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และตามที่สถานศึกษากาหนด ในระดับดี จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและตามที่สถานศึกษาที่กาหนดใน ระดับดี จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย และครูร้อยละ 100 ได้เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงกับภูปัญญาท้องถิ่น คือคุณธีรพงศ์ วุฒิศิริ จากบ้านหนองสามพราน เรื่อง การทาผลิตภัณฑ์ไม้รวกไม้ไผ่ และ คุณบุญร่วม จันทร์ช่ืน จากสถานีวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กาญจนบุรี สอนเรื่อง ไผ่ประเภทต่าง ๆ นักเรียนทุกคนมีหลักคิดในการวางแผนการทางาน มีความรับผิดชอบ รู้จักการ ช่วยเหลือกันและกัน รู้จักแบ่งปันและฝึกการใช้ความรู้ต่าง ๆ ที่มีด้วยความรอบรู้ เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ในการทางานโดยนาความรู้มาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันและในการทางาน อย่างรอบคอบ มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ ทางาน ด้วยความระมัดระวังและมีความรับผิดชอบ อดทน เพียงพยายามในการ ทางาน ซื่อสัตย์สุจริตมีวนิ ัยในการใช้ชวี ติ ประจาวันมีทักษะการทางานเป็นกลุ่ม ด้วย ความสามัคคี การช่วยเหลือ แบ่งปัน มีจิตสานึกในการรักบ้านเกิด และอนุรักษ์ วัฒนธรรมท้ องถิ่น ส่วนผลิตภัณฑ์ไม้รวก ไม้ไผ่ สามารถนาไปจาหน่ายเพื่อสร้าง รายได้ หรือประดับในห้องต่าง ๆ ในโรงเรียน และเป็นของที่ระลึก นอกจากนี้ นักเรียนที่เรียนชุมนุมต่าง ๆ สามารถนาความรู้สู่การประกอบอาชีพได้ นักเรียนมี ทัก ษะในการทางาน มีความสุ ขที่ ไ ด้ มาโรงเรี ย น และมี รายได้ จ ากการจาหน่า ย ผลิตผลในชุมนุมของตนเอง ครูรู้จักการบริหารเวลาให้เพียงพอในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ การเรียนการสอนโดยผ่านโครงงาน ให้นักเรียนคิดค้นด้วยตนเองครูคอย ให้คาปรึกษาและสอนให้นักเรียนรู้ใช้จักเหตุผลในการตัดสินใจทางาน สามารถ สร้างภูมิคุ้มกันด้านอาชีพให้นักเรียน สามารถสอนให้นักเรียนภูมิใจในท้องถิ่นของ ตนเอง สอนให้นักเรียนรู้จักความพอเพียง สอนคุณธรรมในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะ ความอดทน สอนทั กษะทางสัง คมด้ า นการแบ่ ง ปั น การทางานเป็ น ทีม สอนให้ นักเรียนรักสิ่งแวดล้อม รักธรรมชาติ สอนให้นั กเรียนมีสัมมาคารวะต่อผู้มีพระคุณ ตลอดจนสอนให้นักเรียนพึ่งพาตนเอง และสร้างรายได้ระหว่างเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

291


292

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) โรงเรียนบ้านหนองสามพรานได้เป็นสถานศึกษาพอเพียง ประจาปี 2552 จากกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร และเป็ น ต้ น แบบสถานศึ ก ษาพอเพี ย ง ของ สพป.กจ.1 ปีการศึกษา 2554 2) นั ก เรี ย นได้ รับรางวั ล เหรี ย ญทองจากการประกวดกิ จ กรรมจั ก สานไม้ไ ผ่ ระดับประเทศในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2551 3) นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองจากการประกวดกิจกรรมโครงงานอาชีพ ผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ ระดับประเทศในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2553 4) นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองจากการประกวดกิจกรรมโครงงานอาชีพ มหัศจรรย์แห่งไม้ไผ่ ระดับประเทศในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2554 5) ครูได้รับรางวัลต่าง ๆ ทั้ง ครูต้นแบบปฏิรูปการเรียนรู้ ครูดีเด่นระดับเหรียญ ทอง ครู ผู้ ส อนโครงงานอาชี พ เรื่ อ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ ร วก ไม้ ไ ผ่ ครู ผู้ ส อน โครงงานอาชีพ เรื่อง มหัศจรรย์แห่งไม้ไผ่ ระดับชาติ  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง จากการประเมินความพึงพอใจของครูมคี วามพึงพอใจ ร้อยละ 85 นักเรียนร้อยละ 89 ผู้ปกครอง ร้อยละ 92  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา /ประสบการณ์เรียนรู้ เทคนิคสาคัญในจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนประสบผลสาเร็จการมีส่วนร่วม ของบุคคลทุกฝ่ายคือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้จุดประกายความคิดให้ครูและผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง มีการยกย่องเชิดชูให้กาลังใจซึ่งกันและกัน เน้นการสอนแบบโครงงานซึ่ง เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรียนอย่าง ลุ่มลึก โดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะเป็นผู้ลงมือ ปฏิบัติเพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเอง จึงเป็นการเรียนรู้จากการได้มีประสบการณ์ตรง จากแหล่งเรียนรู้ จนประสบความสาเร็จในระดับต่าง ๆ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า หลังจากดาเนินงานพัฒนา จนประสบผลสาเร็จแล้ว ปีการศึกษาต่อมาก็ยังคง ดาเนินการต่อเนื่อง โดยทาการประเมินโครงการที่เป็นหัวใจหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงคือ”โครงการตามรอยพ่อ สานต่อพอเพียง” โดยใช้รูปแบบระบบPDCA ซึ่ง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลักดังนี้ P (Plan) คือ การวางแผน D (Do) คือ นาไปปฏิบัติ C (Check) คือ ระหว่างปฏิบัตกิ ็ดาเนินการตรวจสอบ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

A (Action) คือ นาผลการประเมินผลมา ปรับปรุง พัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ผลการประเมินพบว่า กิจกรรม “ไม้ไผ่ ครู และภูมปิ ัญญา บูรณาการสู่เด็ก” เป็นกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย โดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงควรส่งเสริมการจัด กิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งส่งเสริมการประกวดผลงานนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง ได้นาผลสาเร็จดังกล่าวไปประชาสัมพันธ์ และ เผยแพร่ ดังนี้ 1) ในปีการศึกษา 2552-ปั จจุบัน โรงเรียนบ้านหนองสามพราน เป็น แหล่ ง ศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรทางการศึกษาทั้งในจังหวัดกาญจนบุรี ภาคเหนือ ภาคใต้ และ ภาคกลาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านท่าข่อยจังหวัดพิษณุโลก โรงเรียน สังกัดเทศบาลเบตง จังหวัดยะลา โรงเรียนวัดยอดสุวรรณคีรี จังหวัดราชบุรี โรงเรียนใน ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนพัฒน์ พงศ์ โรงเรี ย น ตชด.ประตู ด่ า น โรงเรี ย นบ้ า นท่ า หวี โรงเรี ย นบ้ า นหนองกลางพง โรงเรียนบ้านแหลมทอง โรงเรียนวัดบ้านยาง และโรงเรียนบ้านนากาญจน์ เป็นต้น 2) โรงเรียนได้นา เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 จนถึง ปัจจุบัน 3) จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนทั้งในระดับเขต พื้นที่ ระดับภาคกลางภาคตะวันออก และระดับประเทศ ที่อิมแพค เมืองทองธานี ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2551 จนถึงปัจจุบัน รวมทั้ง ในปีการศึกษา 2554 ได้จัดนิทรรศการนาเสนอ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีเมื่อ วันที่ 9 สิงหาคม 2554 จัดที่โรงแรมริเวอร์แคว เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2554 ออกอากาศรายการบ่ายนี้มีคาตอบทางช่อง 9 ถ่ายทา โฆษณางานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย น ครั้ ง ที่ 61 และจั ด นิ ท รรศการต้ อ นรั บ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในโอกาส ประชุม ครม.สัญจรที่จังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2555 4) เป็นวิทยากรอบรมขยายเครือข่ายสถานศึกษาพอเพียงแก่ครูและผู้บริหาร สถานศึกษาในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังด้ง-ช่องสะเดา เมื่อวันที่ 4 - 5 สิงหาคม 2554 และเป็นวิทยากรนาเสนอให้ความรู้กับคณะศึกษาดูงานต่าง ๆ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

293


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

294

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

โครงการทางาน ทาดี มีอาชีพ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

นางสาวเกษสุดา ศิลาคา ครู โรงเรียนวัดจรเข้เผือก โทรศัพท์ 081-0069748 E-mail : armeasc08@gmailcom

 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีเจตคติที่ดตี อ่ อาชีพสุจริต  เป้าหมาย  นักเรียนร้อยละ 75 มีทักษะในการจัดการและทางานให้สาเร็จ  นักเรียนร้อยละ 70 มีความเพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบใน การทางาน  นักเรียนร้อยละ 80 ทางานอย่างมีความสุข พัฒนางาน และภูมิใจในงานของ ตน  นักเรียนร้อยละ 75 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้  นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้สึกที่ดี ต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกั บ อาชีพที่ตนเองสนใจ

ระยะเวลาในการพัฒนา

16 พฤษภาคม 2553 – 31 มีนาคม 2556

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ. สนองกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาครูในการจัดการเรียนการสอน การใช้ หลั ก สู ต รเพื่ อ การมีง านท า และสนองกลยุ ทธ์ ที่ 1 2 และ 3 ของสถานศึ ก ษา มาตรฐานที่ 3 โดยมีกรอบแนวคิดในการพัฒนาผู้เรียน โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนและระบบส่งต่อผู้เรียน เพื่อส่งเสริมให้มีรายได้ระหว่างเรียน โดยใช้วิธีการ บูรณาการที่เน้นทั้งในทางวิชาการและวิชาชีพ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา โครงการทางาน ทาดี มีอาชีพ ได้นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของนักเรียนส่วนใหญ่ในโรงเรียน เศรษฐกิจ พอเพียงที่แสดงถึงแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับจึงถูก นามาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาความยากจนดังกล่าว จะเห็นได้วา่ เมื่อระดับบุคคลหรือ ครัวเรือน มีวิธีชีวิตและปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแล้วจะสามารถลด รายจ่าย เพิ่มรายได้ และขยายโอกาส ตลอดจนมีภูมิคมุ้ กันทางเศรษฐกิจอีกด้วย

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 โรงเรียน วัดจรเข้เผือก นักเรียนชาย 29 คน นักเรียนหญิง 28 คน รวม 57 คน ระยะที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือน ตุลาคม 2555 ระยะที่ 2 เดือน พฤศจิกายน – เดือน มีนาคม 2556

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นตอนการพัฒนา  ระยะที่ 1 เดือน พฤษภาคม- ตุลาคม 2555 1) สารวจความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน 2) สารวจภูมปิ ัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับอาชีพในชุมชน 3) จัดทาทะเบียนภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 4) สรุปความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน 5) ศึกษาข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องที่นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนต้องการ เรียนรู้เช่นการแปรรูปอาหาร (ทาไข่เค็มและมะขามสามรส) การทาอาหารว่าง(กะหรี่ปั๊ป ก๋วยเตี๋ยวหลอด) ขนมไทย จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ตา่ งๆ ร่วมกัน 6) กาหนดกิจกรรม และเวลาที่จะร่วมกันทากิจกรรม 7) จัดแผนผังการปฏิบัตงิ านโดยแบ่งเวรผลัดเปลี่ยนกันทากิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ 8) ดาเนินงานตามแผนงานที่กาหนดไว้  ระยะที่ 2 เดือนพฤศจิกายน - มีนาคม 2556 1) ปรับปรุงกิจกรรมในบริษัทให้ดีข้นึ โดยอาศัยข้อมูลจากการดาเนินงานระยะที่ 1 2) เปลี่ยนแปลงกิจกรรมในโครงการ ให้เป็นไปตามความต้องการของนักเรียนผ๔ ปกครองชุมชน โดยเพิ่มกิจกรรม 3) พัฒนากิจกรรมให้เหมาะสมกับวัสดุที่มีอยูใ่ นท้องถิ่นตามฤดูกาล 4) มีการวัดและประเมินผลการทางานของทุกฝ่าย 5) มีการปันผลให้แก่สมาชิก  แหล่งที่มาของงบประมาณ 1) งบส่งเสริมโครงการทางานทาดีมอี าชีพ 2) จากการระดมหุ้นของสมาชิกหุ้นละ 5 บาท แต่ไม่เกินคนละ 20 หุ้น 3) งบประมาณจากครูที่ปรึกษา  การตรวจสอบคุณภาพ  แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน  แบบสัมภาษณ์นักเรียน  แบบสอบถามความพึงพอใจ  แบบประเมินผลโครงการ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนร้อยละ 75 มีทักษะในการจัดการและทางานให้สาเร็จ 2) นักเรียนร้อยละ 70 มีความเพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบใน การทางาน 3) นักเรียนร้อยละ 80 ทางานอย่างมีความสุข พัฒนางาน และภูมใิ จในงานของตน 4) นักเรียนร้อยละ 75 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 5) นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้สกึ ที่ดตี อ่ อาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพ ที่ตนเองสนใจ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

295


296

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีเจตคติที่ดตี อ่ อาชีพสุจริต  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง จากการสารวจความพึงพอใจของ ผู้เกี่ยวข้องต่อ โดยการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ พบว่า ระดับความพึงพอใจใน ภาพรวมของโครงการอยู่ในระดับคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ 88.52 เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า กิจกรรม/วิธีดาเนินการตามงานอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก คิดเป็นร้อย ละ 84.55  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา จากการดาเนินโครงการทางาน ทาดี มีอาชีพ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการทาโครงงาน“ภูมิปัญญาจรเข้” แบบพอเพียง มีดังนี้ 1) มีทักษะในการทาไข่เค็ม การถนอมอาหาร การทาอาหารว่าง และน้าปัน่ 2) น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ ในการดาเนินชีวติ อย่างเหมาะสมและมีความสุข 3) มี ค วามเข้ า ใจในการท าบริ ษั ท ขนาดย่ อ มอย่ า งเป็ น ระบบ สามารถน า ประสบการณ์นไี้ ปสู่อาชีพได้ในอนาคต 4) เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักขยัน อดทน ซื่อสัตย์ เสียสละและให้อภัย ซึ่งกันและกัน รู้จักคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น 5) ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์หารายได้พิเศษระหว่างเรียน 6) นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและ สู่ชุมชนได้

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า สารวจข้อมูลจานวนนักเรียนที่นาความรู้ที่ได้รับไป ใช้ในชีวิตประจาวัน และพิจารณาข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการจากผู้เกี่ยวข้อง  ผลการตรวจสอบซ้ า นั ก เรี ย นเห็ น แนวทางในการประกอบอาชี พ ที่หลากหลายมากขึ้น และโรงเรียนได้พัฒนาผลงานสูร่ ะดับมืออาชีพ

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) นาสินค้าออกจาหน่ายที่ร้านค้าชุมชนและตลาดนัด สัปดาห์ละ 1 – 2 ครัง้ 2) จัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์สนิ ค้าตามหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หมูบ่ ้าน และชุมชน 3) นาผลงานเข้าประกวดในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนและได้รับรางวัลเหรียญ ทอง ในระดับภาค

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

297

โครงการเพิ่มผลผลิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุ ม ชนต าบลหนองขาว มี อ าชี พ หลั ก คื อ เกษตรกรรม ประชาชน ผู้ประกอบอาชีพขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง จึงส่งผลให้ มีค่านิยม และการ ปฏิบัตทิ ี่ผิดเกี่ยวกับการใช้สารเคมีในการ ทาเกษตรกรรมและไม่เห็นความสาคัญ ของการปลูกพืชเลีย้ งสัตว์เพื่อใช้ในการบริโภค ผลกระทบในเรื่องนี้มิได้อยู่แค่ใน วงผู้ใหญ่ หรือผู้ปฏิบัติงานเท่านั้น เพราะค่ านิยมและแนวความคิ ดเหล่านี้ถู ก ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่รู้ ตัวเพื่อเป็นการสร้างค่านิยม และทัศนคติที่ดีใน เรื่องเกษตรกรรม คุณภาพในการบริโภคอาหาร และการลดรายจ่ายเพื่อเพิ่ม รายได้ ข้ า พเจ้ า จึ ง น ากรอบความคิ ด ของการเพิ่ม ผลผลิ ต มาบู รณาการกั บ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึก ปฏิบัติ ดังจะเห็นได้ว่า มีหลายหน่วยงานที่พยายามรณรงค์ในเรื่องนี้แต่ก็มิค่อย ได้ผลสักเท่าไหร่ จึงเป็นโจทย์สาคัญสาหรับโครงการนี้ ข้าพเจ้าจึงใช้หลักการ ที่ว่า ตัวอย่างที่ดีมีค่ามากกว่าคาสอน ดังนั้นข้าพเจ้าจึงคิดว่าการทาให้เห็นเป็น รูปธรรมจะทาให้ เห็น ตัวอย่างได้อ ย่างชัดเจนและเข้า ใจได้ ง่าย ครั้งนี้ ซึ่ง มี วัตถุประสงค์ ดังนี้  นั ก เรี ย นรู้ แ ละเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การเพิ่ ม ผลผลิ ต และหลั ก ของปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง  นักเรียนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้  นักเรียนเข้าใจและ ปฏิบัตกิ ิจกรรม 6 ส. ได้  นักเรียนปฏิบัตงิ านได้ตามกระบวนการ PDCA  นักเรียนรู้จักพัฒนาตนเองตามกระบวนการ Kaizen

นางบุปผา พงศ์สวัสดิ์ ครู โรงเรียนวัดอินทาราม"โกวิทอินทราทร" โทรศัพท์ 081-0120456 E-mail : aulbuppha@gmail.com

ภาพกิจกรรม 6 ส. ที่บ้าน

ท่านผู้อานวยการมอบรางวัลแก่ผู้ชนะ การทากิจกรรม 6 ส. หน้าเสาธง

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการดาเนินงานโครงการเพิ่ม ผลผลิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้กับการปฏิบัติงาน หรือ การเรียนของนักเรียน มีเป้าหมายที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ของ สพฐ.และ สพป.กจ.1 คือ การปลูกฝังคุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลัก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และสอดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายของโรงเรี ย น วัดอินทาราม"โกวิทอินทราทร" คือ  นักเรียนมีจิตสานึกของการเพิ่มผลผลิต  นักเรียนยึดแนวเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิต การด าเนิน งานโครงการเพิ่ ม ผลผลิ ต ตามหลั ก ปรั ชญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง เป็นการดาเนินการในรูปกระบวนการกลุ่ม PDCA เทคนิค 5 ส ระบบ Kaizen เศรษฐกิจพอเพียง และ กิจกรรม Walk Rally Productivity การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

มุมที่บ้านของนักเรียนที่ได้ทากิจกรรม 6 ส.


298

กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ และการ ทายาฆ่าแมลงจากสมุนไพร

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการดาเนินงานโครงการเพิ่มผลผลิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมายในดาเนินงานโครงการเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6 โดย ดาเนินการจัดการเรียนเรื่องการเพิ่มผลผลิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในงานเกษตร งานบ้าน และงาน ประดิษฐ์ โดยแบ่งนักเรียนฝึกปฏิบัตดิ ังนี้  งานเกษตร (ปลูกผัก เลีย้ งสัตว์) ป.1,2 ปลูกผักสวนครัว ป.3 ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ ป.4 ผักกางมุง้ -หมูหลุม ป. 5 เลีย้ งปลาดุก-เพาะเห็ดฟาง ป.6 เลีย้ งไก่ไข่-แปลงนาสาธิต  งานบ้าน (กิจกรรม 6 ส ร่วมใจ) เน้นเทคนิค (5ส) 6ส. โดยให้นักเรียน ไปสารวจที่บ้านว่าที่บ้านของนักเรียนควรจะ ปรับปรุงส่วนไหน 1 จุด (แต่บริเวณหน้าบ้าน, หลังบ้าน,โต๊ะอ่านหนังสือ ห้องน้า โดยให้ นักเรียนโดยให้นักเรียนทาตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 แล้วครูได้ติดตามประเมินผลที่บ้าน  งานประดิษฐ์ (กิจกรรมแปลงสินทรัพย์เป็นทุน) ให้นักเรียนนาเศษวัสดุเหลือใช้มาเป็นวัสดุในการเรียน เช่น ขวดน้า , เศษผ้า กล่อง ต่างๆ กิจกรรมนี้ดาเนินทุกชัน้ เรียน ส่วนขยะที่ใช้ไม่ได้นาไปขายแบ่งเป็นรายได้ของชั้นเรียน

ขั้นตอนการดาเนินงานโครงการเพิ่มผลผลิต

1) ดาเนินการประชุมคณะกรรมการโครงการ 2) แต่งตัง้ คณะทางานดาเนินการจัดหาภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ 3) นาหลักการเพิ่มผลผลิต (กระบวนการ PDCA ,กระบวนการกลุ่ม,เทคนิค 5 ส , ระบบ Kaizen )กิจกรรม Walk Rally Productivity และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ กระบวนการดาเนินงาน อย่างต่อเนื่อง 4) จัดตั้งคณะกรรมการโดยมีนักเรียนเป็นส่วนร่วมในการติดตามการดาเนินงาน ให้ เป็นไปตามแผนงาน 5) ตรวจสอบผลงานของนักเรียน นิเทศ และให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้การดาเนินงาน บรรลุตามเป้าหมาย 6) ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้สูชุมชน, สถานศึกษา,และหน่วยงานอื่น 7) สร้างเครือข่ายขยายความร่วมมือสูส่ ถานศึกษาใกล้เคียง 8) สร้างเป็นแหล่งเรียนรู้ การตรวจสอบคุณภาพของโครงการ โดยประเมินผลการดาเนินงานในแต่ละงาน ผล ปรากฏว่า นักเรียนร้อยละ 95 มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ และทักษะ อยู่ใน ระดับดี –ดีมาก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และ เทคโนโลยี ( งานบ้าน งานเกษตร และงานประดิษฐ์) สูงขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 90 และนักเรียน ร้อยละร้อย ได้นาหลักการเพิ่มผลผลิต และปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง สู่กระบวนการ ดาเนินงาน ฝึกทักษะ อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการเพิ่มผลผลิตโดยใช้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะในกระบวนการทางานอย่างมีแบบแผนทางานร่วมกับผู้อ่ืน ได้ มีนสิ ัยรักการทางาน รู้จักพึ่งตนเองมีความคิดสร้างสรรค์ และมีการปรับปรุงงานอย่าง ต่อเนื่อง และมีทักษะในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดสารพิษ นอกจากความส าเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้า หมายตามแผนงานแล้ว โรงเรีย น วัดอินทาราม “โกวิทอินทราทร “ ยังประสบความสาเร็จได้รับคัดเลือกเป็น “โรงเรียน ต้นแบบการเพิ่มผลผลิตของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติและกระทรวงศึกษาธิการ”

ปัจจัยที่ทาให้ที่โครงการเพิ่มผลผลิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ปัจจั ยที่ ทาให้ ที่ทาให้โ ครงการเพิ่ม ผลผลิ ตตามหลั กปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพีย ง ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย คือ 1) การมี ส่ ว นร่ ว มและให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการด าเนิ น งานระหว่ า งผู้ บ ริ ห าร สถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ปกครองตลอดจนหน่วยงานต่างๆในชุมชน ในการดาเนินงานทุก กิจกรรม 2) การให้ความรู้ความเข้าใจบุคลากรในโรงเรียน ในการดาเนินงาน ด้านการเพิ่ม ผลผลิต ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) ผู้เรียนมีความพึงพอใจ เห็นคุณค่าพร้อมที่จะนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน โดยมีก ระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพั ฒนาปรั บปรุง โครงการเพื่อให้เกิดผลดีอย่า ง ต่อเนื่อง วิธีการตรวจสอบซ้า จากการใช้แบบสอบถามเพื่อประเมินโครงการต่างๆ โดยแบ่ง การประเมินเป็น 2 กรณี คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการ นักเรียน และครุผู้เกี่ยวข้อง และผู้ที่ไม่มสี ่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ที่มาศึกษาดูงาน ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่น ผลการตรวจซ้าจากการประเมินโดยผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องมีความเห็นว่า สามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ เป็นกิจกรรมที่สนุกสนามเพราะได้ปฏิบัติจริง นักเรียนในชั้นเรียนมีความ สนใจและอยากปฏิบัตกิ ิจกรรมนอกเหนือที่ตนเองรับผิดชอบ ผลผลิตของกิจกรรมนี้สามารถ นาไปใช้ได้จริง และจากการประเมินของผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ เป็นกิจกรรมที่ สมควรนาไปเป็นแบบอย่างควรขยายผลไปสูโ่ รงเรียนต่าง ๆ

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินงาน และการเผยแพร่ 1) พิมพ์เผยแพร่วารสารของโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 ครัง้ 2) จัดทาเอกสารเผยแพร่ผู้มาศึกษาดูงานที่โรงเรียน ตลอดปีการศึกษา 3) จัดทาเอกสารเพื่อเผยแพร่ในงานนิทรรศการ วิชาการของสานักงานเขตพื้นที่ และงานวิชาการของโรงเรียน 4) ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของหมูบ้าน สัปดาห์ละ 1 ครัง้ 5) ประกาศหน้าเสาธงให้นักเรียนทราบอย่างต่อเนื่อง 6) ประกาศเสียงตามสายของโรงเรียนในช่วงพักกลางวัน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

299 แปลงนาสาธิต กิจกรรมเลีย้ งไก่ไข่ การทาปุ๋ยหมักจากเศษพืชในโรงเรียน


300

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สพป.กจ.1

โครงการวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ” นายสาริด พรมทอง ครู โรงเรียนบ้านหนองกวาง โทรศัพท์ 091-2621805

เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และฝึกทักษะ ด้านอาชีพเกษตรแก่ผู้เรียน  เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบ 100 % อย่างมีคุณค่า และเพียงพอ  เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะชี วิ ต สามารถน าไปปรั บ ใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ น ชีวติ ประจาวัน และมีจิตสานึกรักท้องถิ่นและอาชีพของบุคคลในท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืน ระยะเวลาในการพัฒนา ระยะเวลาที่เริ่มต้นการพัฒนา เริ่มต้นในปีการศึกษา 2550 ระยะเวลาที่ ใ ช้ใ นการพั ฒ นา ใช้ ร ะยะเวลาตลอดปี ก ารศึ ก ษาในแต่ล ะปี การศึกษาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมาย สพฐ. การดาเนินการที่รองรับนโยบายของ สพฐ. ที่มุ่งเน้นให้นาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านหนองกวาง ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมต่อสภาพ บริ บทของโรงเรีย น อย่างต่อเนื่อ งทุ ก ปีก ารศึก ษา ในรู ปของแผนพั ฒนาคุ ณภาพ การศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ ลงสู่แผนปฏิบัติราชการประจาปี และลงสู่โครงการที่ บรรจุลงในแผนปฏิบัตริ าชการของทางโรงเรียนแล้วดาเนินการในลักษณะของกิจกรรม ต่างๆ ในกิจกรรมหลัก ดังนี้ 1) กิจกรรมการเลีย้ งไก่ไข่ 2) กิจกรรมการเลีย้ งปลาดุก 3) กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษ 4) กิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า 5) กิจกรรมการเลีย้ งกบคอนโด 6) กิจกรรมการทาปุย๋ หมัก / น้าหมักชีวภาพ / สารไล่แมลง 7) กิจกรรมการทาน้าส้มควันไม้ นอกจากกิจกรรมหลักต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว ยังมีกิจกรรมเสริมให้กับผู้เรียน โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชนในการฝึกทักษะและส่งเสริมอาชีพให้กับผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมการทาปุ๋ยชีวภาพอัดเม็ด

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา วิธี ก ารบริหารจั ดการ โครงการวิถี ชีวิต เศรษฐกิ จพอเพีย งในสถานศึก ษา ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนบ้านหนองกวางได้ดาเนินการเป็นระบบโดยใช้กระบวนการ PDCA เข้ามาพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยหลักการบริหารจัดการอย่างมีส่วน ร่วมกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1) วิเคราะห์สภาพปัญหาชุมชน ท้องถิ่น โรงเรียน และ นักเรียน ที่นามาสู่การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนทั้งในและนอกห้องเรียน รวมทั้งวิเคราะห์สภาพ ปัญหาของการได้รับประทานอาหารของนักเรียน 2) วางแผนการดาเนินงานโครงการวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกับผู้บริหาร คณะ ครู คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองกวาง ผู้ปกครองนักเรียน และ นักเรียน 3) นาแผนงานลงสู่ การปฏิ บั ติ ใ นรูปของกิ จกรรมหลั ก ต่า งๆ โดยจัด ทาเป็ นศู น ย์ เรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ ฝึกทักษะการปฏิบัตอิ ย่างต่อเนื่อง เกิดความชานาญใน การปฏิบัตกิ ิจกรรมและยั่งยืนเมื่ออยูใ่ นท้องถิ่นของตนเอง 4) น าคณะครู ผู้ ปกครอง และผู้ น าชุ ม ชน คณะกรรมการสถานศึก ษาเข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรม พั ฒ นาความรู้ อบรม สั ม มนาและศึก ษาดู ง านจากแหล่ ง ต่า งๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การน าหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาสู่ ก ารปฏิ บั ติ ใ น สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 5) กากับติดตาม นิเทศและประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยหัวหน้าโครงการ และ ผู้บริหารสถานศึกษา 6) รายงานผลเพื่อนาข้อมูลมาแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง หลักการและแนวคิดในการดาเนินการ การดาเนินงานของกิจกรรมทุกกิจกรรมในโครงการวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงใน สถานศึ ก ษานั้ น น าแนวคิ ด ตามหลั ก ทฤษฎี ป รั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิพ ลอดดุ ล ยเดชมาเป็ น แนวคิ ด และหลั ก การในการ ดาเนินงานทุกขั้นตอน โดยต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และมีทักษะชีวิต เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัตจิ ริง และได้เรียนรู้ตามความต้องการ ของตนเอง และท้องถิ่นอย่างเต็มตามศักยภาพ ให้มีพ้ืนฐานทักษะชีวิตในการดารงชีพที่ ดี สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข ทางโรงเรียนบ้านหนองกวางได้จัด กิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์ตรง ลงมือปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่องและ ยั่งยืน โดยใช้กระบวนการทางานอย่างมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ ชุมชนบ้านหนองกวาง กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ 1) นักเรียนโรงเรียนบ้ านหนองกวาง ตั้งแต่ระดับชั้นอนุ บาล ถึง นั กเรีย นระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 2) ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนบ้านหนองกวาง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

301


302

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สพป.กจ.1

3) ร้อยละ 70 ของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก 4) ร้อยละ 30 ของโรงเรียนต่างกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา  ขั้นตอนการพัฒนา 1) จัดทาโครงการปฏิบัติงานและกาหนดกิจกรรมของโครงการวิถีชีวิตเศรษฐกิจ พอเพียงในสถานศึกษาเป็นกิจกรรมหลัก ได้แก่ เลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงปลาดุก ปลูกผัก ปลอดสารพิษ การเพาะเห็ดนางฟ้า การทาปุ๋ยหมัก การทาน้าหมักชีวภาพ การทา น้าส้มควันไม้ เป็นต้น 2) แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน พร้อมร่วมกับชุมชน 3) ให้ความรู้และทักษะในการปฏิบัติกับนักเรียนทุกระดับชั้นในกิจกรรมต่างๆ ใน รูปศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา 4) นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในรายชั่วโมงตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ รับผิดชอบรวมทั้งเวลาว่างและวันหยุด 5) นั ก เรี ย นเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในแต่ ล ะกิ จ กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยจั ด ในรู ป กิจกรรมพี่สอนน้อง 6) นักเรียนรุ่นพี่ที่รับผิดชอบกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมดูแลนักเรียนรุ่นน้องปฏิบัติ กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 7) ครู ผู้ รับผิ ด ชอบโครงการ และคณะครู ก ากับติด ตามการดาเนิน งานของ นักเรียนทุกกิจกรรม 8) ประเมินผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมของโครงการ 9) รายงานผลการดาเนินการ 10) ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาโครงการอย่างต่อเนื่อง  การตรวจสอบคุณภาพ  วิธีการตรวจสอบคุณภาพ สังเกตการปฏิบัติงานของนักเรีย นในแต่ละ กิจกรรม ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ และทักษะโดยการสัมภาษณ์ และให้ลงมือปฏิบัติ จริง สอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของโครงการและสัมภาษณ์ นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู  ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ และ ทักษะในกิจกรรมต่างๆ ของโครงการจากการสัมภาษณ์ และฝึกปฏิบัติ นักเรียนได้รับ อาหารกลางวันครบทุกคนอย่างมีคุณค่าและเพียงพอ นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง จากการเรียนรู้และปฏิบัตไิ ด้ นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้ และมีคุณธรรมในการเอื้อ อาทร และรู้จักการแบ่งปันมีนาใจต่ ้ อกัน  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ นักเรียนนาความรู้ และทักษะไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนใกล้เคียงนา ความรู้ไปพัฒนาต่อยอดและขยายผลได้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นั ก เรี ย นทุ ก คนมี ค วามรู้ ความเข้ า ใจ ความสามารถและทั ก ษะในการเรี ย นรู้ กิ จ กรรมต่ า งๆ ของศู น ย์ก ารเรี ย นรู้ ต ามหลั ก ปรั ชญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน สถานศึกษา 2) นักเรีย นทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวั นครบ 100 % อย่างมีคุ ณค่าและ เพียงพอ 3) ร้อยละ 100 นักเรียนมีทักษะชีวิตและสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ใน ชีวติ ประจาวันได้อย่างเหมาะสม  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรีย นทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวั นครบ 100 % อย่างมีคุ ณค่าและ เพียงพอ 2) ร้อยละ 90 นักเรียนมีทักษะชีวิตที่ดแี ละสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ 3) ในชีวิตประจาวันหรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม 4) นักเรียนทุกคนมีความสุขจากการเรียนรู้ และมีจิตสานึกรักในท้องถิ่นและอาชีพของ ชุมชน  ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง 1) ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้ และทักษะชีวิตที่ดีในการ ปฏิบัตกิ ิจกรรมต่างๆ ในโครงการวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาที่โรงเรียน ดาเนินการ 2) ร้อยละ 100 ของคณะครูมคี วามพึงพอใจในการดาเนินการตามโครงการวิถีชีวิต 3) เศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา 4) ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน มีความพึงพอใจในการดาเนินการ ตามโครงการวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา  วิธีการตรวจสอบซ้า 1) การประเมิน กิจ กรรมต่า งๆ ของโครงการ จากนั ก เรี ย น คณะครู ผู้ ปกครอง นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา อย่างต่อเนื่อง ภาคเรียนละ 2 ครัง้ 2) จากข้อเสนอแนะการเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ จากคณะต่างๆ ที่เข้ามา เยี่ยมชมโครงการในแต่ละปีการศึกษา  ผลการตรวจสอบซ้า ร้อยละ 95 ของนักเรียน คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษามีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการและ ให้มีการปฏิบัตอิ ย่างต่อเนื่องและให้เกิดความยั่งยืน การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ขอสรุปตัวอย่างผลการดาเนินการประชาสัมพันธ์ความสาเร็จของโครงการ ในปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554 และ 2555 ดังนี้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

303


304

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สพป.กจ.1

 วันที่ 30 มีนาคม 2553 จัดงานแสดงผลงานทางวิชาการและ ของ โรงเรี ย นให้ กั บนั ก เรีย น ผู้ ปกครองนั ก เรีย นบ้า นหนองกวางรับรู้ ข่ าวสาร การดาเนินงานและผลสาเร็จของกิจกรรมต่างๆในโครงการ  ส่งวารสารสัมพันธ์ โครงการเกษตรพอเพียงแก่โรงเรียนต่างๆ ในเครือข่าย พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาจรเข้ เ ผื อ กทุ ก 1 ภาคเรี ย น รวมทั้ ง ส่ ง ถึ ง ผู้ปกครองนักเรียนทุก 1 เดือน  น าเสนอผลงาน โครงการเกษตรเพื่ อ อาหารกลางวั น ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนของ สพป.กจ.1 ประจาปีการศึกษา 2553  ได้นาเสนอผลงาน โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ในนามตัวแทนของ อาเภอด่านมะขามเตีย้ การอบรมโครงการพัฒนาครูทั้งระบบของสพป.กจ.1 ประจาปีการศึกษา 2554 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554  ได้นาเสนอผลงาน โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ในนามตัวแทนของ อาเภอด่านมะขามเตี้ย ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 61 ณ สนาม กีฬากลางจังหวัดกาญจนบุรี ประจาปีการศึกษา 2554 เมื่อวันที่ 11 – 13 ธันวาคม 2554  ขยายผลลงสูโ่ รงเรียนต่างๆ ทั้งในเครือข่ายและต่างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึ ก ษา ที่ ส นใจในการน าหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งลงสู่ การปฏิบัติกับผู้เรียน โดยการแจกแผ่นพับข้อมูลความรู้ต่างๆ ของกิจกรรม ในโครงการ  น าเสนอผลการปฏิ บัติง านในรู ปศู น ย์ เรี ย นรู้ วิถี ชี วิต เศรษฐกิ จ พอเพีย งใน สถานศึ ก ษาให้ กั บ คณะที่ ม าศึ ก ษาดู ง านการประกวดหมู่ บ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพียงในระดับพออยู่พอกิน และระดับอยู่เย็นเป็ นสุขจากจั งหวัดต่างๆ ดังนี้  วันที่ 31 กรกฏาคม 2555 การศึกษาดูงานจากโรงเรียนพัฒพงศ์ อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี  วันที่ 24 สิงหาคม 2555 การศึกษาดูงานของชุมชนจาก อาเภอ พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 60 คน  วันที่ 27 สิงหาคม 2555 การศึกษาดูงานของชุมชนจาก อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 90 คน  วันที่ 29 สิงหาคม 2555 การศึกษาดูงานของชุ มชนจาก อาเภอ เกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี 90 คน  วันที่ 20 กันยายน 2555 จัดนิทรรศการ Best Practices ระดับ ประถมศึ ก ษา ณ โรงเรี ย นอนุ บ าลวั ด ไชยชุ ม พลชนะสงคราม จ.กาญจนบุรี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

305

การแก้ปัญหาโดยการแปรรูปปฏิกูลจากวัตถุชีวมวลกับ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนสร้างสรรค์ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒ” นา

   

นักเรียนสามารถฝึกให้รู้จกั การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และยัง่ ยืน นักเรียนมองปัญหาและแก้ปัญหาอย่างมีกระบวนการ

นายพรินทร์ เกษรบัว

นักเรียนสามารถคิดและลงมือทาโดยมีการพัฒนาให้เกิดประโยชน์

ครู โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง โทรศัพท์ 085-5140262 E-mail : Pusai33@hotmail.com

นักเรียนสามารถเชื่อมโยงการแต่ละปัญหาให้เป็นแนวทางเดียวกันและแก้ปัญหา ได้อย่างยั่งยืน และสร้างสรรค์

ระยะเวลาในการพัฒนา พฤษภาคม พ.ศ. 2544 – มิถุนายน พ.ศ.2555 ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมายสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองสองห้องเป็นโรงเรียนขยายโอกาสฯ ที่มีพ้ืนที่ขนาดพอเพียง อยู่ในเขตเทศบาลตาบลหนองตากยามีรถเก็บขยะทุกวัน โรงเรียนโดยสภานักเรียนและ คณะครู มีแ นวคิ ด สร้ า งธนาคารขยะซึ่ ง แก้ ปัญ หาเรือ งเศษกระดาษได้ เป็ น ดั น ดั บแรก แต่ปัญหาของโรงเรียนและชุมชนคือเศษกิ่งไม้ใบไม้และเศษหญ้า ซึ่งนักเรียนส่วนมากมี แนวคิดจะนาไปทาปุ๋ยหมักและเผาถ่าน ซึ่งเป็นทางเลือกต้นๆโดยโรงเรียนได้สร้างเตา แบบขับไอน้า หรือ คาร์บอนในซ์เซชั่น โดยได้ถ่านจากกิ่งไม้และน้าส้มควันไม้

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก เรี ย นรู้ จั ก การแก้ ปั ญ หาอย่ า งสร้ า งสรรค์ แ ละเกิ ด ประโยชน์ เพื่อให้นักเรียนนาผลผลิตที่ได้จากการแก้ปัญหานาไปเสริมในส่วนของโครงการอาหาร กลางวันของโรงเรียน และการดาเนินการและการจัดการปัญหาจากปฏิกูลจากวัตถุชีวะ มวลให้เกิดประโยชน์ “ช่วยลดโลกร้อน” อย่างยั่งยืนและสร้างสรรค์

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5,6 มัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3ในปีการศึกษา 2554 ของโรงเรียนบ้านหนองสองตอน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) รวบรวมปัญหา สภานักเรียนและตัวแทนห้องเรียนประชุมหาข้อสรุปเรื่องการ แก้ปัญหาขยะต่างๆในโรงเรียน เช่น ปัญหาถุงนม ปัญหากระดาษใช้แล้ว ปัญหาใบไม้ กิ่งไม้ และวัชพืช 2) ทดลองแก้ปัญหา นักเรียนเสนอแนวคิดต่อสภานักเรียน โดยมีวิธีการแก้ปัญหา หลากหลายวิธี จนได้ขอ้ สรุป ต่างๆเช่นการฝังกลบ การทาปุย๋ การถมพื้นที่ว่าง 3) ทดลอง,ค้ นหาวิธี การแก้ ปัญหา นัก เรีย นทุ กคนลงมือแก้ปัญ หาและเลือ กวิธี แก้ปัญหาต่างกัน โดยขอเสนอแนะต่างๆมีครูแนะนา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

306

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

4) ค้นพบการแก้ปัญหาที่สร้างสรรค์ นักเรียนได้ข้อสรุปคือการนาเศษกิ่งไม้มา เปลี่ยนเป็นถ่านและยังได้นาสมควั ้ นไม้มาใช้ประโยชน์ตา่ งๆ(เกิดประโยชน์) 5) นาผลงานออกแสดง ประกวดผลงาน โรงเรียนบ้านหนองสองห้องได้เข้าร่วม ประกวดโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน(น้าส้มควันไม้)ได้รับรางวัลร้องชนะเลิศ อันดับหนึ่ง นักเรียนได้ข้อสรุปคือการนาเศษกิ่งไม้มาเปลี่ยนเป็นถ่าน (สร้างสรรค์) ได้น้าสมควันไม้มาใช้ประโยชน์ต่างๆ (เกิดประโยชน์) และพืชจัดเป็นชีวมวลที่ สามารถทดแทนได้หลังจากเรานาวัตถุชีวมวลมาใช้เป็นพลังงาน (อย่างยั่งยืน) 6) พัฒนาปรับปรุง เกิดจากการทดลองของนักเรียนโดยนักเรียนนาเศษใบไม้และ หญ้าแห้งใส่ในเตาเผาถ่าน จนได้ดนิ เพาะชา .

การตรวจสอบคุณภาพ  วิธีการตรวจสอบคุณภาพ สังเกตการปฏิบัตงิ านของนักเรียน  ผลการตรวจสอบคุณภาพทีไ่ ด้ นักเรียนมีความรู้ มีความสามารถ ในการแก้ปัญหาและมีความคิดสร้างสรรค์  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ นักเรียนสามารถนาความรูท้ ี่ได้จาก การเรียนรู้ไปใช้ในแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนผู้ปกครอง ชุมชน และ โรงเรียนใกล้เคียงนาความรู้ไปพัฒนาต่อยอดและขยายผลได้

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนสามารถลดการเผาหญ้าและใบไม้ได้ 100 % 2) นักเรียนสามารถนาเศษวัชพืช(วัตถุจาพวกชีวะมวล)มาใช้ประโยชน์ได้ 100 %  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีวธิ ีคดิ เป็นระบบและสามารถจาแนก “ขยะแห้ง ” ประเภทกระดาษ /นาเขาโครงการธนาคารขยะ โดยแยก กระดาษสี กระดาษลาย กระดาษขาว เพราะนักเรียนรู้ว่า ราคาและการนามาใช้ประโยชน์ต่างกัน และ “ขยะเปี ย ก” ประเภทเศษอาหาร ผลไม้ /ทาน้าหมั ก ชีว ะภาพ โดยสามารถ เชื่อมโยงปัญหาให้สัมพันธ์เพื่อการแก้ปัญหาเช่น ดินมีปัญหา เศษอาหารมีปัญหา นา เศษอาหารมาทาน้าหมักชีวะภาพเพื่อแก้ปัญหาดินเชื้อเห็ดที่หมดสภาพนามาทาถ่าน แกลบเพาะชาต้นไม้  ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง นักเรียนมีความพึงพอใจ ชอบมาก ร้อยละ 89.74 ชอบ ร้อยละ 10.52 และไม่ขอบร้อยละ 0

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง  เอกสารประจาเดือนของโรงเรียน  ชุมชนรอบโรงเรียน  ผู้ปกครองและนักเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

307

งานสานไม้ไผ่รอบด้านพัฒนางานอาชีพ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒ” นา  เพื่อให้มคี วามรู้ มีทักษะ ในการทาโครงงานงานจักรสานไม้ไผ่  เพื่อให้ทักษะพื้นฐานในงานจักรสานไม้ไผ่  เพื่อให้มคี วามสามารถในการปฏิบัตเิ กี่ยวกับการจักรสานไม้ไผ่ได้ตามขั้นตอน  เพื่อให้มคี วามตระหนักในคุณค่าของภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาว  เพื่อให้มคี วามรู้ความเข้าใจประวัตคิ วามเป็นมาและสภาพท้องถิ่นของตนเอง

ระยะเวลาในการพัฒนา ตัง้ แต่ปีการศึกษา 2553 จนถึงปัจจุบัน ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับ สพฐ. งานสานไม้ไผ่รอบด้านพัฒนางานอาชีพ สอดคล้องกับ กลยุทธ์ที่ 4 ใน การพัฒนาครูทั้งระบบ โดยสนับสนุนประเด็น ยุทธศาสตร์ ในการส่งเสริมการมีงานทา สนับสนุนการสร้างอาชีพระหว่างเรียนและเพิ่มรายได้ให้กับครู เพื่อลดปัญหาหนี้สินครู และเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนให้คุ้นเคยกับระบบเศรษฐกิจขนาดย่อยสู่เศรษฐกิจ ขนาดใหญ่เมื่อสาเร็จการศึกษา โดยโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาวได้พัฒนาหลักสูตรเพื่อการ มีงานทา โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในทุกขั้นตอน การสร้างโอกาสเพื่อ พัฒนานักเรียนให้มคี วามสามารถตามศักยภาพของแต่ละบุคคล

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้าง “งานสานไม้ไผ่รอบบ้านพัฒนา งานอาชีพ” ได้ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆ ดังนี้ 1) หลักการ SBM โดยเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มี ส่วนร่วมในการบริหาร ตัดสินใจ และร่วมจัดการศึกษา ทั้งครู ผู้ปกครอง ตัวแทน ชุ ม ชน ตั ว แทนศิ ษ ย์ เ ก่ า และตั ว แทนนั ก เรี ย น การที่ บุ ค คลมี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด การศึกษา จะเกิดความรู้สกึ เป็นเจ้าของและจะรับผิดชอบในการจัดการศึกษามากขึน้ 2) หลั ก การวั ฏ จั ก รเดมิ่ ง 4 ขั้ น ตอน คื อ การวางแผน (P) การลงมื อ ปฏิบัติ (D) การตรวจสอบ (C) และการปรับปรุงระบบวิธีการทางาน (A) 3) ทฤษฎีความต้องการ 5 ขั้น ของ อับราฮัม มาสโลว์ ประกอบด้วยความ ต้องการด้านกายภาพ ความปลอดภัย ความต้องการด้านสังคม ความต้องการได้รับ การยกย่องนับถือ และความต้องการสาเร็จสมหวังในชีวิต

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว  ขั้นตอนการพัฒนา 1) จัดประชุมสัมมนาบุคลากรในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีให้ รับทราบนโยบายและแนวปฏิบัตขิ องโรงเรียนและของกลุ่ม 2) บุคลากรในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประชุมร่วมกันคิด การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางวัลลียา คาพล ครู โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว โทรศัพท์ 089-8055376 E-mail : Saynamnam@gmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

308

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

วิเคราะห์เพื่อนาเสนอกิจกรรม โครงการที่เป็น Best Practice ของกลุม่ สาระ ( Plan) 3) จัดทาโครงการ งบประมาณนาเสนอต่อผู้บริหาร 4) ดาเนินกิจกรรม/ โครงการของกลุ่มสาระฯ อย่างต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา 2554 ( Do) 5) ประเมินผลการจัดกิจกรรม /โครงการรายงานต่อฝ่ายบริหาร (Check) 6) นาผลการประเมินกิจกรม /โครงการ มาวิเคราะห์ ปรับปรุงเพื่อนาไปพัฒนาให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึน้ ในปีการศึกษาต่อไป (Action)  การตรวจสอบคุณภาพ เพื่อให้เกิดผลที่ดีเลิศในการบริหารงานการ จั ด ก า ร เ รี ย น ร่ ว ม จึ ง ไ ด้ น า ม า พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ภ า พ โรงเรี ย น นั ก เรี ย น และบริ บ ทต่ า งๆ เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ จึงได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับทุกฝ่ายในการดาเนินการประเมิน ทบทวนตามขั้นตอนของการดาเนินงานตามรูปแบบ “งานสานไม้ไผ่รอบบ้านพัฒนา งานอาชีพ” เพื่อให้ทุกฝ่ายได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ บอกเล่าปัญหาอุปสรรค ในการ ทางานโดยร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปรับปรุง และร่วมพัฒนา  การตรวจสอบซ้าในการพัฒนาและปรับปรุง จากการตรวจสอบคุณภาพ “งานสานไม้ไผ่รอบบ้านพัฒนางานอาชีพ” พบว่า 1) ขั้นตอนการดาเนินงานมีความครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถเชื่อมโยงความ ต่อเนื่องในการช่วยเหลือการพัฒนาเหมาะสมกับนักเรียนเรียนร่วม 2) ผู้ เกี่ ยว ข้ อง มี ค ว า มรู้ ค ว า มส า ม า รถ แ ล ะ ประ ส บก า ร ณ์ใ นก า ร ด าเนิน งาน อั น เนื่อ งมาจากกระบวนการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ที่มีประสิ ทธิ ภ าพ ใน รูปแบบ “COACHING” 3) จากการประเมินโดยผู้ปกครองนักเรียนเรียนร่วม และครู มีความพึงพอใจ ในระดับมาก เนื่องจากทาให้นักเรียนมีความรัก ความหวงแหนในท้องถิ่นของตนเอง เป็นการสืบสานและอนุรักษ์ปัญญาท้องถิ่น สามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่าง มี ความสุข  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ส่งเสริมให้บุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี มี Best Practice ของตนเอง เพื่อพัฒนาวิชาชีพและการ จัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพมุ่งสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล นาผลการประเมิน มาพัฒ นา ปรับปรุ ง เพิ่มประสิ ทธิ ภาพอย่า งต่อเนื่อ งเพื่อน าโรงเรี ยนมุ่ง สู่ค วามเป็ น มาตรฐานสากลที่เป็นรูปธรรม สามารถเป็นตัวอย่างแก่โรงเรียนอื่น ๆ ได้

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  1) 2) 3)

ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การปฏิบัตจิ ริง นักเรียนทุกคนได้รับความรู้ มีทักษะกระบวนการทางาน ทาชิ้นงานได้สวยงาม ผู้ปกครองและชุมชนในท้องถิ่น ร้อยละ 90 ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมที่ โรงเรียนกาหนด

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนร้อยละ 80 มีทักษะพื้นฐานในงานจักรสานจากไม้ไผ่ 2) นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติเกี่ยวกับการจักรสานจากไม้ไผ่ ได้ตาม ขั้นตอน 3) นักเรียนมีความตระหนักในคุณค่าของภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาว 4) มีความรู้ความเข้าใจประวัตคิ วามเป็นมาและสภาพท้องถิ่นของตนเอง 5) นักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ระดับเหรียญทอง ของสพป.กจ.1 และ ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงินในการแข่งขันมหกรรมศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง พบว่า ความพึงพอใจประเด็นความพร้อม ของการดาเนินการจัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (เฉลี่ย 2.69) โดยพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 4 รายการคือ ความเหมาะสมของ สถานที่ (เฉลี่ย 2.90) ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม (เฉลี่ย 2.86) ความพร้อมในการจัด นิทรรศการ (เฉลี่ย 2.69) การจัดตกแต่งสถานที่จัดนิทรรศการ (เฉลี่ย 2.64) และพึง พอใจในระดับปรับปรุง 1 รายการ คือ การบริการและการอานวยความสะดวก (เฉลี่ย 2.37) ตามลาดับ  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา จากการประเมินการจัดนิทรรศการ "งานสานไม้ไผ่รอบบ้านพัฒนางานอาชีพ" ในกิจกรรมศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลาง และภาคตะวันออก ครั้งที่ 61 ประจาปีการศึกษา 2554 ของโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ระหว่างวันที่ 11-13 มกราคม 2555 ประสบความสาเร็จในระดับที่น่าพอใจ ทั้ง ทางด้ านการบริห ารจัด การ การจัด นิทรรศการแสดงผลงานนั กเรีย น การเผยแพร่ ผลงานนักเรียนอันเป็นกิจกรรมสาคัญที่ส่งผลให้บรรลุผลของโครงการ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิ ธี ก ารตรวจสอบซ้ า ประเมิ น และตรวจสอบคุ ณ ภาพ โดยจั ด ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ ภาคเรียนละ 1 ครัง้  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง พบว่าสถานศึกษาได้ วิเคราะห์ขั้นตอนและทดลองใช้แล้วสรุปได้ว่าขั้นตอนของ Best Practice “งานสานไม้ไผ่ รอบบ้านพัฒนางานอาชีพ ” มีคุณภาพสามารถนาสู่การปฏิบัติได้ เกิดผลดีต่อการจัด การศึกษาเรียนร่วมในระดับดี

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  ขยายให้กับโรงเรียนเครือข่าย นาสู่การปรับใช้ในสถานศึกษา  ผู้บริหารและครูผู้ดาเนินงานทีมประสาน ได้รับคัดเลือกเป็นวิทยากรสามารถ เผยแพร่ขอ้ มูลในระดับจังหวัด  ขยายผลการจัดกิจกรรมในงานมหกรรมวิชาการระดับจังหวัด และคณะที่มา ศึกษาดูงานที่โรงเรียน  เผยแพร่ขอ้ มูลทางเวปไซด์ของโรงเรียน http://www.huaynamkhao.ac.th การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

309


310

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กิจกรรมการเรียนรู้.....สู่การบูรณาการ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา” นางพัฒน์รวี ฉัตรศรีทองกุล ครู โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี โทรศัพท์ 081-8585336 E-mail : nam1nom2@msncom

 เพื่อพัฒนานักเรียนให้มที ักษะการทางานร่วมกัน รู้จักแก้ปัญหา รูจ้ ักบูรณา การการเรียนรู้  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความสามารถและความสนใจ

ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2554 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายของสพฐ./สถานศึกษา “การบูรณาการการจัดการศึกษา” ภายใต้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียน อนุบาลกาญจนบุรี มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ตามความสามารถและความ สนใจ โดยบูรณาการการเรียนรู้ ทุกรูปแบบ เช่น กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมค่าย วิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน ศึกษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เพื่อ พั ฒ นาคุ ณภาพและมาตรฐานทุ ก ระดับตามหลั ก สู ตร บนพื้น ฐานความเชื่อ ว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนาสมดุลพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม อย่างเป็นองค์รวมทุกด้าน โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรีได้สร้างองค์ความรู้ ทักษะหรือ กระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จากกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งเป็น การบูรณาการองค์ความรู้ ทักษะและเจตคติที่เกิดจากการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ทัง้ นี้ยังสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของโรงเรียน คือ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมให้กับนักเรียนโดยสอดแทรกในกระบวนการ จัดการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยใช้ กิจกรรม การเรียนรู้...สู่การบูรณาการ

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 กาหนดแนวทางใน การจัดการศึกษาไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ฉะนั้นครูผู้สอน และ ผู้จัดการศึกษาจะต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ช้ีนา ผู้ถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้ ช่วยเหลือส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ และให้ขอ้ มูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียนเพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้สร้างสรรค์ความรู้ของตน การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เป็นการบูรณาการระหว่างวิชาต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ เจตคติและการกระทาที่เหมาะสมกับความต้องการและความสนใจ ของผู้เรียนอย่างแท้จริง ตอบสนองต่อคุณค่าในการดารงชีวติ ของผู้เรียนแต่ละคน เป็น การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

311

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ โดยเน้น เรื่องพัฒนาผู้เรียนให้มีระเบียบวินัย มีความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี และมีความรับผิดชอบ มี ทั ก ษะการท างานร่ ว มกั น รู้ จั ก การแก้ ปั ญ หา มี เ หตุ ผ ล มี ก ารตั ด สิ น ใจที่ เ หมาะสม ช่ว ยเหลื อ แบ่ ง ปั น และเอื้ อ อาทรและสมานฉั น ท์ ผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้เรียนได้ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ จึ ง จั ด ทา “โครงการ กิจ กรรมการเรี ย นรู้ . ..สู่ ก ารบู ร ณาการ” ขึ้น เพื่ อ ส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ทุกคนได้รับการพัฒนา การเรียนรู้ใน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นอนุบาล 1 -ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาล กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2554  ขั้นตอนการพัฒนา 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ 2) การวางแผนและนาเสนอโครงการ - กาหนดวัตถุประสงค์ และกาหนดรูปแบบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน 3) กาหนดแนวทางการเรียนรู้ - ติดต่อวิทยากร แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ัญญา - กาหนดรูปแบบ ออกแบบแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5) กากับ ติดตาม และประเมินผล - ประเมินผลทั้งผลผลิต กระบวนการ และปัจจัยป้อนเข้า - นาผลที่ได้จากการประเมินเป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในปี การศึกษาต่อไป แผนผังการจัดกิจกรรม การเรียนรู้.....สู่การบูรณาการ ศึกษาสภาพ ปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ

กากับ ติดตาม และประเมินผล

จัดกิจกรรมการ เรียนรู้.. สู่การ บูรณาการ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

วางแผนและ นาเสนอโครงการ

กาหนดแนวทางการจัด กิจกรรมการเรียนรู้... สูก่ ารบูรณาการ


312

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ  ติดตามการดาเนินงานกิจกรรมการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ ของแต่ ละสายชั้น  ประเมิ น ผลโครงการ ส ารวจความพึ ง พอใจนั ก เรี ย น ครู และ ผู้ปกครองโดยใช้แบบสอบถาม  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) พั ฒ นาให้ นั ก เรี ย นได้ รับประสบการณ์ จ ริ ง ที่ ห ลากหลาย ทั้ ง ด้ า นวิ ชาการ วิชาชีพ 2) นักเรียนได้ค้นพบตัวเองจากการการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ นอกห้องเรียน 3) นั ก เรี ย นได้ พั ฒ นาเจคติ ที่ ดี มี จิ ต ส านึ ก และท าประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คมและ ส่วนรวม 4) นักเรียนเห็นคุณค่าของการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง 5) นักเรียนเกิดทักษะชีวิต นาไปใช้ในชีวิตประจาวันของนัก เรียนอยู่ร่วมในสังคม ในอย่างมีความสุข

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นอนุบาล 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2554 จานวน 1,993 คน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นอนุบาล 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2554 จานวน 1,993 คน ได้เรียนรู้จากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย พัฒนานักเรียน ให้มีความรู้ ความสามารถตามความ ถนัดและความสนใจ ปลูกฝังค่านิยมและคุณลักษณะที่ดตี อ่ ตนเองและสังคม  ความพึ ง พอใจของผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง นั ก เรี ย น ครู ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึงพอใจ กิจกรรมการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ และให้การ สนับสนุนการจัดกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนเป็นอย่างดี ส่งผลต่อการเรียนและการ พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน เป็นแบบอย่างในการศึกษาดูงานของ โรงเรียนอื่นๆ  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ผู้ บริ ห ารสถานศึ ก ษาให้ ค าปรึ ก ษา สนั บสนุ น การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ . ..สู่ การบูรณาการ 2) คณะครูที่มีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ และร่วมมือใน การปฏิบัตกิ ิจกรรมเห็นความสาคัญของการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 3) ผู้ปกครองให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือในการจัดการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ 4) ชุมชนให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือในการจัดการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ 5) เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาทาให้เกิดคุณภาพในการจัดการศึกษาให้กับนักเรียน 6) โรงเรียนดาเนินการพัฒนานักเรียนได้อย่างมีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า 1) มีการรายงานการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้...สู่การบูรณาการ ให้ผู้มสี ่วน เกี่ยวข้องทราบ อย่างเป็นระบบ เป็นขัน้ ตอน 2) การนิเทศติดตาม และนาผลการนิเทศมาปรับปรุงการดาเนินงาน  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ทาให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง นักเรียน ครู และวิทยากรในชุมชน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรม การเรียนรู้...สู่การบูรณาการ เกิดการประสานร่วมมือกันในการจัดการศึกษา เพื่อบูรณา การในทุกเนื้อหาสาระการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และ ทักษะชีวิต นาทักษะไปใช้ทั้งในด้านการเรียนและการดาเนินชีวิตประจาวันของนักเรียน

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง เผยแพร่การจัดกิจกรรม การเรียนรู้....สูก่ ารบูรณาการ กับครูโรงเรียนอนุบาล กาญจนบุรี และคณะครู ผู้มาศึกษาดูงานของโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ในรูปแบบ จัดทา แฟ้มเอกสาร เช่น  คณะครูโรงเรียนบ้านเขากาแพง จังหวัดสุพรรณบุรี  โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 15 จังหวัดกาญจนบุรี  โรงเรียนอนุบาลสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม  โรงเรียนอนุบาลพิชัยสงคราม จังหวัดสมุทรปราการ  โรงเรียนอนุบาลอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง  โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดปราสาททอง) จังหวัดสุพรรณบุรี  โรงเรียนเทศบาล 2 จังหวัดกาญจนบุรี  โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง จังหวัดกาญจนบุรี  คณะผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลภาคกลางและภาคตะวันออก

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

313


314

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การบริหารจัดการชั้นเรียนแบบครูมืออาชีพ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา” นางปัทมา รุง่ สว่าง ครู โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม โทรศัพท์ 081-7589584 E-mail : Pat6615@hotmail.com

 นักเรียนปฏิบัตติ นตามสิทธิหน้าที่ รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น  นักเรียนปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ คาอบรมสั่งสอนของครู ตลอดจนไม่สร้าง ปัญหาในชั้นเรียน  นักเรียนเคารพรักศรัทธาครู และมีความสุขในการเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม  นักเรียนได้รับความอบอุน่ มีความใกล้ชิดสนิทสนมกับครู

ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2548 ถึง ปีการศึกษา 2554 ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมายสพฐ. / สถานศึกษา โรงเรียนดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและเป้าหมายของหน่วยงานทางการศึกษาทุก ระดั บ นามากาหนดในวิสัย ทัศ น์ พัน ธกิจ และเป้ าประสงค์ ของโรงเรี ยน โดยเปิ ด โอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการ สาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ จะได้รับการพัฒนาจากการบริหาร จัดการชั้นเรียน ในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล มีส่วนร่วมในกิจกรรม การเรียนรู้ ได้คิดลงมือทากิจกรรมอย่างกระตือ รือร้ น ตื่นตัว ตื่นใจ มีสิ่งกระตุ้น ที่ ก่อให้เกิดพฤติกรรมความใฝ่เรียนใฝ่รู้ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการดูแลสนับสนุนและอานวย ความสะดวกของครูมอื อาชีพในการจัดกิจกรรม การจัดบรรยากาศที่เหมาะสมจะส่งผล ต่อ ประสิ ท ธิ ภ าพการเรี ย นรู้ ข องเด็ ก ที่ มีค วามต้ อ งการจ าเป็ น พิ เศษ จนสามารถมี พัฒนาการเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยช่วยเหลือตนเองได้ ใช้ชีวิตประจาวัน ได้ และอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข

แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นครูมืออาชีพ ตามแนวความคิดของคูนิน (The Kounin Modle) ซึ่งได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการชัน้ เรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล จนถึง ระดับมหาวิทยาลัย จากการสังเกตชั้นเรียนเปรียบเทียบพฤติกรรมของการจัดชั้นเรียน บันทึกภาพกิจกรรมในชัน้ เรียนที่มีการจัดการที่ดี ทั้งที่มองเห็นได้ เช่น ความมีระเบียบ เรียบร้อยสวยงามหรือมีการวางแผนที่ดี การแบ่งสัดส่วนของการใช้ประโยชน์ของชั้น เรียนอย่างชัดเจน การใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หยิบใช้ได้อย่างสะดวก มีการเคลื่อนที่อย่างเป็น ระเบียบ ส่วนการจัดการชั้นเรียนที่ไม่มีประสิทธิภาพนั้น ได้แก่ ห้องเรียนที่ครูต้องคอย วุน่ วายกับการจัดระบบชั้นเรียนหรือการเรียนของนักเรียนถูกรบกวนตลอดเวลา หรือชั้น เรียนที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดของการสอนที่เน้นเนื้อหาทางวิชาการ คูนินเชื่อว่าครูที่สามารถจัดการชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพนั้นไม่ใช่เป็นเพียงเพราะ ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเท่านั้น หากแต่เพราะเป็นความสามารถในการ ป้องกันเกิดปัญหาตั้งแต่แรก นอกจากนี้ ครูเหล่านีย้ ังเน้นการสร้างห้องเรียนให้มี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

สิ่งแวดล้อมที่สง่ เสริมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ โดยการเตรียมการสอนและการ จัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและการให้นกั เรียนทางานตามที่ครูกาหนดให้ดีที่สุด การจัดชั้นเรียนทางด้านจิตวิทยา เป็นการจัดการชั้นเรียนที่มีความเข้าใจการ เรี ย นรู้ ก ารส่ ง เสริ ม ในจิ ต ใจของนั ก เรี ย น เพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนให้ ป ระสบ ความสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี โดยจัดการสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อการส่งเสริมความเข้าใจ ความกระตือรือร้นในการเรียน รวมถึงขจัดสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งรบกวนออก ซึ่งสิ่งเหล่านี้ เป็ น หน้า ที่ ของครู ที่ต้องจั ด การสิ่ง เหล่า นี้เพื่อ ให้ส มกั บการเป็ น ครู มือ อาชีพ ซึ่ง การ จัดการชั้นเรียนทางด้านจิตวิทยาประกอบด้วยบทบาทในการเป็นผู้นาของครู แบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1) ครูประเภทเผด็จการ เชื่อว่า ตนเองมีความรับผิดชอบต่อการดาเนินการ ใด ๆ ในชั้นเรียนตั้งแต่การจัดตกแต่งห้องเรียนทางกายภาพเพื่อการจัดระเบียบในชั้น เรียน การจัดตารางเรียนที่ไม่ยืดหยุน่ จากความคิดเช่นนี้ ครูจึงมีความรับผิดชอบที่จะ กาหนดกฎระเบียบทั้งหมดของชั้นเรียน ซึ่งรวมถึงการกาหนดบทลงโทษแก่นักเรียนที่ ประพฤติผิด กฎด้วยตัวของครูเองทั้งหมด ครูที่มีลักษณะเช่นนี้ มีความเชื่อว่าตนเองมี ความรู้เป็นสาคัญทั้งในด้านการบรรยาย การแสดงความคิดเห็นและการกาหนดงานให้ นักเรียนทา นักเรียนมีหน้าที่เชื่อฟังและทาตามกฎระเบียบและงานที่ครูกาหนดให้ทา 2) ครูประเภทปล่อยปะละเลย จะมีลักษณะโอนอ่อนผ่อนตามและไม่มีพลัง ในชั้นเรียนอาจมีกฎระเบียบเพียงเล็กน้อยให้นักเรียนได้ปฏิบัติและไม่ได้ให้ความสนใจกับ การที่นักเรียนต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างสม่าเสมอ การลงโทษของครูประเภทนี้ มักจะให้อภัย ไม่ค่อยเอาจริงเอาจังกับนักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบและดูเหมือนครูจะ ไม่มีอานาจมากเพียงพอที่จะทาให้นักเรียนทางานตามที่ครูกาหนด บรรยากาศในชั้น เรียนเช่นนี้จะทาให้นักเรียนรู้สึกสับสน เพราะไม่รู้ว่าครูต้องการให้นักเรียนทาอะไรหรือ เป็นอย่างไร จึงเป็นที่พึงประสงค์ของครู ลักษณะครูประเภทนี้ จะทาให้ชั้นเรียนขาด ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพราะนักเรียนแต่ละคนก็จะทาในสิ่งที่ตนเองพึงพอใจที่ครู ก็ไม่ได้ว่าอะไร 3) ครูประเภทประชาธิปไตย จะมีลักษณะของความเป็นเผด็จการหรือปล่อย ปะละเลย แต่จะมีความมั่นคงมีเหตุผลเกี่ยวกับความคาดหวังของตนที่มีค่าการเรียนรู้ และการแสดงพฤติกรรมของเด็ก ครูจะใช้การอภิปรายร่วมกับนักเรียนและให้นักเรียนมี ส่วนร่วมในการกาหนดกฎระเบียบของชั้นเรียน รวมทั้งกาหนดโทษ หากมีการฝ่าฝืนกฎ นอกจากนี้ อาจร่วมกับนักเรียนในการทบทวนกฎระเบียบของชั้นเรียนได้อยู่เสมอ หาก มีความจาเป็นเพื่อให้กฎระเบียบเหล่านั้นมีความเหมาะสมต่อการนาไปปฏิบัติ ครูที่เป็น ประชาธิปไตยจะเป็นผู้ที่พร้อมจะตัดสินปัญหาใด ๆ แต่ก็ยอมรับความคิดเห็นและความ ต้องการของนักเรียน ผลของการเป็นครูประชาธิปไตยจะเป็นการสร้างพลังของความ เชื่อมั่นและความรู้สกึ ของการเป็นเจ้าของชั้นเรียนให้กับนักเรียนในทานองเดียวกันก็จะทา ให้ครูรู้สกึ ถึงบรรยากาศที่ดใี นห้องเรียนนั้น

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

315


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

316

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนเด็กพิเศษโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ปีการศึกษา 2554 ห้องคู่ขนานบุคคลออทิสติก  ขั้นตอนการพัฒนา กำหนดวัตถุประสงค์ สร้ำงกระบวนกำรบริหำรจัดกำรชัน้ เรียน จัดชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยำกำศกำร

จัดชั้นเรียนด้ำนสิ่งแวดล้อม

จัดชั้นเรียนด้ำนจิตวิทยำ

กำยภำพ

ผู้เรียนมีควำมสุข/ได้รับกำรพัฒนำเต็มตำมศักยภำพ ช่วยเหลือตนเองได้ และอยู่ในสังคมได้อย่ำงเป็นสุข  การตรวจสอบคุ ณ ภาพ โรงเรี ย นมี ก ารตรวจสอบคุ ณ ภาพ โดยศู น ย์ การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดกาญจนบุรี สพป.กจ.1 ผู้บริหารสถานศึกษาใช้วิธีการ ประเมินผลการดาเนินงาน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินจะมีหลากหลาย เช่น แบบ สารวจ แบบสังเกต เป็นต้น และเมื่อประมวลผลจากการประเมินแล้วาจะนาผลที่ ได้มาปรับปรุงและพัฒนา ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป ซึ่งจะเป็นกระบวนการพัฒนา เด็กที่มคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  เชิงปริมาณ เด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษทุกคนในโรงเรียน จานวน 43 คน ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ โดยช่วยเหลือตนเองได้ ใช้ชีวิตประจาวันได้ และอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข  เชิงคุณภาพ เด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ จนสามารถเข้าร่วมประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการ ได้รับรางวัล ดังนี้ 1) ประกวดเล่านิทานคุณธรรม ช่วงชั้นที่ 2 ประเภทบุคคลออทิสติก ปี 2552 เหรียญ ทองยอดเยี่ยม ระดับประเทศ 2) ประกวดจัดสวนถาดแบบแห้ง ไม่จากัดช่วงชั้น ประเภทบุคคลออทิสติก ปี 2552 เหรียญทองยอดเยี่ยม ระดับประเทศ 3) ประกวดร้องเพลงไทยลูกทุง่ ไม่จากัดชัน้ ประเภทบกพร่องทางการเห็น ปี 2552 เหรียญทอง ระดับประเทศ 4) ประกวดคัดลายมือ ช่วงชั้นที่ 1 ประเภทบุคคลออทิสติก ปี 2553 ระดับเหรียญทอง ระดับภูมภิ าค 5) ประกวดจัดสวนถาดแบบแห้ง ไม่จากัดช่วงชั้น ประเภทบุคคลออทิสติก ปี 2553 ระดับเหรียญเงิน ระดับภูมภิ าค

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

6) ประกวดวาดภาพระบายสี ช่วงชั้นที่ 1 ประเภทบุคคลออทิสติก ปี 2553 ระดับ เหรียญทองแดง ระดับภูมภิ าค 7) ประกวดการจัดสวนถาดแบบแห้ง (ออทิสติก) ไม่จากัดช่วงชั้น ปี 2554 เหรียญทองชนะเลิศ ระดับประเทศ 8) ประกวดการเต้น หางเครื่องประกอบเพลง (ออทิ สติก) ไม่จ ากั ดช่วงชั้น ปี 2554 เหรียญทองชนะเลิศ ระดับประเทศ  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ความพึงพอใจจากผู้ปกครอง คิดเป็นร้อย ละ 95 โดยการประชุมผู้ปกครองก่อนเปิดภาคเรียน ซึ่งใช้แบบสอบถาม  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ผู้บริหารสถานศึกษา 2) บุคลากรในโรงเรียน เช่น ครูทุกคน นักเรียน 3) ผู้ปกครองนักเรียน 4) คณะกรรมการสถานศึกษา

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ ปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า การตรวจสอบซ้าใช้วธิ ีการเดิมที่ตรวจสอบในครั้ง แรกเพื่อดูความเที่ยงตรงของกระบวนการดาเนินงาน  ผลการตรวจซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นาผลประเมินมาปรับปรุง พัฒนาเทคนิคการสอนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้นและมีการเผยแพร่อย่างแพร่หลาย

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง 1) 2) 3) 4) 5) 6)

ประชาสัมพันธ์ในสารสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียน รายงานให้คณะกรรมการสถานศึกษาทราบ รายงานให้หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ประชาสัมพันธ์ทางเคเบิล้ ทีวีของท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์ให้แก่โรงเรียนภายในกลุ่มเครือข่าย จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ ในระหว่างโรงเรียนแกนนาจัดการ เรียนร่วม 7) ประชาสัมพันธ์โดยศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดกาญจนบุรี

บทสรุปและความภาคภูมิใจ    

เด็กพิเศษได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมีทักษะทางสังคมดีข้นึ ลดข้อจากัดในการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ เด็กพิเศษยอมรับตนเอง และประสบผลสาเร็จในการดาเนินชีวติ เด็กพิเศษสามารถเข้าร่วมประกวด และแข่งขันความสามารถด้านต่าง ๆ ทั้งใน เวทีระดับจังหวัด ระดับภูมภิ าค และระดับชาติ ได้รับรางวัลและเกียรติบัตร จานวนมากมาย  ผู้ปกครองเด็กพิเศษทุกคนมีความสุข และความภาคภูมใิ จในความสาเร็จของ เด็กพิเศษ  ครูและบุคลากรในโรงเรียนให้การยอมรับเด็กพิเศษทุกคน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

317


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

318

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

มหัศจรรย์กับคณิตศาสตร์ เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา”

นางสุจรรยา ประยูรมหิศร ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 086-1602608 E-mail : ppra13@gmail.com

 เพื่อให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานอย่างเต็มศักยภาพ  เพื่อ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ แ บบบู ร ณาการ เรื่อ ง“มหั ศ จรรย์กั บ คณิตศาสตร์” นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  เพื่อ ศึก ษาผลการใช้ก ารจั ด การเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ แ บบบู รณาการ เรื่อ ง “มหัศจรรย์กับคณิตศาสตร์ ” ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและ หลังเรียน  เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์แบบบูรณา การ เรื่อง“มหัศจรรย์กับคณิตศาสตร์” นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

ระยะในการพัฒนา ตลอดปีการศึกษา ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยปรับและ พัฒนาตลอดเวลา

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ/สถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 กาหนดแนวทางใน การจัดการศึกษาไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ฉะนั้นครูผู้สอน และ ผู้จัดการศึกษาจะต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ช้ีนา ผู้ถ่ายทอดความรู้ ไป เป็นผู้ช่วยเหลือส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่ง การเรี ยนรู้ และให้ข้ อมู ลที่ ถูกต้องแก่ ผู้เรีย นเพื่อ นาข้อ มูลเหล่ านั้นไปใช้ส ร้า งสรรค์ ความรู้ของตน จุดเน้น เพื่อเพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ สร้างทางเลือกในการ เรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลด อัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพส่งเสริมการจัดการศึกษาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ดังนั้นการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ ปั ญ หา และน าไปใช้ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสม นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์ อื่น ๆ คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา การศึกษาแนวใหม่ได้จาแนกทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์ออกเป็น 3 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีแห่งการฝึกฝน (Drill Theory) เชื่อว่า การฝึกทาสิ่งนั้นซ้าๆ หลายๆ ครั้ ง การสอนเริ่ ม โดยครู บ อกสู ต รหรือ กฎเกณฑ์ใ ห้ แล้ ว ให้ เ ด็ ก ท าแบบฝึ ก หั ด มากๆ จนกระทั่งเด็กมีความชานาญ 2) ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้โดยบังเอิญ ( Incedental learning Theory) เชื่อว่าเมื่อ เด็กเกิดความพร้อม หรืออยากเรียนรู้ในสิ่งนั้นๆ การสอนจะพยายามให้นักเรียนเรียน คณิ ต ศาสตร์ ใ นบรรยากาศที่ ไ ม่ เ คร่ ง เครี ย ด และน่ า เบื่ อ หน่ า ย สอนโดยมี กิ จ กรรม หลากหลายและยึดนักเรียนเป็นสาคัญ 3) ทฤษฎีแห่งความหมาย( Meaning Theory) เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้และเข้าในใน สิ่ ง ที่ เรี ย นได้ ดี เมื่ อ เด็ ก ได้ เรี ย นใน สิ่ ง ที่ มีค วามหมายต่อ ตั ว เอง เรี ย นให้ มีค วามหมาย โครงสร้าง Concept และให้นักเรียนเห็นโครงสร้างของคณิตศาสตร์ ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่ (Gagne)  การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้  การรั บรู้ ต ามเป้ าหมายที่ตั้งไว้ (Apprehending Phase) ผู้เรีย นจะรับรู้สิ่ ง ที่ สอดคล้องกับความตัง้ ใจ  การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจา(Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจาระยะ สั้นและระยะยาว  ความสามารถในการจา (Retention Phase)  ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว (Recall Phase )  การนาไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase)  การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ ( Performance Phase)  การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน ( Feedback Phase) ผู้เรียนได้รับทราบ ผลเร็วจะทาให้มีผลดีและประสิทธิภาพสูง เทคนิคการสอนแบบ CIPPA การจัดกิจกรรมโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนไดเรียนรูจากการปฏิสัมพันธกับบุคคลและ สิ่งแวดล้อมรอบตัว ผ่านกิจกรรมหลากหลายที่เอื้อให้ผู้ เรียนเกิดความตื่นตัวไดเรียนรู้ สาระควบคูไปกับการเรียนรูกระบวนการ รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกฝนการประยุกต์ใช้ ความรู และทั ก ษะกระบวนการนั้ น ๆจนเกิ ด เป็ น ความสามารถในการน าไปใช้ ใ น ชีวติ ประจาวัน ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู มี 7 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นทบทวนความรูเดิม 2.ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ 3.ขัน้ การศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล 4.ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู 5.ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู 6.ขั้นการแสดงผลงาน 7. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

319


320

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย จานวนนักเรียนทั้งหมดในแต่ละปีการศึกษา  ขั้นตอนการพัฒนา ขั้นตอน 1 การวิเคราะห์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชัน้ ที่ 1 ขั้นตอน 2 การศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร กาหนดสาระการเรียนรู้ หน่วยการ เรีย นรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวั ง คาอธิบายรายวิชา กิจกรรมการ เรียนการสอน ขั้นตอน 3 วางแผนการจัดทาแผนการเรียนรู้ ขั้นตอน 4 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอน 5 ออกแบบการเรียนรูท้ ี่เน้นบูรณาการ ขั้นตอน 6 ใช้เ ครื่ อ งมื อ ประเมิ น ผลเหมาะสมสอดคล้ อ งกั บ วิ ธีก ารสอนแบบ บูรณาการ ขั้นตอน 7 การบันทึก เขียนรายงาน ใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติในการพัฒนา ต่อไป  การตรวจสอบคุณภาพ ใช้แบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรม ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่สร้างขึ้น แบบประเมินความพึงพอใจ นาผลการ ประเมินที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อดูคุณภาพ ของ  ผลการตรวจสอบคุณภาพ องค์ความรู้ที่เกิดกับผูเ้ รียนหลังจากที่ได้จัด กิจ กรรมการเรียนรู้เพื่อ พั ฒนาการเรีย นรู้คณิตศาสตร์แบบบูรณาการ เรื่อ ง “มหัศจรรย์กับคณิตศาสตร์” ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ปรากฏว่า 1) นักเรียนได้รับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอย่างเต็มศักยภาพ 2) ครูมีสื่อและแผนการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์แบบบูรณาการ เรื่อง“มหัศจรรย์ กับคณิตศาสตร์” 3) ประยุกต์ใช้ในการการเรียนการสอน 4) การเรียนของนักเรียนก่อนและหลังใช้แผนการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์แบบ บูรณาการเรื่อง “มหัศจรรย์ กับคณิตศาสตร์ ” มีการพัฒนาดีในทางที่ดีขนึ้ 5) นักเรียนเกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรูไ้ ด้ตามศักยภาพ และมีเจตคติท่ดี ีตอ่ วิชา คณิตศาสตร์  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) ใช้ในการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์และปลูกฝังให้เกิดเจตคติท่ดี ีตอ่ วิชา คณิตศาสตร์ 2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ช่วยให้เด็กทากิจกรรมพัฒนาทักษะทาง คณิตศาสตร์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนน าความรู้ด้านทักษะทางคณิตศาสตร์ ประยุกต์กับการบูรณาการ ความรู้ในกับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 80 2) นักเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนสามารถนาความรู้ไปสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างเต็มศักยภาพ 2) นักเรียนสารถนาความรู้ไปบูรณาการประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่น 3) นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์  ความพึ ง พอใจของผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง การตรวจสอบความพึ ง พอใจของ นักเรียนได้มาจากการสังเกตพฤติกรรม การสอบถาม การประเมินผลงาน คิดเป็น ร้อยละ 80  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ 2) นักเรียนเกิดความสามัคคี ความอดทน การเปิดใจเรียนรู้สิ่งใหม่และมีความ มุ่งมั่น 3) ผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ฝึกให้ผู้เรียน ใช้เทคนิคที่หลากหลายพร้อมกับ ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข พัฒนาสื่อการเรียนการสอนทักษะทางคณิตศาสตร์ให้มีรูปแบบใหม่ๆเสมอ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของนักเรียนแล้วดาเนินการฝึกและทาซ้าๆ ใช้กระบวนการจัดการ ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนสามารถ พัฒนาการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ในการเรียนรูไ้ ด้ดีขนึ้ และมีเจตคติท่ดี ีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  นั ก เรี ย นมี ผ ลงาน ชิ้ น งาน ครบถ้ว นตามที่ ค รูก าหนดที่ เกิ ด จากการ ปฏิบัติงานของนักเรียนตามหลักสูตร มีผลการปฏิบัติงานของนักเรียนมีคุณภาพ ตามเกณฑ์ที่กาหนดในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 80 เข้าร่วมนาเสนอในเวที คุณภาพต่างๆ จัดแสดงการประกวดนักเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรมและ การจัดทาวารสารแผ่นพับเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

321


322

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การพัฒนาชุดกิจกรรมโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องการสร้างสรรค์ ภาพตัดปะแบบพอเพียง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ” เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางศุภวรรณ ทักษิณ ครู โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร โทรศัพท์ 086-3462114 E-mail : supphawan@gmail.com

 เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องการสร้างสรรค์ภาพตัดปะ แบบพอเพีย ง ของนั ก เรี ย นชั้น มั ธยมศึก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นเขาดิ น วิทยาคาร สพป.กจ.1  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมโดยใช้ปัญหา เป็นฐาน เรื่องการสร้างสรรค์ภาพตัดปะแบบพอเพียง กับการเรียนให้ห้องเรียน ปกติ  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องการสร้างสรรค์ภาพตัดปะแบบพอเพี ยง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สพป.กจ.1 ระยะเวลาในการพัฒนา มิถุนายน – สิงหาคม 2555

การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป./สพฐ กลยุทธ์ที่ 1 พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ตามหลั ก สู ต รและ ส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ จุ ด เน้ น ที่ 4 เพิ่ ม ศั ก ยภาพนั ก เรี ย นด้ า นคณิ ต ศาสตร์ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และด้ า น เทคโนโลยี กลยุทธ์ 2 ปลูกฝักคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชี วิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จุดเน้นที่ 2 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการ ขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูแนละบุคลากรทากการศึกษาสู่มืออาชีพ นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาได้ รั บ การพั ฒ นาเตรี ย มความพร้ อ มสู่ ประชาคมอาเซียน มีภูมิคมุ้ กันต่อการเปลี่ยนแปลงและ สั ง ค ม พ หุ วัฒนธรรม โดยการพัฒ นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้งระบบให้ สามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การที่โลกมีความเจริญก้าวหน้า มีความเปลี่ยนแปลงมากและมีการแข่งขันสูงขึ้น ปรั ช ญาในการเรี ย นรู้ จึ ง ต้ อ งเปลี่ ย นแปลงไปเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสอดคล้ อ งกั บ ความ เปลี่ ย นแปลงและพั ฒ นาการทางด้ า นต่า งๆ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ แ บบสร้ า งสรรค์ นิย ม (Constructivist learning theory) เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่รับความสนใจมากที่สุด เพราะมี แนวคิ ดที่สอดคล้อ งกับการจัด การศึกษาในศตวรรษที่ 21 มากที่สุด กล่ าวคือ เป็ น ทฤษฎีที่มีความเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างความรู้ที่เป็นของตนเอง ขึน้ มาจากความรู้ที่มีอยูเ่ ดิมหรือจากความรูท้ ี่รับเข้ามาใหม่ ด้วยเหตุนี้ ห้องเรียนใน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ศตวรรษที่ 21 จึงไม่ควรเป็นห้องเรียนที่ครูเป็นผู้จัดการทุกสิ่งทุกอย่าง โดยนักเรียนเป็น ฝ่ายรับ แต่ต้องให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติเอง สร้างความรู้ที่เกิดจากความเข้าใจของ ตนเอง และมีส่วนร่วมในการเรียนมากขึ้น รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เกิดจากการ ประยุกต์ใช้ของทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม รูปแบบหนึ่งได้แก่รูปแบบการสอน โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Baseก Learning) รูปแบบการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Baseก Learning) เป็นรูปแบบ ที่มีความเหมาะสมยิ่งในการพัฒนาให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้อ ง ทาให้ผู้เรียน สร้างความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาที่มีความหมายต่อตัวนักเรียนและเกิดขึ้นจริงเป็นตัว เชื่อมโยงให้เกิดการเรียนรู้ มุ่งเน้นกระบวนการทางานที่ตอ้ งอาศัยความร่วมมือและการ แก้ไขปัญหาเป็นหลัก ทาให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางสร้างแรงจูงใจในการเรียน คงสภาพการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการคิด พัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และการ นาเสนอ พัฒนาบุคลิกภาพที่ดี สะท้อนการทางานเป็นทีม ช่วยพัฒนาวิธีการเรียนรู้ให้แก่ ผู้เรียน เป็นการบูรณาการสาระเรียนรู้ ให้แหล่งข้อมูล ในการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ พัฒนาสัมพันธภาพ มีความสนุกสนานในการเรียน เป็นการ จั ด การเรี ย นรู้ แ บบผุ้ เ รี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลาง พั ฒ นาพื้ น ฐานการวิ จั ย พั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษา วางพื้นฐานในการทางานในอนาคตให้แก่ผู้เรียนได้  ขั้นตอนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Baseก Learning) 1) นาเสนอปัญหาแก่ผู้เรียน 2) ผู้เรียนร่วมกัน อภิปราย ชี้ชัดข้อเท็จจริงของปัญหา ระดมสมองโดยใช้ความรู้ พื้นฐานของตัวผู้เรียน ร่วมกันสรุปว่าปัญหาคืออะไร มีอะไรบ้างที่ต้องเรียนรู้เพิ่ม และสิ่ง ใดบ้างที่ทาให้เกิดปัญหา จากนั้นร่วมวางแผนการทางาน 3) ผู้เรียนศึกหาความรู้เพิ่มเติมเป็นรายบุคคล จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่น ห้องสมุด ฐานข้อมูล อินเตอร์เน็ต หรือบุคคล 4) ผู้เรียนนาข้อมูลที่ได้รับกลับมาแบ่งปันให้กับเพื่อนๆในกลุ่ม เพื่อร่วมกันทางาน อีกครัง้ 5) กลุ่มนาเสนอผลการทางานของกลุ่ม ร่วมอภิปรายกันระหว่างกลุ่ม นาเสนอ ข้อสรุปว่า ได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับการแก้ปัญหา รวมทั้งนาเสนอกระบวนการได้มาซึ่ง ข้อสรุปด้วย

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร ปี การศึกษา 2555 จานวน 26 คน  ขั้นตอนในการพัฒนา 1) การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 2) การพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3) การดาเนินการทดลอง 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

323


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

324

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

5) การจัดกระทาวิเคราะห์ขอ้ มูล สรุปและอภิปรายผล  การตรวจสอบคุณภาพ 1) การตรวจสอบชุดกิจกรรมด้วยผู้เชี่ยวชาญ 2) การหาค่าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของชุดกิจกรรม 3) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหว่างกลุ่มนัก เรียนที่เรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมและ นักเรียนที่เรียนปกติ 4) การใช้ แ บบสอบถาม สอบถามความพึ ง พอใจของผู้ เ รี ย นที่ เ รี ย นรู้ โ ดยใช้ ชุ ด กิจกรรมฯ  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ สามารถน าไปใช้ เ ป็ น แนวทางในการจั ด กิจกรรมบูรณาการในการเรียนรู้เรื่องต่างๆที่น่าสนใจต่อไปได้

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา 1) ชุดกิจกรรมการสร้างสรรค์ภาพตัดปะแบบพอเพียง โดยการใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สพป.กจ.1มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลตามเกณฑ์ที่กาหนด 2) นักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องการสร้างสรรค์ ภาพตั ด ปะแบบพอเพี ย ง มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรู้ สู ง กว่ า นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นรู้ ใ น ห้องเรียนห้องเรียนปกติ 3) นั ก เรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจต่ อ ชุ ด กิ จ กรรมการสร้ า งสรรค์ ภ าพตั ด ปะแบบ พอเพียง โดยการใช้ปัญหาเป็นฐาน ระดับมากที่สุด  ปั จ จั ย ความส าเร็ จ ของการพั ฒ นา การได้ รั บ การสนั บ สนุ น ห้ อ งเรี ย น คอมพิวเตอร์จากงบประมาณของทางราชการ ทาให้โรงเรียนมีจานวนคอมพิวเตอร์ที่ สามารถใช้งานได้ดี ที่สามารถเอื้ออานวยในการพัฒนานักเรียนได้ และนโยบายของ ผู้บริหารสถานศึกษาที่มุ่งสนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจซ้า นาชุดกิจกรรมไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 2 สามารถปฏิบัติกิจ กรรมที่กาหนดในชุดกิจกรรมได้ และ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อาจต้องมีการปรับกิจกรรมให้มีระดับความง่าย มากขึ้น

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

325

3R พัฒนาเด็กพิเศษ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์การพั” ฒนา 1. 2. 3. 4. 5. 6.

เพื่อพัฒนาผู้บกพร่องทางด้านการเรียนรู้ ให้กล้าแสดงออกตามศักยภาพ เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียนที่บกพร่องทางด้านการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการมีนาใจ ้ การมีจิตอาสา แบ่งปันความสุขให้กบั น้องๆ เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้มารยาทในการอยูร่ ่วมกับผู้อื่น เพื่อให้นักเรียนแสดงความสามารถที่มีอยูม่ าใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้นักเรียนฝึกการช่วยเหลือตนเองและพึ่งพาตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ระยะเวลาในการพัฒนา มิถุนายน - กันยายน 2554 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ./สถานศึกษา  สอดคล้องกับกลยุทธ์ สพฐ. ข้อ 1 การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ ข้อ 2 ขยายโอกาสทางการศึก ษาขั้น พื้นฐานของประชากรโรงเรีย นอย่า งกว้า งขวาง ทั่วถึง (กิจกรรมสาคัญ คือ ส่งเสริมเด็กปฐมวัยเข้าเรียน การเกณฑ์เด็กภาค บัง คั บ ทุก คน ทุ กกลุ่ ม เข้า โรงเรีย นโดยเพิ่ม โอกาสเด็ ก ตกหล่น เข้ าเรี ยนและ ส่งเสริมเรียนต่อ ม.ปลาย) ข้อ5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ภาคเอกชน และท้องถิ่นใน การ จัดการศึกษา (กิจกรรมสาคัญ คือ เพิ่มบทบาทคณะกรรมการการศึกษาและเขต พื้นที่การศึกษาปรับโครงสร้างและเพิ่มบทบาทหน้าที่สมาคมผู้ปกครองส่วนท้องถิ่น จัดการศึกษารูปแบบสหการ)  สอดคล้องกับกลยุทธ์โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ ข้อ 6 ยกระดับคุณภาพชีวติ ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ข้อ 7 การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ จากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ที่กล่าวมาข้างต้นมีประเด็นสาคัญ 2 ประการ คือ การให้ โ อกาสทางการศึ ก ษากั บนั ก เรี ย นเรี ย นร่ ว มและการมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ฝ่ า ยที่ เกี่ยวข้องซึ่งสอดคล้องกับหลักการของ PART SEAT ทีเ่ น้นตามหลักการมีส่วนร่วมใน ทุกขั้นตอนของการดาเนินการ อีกทั้งการสร้างโอกาสเพื่อพัฒนานักเรียนเรียนร่วมให้มี ความสามารถตามศักยภาพของแต่ละบุคคล

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา จากคิ ด ค้ น รู ป แบบการบริ ห าร PART SEAT ได้ ศึ ก ษาแนวคิ ด หลั ก การ ทฤษฎี ต่าง ๆ ดังนี้  โครงสร้าง SEAT

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ว่าที่ ร.ต. วสันต์ วีรเสนีย์ ครู โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ โทรศัพท์ 081-2921372 E-mail : ksmmm@hotmail.com


326

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 นักเรียน S-Students 1) โรงเรียนเตรียมความพร้อมนักเรียนพิการเรียนร่วมหรือนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ /คัดกรอง/ทาแผน IEP / ทาแผน IIP / ใช้กระบวนการเรียนการสอน / วัดผลประเมินผล 2) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเด็กพิการเรียนร่วม เกิดการยอมรับและสามารถ ปฏิบัตแิ ละให้ความช่วยเหลือต่อเด็กพิการได้ 3) การจัดการช่วยเหลือดูแลเพื่อน ระบบเพื่อนช่วยเพื่อน  สภาพแวดล้อม E-Enviromnent 1) โรงเรียนจัดให้มีห้องบริการสอนเสริมวิชาการแก่เด็กที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้เป็นเอกเทศ จัดสภาพแวดล้อมร่มรื่นสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ 2) ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ โดยการศึกษาดูงาน อบรม สัมมนา เป็น ระยะ ๆ ตลอดเวลา 3) จัดแต่งตัง้ คณะกรรมการการจัดการเรียนร่วม 4) จัดให้มีส่ือ สิ่งอานวยความสะดวกบริการแก่เด็กที่มีความบกพร่ องทางการเรียนรู้ เช่น สื่อ IT ต่าง ๆ  กิจกรรมการเรียนการสอน A-Activities 1) โรงเรี ย นมีก ารปรั บปรุ ง หลั ก สู ต รที่ เอื้อ กั บนัก เรี ย นที่ มีความบกพร่อ งทางการ เรียนรู้ โดยจัดทาในลักษณะของการบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้หรือ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ซึ่ งได้กาหนดไว้ใน แผนการจั ดการศึก ษา IEPแผนและ แผนการสอนเฉพาะบุคคล IIP 2) การจัดการเรียนการสอน โดยนาเทคนิคการสอนต่าง ๆ การให้เด็กมีส่วน ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ระบบเพื่อนช่วยเพื่อน การเรียนแบบร่วมมือ การ สอนเสริม การจัดการพฤติกรรมในชัน้ เรียน 3) การวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการเฉพาะบุคคลรายงานความก้าวหน้า ของนักเรียน  เครื่องมือ T-Tools หลักการ SBM ซึ่งประกอบด้วยหลักดุลยภาพ หลักการริเริ่ม หลักการ กระจายอานาจ และหลักระบบบริหารจัดการตนเอง โดยเฉพาะหลักการกระจาย อานาจ หลักการมีส่วนร่วม (Participation or Collaboration or Involvement) เปิด โอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียได้มีสว่ นร่วมในการบริหาร ตัดสินใจ และ ร่วมจัดการศึกษา ทั้งครู ผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนศิษย์เก่า และตัวแทน นักเรียน การที่บุคคลมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ และจะรับผิดชอบในการจัดการศึกษามากขึน้  หลั ก การวั ฎ จั ก รเดมิ่ ง ประกอบด้ ว ย 4 ขั้ น ตอน คื อ การ วางแผน (P) การลงมือปฏิบัติ (D) การตรวจสอบ (C) และการปรับปรุงระบบ วิธีการทางาน (A)

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

327

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ทฤษฎีความต้องการ 5 ขั้นของ อับราฮัม มาสโลว์ ซึ่งประกอบด้วย ความต้องการด้าน กายภาพ ความปลอดภัย ความต้องการด้านสังคม ความต้องการได้รับการยกย่องนับ ถือ และความต้องการสาเร็จสมหวังในชีวิต จากหลักการและทฤษฎีขา้ งต้น ถือเป็นแนวคิดพืน้ ฐานในการนามาประยุกต์ใช้กับ รูปแบบการบริหาร PART SEAT ที่ทาให้ทุกคนตระหนักว่าการทางานเป็นทีม ประกอบ กับการมีส่วนร่วม รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง และการให้ความสาคัญให้การยอมรับ ใน ความสามารถของแต่ละบุคคล และการทางานอย่างเป็นระบบขั้นตอน ซึ่งทุกส่วนถือ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ เมื่อนามาประยุกต์ใช้จะสามารถทาให้การทางานขับเคลื่อนไป ได้อย่างราบรื่น บรรลุวัตถุประสงค์ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย  นักเรียนเรียนร่วม จานวน  ครู จานวน  ผู้ปกครองนักเรียนเรียนร่วม จานวน  โรงเรียนเครือข่าย จานวน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) ประชุมคณะทางาน 2) เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 3) แต่งตัง้ คณะกรรมการ 4) ดาเนินการตามโครงการ  ขอสื่อเพื่อโครงการนิทานนี้เพื่อน้อง  จัดกิจกรรมตามโครงการนิทานนี้เพื่อน้อง - กิจกรรมสอนน้องหน่อย - กิจกรรมเล่านิทาน - กิจกรรมหนูลองทาหนูทาได้  สรุปกิจกรรม 5) ผู้รับผิดชอบโครงการสรุปผลการดาเนินการ  เทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรม เทคนิค 3 R 1) Repeat สอนซ้า ๆ 2) Routine สอนเป็นประจา สม่าเสมอ 3) Relaxation สอนแบบผ่อนคลาย

33 20 33 10

คน คน คน โรงเรียน

การตรวจสอบคุณภาพ เพื่อให้เกิดผลที่ดีเลิศในการบริหารงานการจัดการเรียนร่วม จึงได้นามาพัฒนา ปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพโรงเรียน นักเรียน และบริบทต่างๆ เพื่อให้การดาเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ดาเนินการดังนี้ 1) ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารร่วมกับทุกฝ่ายในการดาเนินการประเมินทบทวนตาม ขั้นตอนของการดาเนินงานตามรูปแบบ PART SEAT เพือ่ ให้ทุกฝ่ายได้ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

328

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แลกเปลี่ยนประสบการณ์ บอกเล่าปัญหาอุปสรรค ในการทางานโดยร่วมคิด ร่วม วางแผน ร่วมปรับปรุง และร่วมพัฒนา 2) จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจ PART SEAT ของครูและผู้ปกครอง  จากการตรวจสอบคุณภาพของ PART SEAT พบว่า 1) ขั้นตอนการดาเนินงานมีความครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถเชื่อมโยงความ ต่อเนื่องในการช่วยเหลือการพัฒนาเหมาะสมกับนักเรียนเรียนร่วม 2) ผู้เกี่ ย วข้ อ งมีค วามรู้ ค วามสามารถ และประสบการณ์ใ นการด าเนิน งาน อั น เนื่ อ งมาจากกระบวนการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในรู ป แบบ “COACHING” 3) จากการประเมินโดยผู้ปกครองนักเรียนเรียนร่วม และครู มีความพึงพอใจ ในระดับมาก เนื่องจากนักเรียนกลุ่มเป้าหมายพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถเรียนรู้ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ PART SEAT เป็นการดาเนินการที่ เกิดจากการสร้างสมประสบการณ์เก็บเกี่ยวผลการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง รวบรวม ข้อมูล ในแต่ละระดับขั้น เป็นรูปแบบที่มีขั้นตอน ทิศทางการดาเนินงานที่มีความ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น การนา ดังกล่าวไปใช้ย่อมทาได้ในสถานศึกษาที่มีบริบทใกล้เคียง ดังนี้ 1) ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ SBM , โครงสร้าง SEAT 2) บุคลากร สามารถดาเนินการในรูปแบบเครือข่าย ประกอบด้วย ทีมนา ทีมทา ทีมประสาน และทีมสนับสนุน แต่ละทีมเข้าใจบทบาทของตนเอง และมีความ ตระหนัก ในการเชื่อมโยงความรู้ ความสามารถระหว่างทีม 3) ผู้ปกครองมี ความพร้ อมยอมรั บการดาเนินงานในรูปแบบ PART SEAT ในการบริหารจัดการ การเรียนร่วมของสถานศึกษา

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา 1) 2) 3) 1) 2) 3) 4)

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนเรียนร่วมทุกคนได้รับการพัฒนาทั้งด้านอารมณ์ สังคม และสติปัญญา ครูทุกคนจัดการเรียนการสอนตามแบบ IEP และ IIP ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมที่โรงเรียนกาหนด  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนเรียนร่วมได้รับการพัฒนา สามารถปรับตัวอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข ครูมีความรู้ความเข้าใจสามารถใช้สื่อ/ จัดกิจกรรมได้อย่างหลากหลาย ผู้ปกครองยอมรับและเข้าใจ พร้อมให้ความร่วมมือกับกิจกรรมของโรงเรียน โรงเรี ย นได้ รับ การยอมรั บและชื่น ชมจากโรงเรี ย นเครื อ ข่ า ยและหน่ว ยงานอื่ น เกี่ยวข้อง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1) 2) 3) 4)

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถบริหารจัดการแบบมีสว่ นร่วมโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) ผู้เกี่ยวข้องมีศักยภาพในการสานความสัมพันธ์ เชื่อมโยงการให้รูปแบบข้อมูลการ ช่วยเหลือและพัฒนากระบวนการเรียนร่วม สถานศึกษามีความพร้อมด้านการสนับสนุนงบประมาณ นวัตกรรมในการส่งเสริม การเรียนร่วม การทางานต้องอาศัยความตระหนัก ความรักในหน้าที่ มีกระบวนการช่วยเหลือที่ มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นฐาน

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ประเมินและตรวจสอบคุณภาพของ โดยจัดตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ ภาคเรียนละ 1 ครัง้  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง ผลการตรวจสอบ พบว่าสถานศึกษาได้วิเคราะห์ขั้นตอนและทดลองใช้แล้วสรุปได้ว่าขั้นตอนของ Best Practice PART SEAT มีคุณภาพสามารถนาสู่การปฏิบัติได้ เกิดผลดีต่อการจัด การศึกษาเรียนร่วมในระดับดี

การประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง  ขยายให้กับโรงเรียนเครือข่าย ครูผู้สนใจภายในสถานศึกษาใกล้เคียงที่มี นักเรียนเรียนร่วม มีความสนใจรูปแบบการดาเนินงาน นาสู่การปรับใช้ใน สถานศึกษา  ขยายผลการจัดกิจกรรมในงานมหกรรมวิชาการระดับจังหวัด และคณะที่มา ศึกษาดูงานที่โรงเรียน  เผยแพร่ขอ้ มูลทางเว็บไซต์ของโรงเรียน http://sswschool.no-ip.info:81/

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

329


330

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางสาวิตรี ไพศาล ครู โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร โทรศัพท์ 081-2999190 E-mail : sawittri.p@hotmail.co.th

 เพื่อจัดทาชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4  เพื่อศึก ษาผลของชุด กิจกรรมแนะแนวที่ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด อย่ า งมี วิจ ารณญาณของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 4  เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด อย่ า งมี วิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระยะเวลาในการพัฒนา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมายสพฐ./สถานศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545-2559) สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ข้อที่ 7 และแนวนโยบายดาเนินการข้อที่ 3 กลยุทธ์ของสพฐ. ที่ 2,3 กลยุทธ์ของสพป.กจ.1 ที่ 1,2 กลยุทธ์สถานที่ศึกษาที่ 2,3 มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานที่ 7 ตัวบ่งชี้ 7.3 มาตรฐานของสมศ. 1 ตัวบ่งชี้ 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5 มาตรฐานของสพฐ. ที่ 1,2,10 ตัวบ่งชี้ 1.3, 1.5, 2.1, 10.3,10.6

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การคิดเป็นกระบวนการทางสมองของมนุษย์ซึ่งมีศักยภาพสูงมาก และเป็น ส่ว นที่ทาให้ ม นุษย์แตกต่า งไปจากสั ต ว์โ ลกอื่น ๆ หากเราต้อ งการให้ ประเทศไทย พัฒนาต่อไปได้ ไม่เสียเปรียบ ไม่ถูกหลอกง่าย และสามารถคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ได้ เราจาเป็นต้องพัฒนาให้คนไทย “คิดเป็น” คือรู้จักวิธีคิดที่ถูกต้อง ความสามารถใน การคิดเชิงวิพากษ์หรือความคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking) เป็นความสามารถใน การคิด ที่ทาให้เกิดขึ้นได้โดยการฝึกให้ผู้เรียนท้าทาย และโต้แย้งข้อสมมติฐานที่อยู่ เบือ้ งหลัง เหตุผลที่โยงความคิดเหล่านั้น เพื่อเปิดทางสู่แนวความคิดอื่นๆ ที่อาจเป็นไป ได้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มุ่งเน้นให้การจัดการเรียนการ สอนได้พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะที่สาคัญ 5 ประการ ได้แก่ ความสามารถในการ สื่อสาร, ความสามารถในการคิด, ความสามารถในการแก้ปัญหา, ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะความสามารถใน การคิ ด นั้ น หลั ก สู ต รได้ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เ รี ย นมี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ คิ ด สังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง และสังคมได้ อย่างเหมาะสม การคิดเป็นพืน้ ฐานสาคัญต่อการสร้างความรู้ในขั้นต่อไป และด้วยสภาพ สังคมปัจจุบันซึ่งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร ที่มีการติดต่อถึงกันอย่างรวดเร็ว และมีการ เปลี่ยนแปลงรวดเร็วด้วยเช่นกัน สังคมมีความซับซ้อน มีข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นใหม่ ทั้ง ด้านบวกและด้านลบ ซึ่งก่อให้เกิดทั้งประโยชน์และโทษ ดังนั้นการคิดโดยเฉพาะการคิด อย่างมีวิจารณญาณจึง มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการคิด ที่ใช้ในการ ตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ทฤษฎี พั ฒ นาการของเพี ย เจท์ กล่ า วถึ ง พั ฒ นาการของความสามารถทาง สติปัญญาของมนุษย์วา่ เป็นผลเนื่องมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็น พัฒนาการอย่างต่อเนื่องและเป็นลาดับขั้น โดยแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 คือ ขั้นของการรับรู้ที่อาศัยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensori – motor stage) ในช่วงอายุ 0-2 ปี ขั้นที่ 2 คือ ขั้นก่อนการคิดแบบเหตุผล (Per – operational stage) ในช่วงอายุ 2-7 ปี ขั้นที่ 3 คือ ขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิงรูปธรรม (Concrete operational stage) ในช่วงอายุ 7-11 ปี และขั้นที่ 4 คือ ขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิง นามธรรม (Formal operational stage) ในช่วงอายุ 12-15 ปี ซึ่งตรงกับนักเรียนใน ระดับชั้นประถมศึกษา ที่มีอายุประมาณ 7-11 ปี เป็นพัฒนาการขั้นที่ 3 ขั้นการคิดแบบ เหตุ ผ ล คิ ด ตามหลั ก ตรรกศาสตร์ มีก ารคิ ด แบบอุ ปนั ย และนิรนั ย ซึ่ ง เพีย เจท์ เชื่อ ว่ า ความสามารถดัง กล่า วมีผ ลต่อ ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจ ารณญาณ ดั งนั้น การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณจึงสามารถพัฒนาในช่วงวัยนี้ จากความสาคัญดังที่กล่าวมา ผู้พัฒนา จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาทักษะการ คิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ซึ่งสามารถพัฒนาได้หลายวิธี เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดจาแนกประเภท การคิดแบบโยงความสัมพันธ์ การคิดแบบหมวกหกใบ การสอน แบบซินดิเคท การเรียนรู้ตามแนวคิดของแมคคาร์ธี (4 MAT) ในการพัฒนาครั้งนี้ ผู้พัฒนาสนใจที่จะใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีกรอบ แนวคิด เป็นปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและ เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีก ารเปลี่ย นแปลงอยู่ตลอดเวลามุ่งเน้นการรอดพ้นจาก ภัยและวิกฤติ โดยมีคุณลักษณะที่เน้นการปฏิบัติบนทาง สายกลางและการพัฒนาอย่าง เป็นขั้นตอน ประกอบด้วยคานิยาม 3 คุณลักษณะ คือ 1) ความพอเพียง คือ ความ พอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อ่ืน เช่น การผลิตและบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ 3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้ พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล โดยคุณลักษณะทัง้ 3 ประการ จะต้องเกิดขึ้นพร้อมกันบนเงื่อนไข 2 เงื่อนไข การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

331


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

332

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ที่ ใ ช้ ใ นการตั ด สิ น ใจและด าเนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆ เงื่ อ นไขที่ 1 คื อ เงื่ อ นไขความรู้ ประกอบด้ ว ย ความรอบรู้เกี่ ย วกับวิชาการต่า งๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งอย่างรอบด้ าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่ อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในชั้นปฏิบัติ เงื่อนไขที่ 2 คือ เงื่อนไขคุณธรรม เป็นสิ่งที่จะต้อง เสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ ไม่โลภ ไม่ตระหนี่

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ขั้นตอนการพัฒนา 1) วิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนา 2) วางแผนในการพัฒนา จัดทาเครื่องมือเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนา 3) ดาเนินการโดยใช้เครื่องมือที่พัฒนาขึ้น 4) เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุปผล  การตรวจสอบคุณภาพ 1) วิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย ง เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 ตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 80/80 นั้ น ผลการวิ เ คราะห์ มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ผลของการศึกษาครั้งนี้จะเป็นแนวทาง ให้กับครูผู้สอนในวิชาแนะแนวและวิชาอื่นๆ ในการพัฒนาความสามารถในการคิด อย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน ด้วยการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ )  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนที่ได้ผ่านการพัฒนาด้วยเครื่องมือนี้ ร้อยละ 100 สามารถผ่าน จุดประสงค์การเรียนรู้อยูใ่ นระดับดี 2) นักเรียน ร้อยละ 100 มีความพึงพอใจในเครื่องมือ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ชุดกิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณที่ พั ฒ นาขึ้ น มี ประสิทธิภาพ สามารถพัฒนานักเรียนให้เกิดทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณได้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) Best คือ ดีที่สุด : การนากระบวนการที่เหมาะสมกับนักเรียน คานึงถึงหลัก จิตวิทยา พัฒนาการ ทฤษฎีการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการคิดอันเป็นพื้นฐานที่สาคัญ และน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการ ทาให้เกิดผลการปฏิบัติที่ดี เลิศ 2) Practice คือ กระบวนการ : การวิเคราะห์ขั้นตอนการดาเนินงานจากภูมิหลัง ปั ญ หา ความต้อ งการของหลั ก สู ต ร รวมถึ ง ความต้อ งการของสั ง คม ทาให้ เกิ ด กระบวนการที่เป็นขัน้ ตอน มีความสอดคล้องกัน จนเกิดผลลัพธ์ตามเกณฑ์ที่มุ่งหวัง  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา การวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อให้สามารถ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม คานึงถึงพัฒนาการ และการนาหลักการทาง จิตวิทยาเข้ามาประยุกต์ใช้

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า คือการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมฯและ การประเมินความพึงพอใจของนักเรียน

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  จัดนิทรรศการเผยแพร่ รวมถึงการเผยแพร่ทางเวปไซต์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

333


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

334

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ชวนกันคิดพิชิตข้อสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ” เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา นางละมัย ปานกลาง ครู โรงเรียนบ้านวังด้ง โทรศัพท์ 081-9418537 E-mail : Lamai8537@hotmail.com

 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มที ักษะในการทาข้อสอบ O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6  เพื่อพัฒนารูปแบบและวิธีการแนะแนวให้มีความหลากหลาย โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ และการศึกษาต่อ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1  เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น ระยะเวลาในการพัฒนา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับ เป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ./สถานศึกษา     

กลยุทธ์ของสพฐ. กลยุทธ์ของสพป. กาญจนบุรี เขต 1 กลยุทธ์ของสถานศึกษา มาตรฐาน ของ สมศ. ข้อที่ 1 มาตรฐาน ของ สพฐ. ข้อที่ 5

ข้อที่ 3 ข้อที่ 3 ข้อที่ 3 ตัวบ่งชี้ ที่ 3,4,5 ตัวบ่งชี้ ที่ 5.1,5.2,5.3,5.4

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ในทุกปีที่ผ่านมา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนจะต้อง สอบ O-NET และการสอบทุกครั้ง พบว่านักเรียนที่เข้าสอบ มีผลการสอบค่อนข้างต่า ทั้ง 8 กลุ่ม สาระ ซึ่งสาเหตุสว่ นหนึ่งมาจากนักเรียน ไม่คุ้นกับวิธีการทาข้อสอบในลักษณะดังกล่าว ที่ต้องคิด วิเคราะห์ เชื่อมโยงและแก้ปัญหา และมีอีกหลายสาเหตุที่ ผู้เรียน ไม่สนใจ การเรียน ไม่เห็นคุณค่าของวิชาต่าง ๆ พื้นฐานความรู้ในวิชาต่าง ๆ ไม่ดี ทาให้ไม่ เข้าใจบทเรียน เรียนไม่ทันเพื่อน มีความขัดแย้งระหว่างนักเรียนกับนักเรียน หรือ นักเรียนกับครู ไม่มแี ผนการในการศึกษาต่อ หรือประกอบอาชีพ หรือยังตัดสินใจไม่ได้ ว่าจะเรีย นต่อ หรือประกอบอาชีพใด ทั้ง ๆที่อ ยู่ใ นสภาพที่ต้องตัดสิ นใจ สิ่งเหล่ านี้มี อิทธิพลต่อการเรียนและอนาคตในการศึกษาของนักเรียน “บริการแนะแนว”จะช่วยแก้ปัญหาด้วยกิจกรรม เช่น สนับสนุนให้เด็กทาตาราง การทางาน การแนะแนวกลุ่มเกี่ยวกับวิธีเรียนที่มีประสิทธิภาพ หรือจัดให้นักเรียนที่ เรียนอ่อนในวิชาต่าง ๆ ได้รับการสอนซ่อมเสริม ด้วยเหตุน้ี ผู้พัฒนา ซึ่งเป็นครูแนะ แนวได้ พิ จ ารณาแล้ ว ว่า นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึก ษาปี ที่ 6 ได้ รั บผลกระทบมากที่ สุ ด ผู้พัฒนา จึงได้หาวิธีการพัฒนาโดยการจัดกิจกรรมแนะแนว ให้มีความหลากหลาย และได้ประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะครู เพื่อมีส่ วนร่ว มในการขั บเคลื่อนกิ จกรรมแนะแนวทางการศึกษา ของ โรงเรียน เพื่อที่จะส่งผลให้นักเรียนมีความมั่นใจในการทาข้อสอบ O-NET และมี ทัศนคติที่ดีต่อการทดสอบ ตลอดจนถึงผู้ปกครองนักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จะต้องมีความพึงพอใจ ต่อการจัดการเรียนการสอนของครู จากความสาคัญดังที่ กล่ า วมา ผู้ พั ฒ นา จึ ง ได้ จั ด กิ จ กรรมชวนกั น คิ ด พิชิ ต ข้ อ สอบ O-NET ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 ขึน้ เพื่อนาไปพัฒนานักเรียนให้มผี ลการทดสอบที่สูงขึ้น การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านวังด้ง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554  ขั้นตอนการพัฒนา 1) วิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนา 2) วางแผนในการพัฒนา 3) จัดทาเครื่องมือเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนา 4) ดาเนินการโดยใช้เครื่องมือที่พัฒนาขึ้น 5) เก็บรวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์ขอ้ มูล 6) สรุปรายงานผลการพัฒนา  การตรวจสอบคุณภาพ 1) วิเคราะห์ ประสิ ทธิ ภ าพ ชุด กิ จ กรรมชวนกั น คิ ด พิชิต ข้ อ สอบ O-NET ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 2) ผลการวิเคราะห์ประสิ ทธิ ภ าพ ชุด กิจ กรรมชวนกัน คิด พิชิต ข้ อสอบ O-NET ชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 6 ผลการวิเคราะห์มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนที่ผ่านการพัฒนาด้วยเครื่องมือนี้ ร้อยละ 100 สามารถผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ใน ระดับ ดี และมีความพึงพอใจการจัด กิจกรรมแนะแนว การศึกษา  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 สูงขึน้  ความพึงพอใจ คือ การนากระบวนการที่เหมาะสมกับนักเรียน คานึงถึง หลักจิตวิทยา พัฒนาการทฤษฎีการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการคิด อันเป็นพืน้ ฐานที่สาคัญ ทาให้เกิดผลปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ รวมถึงการวิเคราะห์ขนั้ ตอนการดาเนินงานจากภูมิหลัง ปัญหา ความต้องการ เป้าหมายของหลักสูตร รวมถึงความต้องการของสังคม ทาให้ เกิดกระบวนการที่เป็นขัน้ ตอน มีความสอดคล้องกัน จนเกิดผลลัพธ์ตามเกณฑ์ที่มุ่งหวัง  ปัจจัย ความสาเร็ จของการพัฒ นา การวิเคราะห์ผู้ เรี ย น เพื่อ ให้ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม ได้คานึงถึงพัฒนาการและการนา หลักการทางจิตวิทยาเข้ามาประยุกต์ใช้

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดี  วิธีการตรวจสอบซ้า คือการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมชวนกันคิด พิชิตข้อสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และการประเมินความพึงพอใจของ นักเรียน การประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ จัดนิทรรศการเผยแพร่ / แผ่นพับ / เผยแพร่ทาง เว็บไซต์

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

335


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

336

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กิจกรรมส่งเสริมการออมทรัพย์วันละ 1 บาท ” ” เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อส่งเสริมด้านการประหยัดของนักเรียน  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการอดออมช่วยเหลือผู้ปกครอง  เพื่อเป็นทุนสาหรับการศึกษาต่อในอนาคตของนักเรียน

นางมณฑิรา ประเสริฐกุล ครู โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า"อุดมราษฎร์วทิ ยา"

ระยะเวลาในการพัฒนา มิถุนายน 2553 – ปัจจุบัน

โทรศัพท์ 086-1707215 E-mail : memejung-_-@hotmail.com

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง จุดเน้นของ สพป./สพฐ./ สถานศึกษา กิจกรรมส่งเสริมการออมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแนะแนว ข้อมูลจากการ เยี่ย มบ้ านของนัก เรี ยนทุ กคนทาให้ ทราบปัญหาความเป็ นอยู่ข องนั กเรีย น และน า ข้อมูลที่ได้มาส่งเสริมให้นักเรียนมีการเก็บออมเพื่อเป็นทุนใช้จ่ายในสิ่งของที่จาเป็น

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา

นักเรียนเปิดบัญชีครูประจาชั้นรับฝาก ออมทรัพย์วันละ 1 บาทธนาคาร มารับทุกสิ้นเดือนกับธนาคารออมสิน

กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยึด คุณธรรมนาความรู้สร้างความตระหนักสานึกในคุณค่าของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของ กระบวนการเรีย นรู้ที่เชื่อ มโยง ความร่ว มมือ ของสถาบัน ครอบครั ว ชุมชน สถาบั น ศาสนาและสถาบันการศึกษา โดยมีจุดเน้นเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้ และอยู่ดมี สี ุข

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา ” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 109 คน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) ขั้นประชุมชีแ้ จง 2) ขั้นวางแผนการดาเนินงาน 3) ขั้นติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4) ขั้นดาเนินการ 5) ประเมินผล

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ แบบสอบถามความพึงพอใจ จานวน 50 ฉบับ ใช้กับผู้ปกครองกลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน และนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์  ให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียนออมทรัพย์กับธนาคารออมสิน  ใช้กับผู้ปกครองในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง  โรงเรียนที่ยังไม่มโี ครงการออมทรัพย์วันละบาท

ผลสาเร็จที่จะเกิดขึ้น  ผลส าเร็ จ เชิ ง ปริ ม าณ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1- ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน รู้จักการเก็บออมเงิน รู้จักการประหยัด และใช้จ่ายในสิ่งที่ จาเป็น  ผลส าเร็ จ เชิ ง คุ ณ ภาพ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1-ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน มีเงินออมในบัญชีออมทรัพย์  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 100 ผู้ปกครองและนักเรียนมีความ พึงพอใจ  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ปัจจัยที่ทาให้เกิดกิจกรรมนี้ประสบ ความสาเร็จ เป็นเพราะความมุง่ มั่นของผู้บริหารสถานศึกษา ความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ ธนาคารออมสิน คณะครูและผู้ปกครอง พร้อมทั้งนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในกิจกรรม ออมทรัพย์วันละบาท

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง  วิธีการตรวจสอบซ้า จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ใช้แบบสอบถามความ พึงพอใจ จานวน 100 ฉบับกับกลุม่ ตัวอย่างเดิม  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นาผลการประเมิน จาก แบบสอบถามมาปรับปรุงพัฒนากิจกรรมให้มคี ุณภาพยิ่งขึ้น

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่  ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนรับทราบผ่านทางจุลสาร  ประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นทางเว็ บไซด์ โ รงเรี ย นวั ด กาญจนบุ รีเ ก่ า “อุ ด ม ราษฎร์วิทยา”  จัดป้ายนิเทศผลงานวันวิชาการ จัดป้ายนิเทศผลงานรับการประเมิน โรงเรียนพระราชทาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

337


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

318

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

สู่จุดหมายปลายทาง ” ” เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นายชาญชัย ไตรวิเชียร ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 034-647240

 เพื่อพัฒนาการเรียนการรู้ให้ดขี นึ้  เพื่อช่วยเหลือเด็กที่การเรียนอ่อนให้ดยี ่งิ ขึน้  เพื่อบรรลุผลให้ถงึ จุดหมาย

ระยะในการพัฒนา ขั้นเริ่มต้น 1) สารวจกลุ่มเป้าหมาย 1 สัปดาห์ 2) ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา 1 สัปดาห์ 3) กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2 เดือน 4) หาสื่อและนวัตกรรมมาให้นักเรียนศึกษา 2 เดือน ขั้นพัฒนา ปฏิบัตกิ ิจกรรมจริง ขั้นหลักการพัฒนา 1) การวิเคราะห์และสรุปผล ประเมินผลความรู้ความเข้าใจโดย การสังเกต การทดสอบ และการสัมภาษณ์ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้น

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ./สถานศึกษา การพัฒนากิจกรรมแนะแนวทางด้านวิชาการช่วยให้นักเรียนเข้าใจและฝึกฝน ทบทวนด้วยตนเองได้ในเวลาว่าง โดยมีครูคอยช่วยเหลือแนะแนวทางที่ถูกต้อง เมื่อทา กิจกรรมบ่อย ๆ การพัฒนาของเด็กดีขึ้น จึงสัมพันธ์กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป./ สพฐ./และหลักสูตรสถานศึกษา

กระบวนการพัฒนา  กลุ่ ม เป้ า หมาย นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-3 ในกิ จ กรรมแนะแนว โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย 30 คน  ขั้นตอนการพัฒนา ศึกษาวิเคราะห์เนือ้ หาในหลักสูตร

กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ตาม หลักสูตร จัดหาสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนและวิทยากรมาให้ความรู้

ฝึกปฏิบัติกับนักเรียนจนเกิดทักษะความเข้าใจ

ประเมินผลการเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ ขั้นที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาสือ่ – นวัตกรรมการเรียนการสอนที่ครุนามา ขั้นที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติจริงโดยมีครูคอยแนะนาช่วยเหลือตลอด ขั้นที่ 3 ประเมินผล  ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนากิจกรรมแนะแนว ด้านวิชาการให้เกิดประโยชน์กับนักเรียนมากที่สุด เพื่อนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 85 ปฏิบัติได้  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวด้านวิชาการ ได้ดีและสามารถสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ ในระดับมาก – มากที่สุด  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา นักเรียนทุกคนเกิดความพึงพอใจ ในการที่จะรับการพัฒนาผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและจัด กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ -นวัต กรรม ทาให้ นักเรียนเรีย นรู้ได้เร็วและดีขึ้ น สามารถทบทวนศึกษาบทเรียนด้วยงานเองได้ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไขได้แก่ การพัฒนาสื่อ -นวัตกรรมการเรียนการ สอน กิจกรรมแนะแนวด้านวิชาการแบบใหม่ๆ เสมอ ให้น่าสนใจเหมาะสมกับวัย ของผู้เรียน  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนสามารถ พัฒนาการใช้กิจกรรมแนะแนวด้านวิชาการในการเรียนรูไ้ ด้ดีขนึ้ การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ได้จัดนิทรรศการทางวิชาการของโรงเรียนและพานักเรียนเข้า ร่วมงาน ศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย นเพื่ อ แสดงผลงานและได้ เ ผยแพร่ ใ ห้ โ รงเรี ย นวนกลุ่ ม เครือข่ายและโรงเรียนต่างๆ ในอาเภอท่าม่วง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

319


340

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนะแนวนักเรียนเพื่อพัฒนา ” เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางศรีรักษ์ นันตะเสนีย์

 เพื่อพัฒนากิจกรรมแนะแนวนักเรียนให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้

ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 081-1979434 E-mail : sriruk@live.com

ระยะเวลาในการพัฒนา พฤษภาคม 2554 - มีนาคม 2555 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายสพฐ.สถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีความมุ่งหมายและหลักการว่า การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขและกาหนดแนวการ จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความ ถนัดของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การ จัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ดังนัน้ หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จึงกาหนดให้มสี าระการเรียนรู้ 8 กลุ่มวิชา และกิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เ รี ย น เนื่อ งจากการเปลี่ ย นแปลงอย่า งรวดเร็ ว ของสั ง คมและ เทคโนโลยีที่ก่อ ให้เกิด ทั้งผลดีแ ละผลเสีย ส่ง ผลให้ก ารดาเนินชีวิตในปัจจุบันมีความ ยุง่ ยากซับซ้อนมากยิ่งขึ้น บุคคลจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตให้สามารถ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี กิจกรรมแนะแนวจึงมีความสาคัญใน การทาให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานของการรู้จักตนเองและ เข้าใจผู้อ่ืน การแนะแนวคือจิตวิทยาประยุกต์ แขนงหนึ่งที่ว่าด้วย กระบวนการพัฒนา คนให้ รู้จัก ตนเอง อย่างถ่ องแท้ รู้จั ก ความถนั ด ความชอบ สติปัญญา ภู มิห ลั งของ ตนเอง วิ เ คราะห์ ต นเองได้ ถู ก ต้ อ ง รู้ จั ก เลื อ กและตั ด สิ น ใจได้ ปรั บ ตนเองได้ อ ย่ า ง เหมาะสมและสามารถดาเนิน ชีวิตได้ อ ย่า งเป็น สุ ข ช่ว ยตนเอง หรือ พึ่ง ตนเองได้ เป็ น กระบวนการที่ส่งเสริมให้บุคคลได้มีบทบาทเต็มที่ในการเรียนรู้เพื่อที่จะพัฒนาศักยภาพ และสามารถจัดการกับชีวิตของตนอย่างฉลาด การจัดประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่จะ พัฒนาศักยภาพนั้นต้องสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ความพร้อมในการเรียนรู้ความ ถนัด ความสนใจและความต้องการของผู้เรียน การแนะแนวเป็นกระบวนหนึ่งของการศึกษาที่จะพัฒนามนุษย์ให้เป็นพลเมื องดี มีความรู้ในทักษะกระบวนการต่าง ๆ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้และมีความสุขในการ ดารงชีวติ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

341

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ปรัชญาและหลัก การแนะแนว 1. คนทุกคนมีคุณค่าและมี ศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์

หลักการ

1.จัดบริการให้กับทุกคน (ไม่เลือกปฏิบัติ)และให้บริการด้วย ความเคารพในเกียรติแห่งความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน โดย คานึงถึงประโยชน์ของผู้รับบริการเป็นสาคัญ 2. คนทุกคนมีสิทธิเสรีภาพ 2. การจัดบริการจะต้องคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของบุคคล ไม่ เท่าเทียมกัน มีการบังคับ 3. คนแต่ละคนมีศักยภาพที่ 3. การให้บริการต้องเปิดโอกาสให้บุคคลได้มีบทบาทสาคัญ สามารถพัฒนาและเรียนรู้ได้ ในการใช้ปัญญาเรียนรู้ หาวิธแี ก้ปัญหาด้วยตนเอง และได้ พัฒนาตนเต็มตามศักยภาพของตน ทุกคนย่อมมีความ แตกต่างกัน บริการแนะแนวต้องจัดให้นักเรียนทุกคนเพื่อเขา ได้มีโอกาสเลือกและตัดสินใจด้วยตนเอง การจัดวิชาเรียน ควรจัดให้นักเรียนมีโอกาส เลือกเรียน อย่างกว้างขวาง ตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถ และสอดคล้องกับความต้องการ ของท้องถิ่นและสังคมโลก 4. แต่ละคนมีความแตกต่าง 4. การให้บริการต้องตอบสนองความต้องการของ กัน แต่มีความต้องการพื้นฐาน ผู้รับบริการและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล คนมี ที่เหมือนกัน ความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา บริการแนะแนวต้องจัด อย่างต่อเนื่องให้นักเรียนรู้จักตนเองเพื่อสามารถวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจน สามารถตัดสินใจได้ 5. พฤติกรรมย่อมมีสาเหตุ และบุคคลเปลี่ยนแปลงได้ ตามเหตุ

5. การให้บริการคือการอานวยเหตุปัจจัยที่เหมาะสมในการ สร้างเสริมพัฒนาการหรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมทุกอย่างย่อมมีสาเหตุ การจัดการแนะแนวจึงต้องศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนให้ ชัดเจนเพื่อให้ครูและนักเรียนเกิดความเข้าใจกัน ยอมรับ ความจริง ตลอดจนสามารถแก้ไขและพัฒนาตนได้

6. คนทุกคนย่อมมีปัญหา คนต้องอยูร่ ่วมกันในสังคมที่ ต้องพึ่งพาอาศัยกันและ พฤติกรรมของแต่ละบุคคล ย่อมส่งผลกระทบต่อบุคคล อื่น

6. การให้บริการช่วยเหลือเพื่อมนุษย์ เป็นภารกิจที่พึง กระทาด้วยความเมตตา และด้วยความรู้ ความเข้าใจ และทุกคนควรมีส่วนร่วมรวมถึงการช่วยเหลือสังคม และสิ่งแวดล้อม

กระบวนการพัฒนา  กลุ่ ม เป้ า หมาย กิ จ กรรมแนะแนวนั ก เรี ย น น าไปใช้ กั บ นั ก เรี ย น กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 –มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 จานวน 65 คน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

342

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ขั้นตอนการพัฒนา /

/

/

/ /

/

 การตรวจสอบคุณภาพ วิธีการตรวจสอบคุณภาพ มีขนั้ ตอนดังนี้ 1) ศึกษารายละเอียดของทฤษฎี หลักการ จิตวิทยาการแนะแนว และแบบเก็บข้อมูล ต่างๆเพื่อให้มคี วามชัดเจน หลากหลาย ใช้ประโยชน์ได้คมุ้ ค่า 2) จัดทาเอกสารคู่มอื แนะแนวนักเรียน 3) นาเอกสารไปใช้กับนักเรียนเพื่อเก็บข้อมูลรายบุคคล 4) รวบรวมข้อมูลรายบุคคล รายห้อง 5) วิเคราะห์ขอ้ มูลสรุปผล และรายงานผล 6) ปรับปรุง เพิ่มเติม กิจกรรมแนะแนวนักเรียน แล้วนาไปใช้กับกลุม่ ตัวอย่าง  ผลการตรวจสอบคุ ณ ภาพ กิ จ กรรมแนะแนวนั ก เรี ย น เก็ บ ข้ อ มู ล รายบุ ค คล ได้ ค รอบคลุ ม ใช้ ป ระกอบกิ จ กรรมแนะแนว ท าให้ นั ก เรี ย นรู้ จั ก ตนเอง สามารถป้องกัน แก้ไขปัญหา ให้คาปรึกษา และพัฒนานักเรียนได้เป็นอย่างดี  แนวทางการน าไปใช้ ป ระโยชน์ กิ จ กรรมแนะแนวนั ก เรี ย นสามารถ นาไปใช้ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้ทั้ง 5 กิจกรรมคือ 1) รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านความสามารถ การเรียน อื่นๆ ด้านสุขภาพ กาย ใจ พฤติกรรม ด้านครอบครัว เศรษฐกิจ การคุม้ ครองนักเรียน 2) การคัดกรองนักเรียน (ดูข้อมูล จัดกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง) 3) การส่งเสริมพัฒนาให้ได้คุณภาพ การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพที่สุจริต 4) การป้ อ งกั น และแก้ ปั ญ หาใกล้ ชิ ด หาข้ อ มู ล ให้ ค าปรึ ก ษา และจั ด หา ทุนการศึกษา 5) การส่งต่อ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ 85 มีการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น นักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้รับคัดเลือกได้เป็นนักเรียนดีเด่นด้านคุณธรรมระดับประเทศได้รับ ทุนการศึกษาจากธนาคารออมสิน 40.000 บาท และได้รับทุนการศึกษาต่อเนื่องจนจบ ปริญญาตรี จากรายการสานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง ทีวชี อ่ ง 5  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ คู่มอื แนะแนวนักเรียนมีประโยชน์ตอ่ กิจกรรมแนะแนว นักเรียนและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทาให้ปฏิบัตไิ ด้ครอบคลุมทุกกิจกรรม  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจและได้รับ ความช่วยเหลือตรงตามความต้องการ  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) นักเรียนรู้จักตนเอง เข้าใจตนเองยอมรับตนเองและปรับตนเองได้ 2) สามารถแก้ ปั ญ หาหรื อ ให้ ค าปรึ ก ษา ให้ ค วามช่ว ยเหลื อ ได้ ต รงตามความ ต้องการ

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า รวบรวมปัญหา ศึกษาเพิ่มเติม เพื่อนามาพัฒนา กิจกรรมแนะแนวนักเรียน  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง กิจกรรมแนะแนวทาให้ระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ในวงกว้าง หลังจากการจัดกิจกรรมแนะแนวนักเรียน ตามโครงการระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนแล้วทาให้นักเรียนได้รับคัดเลือกเป็นนักเรียนดีเด่นด้านคุณธรรมและจริยธรรม ระดั บ ประเทศ ได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาจากธนาคารออมสิ น ประจ าปี 2554 ได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาจากรายการสานรั ก คนเก่ ง หั ว ใจแกร่ ง และถ่ า ย ทอดทาง ททบ. 5 ออกอากาศเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2555 เวลา 14.55-15.20 น. ครูได้รับพระราชทานโล่ รางวัล “ครูผู้ปฎิบัตหิ น้าที่ด้วยความเข้มแข็ง เสียสละเอาใจใส่ สั่งสอน อบรมเยาวชนด้วย ความเมตตากรุณา ” จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายาทินัดดา มาตุ เมือ่ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2554

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

343


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

344

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผู้ปกครองร่วมใจ เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา ” นางสาวนัทธมน โสมโสดา ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 081-9292258 E-mail : puy2917@gmail.com

   

เพื่อพัฒนาการเรียนการรู้ให้ดขี นึ้ การป้องกันปัญหา การแก้ปัญหา การส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน

ระยะในการพัฒนา ขั้นเริ่มต้น

1. สารวจกลุ่มเป้าหมาย 1 สัปดาห์ 2. ศึกษาและวิเคราะห์ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3. กาหนดแผนการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2 เดือน 4. สร้างนวัตกรรมมาให้นักเรียนได้ปฏิบัติ 2 เดือน - ปฏิบัตกิ ิจกรรมจริง

ขั้นพัฒนา ขั้นหลักการพัฒนา 1. การวิเคราะห์และสรุปผล ประเมินผลความรู้ความเข้าใจโดย การสังเกต การ ทดสอบ และการสัมภาษณ์ 2. นักเรียนได้รับการช่วยเหลือดูแล

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับ สพฐ./สถานศึกษา การพัฒนากิจกรรมแนะแนวทางด้านวิชาการช่วยให้นักเรียนเข้าใจและฝึกฝน ทบทวนด้วยตนเองได้ในเวลาว่าง โดยมีครูคอยช่วยเหลือแนะแนวทางที่ถูกต้อง เมื่อทา กิจกรรมบ่อย ๆ การพัฒนาของเด็กดีขึ้น จึงสัมพันธ์กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป./ สพฐ./และหลักสูตรสถานศึกษา

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา ใช้แนวดาเนินการแบบ PDCA

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในกิจกรรมแนะแนวโรงเรียน วัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย 30 คน  ขั้นตอนการพัฒนา

 การตรวจสอบคุณภาพ ขั้นที่ 1 ให้ผู้ปกครองได้รับการศึกษา – นวัตกรรมการดูแลช่วยเหลือที่ครูนามา ขั้นที่ 2 นักเรียนปฏิบัตจิ ริงโดยมีครูคอยแนะนาช่วยเหลือตลอด ขั้นที่ 3 ประเมินผล  ผลการตรวจสอบคุณภาพทีไ่ ด้ นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนากิจกรรมแนะแนวด้าน วิชาการให้เกิดประโยชน์กับนักเรียน มากที่สุด เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 85 ปฏิบัตไิ ด้  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมแนะแนวด้านวิชาการได้ดแี ละ สามารถสรุปองค์ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในระดับ มาก – มากที่สุด  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา นักเรียนทุกคนเกิดความพึงพอใจในการ ที่จะรับการพัฒนาผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ โดยใช้ส่อื -นวัตกรรม ทาให้นักเรียนได้รับผลตามวัตถุประสงค์

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุแต่ละขั้นตอนแล้วนามา ปรับปรุงแก้ไขได้แก่ การพัฒนา-นวัตกรรมระบบดูแลช่วยเหลือแบบใหม่ๆ ให้น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน  ผลการตรวจสอบซ้า นัก เรี ยนสามารถพั ฒนาการใช้กิ จกรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมในชีวติ ประจาวันได้ดขี นึ้ การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ได้จัดนิทรรศการผลงานทางวิชาการของ โรงเรียนและพานักเรียนเข้าร่วมงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนเพื่อแสดงผลงานและได้ เผยแพร่ให้โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายและโรงเรียนต่างๆ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

345


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

326

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา ระเบียบวินัย จัดเป็นคุณธรรมพื้นฐานที่ควรจะมีในตัวของบุคคลทั่วไปแต่ทุก วันนีร้ ะเบียบวินัยในตัวโดยเฉพาะเยาวชนนับวันก็เริ่มจะลดน้อยลง ซึ่งก็มาจากปัจจัย นายกันตพิชญ์ มีเครือ ในหลายด้าน เช่นจากสังคม ครอบครัว และอื่น ๆ โรงเรียนได้เล็งเห็นถึ งปัญหาในจุด ครู โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม นี้จึงได้ริเริ่มนากิจกรรมลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม มาใช้ร่วมกับการจัดกิจกรรม โทรศัพท์ 084-5729997 การเรียนรู้ในสาระวิชาต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ E-MAIL : kantapith@yahoo.com  เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารี มีความรับผิดชอบ ต่อตนเอง มีระเบียบวินัย มี ความสามัคคี มีจิตอาสา มีจิตสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวมและมีความ อดทนเข้มแข็ง  เพื่อให้ลูกเสือ-เนตรนารี นาความรู้ที่ได้รับจากวิชาลูกเสือ ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน  เพื่อฝึกให้ลูกเสือ-เนตรนารี ได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ และส่งเสริม บทบาทการแสดงออกถึงความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี สอดคล้องกับความ ถนัดและเต็มตามศักยภาพ

ระยะเวลาในการพัฒนา 14 พฤษภาคม 2555 – 28 มีนาคม 2556 ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ กับเป้าหมาย สพฐ. / สถานศึกษา สอดคล้องกับจุดเน้น สพฐ. ข้อที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 สนองกับมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ซึ่งจากจุดเน้น กลยุทธ์ และมาตรฐานการศึกษาดังกล่าวมาแล้วนัน้ จะพบว่าการจัดกิจกรรมต่าง ๆ จะมุ่งเน้นการพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนทุก คน ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็น บุคคลที่มคี วามรู้คคู่ ุณธรรม มีจิตสาธารณะ และรับผิดชอบต่อสังคม

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การที่คนมีคุณธรรมเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ ทั้งตนเอง และสังคมโดยส่วนรวม ทาให้ชีวิตเป็นสุข สังคมร่มเย็น บังเกิดความก้าวหน้า ปัญหาสังคมมีน้อยไม่เบียดเบียน กัน มีแต่จะเกื้อกูล ช่วยเหลื่อซึ่งกันและกันการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมจึงจาเป็น อย่างยิ่ง ที่จะต้องปลูกฝังในโรงเรียนเพื่อให้นักเรียน เกิดความรู้สึกตระหนักในหน้าที่ ของการเป็นพลเมืองดี เพื่อการดารงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขด้วยกัน

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ลูกเสือ – เนตรนารี โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม จานวน 282 คน ผู้กากับลูกเสือ – เนตรนารี โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม จานวน 14 คน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ขั้นตอนการพัฒนา BP

จากแผนภาพแสดงให้เห็นว่า การดาเนินงานกิ จกรรมลู กเสือสร้า งวินัย มี คุณธรรม จะเริ่มจากการวางแผน จากนั้นก็ลงมือปฏิบัติตามแผน ในขณะที่ดาเนินงาน ตามแผนนั้นก็จะมีระบบการติดตาม การดาเนินงาน เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปตามแผน หลั ง จากนั้ น เมื่อ ด าเนิน งานสิ้น สุ ด ก็ จ ะมี ก ารประเมิ น ผล เพื่อ ตรวจสอบดู ว่า การ ดาเนินงานทาได้บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรมหรือไม่ พร้อมทั้งมีการเก็บรวบรวม ข้อมูล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแผนต่อไป กิจกรรมลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม โรงเรียนวัดวังขนายทายิการามได้ใช้ เทคนิคการพัฒนาคุณภาพตามรูปแบบวงจรคุณภาพ เดมมิ่ง ( PDCA ) โดยมีวิธีการ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นเตรียมการ (P) 1) ศึกษานโยบายของโรงเรียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดทา โครงการ/กิจกรรม 2) ศึกษาผลการดาเนินงานในปี ที่ผ่านมา 3) ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ/กิจกรรม 4) จัดทาโครงการ /กิจกรรม นาเสนอต่อที่ประชุมของคณะครู ขั้นดาเนินการ (D) 1) ประชุมคณะทางาน เพื่อชีแ้ จงโครงการ/กิจกรรม และมอบหมายภาระงาน 2) ดาเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม โดยมีกิจกรรมที่พัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้  ลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม มีกิจกรรมสนับสนุน เช่น การจัดนักเรียนเข้า แถวเคารพธงชาติ การร่ ว มกิ จ กรรมต่ า งๆ โดยใช้ ร ะบบหมู่ ข องลู ก เสื อ -เนตรนารี นักเรียนเดินเรียนโดยใช้ระเบียบแถว การเข้าค่าย การประกวดระเบียบแถวลูกเสือ – เนตรนารี  ลูกเสือต้านภัยยาเสพติด  ลูกเสือคุณธรรม จริยธรรม มีกิจกรรมสนับสนุน เช่น กิจกรรมวันสาคัญ กิจกรรมลูกเสือประชาธิปไตย  กิจกรรมลูกเสือจิตอาสา บาเพ็ญประโยชน์ ขั้นนิเทศติดตามผล (C) ผู้บริหารและเจ้าของโครงการ นิเทศการติดตาม การดาเนินงานและคอยอานวย ความสะดวก ในการดาเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่กาหนด การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

327


328

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ขั้นสรุปและประเมินผล (A) 1) สรุปประเมินโครงการลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม ของนักเรียนโรงเรียนวัดวัง ขนายทายิการาม 2) จัดทารายงาน นาเสนอฝ่ายบริหาร 3) เมื่อสิ้นสุดการดาเนินงานของโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้สรุปความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินงาน และพิจารณาความเป็นไปได้ว่าจะดาเนินการ ในปีตอ่ ไปหรือไม่อย่างไร  การตรวจสอบคุณภาพ จากการตรวจสอบคุณภาพของ กิจกรรม ลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม พบว่า 1) การวางแผนดาเนินงานโครงการ สอดคล้องกับจุดเน้น กลยุทธ์ และมาตรฐาน การศึกษา 2) ขั้นตอนการดาเนินงานมีความครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ในสถานศึก ษาสู่ ก ารพั ฒ นาส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมลู ก เสื อ สร้ า งวินั ย คุ ณ ธรรม ได้ สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียน 3) ขั้ น ตอนการประเมิ น ผลโครงการ ลู ก เสื อ สร้ า งวิ นั ย มี คุ ณ ธรรม เป็ น ไปตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนด ผู้บริหารให้การส่งเสริม สนับสนุน การจัดกิจกรรม และ บุคลากรผู้รับผิดชอบโครงการ มีความพร้อมในการดาเนินงานเป็นอย่างดี  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ กิจกรรมลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม ของโรงเรียนวัดวังขนาทายิการาม ที่ประสบผลสาเร็จ ดีเด่น เป็นแบบอย่างสามารถเป็นแนวทางในการนาไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาผู้เรียนในด้านต่าง ๆ มีดังนี้  ด้านสถาบันชาติ โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี จิตสานึกความเป็นไทย ด้วยกิจกรรมประเพณีและวันสาคัญของไทย กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี กิจกรรมการอนุรักษ์และสืบทอดภูมปิ ัญญาไทย ตลอดจนการปลูกฝังให้ มีความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทย ส่งผลให้ผู้เรียนมี จิตสานึกความเป็นไทยด้านสถาบันชาติ และความสานึกความเป็นชาติไทย รัก หวง แหน ชื่นชม ภาคภูมใิ จ และ อนุรักษ์สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมไทย สามารถเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาติไทย ให้ดารงอยู่ได้ อย่างถาวรและยั่งยืน จุ ด เด่ น โรงเรี ย นได้ จั ด กิ จ กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ระบบเพื่ อ ให้ กิจกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสานึกความเป็นไทย โดย ได้เชิญผู้ปกครอง ชุมชน มามีส่วนร่วมในกิจกรรมประเพณีและวันสาคัญ เพื่อปลูกฝัง ความรักชาติอย่างเป็นองค์รวม ผ่านสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม อีกทั้ง ยังมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสานึกความเป็น ไทยควรจัดอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน และในชีวิต จริง เพื่อให้กจิ กรรมเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตผู้เรียน และ ควรให้ผู้ปกครอง ชุมชน มี ส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อให้มีผลต่อนักเรียนในการปลูกฝังจิตสานึกความเป็นไทย การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ด้านสถาบันศาสนา นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาและปลูกฝังให้เป็นผู้มี คุณธรรม ทัง้ ด้านพฤติกรรม จิตใจ และสติปัญญา โดยยึดหลักคุณธรรมตามหลักการ ของแต่ละศาสนาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ และการปฏิบัติจริงตามคุณธรรม จริยธรรมตามหลักศาสนา ทั้งด้านกาย วาจา และ ใจ ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนา ให้เป็นคนดี มีศีลธรรม จริยธรรมและคุณธรรม ปฏิบัติตนในสิ่งที่ดีงาม รู้จักกระทาความ ดีต่อตนเองและผู้อ่ืน มีความรู้จักรับผิดชอบชั่วดี รู้จักความถูกต้อง อดทน ควบคุมจิตใจ และการกระทาในขอบเขตอันเหมาะสม จุดเด่น การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทั้ งด้านร่างกาย จิตใจ สติ ปั ญ ญา และ สั ง คม ด้ ว ยการสอนและการฝึ ก ปฏิ บัติ จ ริ ง ให้ เกิ ด การเรี ย นรู้ ทั้ ง ใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียนผ่านกิจกรรม ลูกเสือสร้างวินัย คุณธรรม ที่โรงเรียนจัดขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพคุณค่าของตัวเองได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น โดยเน้นการฝึก ให้ รู้จักหน้าที่ของตนเอง หน้าที่ต่อครอบครัว และสังคมส่วนรวม รู้จักช่วยเหลือผู้อ่ืน ไม่เอา รัดเอาเปรีย บ รู้จัก เคารพสิทธิ ของผู้อ่ืน ไม่เป็ นคนเห็ นแก่ ตัว มีค วามรับผิดชอบ รู้จั ก ปกป้องผลประโยชน์ของส่วนรวม และสร้างสรรค์ส่งิ ที่ดแี ก่สังคม ข้อเสนอแนะ ควรจัดกิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรมจริยธรรม ผ่านกิจกรรมที่ ปฏิบัติจ ริ ง เพื่อ ให้ ผู้ เรี ย นได้รับการพั ฒ นาอย่า งเป็ น องค์รวม โดยให้ค วามส าคั ญ กั บ คาสอนในแต่ละศาสนาอย่างเท่าเทียมกัน  ด้ า นสถาบั น พระมหากษั ต ริย์ ผู้ เรี ย นทุ ก คนรั บ การปลู ก ฝั ง ให้ ยึด มั่ น และ จงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ผ่านกิจกรรมที่โรงเรียนปลูกฝังให้อยู่ในวิถีชีวิตและ ในกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน จุดเด่น โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาความดีถวายเป็นพระราชกุศลเพื่อ เป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ปลูกฝังการประพฤติ ปฏิบัติตามแนวพระราชดาริด้านการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในวิถีชีวิต อีกทั้งยังจัดกิจกรรมให้จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ในวันสาคัญตามประเพณี ไทย โดยให้ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยจัด กิจกรรมผ่านการปฏิบัติ จริง การจัดกิจกรรมแสดงความเครารพต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยให้ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น วันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ วันมหาวชิราวุธ ฯลฯ เพื่อเป็นการแสดงความจงรักภักดี การเข้าร่วมกิจกรรมเทิดพระเกียรติ วันพ่อ แห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี การแสดงความเคารพ พระบรมฉายาลักษณ์และการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ข้อ เสนอแนะ ควรจัด กิจ กรรมให้ผู้ เรีย นทุ กคนรั บการปลูก ฝัง ให้ยึดมั่ นและ จงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย์ ผ่ า นกิ จ กรรมที่ โ รงเรี ย นปลู ก ฝั ง ให้ อ ยู่ ใ นวิ ถี ชีวิตประจาวันอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ รวมทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน ห้องเรียนให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับชีวติ จริง  ด้า นการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอั น มีพ ระมหากษั ต ริย์ ท รงเป็ น ประมุข ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีความยึดมั่นในด้านการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่งผลให้สถานศึกษาเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ และ ผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านปัญญา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

329


330

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และ สังคม เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของโรงเรียนในการ สร้างคุณธรรมด้านสามัคคีธรรม คารวะธรรม และปัญญาธรรม ผู้เรียนกล้าคิด กล้า พูด กล้าแสดงออก มีความเป็นผู้นาในลักษณะที่สมดุลในการเสริมสร้างศักยภาพของ ผู้เรียน โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะของพลโลก 10 ประการ คือ 1. แสวงหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ 2. คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ 3. แสดงความคิดเห็นและยอมรับผู้อื่น 4. สร้างและสรุปองค์ความรู้ 5. เรียนรู้และเข้าใจ ผู้อื่น 6. มีค่านิยมพื้นฐานและคุณธรรม 7. สร้างทางเลือกในการแก้ปัญหา 8. เห็น คุณค่าของตนเองและผู้อ่ืน 9. สามารถคิดและตัดสินใจ 10. เป็นพลเมืองดีของ สังคม จุดเด่น โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมประชาธิปไตยและการ เสริมสร้างวินัย โดยเน้นการใช้เชิงบวกให้แก่ผู้เรียนทุกคน ผ่านกิจกรรมคณะกรรมการ สภานักเรียนและจิตอาสา โดยให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกิจกรรมเลือกตั้งประธาน นักเรียนทุกขั้นตอน ตามระบอบประชาธิปไตย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประชาธิปไตยโดยใช้กระบวนการกลุ่มช่วยส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมประชาธิปไตย เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นเรี ย นมี ค วามเป็ น ผู้ น าและท างานเป็ น ที ม สร้ า งค่ า นิ ย มการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เสริมสร้าง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้แก่นักเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักบาเพ็ญประโยชน์และ มีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมด้านทักษะที่สาคัญ คือ 4 ประการคือ 1. ทักษะ พื้นฐาน 2. ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน 3. ทักษะการทางาน 4. ทักษะพลเมือง ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต มีความสามารถคิดอย่างมี เหตุผล รู้จักวิธีแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน สามารถนาความรู้ไปใช้ใน การพัฒนาตัวเองได้ในชีวติ จริง สามารถช่วยเหลือตัวเอง และ ผู้อ่ืนได้ มีคุณธรรมเรื่อง การมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์ และ ความรับผิดชอบ ข้ อ เสนอแนะ ควรจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นยึด มั่ น การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วยกิจกรรมคณะกรรมการสภา นักเรียนจิตอาสา และวินัยเชิงบวก เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะความเป็ น ประชาธิปไตย ผ่านกิจกรรมวิถีชีวิตประจาวัน โดยการจัดระบบการปฏิบัติกิจกรรมให้ คณะครูทุกคนมีส่วนร่วม และให้ผู้เรียนทุกคนได้ปฏิบัตจิ ริง

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ลูกเสือ – เนตรนารี โรงเรียนวัดวังขนายทายิกา ราม จานวน 282 คน ได้รับการส่งเสริมด้านวินัย คุณธรรม ตรงตามคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผู้กากับลูกเสือ – เนตรนารี จานวน 14 คน จัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่สง่ เสริมวินัย คุณธรรม แก่นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ลูกเสือ – เนตรนารี มีวินัย คุณธรรม รูจ้ ักการทางานเป็นหมู่คณะ มีความสามัคคี ช่วยเหลือผู้อื่น มีจิตสาธารณะมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะการเป็นผู้นา ผู้ ตามที่ดี รูจ้ ักบทบาทหน้าที่ของตนเอง เป็นคนดีและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 2) ผู้กากับลูกเสือ – เนตรนารี มีความรู้ความเข้าใจสามารถจัดกิจกรรมในการ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ส่งเสริมด้านวินัย คุณธรรม ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม  ความพึ ง พอใจของผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง จากการประเมิ น ระดั บ คุ ณ ภาพการ ปฏิบัตงิ านความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะ ครู ในการดาเนินงานกิจกรรม “ลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม” โรงเรียนวัดวังขนาย ทายิการาม จานวน 205 คน ภาพรวมระดับคุณภาพการปฏิบัติงานความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 92.68  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ยอมรับในการเสริมสร้างวินัย คุณธรรม และเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆที่โรงเรียนจัด อย่างเต็มที่และเต็มใจ 2) รู้ ตระหนัก และเข้าใจบาบาทหน้าที่หน้าตนเองอย่างชัดเจน และปฏิบัติตามบทบาท อย่างเหมาะสม 3) ปฏิบัตติ นเป็นอย่างที่ดี เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน 4) นาความรู้ความเข้าใจไปเผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 5) สามารถนาประสบการณ์ที่ได้จากการทากิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียนไปปฏิบัติ อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ผู้บริหาร 1) ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่ปลูกฝังและเสริมสร้างวินัย คุณธรรม และคุณลักษณะที่ เอื้ออาทรต่อกันและกันออย่างจริงใจ 2) ติดตามผลการปฏิบัติงาน กระตุ้น ให้ขวัญกาลังใจ ชี้แนะแนวทางปัญหาที่อาจจะ เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมทั่วถึง และเป็นกลาง 3) ปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างที่ดี 4) วางโครงสร้าง ระบบบริหารแนวปฏิบัติที่ชัดเจนสู่เป้าหมายร่วมกัน สร้างความเข้าใจ ตรงกัน 5) จัดสรรงบประมาณ บุคลากร และให้การเสริมแรง 6) กาหนดนโยบาย และแนวทางปฏิบัตใิ ห้ชัดเจน 7) มีส่วนร่วมในกิจกรรม ครู 1) จัดกิจกรรมที่สอดแทรกการปลูกฝังด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชาและ ตรวจปฏิบัติงานของนั กเรีย นอย่า งสม่าเสมอ โดยให้นั กเรีย นมีส่ วนร่ว มและเป็น ผู้ ปฏิบัตกิ ิจกรรมนัน้ ด้วยตนเอง 2) เป็นแบบอย่างที่ดีในคุณ ลักษณะ ตามที่นักเรีย นคาดหวัง คือ ตัดสินปั ญหาโดยใช้ เหตุผล มีความยุติธรรม พูดจาสุภาพ เป็นที่ปรึกษาที่ดี มีความอดทน มีความเสียสละ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีใจเป็นกลาง รูจ้ ักให้อภัย และวางตัวเหมาะสม 3) ปรึกษา ชี้แนะ ให้กาลังใจ ให้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องชัดเจนเพื่อส่งเสริมผู้เรียนด้า น คุณลักษณะที่เอื้อต่อความสมานฉันท์ และพึ่งพากันได้ 4) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ทัง้ ในและนอกหลักสูตร 5) ปฏิบัตติ นตามนโยบายที่วางไว้อย่างชัดเจน เป็นแนวเดียวกัน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

331


332

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

6) ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อเสริมทักษะในกิจกรรมการเรียนการสอนที่เป็นระบบ ทีม กลุ่ม และรู้จักบทบาทหน้าที่ 7) ประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 8) มีความซื่อสัตย์ต่อเป้าหมายที่วางไว้อย่างแท้จริง ผู้ปกครอง 1) สนับสนุนด้านปัจจัย เวลา กาลังใจ ในการดาเนินกิจกรรมของนักเรียน โรงเรียน และชุมชน 2) รู้ ตระหนักในบทบาท หน้าที่ของตนในอันที่จะเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น ตัดสินปัญหา โดยใช้เหตุผล ไม่มั่วสุมอบายมุข มีความจริงใจ รักและเอาใจใส่ครอบครัว มีความ สามัคคีมคี วามซื่อสัตย์ มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละ มีใจเป็นกลาง และ ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง 3) ให้ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 4) มีความรู้ความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมปัจจุบัน 5) ให้คาปรึกษาบุตรหลานเมื่อมีปัญหา และดูแลอย่างใกล้ชิด กรรมการสถานศึกษา 1) สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของนักเรียน โรงเรียน โดยร่วมคิดนโยบาย วางแผน และ มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างวินัย คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของนักเรียน 2) มีความเข้าใจและตระหนักในความสาคัญของการปลูกฝังคุณลักษณะที่ดีงามแก่ นักเรียน 3) ระดมความคิด สรพกาลังในการจัดการเรียนการสอนจากชุมชนสู่โรงเรียนเพื่อ การเรียนรู้ที่เอื้อต่อความสมัครสมานสามัคคีในชุมชน 4) ร่วมประเมินกิจกรรมหรือคุณลักษณะต่าง ๆ ของนักเรียนเพื่อแก้ไขปัญหาและ ปรับปรุง 5) เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน 6) สนับสนุนด้านงบประมาณ แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 7) เสนอแนะแนวทางในการปฏิบัตติ นตามคุณลักษณะของชุมชนที่พึงประสงค์ 8) ช่วยสอดสองดูแล และให้คาปรึกษาแก่นักเรียน 9) ผลักดันนโยบายให้ไปสู่การปฏิบัตไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ชุมชน 1) การพัฒนาชุมชนโดยโรงเรียนมีส่วนร่วมในการทาความสะอาด วัด ถนน ปลูก ต้นไม้ 2) ให้บริการวัสดุ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ในการจัดกิจกรรมของชุมชน 3) 3. การเข้าร่วมกิจกรรมวันสาคัญทางศาสนาหรือ ศาสนพิธี เช่ น แห่เทียนจานา พรรษาประเพณีลอยกระทง 4) ชุมชนโดยเฉพาะผู้นาชุมชน ซึ่งได้แก่ ผู้นาทางศาสนา กานัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก เทศบาลตาบล คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง เป็นกาลังสาคัญ ในการพัฒนาโรงเรียน และเข้ามาดูแลโรงเรียนเป็นอย่างดี โดยถือว่าโรงเรียนเป็น การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

333

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ส่ ว นหนึ่ ง ของชุม ชน จึ ง เข้ า มามีบ ทบาทและจั ด กิ จ กรรมร่ ว มกั บ โรงเรี ย นอย่ า ง สม่าเสมอ เช่น การะดมทุนการศึกษา การศึกษาดูงานร่วมกัน 5) สถานศึกษาเป็นแหล่งความรู้ของชุมชน โดยจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับชุมชนใน เรื่อ งต่า ง ๆ เช่ น เศรษฐกิ จ พอเพีย ง เกษตรทฤษฎีใ หม่ หาวิ ทยากรผู้ มีค วามรู้ ความสามารถในแต่ละด้านมาให้ความรู้ และสนับสนุนงบประมาณค่าใช้จ่าย 6) การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยชุมชนเข้ามามีบทในการ กาหนดนโยบายการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น การเข้มงวดเรื่องสิ่งเสพ ติ ด การดู แ ลพฤติ ก รรมบุ ต รหลานในชุ ม ชน เรื่ อ งวิ นั ย คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม กิริยามารยาท ของนักเรียน โรงเรียนวัดวังขนายทายิการาม ได้ส่งเสริมวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้กับนักเรียน สรุปได้ คือ 1. การสอนในห้องเรียน ซึ่งเป็นหน้าที่โดยตรงของครูทุกคนในการที่จะสอนหรือ ปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้กับนักเรียน โดยสอดแทรกในเนื้อหาวิชาที่ตนสอน 2. การสอนนอกห้องเรียน ครูสอนได้ทักลักษณะทุกสถานการณ์ที่ครูพบเห็น พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออก ซึ่งจะเป็นลักษณะที่พงึ ประสงค์ หรือไม่พงึ ประสงค์ โดย ชี้ให้เห็นคุณประโยชน์ และโทษที่เกิดขึ้นกับตนเอง ชุมชน สังคมอันเนื่องมาจากพฤติกรรม ที่นักเรียนแสดงออกมา 3. การสอนโดยอาศัยโครงการ โครงงาน กิจกรรม กระบวนการทางลูกเสือ ชุมนุม ชม รม การจัดนิทรรศการ การนาเสนอผลงานดีเด่น กิจกรรมที่หลากหลายที่จะ ทาให้นักเรียนรู้จักตนเองมากขึ้นความถนัด ความสามารถ ยอมรับข้อบกพร่องของตนเอง ทาให้ เกิ ดความเข้า ใจในความสั มพั นธ์ ของตนเองกับผู้อ่ืน เข้า ใจผู้อ่ืนมากขึ้น รวมทั้ ง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน เข้ากับผู้อ่ืนได้ เกิดความสามัคคีในกลุ่ม รู้จักระเบียบ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น และยังเป็น การฝึ กให้ได้ รับการทางานเป็น กลุ่ม รู้ จักแบ่ ง หน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัตงิ าน ตระหนักถึงความเป็นผู้นาที่ดี ผู้ตามที่ดีสมาชิกที่ ดีของสังคม รูจ้ ักเคารพในสิทธิของผู้อื่น รักษาสิทธิของตน รู้จักเสียสละ กล้าแสดงความ คิดเห็น การแสดงออกทางสร้างสรรค์ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน มีจิตอาสา บาเพ็ญ ประโยชน์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาและปรับปรุงพฤติกรรมบางอย่างของตน ให้เหมาะสม จึงนามาซึ่งความร่วมมือ ร่วมใจในการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นสถานศึกษา ดีเด่นด้านวินัย คุณธรรม และนักเรียนดีเด่นด้านวินัย คุณธรรม มีชีวิตที่พอเพียงและเป็น สุขท่างกลางสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลอย่างต่อเนื่อง  วิ ธี ก ารตรวจสอบซ้ า ประเมิ น และตรวจสอบคุ ณ ภาพ คณะกรรมการตรวจสอบภาคเรียนละ 1 ครัง้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

โดยจั ด ตั้ ง


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

334

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

/

/

 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง พบว่าสถานศึกษาได้ วิเคราะห์ขั้นตอนและทดลองใช้แล้ว สรุปได้ว่าขั้นตอนของ Best Practice ลูกเสือ สร้ า งวินั ย มี คุ ณ ธรรม มี คุ ณ ภาพ สามารถน าสู่ ก ารปฏิบั ติไ ด้ โดยเกิ ด ผลดี ต่ อ นักเรีย น และสอดคล้ องกั บการประเมิน คุณ ภาพการศึก ษา (สมศ.) ของโรงเรีย น วั ด วั ง ขนายทายิ ก ารามปี ก ารศึ ก ษา 2554 มาตรฐานที่ 1 ผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ซึ่งนักเรียนมีคุณภาพอยูใ่ นระดับดี

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง 1) ขยายผลให้กับโรงเรียนเครือข่ายและผู้สนใจ เพื่อนารูปแบบการดาเนินงาน สู่การ ปรับใช้ในสถานศึกษา 2) ผู้บริหารและครูผู้ดาเนินงาน ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนในการนาเสนอ เผยแพร่ ข้อมูลกิจกรรม ในระดับกลุม่ เครือข่ายและระดับจังหวัด 3) เผยแพร่แก่คณะครูและสถานศึกษาต่าง ๆ ที่มาศึกษาดูงานที่โรงเรียน 4) ร่วมเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ และการจัดกิจกรรม ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา 5) จั ด ทาห้ อ งกิ จ กรรมลู ก เสือ รวบรวมสื่อ นวั ต กรรม วั ส ดุ -อุ ปกรณ์ เอกสาร ผลงานนักเรียน ครู และโรงเรียน เพื่อเผยแพร่ 6) จัดทาวารสาร แผ่นพับ เพื่อเผยแพร่ผลงาน 7) เผยแพร่ขอ้ มูลทางเว็บไซด์ของโรงเรียน www.wkn.ac.th 8) นาเสนอผลงานดีเด่น Best Practice เรื่อง ลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม นา ความรู้ ณ โรงแรมราชศุภมิตร กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2553 9) จัดนิทรรศการแสดงผลงานโรงเรียน-ครู-นักเรียน ลูกเสือสร้างวินัย มีคุณธรรม เพื่อต้อนรับ ฯพณฯ รมว.ศธ. ดร.สุชาติ ธาดาธารงเวช ณ โรงแรมราชศุภมิตร กาญจนบุรีเมื่อวันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม 2555

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

355

ชุมนุมงานประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์

เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อให้นักเรียนมีสมาธิในการทางาน ปลูกฝังความอุตสาหะ ความอดทนและ ความรับผิดชอบแก่ผู้เรียน  เพื่อส่งเสริมความสามารถพิเศษของนักเรียนและเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง  เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ ฝึ ก ทั ก ษะและประสบการณ์ การท างานเป็ น การพั ฒ นา สู่อาชีพในอนาคต  เพื่อเป็ นการสร้ างงาน สร้ างอาชีพ สร้ างรายได้ จากการสร้ างผลงานของ ตนเองระหว่างเรียน

ระยะเวลาในการพัฒนา เดือนพฤษภาคม 2554 – ปัจจุบัน โดยการทางานเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 1) ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการทาดอกกระเจียว,การทาพวงกุญแจ,การทา พวงมาลัย,การทากล่องไม้จิ้มฟันและกล่องกระดาษทิชชู จากผู้รู้ จากหนังสือเอกสาร ตาราหรือนิตยสารต่าง ๆ ในห้องสมุดหรือหซื้อหนังสือจากแผงจาหน่ายหนังสือ 2) ปรึ กษาหารือหรือ ขอค าแนะน าจากการไปศึก ษาดู งานเกี่ ย วกั บวิธีการเขี ย น โครงงาน และจากการค้นคว้า 3) ทางอิ น เทอร์ เน็ ต การวางแผนและกรรมวิธี โ ดยละเอีย ดในการปฏิ บัติง าน จากนั้นจึงร่างโครงงานและ 4) ขอความเห็นชอบจากผู้อานวยการสถานศึกษา 5) เตรียมความพร้อมด้านเงินทุน วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ตา่ ง ๆ 6) วางแผนปฏิบัตงิ านและกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 7) ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ปรับปรุงแก้ไขในขณะปฏิบัติงานและบันทึก การปฏิบัตงิ าน 8) ประเมินผลการปฏิบัตงิ าน และเขียนรายงานโครงงาน ระยะที่ 2 1) ปรับปรุงและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ 2) ทาแบบประเมินความพึงพอใจ 3) สรุปผลการประเมิน 4) จัดสรรงบประมาณและจัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย 5) แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัตงิ านการประดิษฐ์ตา่ ง ๆ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางณัฏฐิมา แคนสังข์ ครู โรงเรียนบ้านทุ่งนานางหรอก "เพ็ญชาติอุปถัมภ์" โทรศัพท์ 084-5186649 E-mail : natima27@hotmail.com


356

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์กับเป้าหมายของ สพฐ. /สถานศึกษา “ชุมนุมงานประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์” สนองประเด็นยุทธศาสตร์ของ สพฐ. การ ส่ง เสริม การมีง านทา โดยโรงเรี ยนบ้ า นทุ่ง นานางหรอก "เพ็ ญชาติอุ ปถั ม ภ์" มีก รอบ แนวคิดในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อสนับสนุนการสร้างอาชีพระหว่างเรียนและ เพิ่มรายได้ให้กับครู เพื่อลดปัญหาหนี้ และเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนเมื่อสาเร็จ การศึกษา โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เข้ามา บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นภูมิปัญญาไทย แล้วใช้หลักการสอนแบบบูรณา การกั บกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ก ารงานอาชีพ และ เทคโนโลยี กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ศิล ปะ เพื่อให้ มีก ารสืบสานอย่า งยั่ ง ยืน เผยแพร่ กั บ บุคลากรในโรงเรียน ชุมชนบ้านทุ่งนานางหรอก ชุมชนบ้านวังกุ่ม และชุมชนบ้านท่าแจง การจัดจาหน่ายภายในโรงเรียนและนอกโรงเรียน สามารถสร้างรายได้ให้กับกลุ่มที่สนใจ ( กลุ่มชุมนุมงานประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์และ กลุ่มจิตอาสา )

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและอัจฉริยภาพของตนเอง เพื่อให้สามารถพัฒนา ตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับความสนใจและความ ถนัดของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิต มีความสามารถในทางอาชีพ ฝึกปฏิบัตใิ ห้เกิดการ คิ ด เป็ น ท าเป็ น และมี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ แ ละเข้ า ร่ ว มและปฏิ บั ติ กิ จ กรรมที่ เหมาะสมร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข กับกิจกรรมที่เลือกด้วยตนเอง ตามความถนัด และความสนใจอย่างแท้จริง การพัฒนาที่สาคัญ คือ การพัฒนาองค์รวมของความเป็น มนุษย์ใ ห้ครบทุ กด้าน ทั้งร่า งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพ ปลูกฝังและสร้าง จิตสานึกของการทาประโยชน์ เพื่อสังคม และประเทศชาติ โดยการศึกษาครั้งนี้ได้นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว เข้ามาบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นภูมิปัญญาไทย เพื่อให้เกิด ความรู้ ค วามเข้ า ใจ มี ทั ก ษะในการท างานและเป็ น ทางเลื อ กอาชี พ ตามความสนใจ สามารถพึ่ง ตนเองและตั ดสิ น ใจด้ ว ยตนเองอย่า งมีคุณ ธรรม จริย ธรรมและรู้จั ก แนว เศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 3 ห่วง คือ พอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน เช่น การผลิตและ การบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ มีเหตุมีผล หมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับ ความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค านึง ถึ ง ผลที่ ค าดว่า จะเกิ ด ขึ้น จากการกระทานั้น ๆ อย่า งรอบคอบ และ ภูมิคุ้มกันในตัวหมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ดี 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องอย่า งรอบด้า น ความ รอบคอบ ที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขัน้ ปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มี ความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

357

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ไม่โลภ ไม่ตระหนี่ ( พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวพระราชทาน ณ วันที่ 4 ธันวาคม 2541 ) ที่สาคัญข้าพเจ้าได้นาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นนามาใช้ในการจัดทาและพัฒนา ในครั้งนี้ โดยเฉพาะการแปลงปัญญาให้เป็นเงิน และใช้หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บูรณาการกับกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเพื่อให้มีการสืบสานอย่างยั่งยืนและสามารถสร้าง รายได้ให้กับกลุ่มที่สนใจ ( จึงได้จัดกิจกรรมชุมนุมงานประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์ พร้อมทั้ง รวบรวมกิจกรรมการทาดอกกระเจียว,การทาพวงกุญแจ,การทาพวงมาลัย,การทากล่อง ไม้จิ้มฟั นและกล่องกระดาษทิชชู ช่วยเสริมสร้ างทัก ษะชีวิต ดิบริ หารเวลา จัดการ ความคิด รู้จักคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น โดยวิธีการที่ถูกต้อง ได้เรียนรู้การทางานเป็นทีม อย่างเป็นระบบ เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการทางานและเป็นแนวทางเลือก อาชีพตามความสนใจ สามารถพึ่งตนเองและตัดสินใจด้วยตนเองได้ อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม

กระบวนการพัฒนา  1) 2) 

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนที่เป็นสมาชิกชุมนุมงานประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์ จานวน 20 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – 6 ที่มีจิตอาสา จานวน 77 คน ขั้นตอนการพัฒนา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว

(

)

/

(

/

/

/ /

/

)

/

/

/ /

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

358

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1)

2) 3)

1)

2)

 การตรวจสอบคุณภาพผลงาน ศึก ษาหลั ก แนวคิ ด หลั ก ปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ของ พระบาทสมเด็ จ พระ เจ้าอยู่หัว โดยเชื่อมโยงกับหลักสูตรการศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของโรงเรียน ก าหนดเนื้ อ หาจากกิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เ รี ย น ( กิ จ กรรมชุ ม นุ ม งานประดิ ษ ฐ์ คิ ด สร้างสรรค์ ) จานวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และนักเรียนบางกลุ่มที่ได้มจี ิตอาสา กาหนดกลุ่มเป้าหมายของผู้เรียน ดาเนินการดังนี้  เรียนตามความสนใจ โดยครูผู้สอนสอบถาม เน้นต้องอยู่รอบบริเวณตัวของ นักเรียน หรือชุมชนใดชุมชนหนึ่ง  จัดกลุ่มนักเรียนตามความสนใจ กลุ่มที่ 1 ดอกไม้(ดอกกระเจียว ) จากริบบิน้ , พวงกุญแจเป็นรูปต่าง ๆ จาก ลูกปัด , กลุ่มที่ 2 กล่องใส่ไม้จิ้มฟัน / กล่องกระดาษทิชชู จากลูกปัด ซึ่งหลังจากทีน่ ักเรียนได้ทากิจกรรมแล้ว สามารถส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน โดยการจาหน่ายทั้งในและนอกโรงเรียน รวมถึงการนาไปเผยแพร่ออกงาน จัดนิทรรศการวิชาการต่าง ๆ และงานต่างๆ ในชุมชน  สร้างคู่มอื กิจกรรมนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งนานางหรอก“เพ็ญชาติอุปถัมภ์” เพื่อเผยแพร่วิธีปฏิบัติในกลุ่มชุมนุมและกลุ่มจิตอาสา  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ การพัฒนาต่อยอด การร้อยลูกปัดเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ เพื่อทาเป็นพวงกุญแจ , เป็น กล่องใส่ไม้จมิ้ ฟัน กล่องกระดาษชาระ และการประดิษฐ์ดอกไม้จากริบบิ้นฟาง ทา ให้ได้ความรู้ ความเข้าใจ ทีทักษะในการทางานและเป็นแนวทางเลือกอาชีพตาม ความสนใจ เป็ น การฝึ ก อาชีพ เพื่อ จะน ามาพั ฒ นาเป็ น อาชีพ เสริ ม ได้ สามารถ พึ่งตนเองและตัดสินใจด้วยตนเองได้ อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพในชุมชน สร้างอาชีพกั บการประดิษฐ์ เป็นอาชีพ ทางเลือกแก่นักเรียนและชุมชน

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ จานวนของดอกไม้ที่ประดิษฐ์จากริบบิ้น ,พวง กุญแจรูปแบบต่าง ๆ จากลูกปัด, กล่องใส่ไม้จมิ้ ฟัน และกล่องกระดาษทิชชู จากลูกปัด มีจานวนมากเพียงพอสาหรับการจาหน่ายเป็นรายได้ระหว่างเรียน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนได้รับความรู้ประสบการณ์ และเทคนิคการประดิษฐ์และทักษะในการดอก กระเจียวจาก ริบบิ้น,พวงกุญแจรูปแบบต่าง ๆ จากลูกปัด , กล่องใส่ไม้จิ้มฟันและ กล่องกระดาษทิชชู จากลูกปัด 2) นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อครูผู้สอน ชุมชน และสามารถไปเป็นตัวแทนนาเสนอ และเผยแพร่การจัดนิทรรศการแข่งขันในงานศิลปะหัตถกรรมนักเรียนระดับภาค และได้จาหน่ายทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้รับความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เป็นอย่างดี ที่สาคัญผู้ปกครองและชุมชนได้เห็นว่าสถานศึกษาให้สิ่งที่ดีต่อบุตรหลาน ของเขาอย่างแท้จริง และเป็นที่มั่นใจได้ว่าลูกหลานของเขามาเรียนที่น่ีได้รับความรู้และ เป็นคนดีของสังคม  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา  ด้านทรัพยากร ได้รับการสนับสนุนและคาแนะนาจากผู้บริหารโรงเรียน นางบุษกร ห้าสกุล ในการจัดกิจกรรมชุมนุม โดยให้งบประมาณมาซื้อวัสดุอุปกรณ์ แล้วจัดทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย พร้อมทั้งให้บริหารงบประมาณให้พอเพียงโดยมีการ จัดจาหน่ายผลงานทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน  ด้า นทุ น ได้ รับงบประมาณจากกิ จกรรมพั ฒ นาผู้ เรี ย นเป็ น ค่ า วั ส ดุ แ ละ อุปกรณ์

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ได้น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง  ผลงานนักเรียนมีงานต่อเนื่องและสม่าเสมอ กิจกรรมพี่สอนน้อง สามารถ ทางานได้โดยการสอนต่อ  นาชุมชนเข้ามาร่วมกิจกรรม  บูรณาการกับกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง เผยแพร่ในงานนิทรรศการการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลาง และภาคตะวันออก ครั้งที่ 61 งานประชุมผู้ปกครอง งานมอบเกียรติบัตรนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6 ปีการศึกษา 2554 คณะครูและผู้บริหารโรงเรียนศึกษานารี อนุสรณ์ 2 จังหวัดเชียงใหม่, คณะครูและผู้บริหารโรงเรียนวัดถาปานนิมิต มิตรภาพที่ 142, คณะครูและผู้บริหารโรงเรียนบ้านน้าพุ สพป.ชพ.1,คณะครูและผู้บริหารโรงเรียน บ้านทุ่งโพธิ์ อ. เทพา สงขลา , คณะครูและผู้บริหารโรงเรียนบ้านกรับใหญ่ สพป.กจ 4, คณะครู แ ละผู้ บริ ห ารโรงเรี ย นบ้ า นไผ่ ค อกวั ว สพป.นครปฐม เขต 2 คณะครู แ ละ ผู้บริหารโรงเรียนหาดเจ้าสาราญ สพป.เพชรบุรี เขต 1 จัดทาแผ่นพับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนและโรงเรียนใน ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาลาดหญ้าและเผยแพร่ไปยังโรงเรียนที่มาศึกษาดูงาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

359


360

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

เรารักอาเซียน เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

นางธิดารัตน์ นุชโสภา ครู โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี โทรศัพท์ 089-2608386 E-mail : tidaratkan@hotmail.com

 เพื่อส่ งเสริ มให้นั กเรีย นในชุมชน มีค วามรู้ค วามเข้า ใจเรื่องของประชาคม อาเซียน (ASEAN community )  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการสืบค้นข้อมูล การสรุปข้อมูล และการ นาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียน  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใช้ส่อื และผลิตสื่อ ประกอบการเรียนรู้อาเซียนได้อย่าง หลากหลาย

ระยะในการพัฒนา เดือนมิถุนายน ถึง 30 เดือน กันยายน 2555 ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ./สถานศึกษา สื่อประกอบการเรียนรู้ “เรารักอาเซียน ” สนองประเด็นยุทธ์ศาสตร์ของ สพฐ. การปรั บตั ว เข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น/ ประชาคมโลก เพื่อ สร้ า งองค์ ค วามรู้ /ความ ตระหนักให้กับผู้เรียน ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจของอาเซียน (รู้เขา รู้เรา เท่าทัน แข่งขันได้) สอดคล้องจุดเน้นของ สพป.กจ.1 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ มาตรฐานที่ 6 มี ค วามรู้ แ ละทั ก ษะที่ จ าเป็ น ตาม หลักสูตร ตัวบ่งชีท้ ี่ 6.1 6.2 และ 6.3 และจุดเน้นของโรงเรียน การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาในบทบาทของโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 / หลั ก สู ต รอาเซี ย นศึก ษา / หลั ก สู ต รโรงเรี ย น มาตรฐานสากล

แนวคิด /หลักการ / ทฤษฎี ที่นามาใช้ในการพัฒนา สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน เป็นองค์กรทางภูมิรัฐศาสตร์และองค์การความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศในภูมิภาค ธารงไว้ ซึ่งสั นติภ าพ เสถียรภาพ และความมั่นคงปลอดภัยทางการเมือ ง สร้า งสรรค์ค วาม เจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม กินดีอยู่ดบี นพืน้ ฐาน ของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกัน จากกลยุทธ์สกู่ ารบริหารคุณภาพ โรงเรียนมาตรฐานสากล เพื่อคุณภาพสู่ความ เป็นเลิศ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรีจึงต้องคานึงถึงการให้ความสาคัญ กับคุณค่าที่ ควรยึดถือเป็นหลักในการดาเนินงาน ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงผลการปฏิบัตทิ ี่ดเี ลิศ (Best Practices) ผลการปฏิบัติที่ดีเลิศ (Best Practices) ที่โรงเรียนพึงมุ่งเน้นเพื่อให้เกิดผล งานที่เป็นเลิศ โดยบูรณาการให้ปรากฏเป็นที่ประจักษ์ ให้มีบรรยากาศเอื้อต่อ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

361

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น และการเรี ย นรู้ ร ายบุ ค คลในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ภารกิ จ การดาเนินงานของโรงเรียน ซึ่งจะเป็นสิ่งสาคัญในการพัฒนาโรงเรียนไปสูค่ วามสาเร็จ ส่งผลให้เกิดประโยชน์และคุณค่าแก่ผู้เรียนและการเตรียมการเป็นประชาคมโลกในปี 2558 สื่อประกอบการเรียนรู้ “เรารักอาเซียน ” เป็นการปฏิบัติที่เป็นเลิศในกิจกรรม ชุมนุม เป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในลักษณะของการเรียนรู้ตามความสนใจ นักเรียน สมัครเข้ามาร่วมกิจกรรมด้วยใจรัก และความสนใจอย่างแท้จริง ซึ่งผู้พัฒนา ได้ยึดหลัก แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่สาคัญในการพัฒนาผู้เรียน คือ

Best Practice

2551 -

(Constructionism)

(Independent Study : IS) P

P D pP

5

p

(Hypothesis Formulation)

1 2 for Information) 3

(Searching A

( Knowledge Formation)

4 Communication)

( Effective

5

Learn to Know

C

(Public Service)

Learn to do

Learn to be

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

Learn to live the others


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

362

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 จานวน 20 คน ที่มีความสนใจสมัครมาเข้าเรียนในกิจกรรมชุมนุม “เรารักอาเซียน

1. 2.

1 2 3 4 5

3. 4. 5. 6.

 ขั้นตอนการพัฒนา ผู้พัฒนาได้ดาเนินการพัฒนาเป็นสื่อประกอบการ เรียนรูโ้ ดยเป็นขั้นตอน ดังนี้  การตรวจสอบคุ ณ ภาพ ผู้พั ฒนา ได้มี การตรวจสอบคุณ ภาพของ นวัตกรรม “ สื่อประกอบการเรียนรู้เรารักอาเซียน ” โดยนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ตรวจประเมิน ความสอดคล้องของเนื้อหา กระบวนการ กับวัตถุประสงค์ของนวัตกรรมที่กาหนด โดยวิธีการหาค่า ผลการตรวจสอบ คุณภาพของนวัตกรรม ระดับของความพึงพอใจ เท่ากับ 3.98  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) ใช้เป็นนวัตกรรมต้นแบบเกี่ยวกับการสอนอาเซียนศึกษาในโรงเรียน 2) ใช้เป็นนวัตกรรมต้นแบบเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มเติม Independent Studyโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนจานวน 20 คน ในกิจกรรมชุมนุมเรารัก อาเซียน ได้รับการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนในกิจกรรมชุมนุม เรารักอาเซียน มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจเรื่อ งอาเซีย น มี ทั ก ษะในการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล การสื่ อ สาร นาเสนอสิ่งที่สืบค้นให้ผอู้ ื่นเข้าใจ  ความพึงพอใจของนักเรียนในกิจกรรมชุมนุมเรารักอาเซียน ได้มาจาก การตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 95.00  ปัจ จั ย ความสาเร็จ ของการพั ฒนา คือ การมี แหล่ง เรียนรู้เกี่ย วกับ อาเซีย นศึกษาในโรงเรียน การมีแหล่งสืบค้นข้อมูลที่ทั นสมัย ส่วนการน าไปใช้ ครูผู้ส อนต้องมี ความรู้ความเข้า ใจเรื่องของการสอนโดยใช้เทคนิคบัน ได 5 ขั้น และมีความรู้เรื่องราวที่สาคัญของอาเซียน และครูต้องตระหนักถึงความสาคัญ ของการร่วมมือกันสอนหลักสูตรอาเซียนศึกษาในโรงเรียน และในอีกประเด็นที่ สาคัญ การสอนในกิจกรรมชุมนุมที่เป็นการพัฒนาผู้เรียนตามความสนใจ ต้อง สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ให้มากที่สุด คือมุ่งสอนกระบวนการ มากกว่า เนื้อหา โดยให้นักเรีย นมีส่วนร่วมในการจัดท า “สื่อประกอบการเรีย นรู้ เรารัก อาเซียน” และ ผู้ปกครองนักเรียนให้การสนับสนุน กระบวนการตรวจซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า นาไปให้ครูผู้สอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป. 5 ทดลองใช้สอนกับนักเรียนขั้น ป.5 เพื่อตรวจสอบ คุณภาพของกระบวนการเรียนการสอน  ผลการตรวจสอบซ้า คือ ให้ใส่ภาพประกอบที่สอดคล้องกับเนื้อหา และในส่วนของสื่อประกอบการเรียนรูใ้ ห้มีจานวนที่เพียงพอกับจานวนนักเรียน 1) 2)

3) 4) 5) 6)

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง จัดนิทรรศการ เรารักอาเซียน “รูเ้ ขา รูเ้ รา” ต้อนรับคณะกรรมการประเมิน โรงเรียนพระราชทาน จั ด นิ ท ร ร ศ ก า ร เ ร า รั ก อ า เ ซี ย น ต้ อ น รั บ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร กระทรวงศึกษาธิการมาประชุมที่โรงแรมเฟลิกซ์ กาญจนบุรี ปี 2553 และ ที่โรงแรมราชศุภมิตร กาญจนบุรี ปี 2554 และการประชุมสัญจรที่โรงแรม ราชศุภมิตร จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2555 จัดนิทรรศการสัปดาห์เรารักอาเซียน ต้อนรับคณะกรรมการประเมินภายนอก รอบที่สาม สมศ. วันที่ 19-21 กรกฎาคม 2554 เป็นวิทยากรขยายผลการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา ชมรมครูต้นแบบ วันที่ 4 กันยายน 2554 ขยายผล ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และประชาชนทั่วไปในศูนย์เครือข่า ย สะพานข้ามแม่น้าแคว วันที่ 14 กันยายน 2554 จัดนิทรรศการ เรารักอาเซียน ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน จากโรงเรียนต่างๆ ณ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี วันที่ 31 มกราคม 2555 การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

363


364

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

การส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

นางนัยนา เจียมอยู่ ครู โรงเรียนวัดจรเข้เผือก โทรศัพท์ 089-8372103 E-mail : pop-dang2503@hotmail.com

วัตถุประสงค์  เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีเจตคติที่ดตี อ่ อาชีพสุจริต เป้าหมาย  นักเรียนร้อยละ 75 มีทักษะในการจัดการและทางานให้สาเร็จ  นักเรียนร้อยละ 70 มีความเพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบใน การทางาน  นักเรียนร้อยละ 80 ทางานอย่างมีความสุข พัฒนางาน และภูมิใจในงานของ ตน  นักเรียนร้อยละ 75 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้  นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้สึกที่ดี ต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับ อาชีพที่ตนเองสนใจ

ระยะเวลาในการพัฒนา 16 พฤษภาคม 2553 – 31 มีนาคม 2556 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย สพฐ./สถานศึกษา สนองยุทธศาสตร์ สพฐ. ที่ 4 การพัฒนาครูทั้งระบบ การใช้หลักสูตรเพื่อ การมีงานทาของสถานศึกษา พัฒนา ฝึกทักษะให้นักเรียนมีทักษะชีวิต มีความสามารถ ในทางอาชีพ และสนองกลยุทธ์ที่ 1 2 และ 3 ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา “กิจกรรมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนนี้” เป็นกิจกรรมชุมนุมที่สนับสนุนการ เรียนการสอนในกลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ที่พัฒนาต่อยอดจาก โครงการทางาน ทาดี มีอาชีพ ด้วย โดยมีกรอบแนวคิดในพัฒนาผู้เรียนทุกคนตาม ศักยภาพผู้เรียนโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและระบบส่งต่อผู้เรียน เพื่อพัฒนา ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผู้เรียนได้รับการศึกษาเต็ม ตามศักยภาพ ใฝ่เรียนรู้ มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การ ใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี ส่งผลให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียน มีจิตสาธารณะ และรับผิดชอบต่อสังคม โดย มีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นทั้ ง ความรู้ (Literacy) และ สมรรถนะ (Competency ) ทั้งในทาง วิชาการและวิชาชีพ

กระบวนการพัฒนา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 โรงเรียนวัดจรเข้เผือก จานวน 57 คน นักเรียนชาย 29 คน นักเรียนหญิง 28 คน ระยะที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือน ตุลาคม 2555 ระยะที่ 2 เดือน พฤศจิกายน – เดือน มีนาคม 2556  ขั้นตอนการพัฒนา  ระยะที่ 1 เดือน พฤษภาคม- ตุลาคม 2555 1) รับสมัครสมาชิกบริษัท “ภูมิปัญญาจรเข้” 2) เลือกคณะกรรมการการดาเนินงานเปิดบริษัท“ภูมิปัญญาจรเข้” 3) ปรึกษาครูที่เกี่ยวข้องกับบริษัท “ภูมิปัญญาจรเข้” 4) สารวจความต้องการของสมาชิกเรื่องภูมิปัญญาที่จะนามาปฏิบัตใิ นบริษัท 5) ศึกษาข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องการทาไข่เค็มและมะขามสามรสจาก นางพยูร ธรรมสร การทากะหรี่ปั๊ป จากนางสาวลัดดา อนงค์ทอง ขนมไทย จากนางสุนันท์ พิศนาท เป็นต้น 6) จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ตา่ งๆ ร่วมกัน 7) กาหนดวันเปิดบริษัท และเวลาที่จะร่วมกันทากิจกรรม 8) จัดแผนผังการปฏิบัตงิ านโดยแบ่งเวรผลัดเปลี่ยนกันทากิจกรรมในแต่ละ สัปดาห์ 9) ดาเนินงานตามแผนงานที่กาหนดไว้  ระยะที่ 2 เดือนพฤศจิกายน - มีนาคม 2556 1) ปรับปรุงกิจกรรมในบริษัทให้ดีข้นึ โดยอาศัยข้อมูลจากการดาเนินงานระยะที่ 1 2) เปลี่ยนแปลงกิจกรรมในบริษัท ให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า โดย เพิ่มกิจกรรม 3) พัฒนากิจกรรมให้เหมาะสมกับวัสดุที่มีอยูใ่ นท้องถิ่นตามฤดูกาล 4) มีการวัดและประเมินผลการทางานของทุกฝ่าย 5) มีการปันผลให้แก่สมาชิก  แหล่งที่มาของงบประมาณ 1) งบส่งเสริมโครงการภูมิปัญญาสู่การเรียนรู้ 2) จากการระดมหุ้นของสมาชิกหุ้นละ 5 บาท แต่ไม่เกินคนละ 20 หุ้น 3) งบประมาณจากครูที่ปรึกษา  การตรวจสอบคุณภาพ  แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน  แบบสัมภาษณ์นักเรียน  แบบสอบถามความพึงพอใจ  แบบประเมินผลโครงการ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

365


366

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนร้อยละ 75 มีทักษะในการจัดการและทางานให้สาเร็จ 2) นักเรียนร้อยละ 70 มีความเพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบใน การ ทางาน 3) นักเรียนร้อยละ 80 ทางานอย่างมีความสุข พัฒนางาน และภูมใิ จในงานของตน 4) นักเรียนร้อยละ 75 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 5) นักเรียนร้อยละ 75 มีทักษะในการจัดการและทางานให้สาเร็จ 6) นักเรียนร้อยละ 70 มีความเพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบใน การ ทางาน 7) นักเรียนร้อยละ 80 ทางานอย่างมีความสุข พัฒนางาน และภูมใิ จในงานของตน 8) นักเรียนร้อยละ 75 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 9) นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ ตนเองสนใจ  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีเจตคติที่ดตี อ่ อาชีพสุจริต  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง จากการสารวจความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ โดยการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ พบว่า ระดับความพึงพอใจในภาพรวมของ โครงการอยู่ในระดับคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ 88.52 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า กิจกรรม/วิธีดาเนินการตามงานอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก คิดเป็นร้อยละ 84.55  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา จากการดาเนินกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ ระหว่างเรียน พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการทากิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ ระหว่างเรียน มีดังนี้ 1) มีทักษะในการทาไข่เค็ม การถนอมอาหาร การทาอาหารว่าง และน้าปัน่ 2) น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ ในการดาเนินชีวติ อย่างเหมาะสมและมีความสุข 3) มี ค วามเข้ า ใจในการท าบริ ษั ท ขนาดย่ อ มอย่ า งเป็ น ระบบ สามารถน า ประสบการณ์นไี้ ปสู่อาชีพได้ในอนาคต 4) เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักขยัน อดทน ซื่อสัตย์ เสียสละและให้ อภัยซึ่งกันและกัน รู้จักคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น 5) ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์หารายได้พิเศษระหว่างเรียน 6) นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและ สู่ชุมชนได้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า สารวจข้อมูลจานวนนักเรียนที่นาความรูท้ ี่ได้รับไปใช้ใน ชีวติ ประจาวัน และพิจารณาข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการจากผู้เกี่ยวข้อง  ผลการตรวจสอบซ้า นักเรียนเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย มากขึ้น และโรงเรียนได้พัฒนาผลงานสูร่ ะดับมืออาชีพ

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) นาสินค้าออกจาหน่ายที่ร้านค้าชุมชนและตลาดนัด สัปดาห์ละ 1 – 2 ครั้ง 2) จัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์สนิ ค้าตามหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หมูบ่ ้าน และ ชุมชน 3) นาผลงานเข้าประกวดในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนและได้รับรางวัลเหรียญทอง ในระดับภาค

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

367


368

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

บูรณาการมวลกิจกรรมทางลูกเสือสู่ชั้นเรียน เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

นายจตุรงค์ การดาริห์ ครู โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง โทรศัพท์ 081-5711959 E-mail : Kenzaja 123@hotmail.com

 เพื่อให้โรงเรียนได้มกี ารบูรณาการเนื้อหาสาระของหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือสู่ การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน  ส่งเสริมการการจัดการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้อย่าง กว้างขวางลึกซึง้ ยิ่งขึน้

ระยะเวลาในการพัฒนา ตลอดปีการศึกษา 2554 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายของ สพฐ./สถานศึกษา ผลงาน “บูรณาการมวลกิจกรรมทางลูกเสือสู่ชั้นเรียน” จัดเป็นกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียน ได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่ า งกาย สติ ปั ญ ญา อารมณ์ และสั ง คม เสริ ม สร้ า งให้ เ ป็ น ผู้ มี ศี ล ธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัด การตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข กิจ กรรมพัฒนา ผู้เรียนมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ใช้องค์ความรู้ ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู้ 8 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ และประสบการณ์ ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียน เกิดสมรรถนะสาคัญ อันได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการ คิ ด ความสามารถในการแก้ ปั ญ หา ความสามารถในการใช้ ทั ก ษะชี วิ ต และ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลให้การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ มีทักษะการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุขใน ฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก อันได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ใช้การบูรณาการ เนื่องจากกิจกรรมลูกเสือ เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ มุ่งเน้นเพิ่มเติมจากกิจกรรมที่จัดให้เรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ ง 8 กลุ่ม เป็น การพั ฒ นาองค์ ร วมของความเป็ น มนุ ษ ย์ ใ ห้ ค รบทุ ก ด้ า น ทั้ ง ร่ า งกาย สติ ปั ญ ญา อารมณ์ และสังคม จัดเป็นแนวทางหนึ่งที่จะสนองนโยบายในการสร้างเยาวชนของชาติ ให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม และมีระเบียบวินัย เพื่อเป็นการสนองนโยบายของรัฐ ในการพัฒนาการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา ขั้น พื้น ฐาน พุ ทธศัก ราช 2551 และเนื้อหาสาระของหลัก สูต รกิ จกรรมลู กเสือ ทุ ก ประเภท หรือเรียกว่า “มวลกิจกรรม” แบ่งออกเป็น 10 หน่วยกิจกรรม คือ 1. ระเบียบวินัย และทักษะทางลูกเสือ 2. การดารงชีวิต 3. ศรัทธายึดมั่น ชาติ ศาสน์ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กษัตริย์ และวัฒนธรรม 4. สนองพระคุณบิดา มารดา และผู้มีพระคุณ 5. เทิดทูน เกียรติคุณ สถานศึกษา บูชาพระคุณครู อาจารย์ 6. เพื่อนช่วยเพื่อน 7. ลูกเสือทั่วโลก เป็นพี่น้องกัน 8. วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพื่อแก้ปัญหาพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม 9. สืบสานมรดก ภูมิธรรม ภูมิปัญญาไทย และ10. สู่ความเป็นเลิศ ซึ่งเนื้อหามวล กิจกรรมของลูกเสือนั้น สอดคล้องเหมาะสมกับการบูรณาการร่วมไปกับเนื้อหาของ บทเรียนของเนื้อหาหลัก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จึ งควรดาเนินการจัดการเรียนรู้ไป พร้ อ มกั น อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ เป็ น การเกื้ อ กู ล ส่ ง เสริ ม งานการเรี ย นรู้ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แก่ผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพต่อไป

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนบ้าน หนองหญ้าปล้องทุกคน  ขั้นตอนการพัฒนา 1) ประชุมวางแผนร่วมกัน 2) จัดทากรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการระหว่าง กิจกรรมลูกเสือ กับ กิจกรรมที่จัดให้เรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม 3) พัฒนาบุคลากรให้ได้เ ข้ารับการฝึ กอบรมวิชาลูกเสือในระดับชั้นต่าง ๆอย่า ง ต่อเนื่อง 4) กาหนดปฏิทินปฏิบัตงิ าน จัดทากาหนดการสอน และแผนการสอนบูรณาการ ล่วงหน้า 5) จัดเตรียมชั้นเรียนต่าง ๆ และสื่อการเรียนการสอนให้มีความพร้อมในการจัด กิจกรรมลูกเสือ บูรณาการควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระการ เรียนรู้ปกติ 6) มีการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน โดยฝ่ายบริหาร ของโรงเรียน  การตรวจสอบคุณภาพ 1) วิเคราะห์จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระหลักของนักเรียนของ กลุ่มเป้าหมาย 2) วิเคราะห์สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน กลุ่มเป้าหมาย  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) สร้างความตระหนักให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องถึงผลได้ ความจาเป็นของ 2) มีระบบการกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานของอย่างมีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

369


370

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) ครูได้ได้มกี ารบูรณาการเนื้อหาสาระของหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือสูก่ ารจัดการ เรียนรู้ในชั้นเรียน ได้ร้อยละ 90 2) นักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ดขี นึ้ ร้อยละ 80  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ครู นักเรียน มีความสุขในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนดีมากยิ่งขึน้ 2) ประสิทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผ ล ในการจั ดการเรี ยนรู้ ได้ รับการพั ฒ นาเต็ม ตาม ศักยภาพดีย่งิ ขึน้  ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง จากการทาแบบสอบถามผู้ที่เกี่ยวข้อง แล้ววิเคราะห์พบว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องต่อ ได้แก่ นักเรียน ครู ผู้บริหาร และผู้ปกครอง ให้ ความพึงพอใจในการดาเนินการครั้งนี้ คิดเป็นร้อยละ 95  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) คนทุกคนรักการเรียนรู้อย่างมีความสุข ไม่แปลกแยก และเป็นธรรมชาติ 2) นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีความเข้าใจในเจตนาอันดีของการดาเนินงาน ตาม และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า มีการติดตาม ประเมินผล และพัฒนางานทุกครั้ง มีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาปรับปรุง ทาให้การดาเนินงาน มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในทางที่ดียิ่งขึ้น

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง  มีการนาเข้าเป็นวาระการประชุมครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และคณะทางานอื่น ๆ  มีการประเมินสรุปให้ผู้บังคับบัญชา และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

371

เครือข่ายสร้างจิตอาสาชาวฟ้า-ขาว เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสานึกให้แก่สมาชิกทุกกลุ่มเป้าหมาย ในการบาเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ  เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ตามความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร  เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึง ประสงค์  เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

นายกุศล คุณากรดุษิต ครู โรงเรียนอนุบาลศรีสวัสดิ์ โทรศัพท์ 089-2594674 E-mail : kuson@hotmail.com

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 ถึงปีการศึกษา 2554 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมายของ สพฐ./สถานศึกษา ตามกลยุทธ์ของ สพฐ.และสพป.กาญจนบุรีเขต1 ที่ 1-5 และแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัตกิ ารของโรงเรียน คณะครูนักเรียนช่วยงานกฐิณ

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา 1) การอยู่ร่ว มกั น ของสมาชิก ในสั งคมหนึ่ง นั้น ต้อ งอาศั ยความเอื้อเฟื้ อ เผื่อ แผ่ ความเข้าใจซึ่งกันและกัน รวมทั้งการที่สมาชิกในสังคมคิดและทาเพื่อส่วนรวม รู้จักการ ให้ เพื่อ สั ง คม ไม่เห็ น แก่ ประโยชน์ส่ ว นตนเป็น ใหญ่ และพร้ อมที่ จ ะเสี ย สละหรือ ช่ว ย ปกป้องผลประโยชน์ของส่วนรวม 2) การทาAAR ถอดบทเรียน 7. กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จานวน  ขั้นตอนการพัฒนา “เครือข่ายสร้างจิตอาสาชาวฟ้า-ขาว”เป็นศูนย์กลางในการบูรณาการกิจกรรม จิตอาสา ประสานงานอาสาสมัครในการพัฒนาศักยภาพแกนนาจิตอาสาทุกชมรม/ ชุมนุมและกลุ่มแกนนา กิจกรรมที่อยูใ่ นเครือข่าย เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมสนับสนุน และประสานงานกับสมาชิกในเครือข่า ยให้มาจัดกิจกรรมร่วมกันให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคม ชุมชนอย่างต่อเนี่องและยั่งยืน  ขั้นตอนของการจัดกิจกรรม 1) สารวจความสนใจของตนเองและความต้องการความช่วยเหลือของชุมชน สังคม 2) เตรียมความพร้อมในการทากิจกรรมจิตอาสาในเรื่องต่างๆ ดังนี้  ความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และเห็นคุณค่า  ทักษะการสื่อสาร  พฤติกรรมที่เหมาะสม การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

วัดเกาะบุกพัฒนา กิจกรรมตัดไข่ปลา

อาสาสมัครนักเรียนร่วมกับเจ้าหน้าที่ ตารวจช่วยกันป้องกันปัญหายาเสพติด ในโรงเรียนและชุมชน

คณะครูนักเรียนร่วมกับอาเภอศรีสวัสดิ์และ ผู้นาชุมชนปฏิญาณตนจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติด


372

คณะครูนักเรียนร่วมกับชุมชนสืบทอด วัฒนธรรมในชุมชน

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การทางานร่วมกับผู้อื่น  การทา AAR ถอดบทเรียน สะท้อนความคิด 3) ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของชุมนุม/ชมรม/กลุ่มกิจกรรม 4) กาหนดแผนการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันกับองค์กรในเครือข่ายเพื่อบูรณาการงาน อาสาสมัคร 5) ลงพื้นที่ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามแผนที่กาหนดและบันทึก 6) ทาAARและสรุปผลการดาเนินกิจกรรม 7) เผยแพร่ สร้างเครือข่ายและดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง  การตรวจสอบคุณภาพ 1) ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับทุกฝ่ายในการดาเนินการประเมินทบทวนตาม ขั้นตอนของการดาเนินงานตามรูปแบบ PART SEAT เพื่อให้ทุกฝ่ายได้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ บอกเล่าปัญหาอุปสรรค ในการทางานโดยร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วม ปรับปรุง และร่วมพัฒนา 2) จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจ PART SEAT ของครูและผู้ปกครอง  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ สามารถนาแนวคิดและหลักการไป เชื่อมโยงกับชุมนุมต่างๆได้

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา คณะครูนักเรียนร่วมกัน บาเพ็ญประโยชน์ในวันสาคัญ

คณะครูนักเรียนช่วยกันดูแล ความสะอาดในเขตบริการ

 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) นักเรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมด้านจิตอาสาเพิ่มขึน้ 2) ครู ทุ ก คนจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมจิ ต อาสาเพื่ อ สั ง คมและ สาธารณประโยชน์ 3) ผู้ปกครองร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมที่โรงเรียนกาหนด  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ผู้เรียนตระหนักในการบาเพ็ญตนเป็นผู้ให้ ด้วยใจ อาสาที่มุ่งมั่นเสียสละช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งหนึ่งสิ่งใดตอบแทน มีจิตที่พร้อมจะ สละเวลาแรงกายและสติปัญญาเพื่อสาธารณประโยชน์ เป็นจิ ตที่ไม่น่ิงดูดายเมื่อพบ เห็นปัญหาหรือความทุกข์ยากเกิดขึ้นกับผู้คน เป็นจิตที่มีความสุขเมื่อได้ทาความดีและ เห็นน้าตาเปลี่ยนเป็นรอยยิ้มเป็นจิตที่เปี่ยมด้วย “บุญ”  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องครู นักเรียน ชุมชน มีความพึงพอใจต่อการ จัดกิจกรรม “เครือข่ายสร้างจิตอาสาชาวฟ้า-ขาว” อยู่ในระดับสูง  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) ผู้บริหารส่งเสริมสนับสนุน 2) ครูที่ปรึกษากิจกรรมมีจิตอาสาและเป็นผู้ประสานในการบูรณาการงานอาสาสมัคร 3) ผู้เรียนออกแบบกิจกรรมจิตอาสาตามความสนใจของผู้เรียนและความต้องการ ความช่วยเหลือของชุมชน/สังคม 4) ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการงานอาสาสมัคร 5) ทาAAR ถอดบทเรียนทันทีทุกครัง้ ที่ลงพืน้ ที่และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 6) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนทาแฟ้มสะสมงาน/กิจกรรมจิตอาสา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

373

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

7) ชุมชนให้ความร่วมมือกับโรงเรียน

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ใช้กระบวนการ PDCA และวิเคราะห์ SWOT  ผลการตรวจสอบซ้า จากผลการดาเนินงานในปีการศึกษา 2554 มี จุดอ่อนอยู่บางส่วน และวิเคราะห์ SWOT เข้ามาใช้ในการปรับปรุง พัฒนา

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ โรงเรียนได้เผยแพร่ความสาเร็จจากการการใช้กระบวนการบริหารผ่านวารสาร ประชาสัมพันธ์โรงเรียน และ Website http://sswwww.no-ip.info:81/

คณะครูนักเรียนร่วมกันทาบุญ ใส่บาตรทุกวันพระ

คณะครูนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมวันช้างไทยและได้รับรางวัลต่าง ๆ

คณะครูนักเรียนร่วมประชุมประจาเดือนกับชุมชนและนาเสนอกิจกรรมใจซื่อตรง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

374

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

บวร : บ้าน วัด โรงเรียน สามประสานสร้างคุณธรรม เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางบังเอิญ แสงจันทร์ ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 081-5271988 E-mail : yanin2549@gmail.com

 เพื่ อ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท าให้ เ กิ ด ความสามั ค คี และการประสานงาน ระหว่าง ผู้ปกครอง พระสงฆ์ และ โรงเรียน โดยใช้คุณธรรมนาความรู้  เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม นาความรู้  เพื่อพัฒนาผู้เรียนการร่วมปฏิบัตกิ ิจกรรมสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรม นา ความรู้ ด้วยความสมัครใจและมีความพึงพอใจ

ระยะในการพัฒนา ระยะในการพั ฒ นาจะพั ฒ นาตลอดปี ก ารศึ ก ษา ด าเนิ น การต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี การศึกษา โดยมีการประเมินผลแล้วนามาวิเคราะห์ปัญหาเพื่อนามาแก้ไขปรับปรุง และพัฒนาตลอดปีการศึกษา ตามกิจกรรมของโรงเรียนวัดหนองเสือ ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง สพป.กจ.1

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ/สถานศึกษา จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคน ดี มีปัญญา มีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่า ของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นั บ ถือ ยึ ด ห ลั ก ปรั ชญ า ข อง เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง กิ จ ก รรมเพื่ อสั ง ค มแ ล ะ สาธารณประโยชน์ ซึ่งเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทุกแห่งจะต้องเน้นการสร้างเยาวชน ที่มีความสมดุลย์ ลูกศิษย์ต้อง เป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีคุณลักษณะและมีสมรรถนะ ตามที่ห ลัก สูต รกาหนด เยาวชนควรที่จ ะได้ รับการพั ฒนาคุณ ภาพชีวิตที่ ดีโ ดยการ อบรมที่ถูกต้อง ทั้งทางร่างกายและจิตใจตลอดจนการแก้ปัญหาโดยอาศัยหลักพุทธ ธรรมเป็นเครื่องดาเนินชีวิต โดยอาศัยความรู้รักสามัคคี และประสานงานโดยการใช้ คุณธรรมนาความรู้ ระหว่าง พระสงฆ์ พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ บุคคลในชุมชน เพื่อ ที่ เ ยาวชนจะได้ มีค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในเรื่ อ งของคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมควบคู่ กั บ การศึกษาได้อย่างถูกต้องอันเป็นแนวทางนาไปสู่การพัฒนาประเทศชาติให้เจริญแบบ ยั่งยืนสืบไป ดังนั้น การพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม นาความรู้ ต้องอาศัยความ ร่วมมือ ของบ้าน วัด โรงเรียน โดยการจัดกิจกรรมร่วมกัน ได้แก่ กิจกรรมเกี่ยวกับ ครอบครัว เช่นกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจ กรรมวันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมเกี่ยวกับวัน ส าคั ญ ทางศาสนา กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ ประเพณี ใ นชุ ม ชน เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ แ สดง ศักยภาพของการเป็นบุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม นาความรู้

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา จิตสาธารณะหมายถึงคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมหรือ สถานการณ์ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ ผู้ อ่ื น ชุ ม ชน และสั ง คม ด้ ว ยความสมั ค รใจ กระตือรือร้ นโดยไม่หวั งผลตอบแทนผู้ มีจิ ตสาธารณะคือ ผู้ ที่มีลั กษณะเป็น ผู้ให้ และ ช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันความสุขส่วนตนเพื่อทาประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผู้ที่มี ความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชนโดยไม่หวังสิ่ง ตอบแทน”บวร” ที่จะสร้างชุมชนให้เกิดความเข้มเข็ง สามารถขยายความได้ดังนี้  บ คือ ผู้ให้ชีวิต แหล่งชุมชน ครอบครัว สังคมแรกที่ให้ความรัก ความอบอุ่น ดูแล เอาใจใส่ ทะนุถนอม กล่อมเกลา เป็นที่ซึ่งปลูกฝังชีวิตของชาวอีสานทุก คน  ว คือ ศาสนา ความเชื่อ ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทุกเผ่า ให้เป็น คนดี  ร คือ แหล่งเรียนรู้ อู่อารยธรรม อันยิ่งใหญ่ที่ชาวอีสานภาคภูมิใจ ทั้งด้าน ธรรมชาติ ธรณีวิทยา โบราณสถาน ประวัติศาสตร์ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งพัฒนาให้แผ่นดินอีสานมีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองมาจนถึงปัจจุบัน พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระองค์ทรงเห็น ความสาคัญ และความผูกพันที่ไม่สามารถแบ่งแยกออกจากกันได้ของสังคมไทยกับวัด พระองค์ได้ พระราชทานแนวพระราชดาริ “บ้าน วัด โรงเรียน” หรือ “บวร” เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2524 ให้แก่ส่วนราชการและภาครัฐต่าง ๆ นาไปแก้ไขปัญหาสังคมในปัจจุบันและใน อนาคต ให้เกิดความสุขสงบตลอดไป พระอาจารย์ กิ ต ติ กิ ต ติ ญ าโณ ชมรมพุ ท ธศาสตร์ ส ากลในอุ ป ถั ม ภ์ ส มเด็ จ พระมหารัชมั ง คลาจารย์ เมตตาให้ ห ลัก ในการแก้ ปัญหาเยาวชนผ่ านหลั กธรรมทาง พระพุทธศาสนา ว่า ต้อ งเริ่ม จากเรื่องใกล้ตัว คื อ นิสัย หรือ พฤติกรรมเคยชิน ที่ เรา ทาซ้าๆ ทาเป็นประจา ซึ่งเกิดจากการย้าคิด ย้าพูด ย้าทา ผ่านการใช้ปัจจัย 4 " โดยฝึก จาก 5 ห้ อ งแห่ ง ชี วิต คื อ ห้ อ งที่ ทุก คนใช้ตั้ง แต่ เกิ ด จนตาย ได้ แ ก่ ห้ อ งนอน ห้ อ งน้ า ห้องครัว ห้องแต่งตัว ห้องทางาน ซึ่งถ้าสร้างนิสัยที่ดีให้เกิดจาก 5 ห้องนี้ได้ ก็จะเป็น โรงเรียนบ่มเพาะนิสัยที่ดี เพราะห้องเหล่านี้ล้วนมีประโยชน์หากทราบถึงวัตถุประสงค์ที่ แท้จริง เช่น ห้องนอนไม่ใช่แค่เอาไว้นอนแต่เอาไว้ใช้สอนนิสัยที่ดี เช่น การกราบเท้าพ่อแม่ ก่อนนอน สอนความกตัญญู หรือการสวดมนต์ก่อนนอน สอนเรื่องความเห็นที่ถูกต้ องใน ทางตรงข้ามถ้าปลูกฝังให้เด็กคิดว่าห้องนอนเอาไว้เล่นเกม เอาไว้ติดรูปดารา เด็กจะนอน ไปกับสิ่งที่ไม่ได้สอนตัวเองในแต่ละวันเลย" ในงานสมัชชาคุณธรรมและตลาดนัดคุณธรรม ได้กล่าวว่าวันนี้คาว่า "บวร" หรือ บ้าน วัด โรงเรียน จึงได้ถูกนากลับมาสนใจอีกครั้ง ผ่านทัศนคติ ของผู้เชี่ยวชาญทั้งด้าน วิชาชีพ และด้านจิตใจจากหลายองค์กร ที่นาเสนอในงานเสวนาวิชาการเรื่อง "การฝึก นิสัยผ่าน "บวร" ทางออกของปัญหาคุณธรรมเยาวชน"

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

375


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

376

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

จากความหมายและบทความที่ ก ล่ า วมานั้น จะเห็ น ว่า การจะพั ฒ นาผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม น าความรู้ ต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ จาก พ่ อ แม่ ผู้ ป กครอง พระสงฆ์ ครูอาจารย์ จัดกิจกรรมร่วมกันเพื่อพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ประเภทของกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย 75 คน  ขั้นตอนการพัฒนา ขั้นตอนที่ 1 การสารวจเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาต่างๆทั้งภายในโรงเรียนและ ชุมชน ขั้ น ตอนที่ 2 การวิเ คราะห์ ห าสาเหตุ ข องปั ญ หาต่ า งๆ และจั ด ล าดั บปั ญ หาตาม ความสาคัญ ขั้นตอนที่ 3 ประชุ ม วางแผน ออกแบบกิ จ กรรม และจั ด ท าปฏิ ทิ น การปฏิ บั ติ กิจกรรม ร่วมกันระหว่าง ผู้ปกครอง พระสงฆ์ ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ขั้นตอนที่ 4 แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงานปฏิบัตกิ ิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ขั้นตอนที่ 5 ดาเนินงานปฏิบัตกิ ิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ขั้นตอนที่ 6 ประเมินและรายงานผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม ขั้นตอนที่ 7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสะท้อน ใน ประเด็นดังนี้คือ ผลที่เกิดกับผู้ปฎิบัติกิจกรรมและผลที่เกิดแก่สังคม ภายหลังจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขต่อไป  การตรวจสอบคุณภาพ วิธีการตรวจสอบคุณภาพ ใช้แบบประเมิน สอบถาม แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจ ของผู้ เ รี ย น กลุ่มเป้าหมาย นาผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ  ผลการตรวจสอบคุณภาพ หลังจากการจัดกิจกรรม โดย บวร : บ้าน วัด โรงเรียน สามประสานสร้างคุณธรรม ปรากฏว่าผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม สูงขึน้ มีจิตอาสาเพิ่ม มากขึ้น โดยดู จ าก แบบประเมิ น สอบถาม แบบสั ง เกต พฤติกรรม แบบประเมินความพึงพอใจ  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม นาไปใช้ประโยชน์ในการใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีนิสัยเป็น ผู้มีจิตอาสา

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 85 มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเสียสละ มีจิต อาสา เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ ส่วนตัว

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 ผลส าเร็ จเชิ ง คุ ณ ภาพ นั ก เรี ย นมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม น าความรู้ นักเรียนการร่วม ปฏิบัตกิ ิจกรรมสร้างเสริม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม น าความรู้ ด้ ว ย ความสมัครใจและมีความพึงพอใจ  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง กา รตรว จส อบค วา มพึ ง พอใ จข อง นักเรียน จากการสังเกตพฤติกรรม และแบบประเมินความพึงพอใจ มีความพึงพอใจใน ระดับมาก และ มากที่สุด คิดเป็นนักเรียนร้อยละ 85  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนา 2) นักเรียนมีความสุขและสนุกที่ได้ปฏิบัตกิ ิจกรรม ร่วมกับผู้ปกครอง พระสงฆ์ ครู 3) ผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า ตรวจสอบปั ญ หาเพื่ อ หาสาเหตุ ข้ อ บกพร่ อ งแต่ ล ะขั้ น ตอนแล้ ว น ามา ปรับปรุงแก้ไข ได้แก่การคิดกิจกรรมรูปแบบใหม่ๆ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน แล้วปฏิบัตกิ ิจกรรมซ้าๆ  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนสามารถนากิจกรรมที่ดาเนินการมาพัฒนาตนเองให้มีคุณธรรม จริยธรรม ที่ยั่งยืน

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง นาเสนอผลงานพร้อมแผ่นพับเผยแพร่ให้กับคณะครูโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย ชาววั ง อ าเภอ ท่ า ม่ ว งและประชาชนในงานจั ด นิทรรศการของโรงเรี ย น และการส่ ง นักเรียนเข้าร่วมปฏิบัตกิ ิจกรรม จิตสาธารณะ ทัง้ ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

377


378

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางสุขสมบูรณ์ บุญน่วม ครู โรงเรียนบ้านนาสวน โทรศัพท์ 081-290-7490 E-mail : suk-som-boom_2503@ gmail.com

 เพื่อให้นักเรียน ตระหนักถึงความสาคัญของการเป็นผู้ให้และผู้รับและบริการ จิตอาสาเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์  เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการให้บริการแต่บุคคลที่อยู่รอบข้าง และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์  นั ก เรี ย นพั ฒ นาทั ก ษะทางด้ า นความคิ ด การวางแผนในการทางาน รู้ จั ก แก้ปัญหาได้ด้วยตนเองจากประสบการณ์จริง และการปฏิบัตจิ ริง  เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสาคัญและประโยชน์ที่ ได้รับจากสิ่งแวดล้อม  เพื่อให้นักเรียนมีจิตอาสา เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

ระยะเวลาในการพัฒนา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2551 – 2555 ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย / สพฐ./สถานศึกษา จุดเน้นของ สพฐ. ข้อ 6 ส่งเสริมการจัดการศึกษาโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ สนองกลยุทธ์ สพป.กจ. 1 ข้อที่ 2 การปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกใน ความเป็นไทยและวิถชี วี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดว่านักเรียน ต้องปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ให้กับโรงเรียน ชุมชน และ สังคม ซึ่งเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทุกแห่ง จะต้องเน้นการสร้างเยาวชนที่มีความ สมดุล ลูกศิษย์ตอ้ ง “ เป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีคุณลักษณะและสมรรถนะตาม หลักสูตรกาหนด ” พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แนวทางการจัด การศึ ก ษา มาตรา 24 ได้ ก าหนดให้ ส ถานศึ ก ษาและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ดาเนินงานดังนี้ 1. จัด เนื้อหาสาระและกิ จ กรรมให้ สอดคล้อ งกั บความสนใจ และความถนั ด ของ ผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และประยุกต์ความรู้ มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา 3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิด เป็น และทาเป็นรักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง 4. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ดา้ นต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุล กันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดงี าม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ใน ทุกวิชา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร

379

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้ง สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียน อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ 6. จัด การเรี ยนรู้ ให้ เกิ ด ขึ้น ได้ทุกเวลาสถานที่ มีก ารประสานความร่ ว มมื อ กั บบิ ด า มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตาม ศักยภาพ

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นอนุบาล 1 ถึง ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน บ้ า นนาสวน อ.ศรี ส วั ส ดิ์ จ.กาญจนบุ รี 71250 โทร. 034-531656 ป่ า ชุ ม ชน บ้านสะมะแก และผู้ปกครอง, ผู้สูงอายุ, หมู่ 1 ต.นาสวน อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี  ขั้นตอนการพัฒนา  กิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ 1) จัดทาและเสนอโครงงานเพื่อพิจารณา 2) แต่งตัง้ คณะทางาน 3) ประชุมคณะทางานเพื่อชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน บทบาทหน้าที่ 4) จัดเตรียมเอกสาร สื่อความรู้ วัสดุอุปกรณ์ เพื่อให้บริการ 5) ให้ความรู้แก่แกนนากิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์  กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม  กิจกรรมด้านนันทนาการ บ้าน

วัด

โรงเรียน

ชุมชน แผนผังประกอบขัน้ ตอนการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


380

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ ปฏิบัตงิ านโดยการ โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1) กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม  ปลูกต้นไม้และดูแลรักษาให้เจริญเติบโตระดับชั้นอนุบาล 1-2  แบ่งเขตรับผิดชอบภายในโรงเรียนห้องเรียนและห้องพิเศษ (ทาความสะอาด ตบแต่ง)  ให้บริการแก่สังคมและสาธารณะประโยชน์ (บ้าน วัด โรงเรียน) 2) กิจกรรมด้านนันทนาการ  อ่านนิทานให้น้องอนุบาล1-2 ฟังโดยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1  สอนน้องราตง โดยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้น้องประถมศึกษาปีที่ 2  ร่ ว มกั บ โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต าบลนาสวน โดยน านั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 4 ไปแสดงราตงให้กับผู้สงู 3) เยี่ยมบ้าน  แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน  แนวทางการน าไปใช้ ป ระโยชน์ พัฒ นานั กเรี ยน สาระการเรีย นรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนบ้านนาสวนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 121 คน ได้รับการพัฒนาด้านกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนโรงเรียนบ้านนาสวนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรกาหนด  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง  นักเรียนร้อยละ 100  สังคมและชุมชน ร้อยละ 100  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) นักเรียนเห็นความสาคัญและมีจิตสาธารณะ พร้อมนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2) นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัตจิ ริงอย่างมีความสุข 3) การมีส่วนร่วมของบวร (บ้าน วัด โรงเรียน)

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า แบบประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนร่วมใน กิจกรรมพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในด้านที่ดขี นึ้  ผลการตรวจสอบซ้า แบบประเมินความพึงพอใจ แบบสังเกตพฤติกรรม

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง o แบบเผยแพร่กิจกรรม (แผ่นพับ) o จัดนิทรรศการระดับเครือข่าย เขตพื้นที่การศึกษา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

381

กิจกรรม(วันสาคัญ)เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อให้ความรู้และพัฒนานักเรียนให้มีความเสียสละ มีจิตอาสา เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวม  เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฎิบัตงิ านต่าง ๆของโรงเรียน ของชุมชน ด้วยความ สมัครใจ  เพื่อให้นักเรียนที่เป็นอนาคตของชาติเป็นคนดีมีคุณธรรม-จริยธรรม อยู่ร่วมกันใน สังคมและประเทศชาติ อย่างมีความสุข

ระยะเวลาในการพัฒนา ขั้นเริ่มต้น กิจกรรม 2 เดือน 1.วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อดูขอ้ มูลพื้นฐานนักเรียน 2. ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา 3. กาหนดแผนการเรียนรู้และ ศึกษาวันสาคัญตลอดปีการศึกษา เพื่อดาเนินการจัด ขั้นพัฒนา 9 เดือน ดาเนินการให้ความรู้และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามวันสาคัญที่ โรงเรียนได้จัดให้มีและกิจกรรมต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับวัด และชุมชน เช่น วันเข้าพรรษา วัน ออกพรรษา วันลอยกระทง การทอดกฐิน งานศพ งานบวช งานพัฒนาชุมชน เป็นต้น ขั้นหลังการพัฒนา วิเคราะห์และสรุปผล 1 เดือน 1) ประเมินผลความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เกี่ยวกับวันสาคัญ ต่าง ๆ 2) ประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในด้านการให้ความร่วมมือช่วยเหลือกิจกรรม ต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัด และที่เข้าร่วมกับวัดและชุมชน 3) สั ง เกตพฤติ ก รรมนั ก เรี ย นด้ า นคุ ณ ธรรม -จริ ย ธรรมในการน าไปใช้ ใ น ชีวติ ประจาวัน ที่ยั่งยืน

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้น สพฐ./สถานศึกษา การพัฒนานักเรียนในเรื่องกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ซึ่งเป็น กิจกรรมหนึ่งในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่ต้องให้ความรู้ที่ถูกต้องและ การปฎิบัติกิจกรรมที่เป็นจิตอาสาช่วยเหลืองานต่าง ๆ ที่โรงเรียน วัด ชุมชน จัดขึ้น ซึ่ง การดาเนินการดังกล่าวสามารถเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพป./สพฐ. และหลักสูตรสถานศึกษา ที่ว่าการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนมีจิตสานึกในการ อนุรัก ษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรัก ษ์ และพั ฒนา สิ่งแวดล้ อม มีจิ ต สาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสั งคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุข

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางเบญจณี นิลผึ้ง ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 080-6500153

ค่ายพุทธบุตร

ค่ายลูกเสือ-เนตรนารี


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

382

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา วันพ่อแห่งชาติ

พัฒนาวัด

การพัฒนา ใช้แนวคิด หลักการ และทฤษฏี ในการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ซึ่งกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมหนึ่ง ใน 3 กิจกรรม ใช้ ห ลั ก การแนวคิ ด ตามแนวการจั ด การเรี ย นรู้ ต าม พ.ร.บ. 2542 โดยเน้ น ความส าคั ญ 3 ด้ า น คื อ ด้ า นความรู้ ด้ า นทั ก ษะ/กระบวนการ ด้ า นคุ ณ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม และแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้สอนควร คานึงถึงความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และความแตกต่างของผู้เรียน การจัด สาระการเรียนรู้จึงควรจัดให้มีหลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความ สนใจ รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรมีหลากหลายไม่ว่าจะเรียน รวมกั น ทั้ ง ชั้น เรี ย นเป็ น กลุ่ ม ย่อ ย เรี ย นเป็ น รายบุ ค คล สถานที่ จั ด ก็ ค วรมีทั้ง ใน ห้องเรียน นอกห้องเรียน บริเวณสถานศึกษา มีการจัด ให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาใน แหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่อยู่ในชุมชนหรือในท้องถิ่น จัดให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชา และความเหมาะสมกับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ได้มาตรฐานตามที่หลักสูตร กาหนด ในการจัดกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ได้ลงมือปฏิบัตจิ ริง ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น รู้จักบูรณาการความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดองค์ ความรู้ใหม่ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฝึก ให้ ผู้ เรี ย นรู้ จั ก ประเมิน ผลงานและปรั บ ปรุ ง งาน ตลอดจนสามารถน าความรู้ แ ละ ประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย 22 คน  ขั้นตอนการพัฒนา

/ /

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 การตรวจสอบคุณภาพ ใช้แบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่สร้างขึ้น แบบประเมินความพึงพอใจ นาผลการประเมินที่ได้มา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อดูคุณภาพ  ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ นักเรียนมีจิตอาสา ช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของ โรงเรี ย น วั ด และชุ ม ชน มี คุ ณ ธรรม-จริ ย ธรรมสู ง ขึ้ น ดู จ ากแบบสั ง เกตพฤติก รรม แบบสอบถามผู้ปกครอง/ชุมนและความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย  แนวทางการนา ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนานักเรียนด้านคุณธรรมจริยธรรมและนักเรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้

383

วันวิสาขบูชา

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 90 มีความเสียสละ มี จิตอาสา เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและชอบช่วยเหลือสังคม  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวันสาคัญของโรงเรียน ของ ชุมชน ของศาสนาและของชาติและเห็นความสาคัญของการร่วมมือกัน เห็นประโยชน์ต่อ ส่วนรวมและลงมือปฎิบัตไิ ด้จริง มากขึ้น  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในระดับ มาก – มากที่สุ ด ได้ มาจากแบบสัง เกตความพึง พอใจโดยให้ ผู้เรีย นเป็ น ผู้ประเมิน ผู้ปกครอง พระสงฆ์ และประชาชนในชุมชน

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิ ธี ก ารตรวจสอบซ้ า ตรวจสอบปั ญ หาเพื่ อ หาสาเหตุ ข้ อ บกพร่ อ งแต่ ล ะ ขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข และหารูปแบบใหม่ ๆ ที่น่าสนใจมาเสนอ ให้เหมาะสม กับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า  ผลการตรวจสอบซ้า นักเรียนสามารถนากิจกรรมที่ดาเนินการมาพัฒนา ตัวเองด้านช่วยเหลือสังคม และนาไปใช้ได้อย่างยั่งยืน

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง นั ก เรี ย นได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม อบรมในโครงการช่ ว ยเหลื อ สั ง คมและ สาธารณประโยชน์เช่น การอบรม/สาธิ ต ช่ว ยเหลื อ ผู้ ประสบภั ย ไฟไหม้ การอบรม รณรงค์ตอ่ ต้านยาเสพติด การอบรมการตั้งครรภ์ก่อนกาหนด และได้เผยแพร่กิจกรรม/ ผลงานให้โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาชาววัง และ อ.ท่าม่วง

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ต่อต้านยาเสพติด


384

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

จิตสาธรณ บวร รักษ์ทรัพยากรรักษ์ภูมิปัญญาพาทาอาชีพ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางวนิดา ปากโมกข์ ครู โรงเรียนบ้านหนองสองตอน โทรศัพท์ 089-9144124 E-mail :nobuta_power5@hotmail.com

 เพื่อแก้ปัญหานักเรียนขาดจิตสานึกในเรื่องจิตสาธารณและการใช้ทรัพยากร ให้เกิดประโยชน์โดยเน้นการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน  เพื่อสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนอย่างยั่งยืน  เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรและนากลับมาใช้ใหม่โดยนาภูมิปัญญามาส่งเสริม ให้เกิดอาชีพ

ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2553 - ปัจจุบัน ความเชื่อมโยงกับป้าหมาย/จุดเน้นของสถานศึกษา สพฐ.ได้ ก าหนดกลยุ ทธ์ พัฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึก ษาเพื่อ เร่ ง รั ด ส่งเสริม และพัฒนาให้หน่วยงานในสังกัดนานโยบายสู่การปฏิบัติ โดยมีกลยุทธ์และ จุดเน้นที่สาคัญ หลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะกลยุทธ์ที่ 2 การปลูกฝังคุณธรรมความ สานึกในความเป็น ชาติและวิถีชีวิต ความเป็น ไทยมีคุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 โดยโรงเรียนต้องจัดกิจกรรม เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และกลยุ ท ธ์ ที่ 5 พั ฒ นาประสิ ทธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาลเน้นการมี ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา ปี 2553 โรงเรียนบ้านหนองสองตอนซึ่งเป็ นหน่วยงานย่อยที่สังกัดสพฐ. ได้ตระหนักและเห็นความสาคัญของการปลูกฝังคุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติ ไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงจัดกิจกรรมที่มีความสาคัญ เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น บ้าน วัด โรงเรียน ซึ่งต้องเป็นกิจกรรมหรือโครงการที่ ปกป้องความเสื่อมโทรมศีลธรรมของนักเรียนการปลูกฝังจิตสานึกในเรื่องจิตสาธารณ และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรที่เป็นขยะใช้ไม่ได้แล้ว หรือวัสดุเหลือใช้ หรือ วั ส ดุ ธ รรมชาติ ใ นท้ อ งถิ่ น ที่ ส ามารถน ากลั บ มาใช้ ใ หม่ ห รื อ สร้ า งสรรค์ ผ ลงานอั น ก่ อ ให้ เ กิ ด อาชี พ ได้ โดยความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภู มิ ปั ญ ญาในท้ อ งถิ่ น บ้ า น วั ด โรงเรียน เพื่อเป็นการเสริมพลังและกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนทุก คนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรมจิตสานึกความเป็นไทย มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษา และอีกเหตุผลหนึ่งคือโรงเรียนบ้านหนองสองตอนได้พยายามส่งเสริมยกระดับ คุณภาพผู้เรียนมาอย่างต่อเนื่องแต่ในช่วงระยะเวลา 2-3 ปีทีผ่านมา ผู้ปกครองจาก ชุมชนต่าง ๆ ในเขตตาบลแก่งเสี้ยนและใกล้เคียงต่างให้ความมั่นใจพึงพอใจในการ จัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา จากการสังเกตพบว่านักเรียนที่ย้ายมาเรียนใหม่ ส่วนใหญ่จะมีปัญหาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขาดความใฝ่เรียนใฝ่รู้ ขาดความ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

มุ่งมั่นในการทางาน มักใช้เวลาว่างให้เปล่าประโยชน์ และไม่มีจิตสาธารณะ ไม่มีสมาธิ กิริยามารยาทไม่เรียบร้อย ความสามารถในการอ่านการเขียนอยู่ในระดับพอใช้บางคน ต้องปรับปรุง จึงทาให้เป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอนของคณะครูในทุกกล่มสาระ การเรียนรู้และส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอ่อนตามไปด้วย

แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ที่นามาใช้ในการพัฒนา 1) ใช้หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกระบวนการ 4 R 1. การใช้ใหม่ หรือใช้ซ้า ( Reuse) 2. การซ่อมแซมใช้ใหม่ (Repair) 3. การลดการใช้ (Reduce) 4. การแปรรูปแล้วนากลับมาใช้ใหม่(Recycle) 2) พัฒนาด้วยวิธีเสริมพลัง (Empowered Development Approach) แบ่งออกเป็น 4 มิติ คือ1) การอบรมสั่งสอน (Training) 2) การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) 3) การชี้แนะ (Coaching) 4) การตรวจสอบผล(นิเทศ) (Supervision) 3) ใช้กระบวนการวงจรของเดมมิ่ง (Deming Cycle) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผน (Plan) 2) การดาเนินการ (Do) 3) การตรวจสอบ (Check) 4) การปรับปรุง (Action)

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3  ขั้นตอนการพัฒนา 1) นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดแข่งขัน ใช้หลักการหรือทฤษฎี วิธีการเสริม พลัง (Empowered Development Approach) ตามตารางดังนี้ ขั้นตอน 1. จัดหาเกณฑ์การประกวด 2. จัดซือ้ /จัดหาวัสดุ 3. การทา/การฝึก/การแก้ปัญหา 4. ส่งเข้าประกวด/ปรับปรุง/แก้ไข

วิธีการเสริมพลัง อบรม/ดูงาน/แหล่งเรียนรู/้ อินเทอร์เน็ต การเป็นพี่เลี้ยง/สนับสนุน การชี้แนะ การตรวจสอบติดตามผล

2) การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-Net, ใช้หลักการหรือทฤษฎีวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) ขั้นตอน 1. อบรม/ดูงาน/แหล่งเรียนรู/้ อินเทอร์เน็ต 2. จัดทา/จัดหา/ข้อสอบ 3. สอนเพื่อสอบสอบเพื่อสอน 4. นาผลสัมฤทธิ์มาวิเคราะห์

วงจรเดมมิ่ง วางแผน ดาเนินการ การตรวจสอบ การปรับปรุง

 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาของนักเรียนที่มีปัญหาเด็กขาดจิตสานึกในเรื่องการใช้ ทรัพยากร เช่น นักเรียนมีเวลาว่างทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน นักเรียนขาดแรงจูงใจ ขาดการเสริมพลังในการเรียนรู้ นักเรียนไม่ได้รับการปลูกฝังคุณธรรมพื้นฐานและ คุณลักษณะที่พึงประสงค์จากที่บ้าน และไม่ค่อยเข้าร่วมกิจกรรมวันพระประจา โรงเรียนเท่าที่ควร เนื่องจากขาดแรงจูงใจขาดการเสริมพลังที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

385


386

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

2) ประชุ ม สร้ า งความตระหนั ก ให้ กั บ บุ ค ลากร พระสงฆ์ แ ละผู้ ป กครอง ให้ เ ห็ น ความสาคัญของการปลูกฝังคุณธรรมพื้นฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลั กสู ตรการศึกษาขั้น พื้น ฐาน และให้ คณะครูเป็น แบบอย่างที่ดี และร่ วมกัน จั ด กิจกรรมสร้างเสริมคุณธรรมในสถานศึกษาให้กับนักเรียน 3) ผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครู ผู้ปกครองและพระสงฆ์ร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่อ แก้ไขปัญหาเด็กขาดจิตสานึกในเรื่องการใช้ทรัพยากร 4) ปัญหาเด็กขาดจิตสาธารณขาดการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่งเสริมคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านและนาเสนอให้บุคลากรรวมทั้งนักเรียนทุกคน นาไปปฏิบัตอิ ย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 5) โครงการ/กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาเด็กขาดจิตสาธรณขาดการอนุนักษ์ทรัพยากร และส่งเสริมคุ ณลัก ษณะอันพึงประสงค์ โดยความร่วมมือของภูมิปัญญาท้องถิ่ น บ้าน วัด และโรงเรียนหรือกิจกรรม มีการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ตามลาดับขั้นตอน คือ การประชุม ปรึกษาหารือและแนวทางการแก้ไขปัญหาเด็ก ขาดจิตสาธารณขาดการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์  กาหนดกิจกรรมจิตสาธารณะ “ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน" 1) กิจกรรมประจาวัน พัฒนาทาความสะอาดอาคารเรียนและบริเวณโรงเรียน วิธีดาเนินการ คณะครู นั ก เรี ย น วางแผนการด าเนิน งานแบ่ ง นั ก เรี ย นเป็ น ผู้ รับผิ ด ชอบ บริเวณในโรงเรียนโดยมีโครงการสภานักเรียนเป็นทีมงานดูแลจัดครูที่ปรึกษาประจา บริ เ วณที่ รั บ ผิ ด ชอบโดยมี ผั ง บริ เ วณเป็ น ตั ว ก าหนดจุ ด ท าความสะอาดตามเขต รับผิดชอบ เช่น เก็บ กวาด เช็ด ถู รักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน รดน้าและดูแลต้ นไม้ ตรวจสอบความสะอาดโดยกรรมการสภานักเรียนคุณครูยกย่อง ชมเชย ผู้ทาความดี หน้าเสาธง หรือทุกวันศุกร์"รายงานการทาความสะอาดประจาวัน 2) กิจกรรมร่วมด้วยช่วยกันพัฒนาบ้าน วัด โรงเรียน วิธีดาเนินการ ครู นักเรียน ร่วมวางแผนการพัฒนาสังคมและสาธารณะประโยชน" บ้านวัด โรงเรียน บ้าน กวาดบ้าน ถูบ้าน ตื่นเช้าเก็บที่นอน ช่วยพ่อแม่ทางานงานบ้าน และ งานนอกบ้าน เก็บขยะในหมู่บ้าน ช่วยปลูกต้นไม้ ดูแลรดน้าผักสวนครัวพัฒนาหมู่บ้าน เช่น เก็บขยะในหมู่บ้าน ข้างถนนวัด พัฒนาวัดหนองสองตอนเก็บ กวาด เช็ด ถู ศาลา โบสถ์กุฏิ ห้องน้าบริเวณรอบๆวัด ถนนทางเข้าวัด กาหนดอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งหรือ ตามวันสาคัญๆโรงเรียน พัฒนาโรงเรียนตามโอกาสและวันสาคัญต่าง ๆ เช่น วันแม่ วันพ่อวันไหว้ครู วันสถาปนาลูกเสือ วันสิ่งแวดล้อม ฯลฯกาหนดจุดการพัฒนา แบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบตามระดับชั้น ตามความสมัครใจกาหนดวันเวลาในการพัฒนา นัก เรีย น ครู ร่ว มกัน พั ฒ นานั กเรี ย นบั น ทึก การทาความดี เพื่อสั ง คมและสาธารณะ ประโยชน"คุณครูยกย่อง ชมเชย ผู้ทาความดีหน้าเสาธง หรือทุกวันศุกร์ สรุป รายงาน ผลการพัฒนา

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) กิจกรรมอาสาช่วยเหลือเพื่อชุมชน เป็นกิจกรรมช่วยเหลือสังคมที่นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองสอนตอน ช่วยเหลือกิงานที่จัดในชุมชน เช่น กิจกรรมของวัด งาน เลีย้ งสังสรรค์ งานแต่งงาน งานบวช งานศพ งานทาบุญต่างๆ งานบุญเดือน 3 ฯลฯสิ่ง ที่นักเรียนช่วยเหลือ คือ การบริการน้าดื่ม บริการน้าแข็ ง การเก็บแก้ว การล้างแก้วการ เก็บขยะ การกวาด เช็ด ถู บริเวณต่างๆ วิธีดาเนินการ นักเรียนอาสาสมัครเข้าร่วมงานในชุมชน และหมู่บ้านของตนเองช่วยเหลือ และให้บริการ ในด้าน ต่างๆ เช่น การบริการน้าดื่ม บริการน้าแข็ง การเก็บแก้ว การล้างแก้วการเก็บ ขยะ การกวาด เช็ด ถู ฯลฯนักเรียนบันทึกการทาความดีของตนเองในสมุดบันทึกความดี คุณครูยก ย่อง ชมเชย ผู้ทาความดีหน้าเสาธง หรือทุกวันศุกร์นักเรียนบันทึกความดีใน สมุดบันทึกความดี โดยได้รับคายกย่องจากใจครูผู้ปกครองนักเรียนแลกเปลี่ยนการทา ความดีของตนเองให้เพื่อน พี่ น้อง ได้รับฟังสรุปผลการช่วยเหลือสังคมนักเรียนบันทึก การทาความดีลงในสมุดบันทึกความดี ครู ผู้ปกครอง ให้กาลังใจ ยกย่องชมเชยนักเรียนที่ ทาความดีให้รางวัล  กาหนดโครงการส่งเสริมคุณธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) จัดโครงการวิถีพุทธโดยแต่งชุดขาวทาบุญทุกวันพระ และนั่งสมาธิทุกเช้าก่อน เรียนโดยใช้เพลงลมหายใจเข้าออกเป็นเวลาที่กาหนด 2) จั ด โครงการส่ ง เสริ ม คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึง ประสงค์ โดยมีกิ จ กรรมเข้ า ค่ า ย คุณลักษณะอันพึงประสงค์จัดฐาน 8 ฐาน 1. ฐานรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน 7. รักความ เป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ มีครูจัดกิจกรรมประจาฐานทุกฐาน 3)โครงการออมทรัพย์วันละบาท โดยการออมทั้งนักเรียนและครูของนักเรียนแจ้ง ผู้ปกครองทุกเดือน 4)โครงการวันสาคัญเสริมสร้างคุณธรรมนากายใจพัฒนา เป็นกิจกรรมที่เน้นให้ เด็ ก มี ค วามเอื้ อ เฟื้ อ เผื่ อ แผ่ มี น้ าใจ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู้ อ่ื น เป็ น ลู ก ที่ ดี ข องพ่ อ แม่ ผู้ ป กครองผู้ มี พ ระคุ ณ เป็ น นั ก เรี ย นที่ ดี ข องครู มี ม ารยาทในสั ง คมที่ ดี เ ห็ น คุ ณ ค่ า ของ วัฒนธรรม รู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อม ร่วมกันอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  กาหนดโครงการที่สง่ เสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อนาขยะ หรือวัสดุเหลือใช้ วัสดุ จากธรรมชาติในท้องถิ่นที่เกิดจากจิตสาธารณ บวร (หรือบ้าน วัด โรงเรียน) นากลับมา ใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้กระบวนการ 4 R 1. Reuse 2. Repair 3. Reduce 4. Recycle และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1) โครงการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการพานักเรียนไปอบรม ดูงาน ดู แหล่งเรียนรู้ไปฝึกปฏิบัติ ไปเห็นของจริงทากับภูมิปัญญา และนากลับมาบูรณาการเรียน การสอนให้นักเรียนเป็นมืออาชีพได้ เช่น ร่วมอบรมกับหน่วยงานพัฒนาชุมชนเรื่องอาชีพ กับ อบต. แก่งเสีย้ นเรื่องอาชีพระยะสั้น ฯลฯ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

387


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

388

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

2) โครงการดอกไม้ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น เป็นโครงการที่มีผล มาจากภู มิปัญญาท้ องถิ่ น ในหมู่บ้า นหนองสองตอนซึ่ ง เป็น O-TOP ของหมู่บ้า น จุดเริ่มต้นจากนักเรียนสนใจประกวดโครงงานในงานศิลปหัตถกรรมเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2553โดยใช้วัสดุในท้องถิ่น เช่น เมล็ดประดู่ ดอกขี้หนอน ต้นกระถิน ฯลฯ ที่เป็นวัสดุ ธรรมชาติในมาประดิษฐ์เป็นดอกไม้จัดแจกัน จัดช่อ ประดิษฐ์แจกันโคมไฟฯลฯ ได้รับ รางวัลระดับเหรียญทองหลายรางวัล และเป็นที่ยอมรับจากคณะกรรมการผู้ปกครอง ให้เป็นอัตลักษณ์ของโรงเรียน

1) 2)

3) 4)

1) 2) 3) 4) 5)

 การตรวจสอบคุณภาพ ผลงานนักเรียนที่เป็นผลิตภัณฑ์วัสดุเหลือใช้ ขยะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มขึ้น แบบสอบความพึงพอใจของนักเรียนจานวน 167 คน ตอบแบบสอบถาม 167 คน คิดเป็น ร้อยละ 100 โดยภาพรวมระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (4.77) หรือ 95% แบบสอบความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนจานวน 167 คน โดยภาพรวม ระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากที่สุด (4.92) หรือ 98 % แบบสอบความพึงพอใจของครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน 20 คน โดยภาพรวมระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากที่สุด (4.78) หรือ 95 %  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ นักเรียนมีจิตสาธารณะ ช่วยเหลือ แบ่งปันเพื่อประโยชน์ของบ้าน วัด โรงเรียนจาก เดิม70 % เพิ่มขึ้นเป็น 90 % นั ก เรี ย นรู้ จั ก อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรดู จ ากการร่ ว มช่ ว ยกั น ปลู ก ผั ก ส่ ว นครั ว ดู แ ล รับผิดชอบ จากเดิมไม่สนใจที่ดูแลเอาใจใส่กลับมาสนใจดูแลและยังนาวัสดุเหลือใช้มาแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์คดิ เป็นร้อยละ 95% ครู ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึงพอใจต่อพฤติกรรมของนักเรียน 98 % นั ก เรี ย นผ่ า นคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ด้ า นจิ ต สาธารณะ ผ่ า นการประเมิ น คุณลักษณะพึงประสงค์100 %

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นม.1 - ม.3 จานวน 89 คน  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ในระดับเขต 4 รายการ และระดับภาค 1 รายการ และครูได้รับรางวัลเป็นผู้บาเพ็ญประโยชน์เพื่อ การศึกษาในระดับเขต  ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครองพึงพอใจและให้ความร่วมมือ ร้อยละ 97 และผู้ปกครองพึงพอใจในโครงการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน ระดับดีมากร้อยละ 98

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1)

2)

3) 4)

 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา คณะครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้ปกครองมีความตระหนักและเห็นความสาคัญ ของการปลูกฝังสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม การมีจิตสาธารณะ คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ การอนุรักษ์ทรัพยากร รักษ์ภูมิปัญญาตลอดจนมุ่งมั่นในการประสาน ความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาเด็กขาดจิตสานึกสาธารณะ ขาดการอนุรักษ์ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม นักเรียนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ร่วมกัน อนุรักษ์ทรัพยากรดูแลสิ่งแวดล้อมและยังช่วยกันดูแลรดน้าปลูกผักสวนครัวต้นไม้ ทั้งที่โรงเรียนและไปปลูกที่บ้าน ผู้ปกครองให้ความสาคัญและให้การสนับสนุนทุกด้านส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้นไม่ ปล่อยให้เป็นภาระของโรงเรียนในการพัฒนาผู้เรียนฝ่ายเดียว ผู้บริหารสถานศึกษามีการควบคุม นิเทศ ติดตามอย่างจริงจังและต่อเนื่องทั้งคณะ ครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้ปกครองโดยมีความคิดว่า ถ้าผู้ ปกครองมีความ สนใจในการเรียนและการปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลการเรียนของ นั ก เรี ย นก็ จ ะดี ต ามไปด้ ว ย คณะครู ก็ ส ามารถจั ด การเรี ย นการสอนได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ

กระบวนการตรวจสอบซาเพื่อพัฒนาปรับปรุง การจัดทาโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัตกิ ารโดยใช้กระบวนการวงจรเดมมิ่ง ประกอบด้วย 1.การวางแผน (Plan) 2.การดาเนินงาน (Do) 3.การตรวจสอบ (Check) 4.การปรับปรุง(Action) ซึ่งเป็นวงจรตามกระบวนการ Deming Cycle ทาให้มี การตรวจสอบ ประเมินผล และกลับมาพัฒนาปรับปรุงใหม่ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง

การประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) การประชุมผู้ปกครองแจ้งประชาสัมพันธ์สรุปผลงาน 2) นาเสนอ Best Practice ระดับเขตพื้นที่การศึกษา เรื่องดอกไม้ประดิษฐ์จาก วัสดุ ธรรมชาติใ นท้ องถิ่ นที่ โรงแรมราชศุ ภมิต ร ในวั นที่ 30 ธัน วาคม 2553 และ พร้อมจัดแสดงผลงาน 3) เป็นวิทยากรขยายผลเรื่อง ดอกไม้ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ให้กับ กลุ่มเครือข่ายหนองบัว-แก่งเสีย้ น 9 โรงเรียน ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2554 4) เข้ า ร่ ว มจั ด นิ ท รรศการในกองงานชื่ น ชอบนิ ท รรศการงานศิ ล ปหั ต ถกรรม นักเรียนภาคกลางภาคตะวันออก ครั้งที่ 61 ปี 54 บริเวณสนามกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี ในระหว่างวันที่ 11-13 มกราคม 2555 5) ประกวดโครงงานอาชีพเรื่องดอกไม้ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นได้ใน ระดับเหรียญทองและได้จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงาน ปี 2553 และ ปี 2554 ในงาน ศิลปหัตถกรรมระดับเขต 6) ประกวดประดิ ษฐ์ เศษวั ส ดุ เหลื อ ใช้จ ากวั ส ดุ ธรรมชาติใ นท้ อ งถิ่ น ได้ ใ นระดั บ เหรียญทองในงานศิลปหัตถกรรมระดับเขต 7) ประกวดอาหารคาว-หวาน(ประเภทเส้น)ในงานศิลปหัตถกรรมได้เหรียญทอง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

389


390

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา นางสาวสาทนา วัฒนใย ครู โรงเรียนบ้านนาสวน โทรศัพท์ 086-098-4344 E-mail : satana_bum@gmail.com

 เพื่อ ให้นั ก เรี ยน ตระหนั ก ถึ งความสาคั ญ ถึ งการดู แลสุ ข ภาพเบื้อ งต้น ของ ตนเอง และผู้อื่น บริการจิตอาสาเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์  เพื่อให้นั กเรีย นมีความรู้ ความเข้า ใจ ในการดู แลสุข ภาพเบื้อ งต้นของ ตนเองและผู้อื่น  นักเรียนพัฒนาทักษะทางด้านความคิด การวางแผนในการทางาน รู้จัก แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จากประสบการณ์จริง และทดลองปฏิบัติ  เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสาคัญและประโยชน์ที่ ได้รับจากสิ่งแวดล้อม  เพื่อให้นักเรียนมีจิตอาสา เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

ระยะเวลาในการพัฒนา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2551 – 2555 ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ กับเป้าหมาย / จุดเน้นของสพฐ./สถานศึกษา จุดเน้นของ สพฐ. ข้อ 6 ส่งเสริมการจัดการศึกษาโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ สนองกลยุทธ์ สพป.กจ. 1 ข้อที่ 2 การปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกใน ความเป็นไทยและวิถชี วี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดว่านักเรียน ต้องปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ให้กับโรงเรียน ชุมชน และ สังคม ซึ่งเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทุกแห่ง จะต้องเน้นการสร้างเยาวชนที่มีความ สมดุล ลูกศิษย์ต้อง “ เป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีคุณลักษณะและสมรรถนะตาม หลักสูตรกาหนด ” พระราชบัญ ญัติก ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แนวทางการจั ดการศึกษา มาตรา 24 ได้กาหนดให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดาเนินงานดังนี้ 1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของ ผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) ฝึกทั กษะกระบวนการคิ ด การจั ดการ การเผชิญสถานการณ์แ ละประยุก ต์ ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา 3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น และทาเป็นรักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง 4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุลกันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ไว้ในทุกวิชา การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถ ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไป พร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ 6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาสถานที่มีการประสานความร่วมมือ กับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 นิยามที่องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) และนานาประเทศในโลกปัจจุบันให้การยอมรับ นั้นคือ สุขภาพเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทั้งเรื่องของร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา หรือเรียกสั้น ๆ ได้ว่า “สุขภาวะ”

กระบวนการพัฒนา  กลุ่ ม เป้ า หมาย ผู้ สู ง อายุ ม. 1 ต าบลนาสวน อ าเภอศรี ส วั ส ดิ์ จั ง หวั ด กาญจนบุรี นักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 2 – 3 ป่าชุมชนบ้านสะมะแก  ขั้นตอนการพัฒนา  กิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ 1) จัดทาและเสนอโครงงานเพื่อพิจารณา 2) แต่งตัง้ คณะทางาน 3) ประชุมคณะทางานเพื่อชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน บทบาทหน้าที่ 4) จัดทาทะเบียนผู้สูงอายุ 5) จัดเตรียมเอกสาร สื่อความรู้ วัสดุอุปกรณ์ เพื่อบริการแก่ผู้สูงอายุ 6) ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพเบือ้ งต้นแก่ผู้สูงอายุ คนใกล้ชิด จัดให้มีการติดตาม เยี่ยมบ้าน  ตรวจสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ โดยการชั่งน้าหนักวัดส่วนสูง  วัดความดันโลหิตเพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง  จัดกิจกรรมนันทนาการ  กิจกรรมอาสาด้านสิ่งแวดล้อม 1) การสารวจป่า 2) บันทึกพันธุ์ต้นไม้ในแปลงสาธิต 3) การใช้แหล่งเรียนรู้  การตรวจสอบคุณภาพ 1) ปฏิบัตงิ านโดยการไปพบผู้สูงอายุ ตามสถานที่จริง โดยมีกจิ กรรมดังนี้  ชั่งน้าหนัก  วัดส่วนสูง  วัดความดันโลหิต  วัดรอบอกและเอว  นาออกกาลังกาย  นันทนาการ เล่นเกมส์ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

391


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

392

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 แบบประเมินความพึงพอใจ 2) เยี่ยมบ้าน  แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน  แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 3) บันทึกการสารวจป่า การใช้แหล่งเรียนรู้ แปลงสาธิต  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1. จิตอาสาด้านสุขภาพ  ชั่งน้าหนัก  วัดส่วนสูง  วัดความดันโลหิต  วัดรอบอกและเอว  การนวดเพื่อคลายกล้ามเนื้อ  การใช้ลูกประคบเกี่ยวกับสุขภาพเบือ้ งต้น  การดื่มชาสมุนไพร 2. จิตอาสาด้านป่าชุมชน  การสารวจ  บันทึกพันธุ์ไม้แปลงสาธิต

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ผู้สูงอายุจานวน 60 คน ได้รับการดูแลสุขภาพ เบือ้ งต้น นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 - 3  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ผู้สูงอายุได้รับการบริการด้านสุขภาพและมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ของตนเอง และมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตนเองมากขึ้น 2) นักเรียนสามารถนาพืชสมุนไพรมาใช้ในการดารงชีวิตประจาวัน 3) นักเรียนเห็นความสาคัญและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่า  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) นักเรียนร้อยละ 95 2) ผู้สูงอายุร้อยละ 100 3) เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร้อยละ 95 4) ชุมชนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมสุขภาพวิถไี ทย ห่วงใยวัยปราชญ์ท้องถิ่น ร้อยละ 95 5) ชุมชนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมรักท้องถิ่น รักษ์สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 90  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา 1) นักเรียนเห็นความสาคัญ มีจิตสาธารณะ 2) การมีส่วนร่วมของผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้อง เช่น ชุมชน ผู้นาชุมชนและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

3) นักเรียนได้เรียนรู้ในสิ่งทีเ่ กี่ยวข้องกับการดารงชีวติ ประจาวัน 4) นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้

กระบวนการตรวจสอบซาเพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 1) 2) 3) 1) 2) 3)

 วิธีการตรวจซ้า แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ท่มี สี ่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมของผู้สูงอายุ แบบสารวจ  ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง แบบประเมินความพึงพอใจ แบบสังเกตพฤติกรรมของผู้สูงอายุ แบบบันทึกสภาพผืนป่าชุมชน

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง

 แบบเผยแพร่กิจกรรม  จัดนิทรรศการระดับเครือข่าย ระดับอาเภอ เขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

393


394

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

ลูกจ้างแบบพอเพียง เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

นายธนกฤต แก่นจันทร์ ช่างไม้ ระดับ 4 โรงเรียนบ้านหนองสามพราน โทรศัพท์ ๐๘๐-๔๒๒๔๘๒๕

ด้านการครองตน

เนื่องจากโรงเรียนบ้านหนองสามพรานเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก แต่ไม่ผ่านการ รับรองมาตรฐานจากการประเมิน ภายนอกรอบสองทั้ ง ในระดั บปฐมวั ย และระดั บ ประถมศึกษาเมื่อเดือนมกราคม 2550 ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกคนจึงเห็นชอบให้โรงเรียนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ โดยยึด หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  บุคลากรของโรงเรียนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตาม แนวทางของสานักงาน กพ.  เพื่อส่งเสริมการดาเนินชีวิตแบบพอเพียงให้เหมาะกับบริบทของโรงเรียนบ้าน หนองสามพราน

ระยะในการพัฒนา ปีการศึกษา 2551-2554 ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ กับเป้าหมายสพฐ. และสถานศึกษา

ศึกษาดูงานศูนย์กสิกรรม คาแสดรีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี

ลูกจ้างแบบพอเพียง มีความสอดคล้องกับเป้าหมายและจุดเน้น ดังนี้ 1) เป้าหมาย จุดเน้นของ สพฐ. เป้าประสงค์ ข้อ 4. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ 2) เป้าหมาย จุดเน้นของ สพป.กจ. 1 สนองกลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความ สานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มอื อาชีพ 3) โรงเรี ย นบ้ า นหนองสามพราน ได้ ก าหนดประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการปฏิ รู ป การศึกษาโดยเน้นเกี่ยวกับการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ โดยเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและ จัดการศึกษา

แนวคิด /หลักการ / ทฤษฎี ที่นามาใช้ในการพัฒนา “ลู ก จ้ า งแบบพอเพี ย ง” ได้ น าน้อ มน าหลั ก ปรั ชญาของเศรษฐกิ จ พอเพีย งสู่ การปฏิบัติของลูกจ้างประจา โดยใช้แนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อน สู่ 4 มิติ ได้แก่ ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไข คุณธรรม และมุ่งสู่มิติดา้ นเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม และ วัฒนธรรม โดยบูรณา การหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การประพฤติ ปฏิบัติตน และปฏิบัติงานตาม หลักการครองตน ครองคน ครองงาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

395

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ลูกจ้างประจาโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 1) 2) 3) 4) 5)

6)

 ขั้นตอนการพัฒนา ผู้พัฒนาได้ดาเนินการพัฒนาการปฏิบัตงิ าน ดังนี้ วิเคราะห์บริบทของโรงเรียนบ้านหนองสามพราน สภาพปัญหาและความต้องการใน การปฏิบัตงิ านของลูกจ้างประจา ศึกษามาตรฐานการปฏิบัตงิ าน และสมรรถนะของลูกจ้างประจา เติมเต็มความรู้ดา้ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองสามพราน วางแผนการปฏิบัตงิ านตามบทบาทและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การดาเนินชีวิตและการปฏิบัติงานโดยใช้ หลักการครองตน ครองคน และ ครองงาน โดยมุง่ มั่นปฏิบัตงิ านตามหน้าที่หลัก และ งานที่ได้รับมอบหมายโดยเฉพาะการประกอบอาหารกลางวันสาหรับเด็กนักเรียน การเสียสละเพื่อส่วนรวม รวมทั้งการดาเนินโครงการ “ตามรอยพ่อ สานต่อพอเพียง” ของโรงเรียนบ้านหนองสามพรานโดยร่วมเป็นวิทยากรอบรมนักเรียนเรื่อง การทา น้ายาล้างจานอเนกประสงค์ และอบรมยุวหมอดินของสานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี ประเมิ น ผลการการปฏิ บั ติ ง านของตนเอง และรายงานผลการปฏิ บั ติ ง านต่ อ ผู้บังคับบัญชา

ศึกษาดูงานเศรษฐกิจพอเพียง บ้านคุณไพบูลย์ เจริญผล อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

 การตรวจสอบคุณภาพ ผู้พัฒนา ได้มีการตรวจสอบคุณภาพของการปฏิบัติงาน เป็นลาดับขั้นตอน ดังนี้ 1) ตรวจสอบโดยผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 2) ครูโรงเรียนบ้านหนองสามพราน ร่วมประเมินผลการปฏิบัตงิ านของลูกจ้างประจา 3) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานร่วมประเมินและตรวจสอบผลการปฏิบัตงิ าน ของลุกจ้างประจาผ่านการประชุมคณะกรรมการ 4) ลูกจ้างประจาพัฒนา ปรับปรุงตนเองตามข้อเสนอเสนอแนะของผู้ประเมิน  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 1) เป็นแบบอย่างการปรับเปลี่ยนตาแหน่งลูกจ้างประจาให้มีตาแหน่งที่สูงขึ้น 2) เป็ น แบบอย่ า งการด าเนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ ลูกจ้างประจาในสถานศึกษา

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ลูกจ้างประจา โรงเรียนบ้านหนองสามพราน ได้รับ การปรับเปลี่ยนตาแหน่งที่สูงขึ้น  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) ลูกจ้างประจามีการประพฤติ ปฏิบัตติ นอย่างมีประสิทธิภาพตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

ศึกษาดูงานสถานศึกษาพอเพียง บ้านห้วยยาง จังหวัดราชบุรี


396

ทัศนศึกษาโครงการแหลมผักเบีย้ จังหวัดเพชรบุรี

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

2) โรงเรียนบ้านหนองสามพรานผ่านการประเมิน ให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่าง เศรษฐกิจพอเพียง จากกระทรวงศึกษาธิการ ในปีการศึกษา 2552 และได้รับการ คัดเลือกให้เป็นโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง  ความพึงพอใจ ของนักเรียน ครู บุคลากรโรงเรียนบ้านหนองสามพราน พร้อมทั้งชุมชน และ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้มาประเมิน ความพึงพอใจ ร้อยละ 90.00 และตามคาสั่งอนุมัตปิ รับเปลี่ยนตาแหน่ง  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ได้รับการสนับสนุ นจากผู้ บริหาร สถานศึกษา และครูให้นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข้ามาใช้ในการบริหาร จัดการด้านบุคลากร วิชาการ บริหารทั่วไป และ งบประมาณ ส่งผลให้ลูกจ้างประจา ได้นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน และการ ปฏิบัตงิ านที่มีประสิทธิภาพ

กระบวนการตรวจซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิธีการตรวจสอบซ้า 1) ตรวจสอบการปฏิบัติงานโดยผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสามพราน สอบถาม ความพึงพอใจของ ผู้บริหาร ครู นักเรียน และชุมชน 2) ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง คือ สามารถนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินการปฏิบัติงานจนได้รับความก้าวหน้าใน อาชีพ โดยการปรั บเปลี่ ย นต าแหน่ง ลูก จ้ า งประจ าจากพนัก งานบริ ก ารเป็ น ช่า ง ครุภัณฑ์ และช่างไม้ตามลาดับ

การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่

ศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านไร่ร่วม จังหวัดกาญจนบุรี

1) จัดนิทรรศการ เผยแพร่ความรู้ และผลการดาเนินงานในโอกาสต่าง ๆ ร่วมกับ นักเรียนและครูโรงเรียนบ้านหนองสามพราน 2) เผยแพร่โดยบรรยายความรู้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง จากการที่โรงเรียนเป็นแหล่ง ศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกภูมิภาค 3) เผยแพร่ผลงานผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียนบ้านหนองสามพราน

ศึกษาดูงานโรงเรียนพระราชทาน วัดตะคร้าเอน จังหวัดกาญจนบุรี

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

397

เสริมสร้างประสิทธิภาพการพัฒนางานธุรการ เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา  เพื่อให้การดาเนินงานธุรการเป็นไปด้วยความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ  เพื่อพัฒนาระบบงานธุรการให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สามารถค้นหา หนังสือราชการรวมถึง การจัดเก็บหนังสือได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น และ เป็นปัจจุบัน  เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย 5 ส ของโรงเรียนวัดหนองเสือ

ระยะในการพัฒนา ระยะเวลาในการพั ฒ นาจะพั ฒ นาตลอดปี ง บประมาณ ด าเนิน การต่อ เนื่อ ง ทุกปีงบประมาณ โดยมีการปรับปรุงแก้ไขข้ อบกพร่องและพัฒนาตลอดเวลา ระหว่าง ปฏิบัตงิ านในโรงเรียนวัดหนองเสือ ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง สพป.กจ.1

ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพฐ/สถานศึกษา งานธุรการนับได้ว่าเป็นบันไดขั้นแรกในการทางานของสถานศึกษาต่างๆ ในทุก ระดับที่ต้องใช้การสื่อสารเป็นสื่อในการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารประกอบด้วย สาร ผู้สง่ สารและผู้รับสาร เจ้าหน้าที่ธุรการจะต้องเป็นสื่อในการนาสารจากผู้สง่ สารไปยังผู้รับ สาร เพื่อ เข้า สู่ กระบวนการปรั บเปลี่ย นไปสู่ก ารทางาน ตามภารกิ จต่อ ไป เจ้ า หน้า ที่ ธุรการต้องเป็น ผู้ที่มีค วามรู้ค วามสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ได้ อ ย่า งดี และมี คุ ณ ภาพ ทั้ ง นี้ก ารปฏิบัติง านของสถานศึก ษาต่า ง ๆ ย่อ มต้อ งอาศั ย การท างานของ เจ้ า หน้ า ที่ ธุ ร การเป็ น ส าคั ญ ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากมี ก ารก าหนดให้ มี ง านธุ ร การในทุ ก สถานศึกษา เพื่อให้การดาเนินงานธุรการเป็นไปด้วยความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบงานธุรการให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สามารถค้นหา หนังสือราชการ รวมถึ ง การจั ด เก็ บ หนั ง สื อ ได้ ง่ า ยและสะดวกรวดเร็ ว ยิ่ง ขึ้ น และเป็ น ปั จ จุ บั น และ สอดคล้องกับนโยบาย 5 ส ของโรงเรียนวัดหนองเสือ ดังนั้น งานธุรการจึงเปรียบเสมือนกลไกที่สาคัญของ สถานศึกษาที่จะขาดไป หรือไม่มไี ม่ได้ หากครูเปรียบเหมือนเรือจ้าง ธุรการก็เปรียบเหมือนไม้พาย

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา การพัฒนา ใช้หลักการในการเสริมสร้างประสิทธิภาพการพัฒนางานธุรการ ด้วยหลักการของกิจกรรม 5 ส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ความสะดวก สะอาด เป็นมาตรฐานเดียวกัน สิ่งเหล่านี้จะ นาไปสู่ การสร้างนิสัยความมีระเบียบ นิสัยความรับผิดชอบต่อตนเอง และนิสัยที่เอื้อให้ การทางานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสิ่งสาคัญในการนาหลักการ 5 ส มาใช้ในการ พัฒนางาน ไม่ได้มุ่งพัฒนาระดับจากระดับใหญ่ไปสู่ระดับเล็ก แต่เป็นการปลูกฝังความ เข้ ม แข็ ง ให้แ ก่ จุ ดเล็ ก เพื่อ เกื้อ หนุน จุ ดใหญ่ หรื อ เสริ ม สร้า งบุค ลากรให้ มีคุ ณ ภาพเพื่อ เกือ้ หนุนหน่วยงาน การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

นางสาววิสุตตา สุวรรณ์ เจ้าหน้าที่ธุรการ โรงเรียนวัดหนองเสือ โทรศัพท์ 089-0839752 E-mail : leky128@gmail.com


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร

398

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

กระบวนการพัฒนา  กลุ่มเป้าหมาย ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนวัดหนองเสือ จานวน 21 คน

 ขั้นตอนการพัฒนา

พัฒนางาน ุรการด้วยกิจกรรม 5 ส

ส สาง : ส 1 (Seiri) การแยกเอกสารหรือสิ่งของที่ ไม่จาเป็นต้องใช้ออกจากเอกสารหรือสิ่งของที่ต้องการใช้

ส ดวก : ส 2 (Seiton) การจัดวางของที่ต้องใช้งานให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกแก่การใช้งานมากที่สุด โดยพิจารณาถึงคุณภาพ ประสิทธิภาพ ความประหยัด และความปลอดภัย

ส อาด : ส 3 (Seiso) การทาความสะอาดบริเวณต่างๆ ที่ตนเองรับผิดชอบไม่ให้สกปรก

สุขนิสัย : ส 4 (Seikesu) การจัดวางของที่ต้องใช้งานให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกแก่การใช้งานมากที่สุด โดยพิจารณาถึงคุณภาพ ประสิทธิภาพ ความประหยัด และความปลอดภัย

สร้างนิสัย : ส 5 (Shisuke) การกระตุ้นและติดตามให้บุคลากรปฏิบัตต ิ ามวิธีการของ 4 ส ข้างต้นอย่างต่อเนื่อง และเคร่งครัดจนกลายเป็นนิสัย และเป็นชีวิตประจาวันในการทางาน

 การตรวจสอบคุณ ภาพ วิธีการ ตรวจสอบคุณภาพใช้แบบ ประเมินผลกิจกรรม 5 ส. แบบสอบถาม แบบสังเกต สัมภาษณ์ แบบสารวจ ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่นาไปใช้ นาผล การประเมินที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง และพัฒนางานธุรการให้ดียิ่งขึ้นต่อไป  ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ของโรงเรียนวัดหนองเสือ มีความพึงพอใจในการพัฒนางานธุรการด้วยหลักการ ของกิจกรรม 5 ส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สูก่ ารพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

 แนวทางการนาไปใช้ปร โยชน์ ใช้ในการพัฒนางานธุรการให้เป็นระบบ และมีคุณภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน พัฒนาสานักงานให้ ทันสมัย วัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้ พัฒนาการบริหารจัดการเพื่อให้การสื่อสารหรือการ ประสานงานระหว่างบุคลากรในสถานศึกษามีความเข้าใจที่ตรงกัน รวมถึงการ ติดต่อประสานงานกับสถานศึกษาภายนอก สถานศึกษาสามารถดาเนินงานใน ภาพรวมได้อย่างคล่องตัว รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ สามารถดาเนินงานต่างๆ ได้อย่างราบรื่นและสาเร็จ ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา  ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนวัด หนองเสือ ได้รับความสะดวกรวดเร็วของการติดต่อประสานงานทาให้สามารถ ติดต่องานที่สาคัญ ๆ ได้อย่างดียิ่ง  ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ครูและบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอกมีความพึงพอใจในการรับบริการของงานธุรการโรงเรียนหนอง เสือ คิดเป็นร้อยละ 80  ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง จากการสังเกตการดาเนินงานของ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนวัดหนองเสือ จากผลการ ตอบรับความพึงพอใจและผลการติดต่อประสานงานจากหน่วยงานทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ  ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมี ความพึงพอใจในการรับบริการ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง  วิ ีการตรวจสอบซ้า นาไปทดลองใช้กับโรงเรียนใกล้เคียงในเครือข่าย หรือหน่วยงานอื่นเพื่อตรวจสอบปัญหา หาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้ว นามาปรับปรุงแก้ไข และหารูปแบบใหม่ ๆ ที่น่าสนใจมาพัฒนางานธุรการให้ดียิ่งขึ้น ต่อไป  ผลการตรวจสอบซ้ า ผลจากการตรวจสอบซ้ าเพื่ อ พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการเสริมสร้างประสิทธิภาพการพัฒนางานธุรการ และ นาข้อบกพร่องมาแก้ไขเพื่อพัฒนาต่อไป การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ เผยแพร่กิจกรรม/ผลงาน และวารสาร ให้ โ รงเรี ย นในกลุ่ ม เครือ ข่ า ยพั ฒนาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาชาววั ง อ.ท่ า ม่ ว ง จังหวัดกาญจนบุรี และชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนางานธุรการ

การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน

399


ภาคผนวก


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

หลักการ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 เป็นส่วนรำชกำรในกำรกำกับดูแล และสนับสนุนส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนทั้งในเชิงปริมำณและเชิงคุณภำพ เพื่อให้สถำนศึกษำ ทุกแห่งได้มีกำรพัฒนำอย่ำงเป็นระบบภำยใต้เป้ำหมำยและยุทธศำสตร์กำรจัดกำรศึกษำที่ยั่งยืน และมี ระดับคุณภำพเป็นที่พึงพอใจ โดยกลุ่มบริหำรงำนบุคคล มีหน้ำที่ในกำรดำเนินงำนพัฒนำข้ำรำชกำรครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำไปในทิศทำงเดียวกัน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศำสตร์สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 ให้บรรลุผลสูงสุดดั่งที่ตั้งไว้ อีกทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกำรสร้ำงวัฒนธรรม ใหม่ในกำรปฏิบัติงำนในระบบรำชกำร กำรทำงำนร่วมกันเป็นทีม กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และ กำรปลดปล่อยพลังควำมคิดของข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำในทุกระดับ ให้ร่วมกันพัฒนำ และสร้ำงกำรเปลี่ยนแปลงในส ำนักงำนและสถำนศึกษำ โดยเฉพำะกำรสร้ำงภำวะผู้นำให้เกิดขึ้นใน องค์กร กำรพั ฒนำข้ ำรำชกำรครู และบุ คลำกรทำงกำรศึ กษำให้ สำมำรถปฏิ บั ติ รำชกำรได้ อย่ ำงมี ประสิทธิ ภำพและบรรลุ เป้ำหมำยขององค์ กร สนองยุ ทธศำสตร์โครงกำรพัฒนำครูทั้งระบบเต็มตำม ศักยภำพ ในกำรสร้ำงทรัพยำกรบุคคลอย่ำงมีคุณภำพ และเป็นครูดี ครูเก่ง มีคุณภำพ คุณธรรมตำม ยุทธศำสตร์ “มีกำรปฏิรูปองค์กรและปรับปรุงคุณภำพอย่ำงต่อเนื่อง” ในกำรพิจำรณำองค์ควำมรู้ที่ สอดคล้องกับมิติประสิทธิผลกำรปฏิบัติรำชกำร หรือมิติด้ำนคุณภำพกำรให้บริกำรตำมคำรับรองกำร ปฏิบัติรำชกำรได้นั้น สำนักงำนจึงได้พิจำรณำกระบวนกำร Benchmarking (กำรเทียบเกณฑ์) โดยอำศัย หลักกำรประเมินตนเองเทียบกับเกณฑ์รำงวัลทรงคุณค่ำ สพฐ. (OBEC AWARDS) เพื่อกำรปรับปรุง ตนเอง ภำยใต้กิจกรรมกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practices ภำยในเครือข่ำยสำยใยสัมพันธ์ด้วยใจ ของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 และสถำนศึกษำ ในกำรขับเคลื่อนให้ เกิ ดกำรพั ฒนำคุ ณภำพ แบบก้ ำวกระโดด ของส ำนั กงำนเขตพื้ นที่ กำรศึ กษำกำญจนบุ รี เขต 1และ สถำนศึ กษำ โดยมุ่ งขยำยแนวปฏิ บั ติ ที่ เป็ นเลิ ศไปสู่ กำรประยุ กต์ ใช้ เพื่ อพั ฒนำระบบคุ ณภำพตำม มำตรฐำนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนได้อย่ำงมีประสิทธิผลต่อไป.


2 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีท่ีนามาใช้ในการพัฒนา องค์กร ในกำรพัฒนำคุณภำพของครูและบุคลำกรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนทุกระดับ ยึดหลักคิด 4 ประกำร คือ 1. ส่งเสริมศักยภำพครูและบุคลำกรที่มสี มรรถนะสูง 2. เติมเต็มควำมสำมำรถของครูและบุคลำกรให้สำมำรถปฏิบัติงำนเต็มตำมศักยภำพ 3. สร้ำงวัฒนธรรมให้ครูและบุคลำกรมีควำมมุ่งมั่นตั้งใจ เพื่อสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และ เพิ่มพูนทักษะประสบกำรณ์ตำมบทบำทหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ ด้วยกำรเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 4. และสร้ำงสังคมกำรเรียนรู้อย่ำงยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศำสตร์สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 และตำมกรอบกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำร มิติที่ 4 ด้ำนกำรพัฒนำองค์กร 2. เพื่อรวบรวมองค์ควำมรู้ที่มีอยู่ในสำนักงำนและสถำนศึกษำซึ่งกระจัดกระจำยอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสำรมำพัฒนำให้เป็นระบบ 3. เพื่อกำรแลกเปลี่ยนควำมรู้ทั้งภำยในและภำยนอกสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ กำญจนบุรี เขต 1 เป้าประสงค์หลักของการพัฒนา 1. ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำมีสมรรถนะและควำมมุ่งมั่นในกำรปฏิบัติ รำชกำร โดยยึดหลักกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่และกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี 2. ส ำนั ก งำนเขตพื้ น ที่ ก ำรศึ ก ษำประถมศึ ก ษำกำญจนบุ รี เขต 1 และสถำนศึ ก ษำมี ควำมสำมำรถและมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำนในระดับสูง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน และเกิด ผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภำรกิจของรัฐ สำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 จึงได้กำหนดขอบเขตกำรบริหำร จัดกำร และกำรจัดกำรกระบวนกำรที่มีควำมสอดคล้อง และสนับสนุนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็น ยุทธศำสตร์ ของสำนักงำนฯ ใน 3 ประเด็นยุทธศำสตร์ ดังต่อไปนี้ 1. กำรสร้ำงเครือข่ำยสำยใยสัมพันธ์ด้วยใจระหว่ำงสำนักงำนเขตพืน้ ที่และสถำนศึกษำ 2. กำรพัฒนำงำนโดยใช้กระบวนกำรแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 3. ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เอือ้ ต่อกำรเป็นองค์กรแห่งกำร เรียนรู้ และผลลัพธ์ในกำรพัฒนำงำนจำกกระบวนงำน โดยมีมำตรกำรและกระบวนกำรทำงำนที่สำคัญ 3 ระยะ ดังต่อไปนี้


3 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 กำรสร้ำงเครือข่ำยสำยใยสัมพันธ์ดว้ ยใจระหว่ำงสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 และสถำนศึกษำ มาตรการ : สร้ำงควำมเข้ำใจ ค่ำนิยม วัฒนธรรมแห่งกำรเรียนรู้ เพื่อนำสำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 และสถำนศึกษำไปสู่องค์กรแห่งกำรเรียนรู้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทุกหน่วยงำนมีกำรพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำด้ำนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่ำนิยม ในกำรปฏิบัติงำนเชิงรุกและเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. เพื่อให้บุคลำกรกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำนทุกคน ทุกระดับได้รับกำรพัฒนำสมรรถนะตำม แผนของหน่วยงำน 3. เพื่อให้เกิดกำรประสำนควำมร่วมมือและมีกำรแลกเปลี่ยนองค์ควำมรู้ระหว่ำงองค์กร เป้าหมาย ทุกหน่วยงำน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของหน่วยงำนมีกำรจัดทำแผนพัฒนำบุคลำกรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนด้ำน กระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่ำนิยม ครอบคลุมกลุ่มเป้ำหมำย 100% ภำยในปี 2557 2. หน่วยงำนมีผลกำรปฏิบัติตำมแผนพัฒนำฯ ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 80,90 และ 100 ใน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2555-2557 ตำมลำดับ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนางานโดยใช้กระบวนการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) มาตรการ : สนับสนุน สร้ำงกลไกให้เกิดกำรแบ่งปันควำมรูเ้ พื่อพัฒนำงำนวิชำกำร ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทุกหน่วยงำนมีแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรมโดยใช้กระบวนกำร แลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เป้าหมาย ทุกหน่วยงำน ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยงำนมีกำรแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศมำใช้ในกำรจัดกำร ควำมรูค้ ลอบคลุมทุกภำรกิจ ภำยในปี 2557


4 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เอือ้ ต่อกำรเป็นองค์กรแห่ง กำรเรียนรู้ และผลลัพธ์ในกำรพัฒนำงำนจำกกระบวนงำน มาตรการที่ 1 : ให้มกี ำรพัฒนำระบบสำรสนเทศ เพื่อเผยแพร่ควำมรูอ้ ย่ำงทั่วถึงและมีประสิทธิภำพ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนำสื่อเทคโนโลยีสำรสนเทศที่หลำกหลำยรูปแบบสำหรับกำร พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน เป้าหมาย หน่วยงำนที่รับผิดชอบงำนด้ำนกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล และงำน เทคโนโลยีสำรสนเทศ ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยงำนที่มฐี ำนข้อมูลด้ำนบุคคลที่มคี วำมถูกต้อง เที่ยงตรง ทันสมัยอยู่เสมอ และนำมำใช้งำนได้จริง มาตรการที่ 2 ให้มรี ะบบให้รำงวัลแก่บุคลำกรหรือหน่วยงำนที่มีกำรแลกเปลี่ยนควำมรู้ วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมให้มีกำรประเมินหน่วยงำนและบุคคล ตนเองเทียบกับเกณฑ์รำงวัลทรงคุณค่ำ สพฐ. (OBEC AWARDS) เพื่อสร้ำงคุณภำพและผลสัมฤทธิ์ในกำรปฏิบัติงำน 2. เพื่อให้มรี ะบบกำรควบคุมกำกับและประเมินผลกำรพัฒนำบุคลำกรกำรศึกษำขั้น พืน้ ฐำน 3. เพื่อพัฒนำคุณภำพชีวติ และควำมสมดุลระหว่ำงชีวติ กับกำรทำงำน โดยให้ทุก หน่วยงำนมีกำรเสริมสร้ำงบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรปฏิบัติงำนอย่ำงเป็นระบบ เป้าหมาย ทุกหน่วยงำน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของหน่วยงำนมีกำรควบคุม กำกับ และประเมินผลกำรพัฒนำบุคลำกร ในปี 2557 2. ระดับควำมพึงพอใจของบุคลำกรทำงกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำนต่อสภำพแวดล้อมกำรทำงำน ขององค์กร 3. ร้อยละของหน่วยงำนมีโครงกำรหรือกิจกรรมที่สร้ำงสมำนฉันท์ในทุกระดับ ระหว่ำง ผูบ้ ริหำรกับครู/ผู้ปฏิบัติงำน และระหว่ำงผู้ปฏิบัติงำนด้วยกันเอง




สรุปผลการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ กลุ่มบริหารงานบุคคล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โครงการ/ ตัวชี้วัด งบประมาณ ปัญหา ค่านิยม สพฐ. กิจกรรมที่สอด โครงการ/ ผลการดาเนินงาน (ถ้ามี) อุปสรรค รับ กิจกรรม O = Organic : 1. โครงการ 1.1 ร้อยละของ 300,000.สพป.กจ.1 มี เป็นองค์กรที่มี แลกเป้าเพื่อ สถานศึกษาที่ บาท โครงการ/กิจกรรมเพื่อ ชีวติ สนับสนุนให้ครู ได้รับการเตรียม พัฒนาครูและบุคลากร พัฒนาตนเอง ความพร้อมด้าน ทางการศึกษาให้มี ภาษาที่สอง เพื่อ วัฒนธรรมในการพัฒนา เข้าสูป่ ระชาคม ตน พัฒนาคน พัฒนา 2. โครงการ อาเซียน 446,000.- งาน และได้ดาเนินการ พัฒนาครูและ 2.1 จานวนครู บาท ดังนี้ บุคลากรทางการ ได้รับการพัฒนา - ปฐมวัย 4 คน ศึกษาทั้งระบบเต็ม ให้เป็นครูดี ครู - ภาษาไทยบูรณาการ ตามศักยภาพ เก่ง มีคุณภาพ 217,400.- 65 คน และ คุณธรรม บาท - ภาษาไทย ม.ต้น 2 2.2 จัดหาและ คน พัฒนาสมรรถนะ - สังคม ม.ต้น 14 คน ลูกจ้างชั่วคราว - บรรณารักษ์ 2 คน ปฏิบัตหิ น้าที่ - ภาษาอังกฤษ ม.ต้น เจ้าหน้าที่ธุรการ 11 คน โรงเรียน - คณิตศาสตร์ประถม 2.3 จานวนครู ช่วงชั้นที่ 1 14 คน ผู้บริหาร และศน. - คณิตศาสตร์ประถม ที่ผ่านการพัฒนา ช่วงชั้นที่ 2 21 คน ด้วยระบบ e- วิทยาศาสตร์ประถม Training (UTQ 11 คน Online) - สุขศึกษา 2 คน 2.4 บุคลากร - พลศึกษา 3 คน ทางการศึกษา - งานบ้าน 5 คน 38 ค. (2) ได้รับ - งานเกษตร 3 คน การพัฒนา - เทคโนโลยี 5 คน สมรรถนะและ - ธุรกิจ 1 คน, คุณลักษณะตาม - ทัศนศิลป์ 2 คน มาตรฐานวิชาชีพ - นาฎศิลป์ 3 คน อย่างเป็นระบบ - กิจกรรมพัฒนา และต่อเนื่อง ผู้เรียน 86 คน 1


ค่านิยม สพฐ.

B= Benevolence : พร้อมจิตเอื้อ อาทร

โครงการ/ กิจกรรมที่สอด รับ

3. การสร้าง ความเข้มแข็งการ บริหารทรัพยากร บุคคล

ตัวชี้วัด โครงการ/ กิจกรรม 2.5 บุคลากรใน เขตพื้นที่ การศึกษาเข้าใจ บทบาทหน้าที่ ของตนเองอย่าง ชัดเจน 3.1 บุคลากรมี ศักยภาพ และมี ขวัญกาลังใจใน การปฏิบัตงิ าน 3.2 มีบรรยากาศ ในการทางานมี ความสุข 3.3 บุคลากร ปฏิบัตงิ านตาม กรอบอัตรากาลัง และตามความ ต้องการอย่าง เหมาะสม 3.4 บุคลากรมี ความพอใจใน ความมั่นคงของ การประกอบ อาชีพ 3.5 บุคลากร ได้รับการพัฒนา ให้มีคุณภาพและ สามารถ ปฏิบัตงิ านได้ตาม มาตรฐานหรือ เกณฑ์ที่กาหนด

งบประมาณ (ถ้ามี)

ผลการดาเนินงาน

ปัญหา อุปสรรค

- ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และศน. พัฒนาด้วย

ระบบ e-Training (UTQ Online) ทุกคน 296,000.สพป.กจ.1 มี บาท โครงการ/กิจกรรมเพื่อ สร้างความเข้มแข็งการ บริหารทรัพยากรบุคคล และได้ดาเนินการ ดังนี้ - วางแผนจัดสรร อัตรากาลังเพื่อช่วยแบ่ง เบาภาระงานของครู - พัฒนาระบบการ บริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อจัดทาแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากร บุคคล ตามแนวทาง HR Scorecard และ แผนการสร้างความ ผาสุกและความพึง พอใจ - วางแผนสร้าง ความก้าวหน้าเพื่อให้ครู มีความรู้เรื่องการขอมี หรือเลื่อนวิทยฐานะตาม หลักเกณฑ์ใหม่ - แผนระบบยกย่อง เชิดชูเกียรติ โดยการ คัดเลือกประกวด, จัดพิธีมอบ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ การมอบครื่องราช อิสริยาภรณ์และเหรียญ จักรพรรดิมาลา , การ 2


ค่านิยม สพฐ.

โครงการ/ กิจกรรมที่สอด รับ

ตัวชี้วัด โครงการ/ กิจกรรม

งบประมาณ (ถ้ามี)

ผลการดาเนินงาน

ปัญหา อุปสรรค

สอบแข่งขันและคัดเลือก ผู้ปฏิบัตงิ านธุรการ โรงเรียน ประชุมเชิง ปฏิบัตกิ าร เพื่อ ตรวจสอบรับรองข้อมูล ทะเบียนประวัติ (ก.พ.7) อิเล็กทรอนิกส์

4. โครงการ ประกวดคัดเลือก หน่วยงานและ บุคคล ผู้มผี ลงาน ดีเด่นที่ประสบ ผลสาเร็จ เพื่อรับ รางวัล OBEC AWARDS ระดับ ภาคกลางและ ภาคตะวันออก

E = Eagerness : มีอาภรณ์ คือ ความขยัน

4.1 จานวน หน่วยงานและ บุคลากรในทุก ระดับ ที่ได้รับ รางวัลระดับภาค กลางและภาค ตะวันออก 4.2 หน่วยงาน และบุคลากรทุก ระดับได้ประเมิน ตนเองตาม หลักเกณฑ์รางวัล OBEC AWARDS เพื่อนาผลมาใช้ ปรับปรุงพัฒนา องค์กร 5. โครงการ 5.1 บุคลากรเกิด จัดงานเวที ความภาคภูมใิ จ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีความสุขใน นิทรรศการและ การทางาน การนาเสนอ 5.2 บุคลากร ผลงาน Best มุง่ เน้นผลสัมฤทธิ์ Practice ของ ตามเป้าหมายที่

สพป.กจ.1 ได้จัดทา คู่มอื การประเมินบุคคล และหน่วยงาน เพื่อใช้ใน เป็นแนวทางในการ คัดเลือกหน่วยงานและ บุคคลประกวด และ 500,000.- สามารถใช้ประเมิน บาท ตนเองตามองค์ประกอบ และตัวชีว้ ัดเกณฑ์รางวัล OBEC AWARDS ทั้งนี้ มีผู้สง่ ผลงานทีไ่ ด้รับการ คัดเลือกจากเขตพื้นที่ การศึกษาภาคกลางและ ภาคตะวันออก 41 แห่ง ได้รับรางวัล จานวน 101 รางวัล

610,000.สพป.กจ.1 มี บาท โครงการ/กิจกรรมเพื่อ นาเสนอผลงาน Best Practice ของผู้บริหาร สถานศึกษา ครูผู้สอน และลูกจ้างดีเด่น ระดับประถมศึกษา และ 3


ค่านิยม สพฐ.

C= Compliance : ใจยึดมั่นหลัก ยุติธรรม

โครงการ/ กิจกรรมที่สอด รับ ผู้บริหาร ครูผู้สอนระดับ ปฐมวัย ประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา ตอนต้นและ ลูกจ้างดีเด่น เพื่อ คัดเลือกเป็น ตัวแทนระดับเขต พื้นที่การศึกษา ไป ประกวดแข่งขัน เพื่อรับรางวัล ทรงคุณค่า OBEC AWARDS ด้าน วิชาการ บริหาร จัดการ และ นวัตกรรม 6. โครงการ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สาหรับ ครูและบุคลากร ทางการศึกษา

ตัวชี้วัด โครงการ/ กิจกรรม เขตพื้นที่กาหนด 5.3 บุคลากรได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเห็นผลการ พัฒนาจากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5.4 บุคลากรทา งานอย่างมี คุณภาพ เป้าหมายหลักใน การทางาน คือ การเน้นความพึง พอใจของ ผู้รับบริการ

6.1 บุคลากรยืน หยัดที่จะทางาน ในสิ่งที่ถูกต้อง ตามหลักศาสนา

งบประมาณ (ถ้ามี)

ผลการดาเนินงาน

ปัญหา อุปสรรค

มัธยมศึกษาตอนต้น ที่ ได้รับการคัดเลือกเป็น ตัวแทนระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ไปประกวด แข่งขันระดับภาคกลาง และภาคตะวันออก เพื่อ รับรางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS ด้าน วิชาการ บริหารจัดการ และนวัตกรรมโดยมี ผลงาน Best Practice ที่ เป็นตัวแทนระดับเขต พื้นที่ จานวน108 เรื่อง

70,000.- สพป.กจ.1 จัด บาท โครงการเพื่อเสริมสร้าง คุณธรรมให้แก่ ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา จานวน 86 ราย

-

4


กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ ด้วยระบบ e-Training (UTQ Online) ระยะที่ 2

หลักสูตรที่ผ่านการพัฒนา 7,876 หลักสูตร

1 2 3 4

ข้าราชการครู 6,892 หลักสูตร ผู้บริหารการศึกษา 74 หลักสูตร ผู้บริหารสถานศึกษา 849 หลักสูตร ศึกษานิเทศก์ 61 หลักสูตร

ระดับคะแนนการประเมินที่ได้ ระดับ 4 โดยประเมินจากจํานวนผู้อบรม 1,710 คน

นโยบายการพัฒนาด้วยระบบ e-Training

สร้างความรู้ ความเข้าใจ และเพิ่มพูน ทักษะ ประสบการณ์ตามบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ ด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง บนพื้นฐานการทํางานอย่างมีคุณภาพ

กลุ่มเป้าหมาย จํานวน 1,710 คน 1 ข้าราชการครู 1,514 คน 2 ผู้บริหารการศึกษา 11 คน 3 ผู้บริหารสถานศึกษา 168 คน 4 ศึกษานิเทศก์ 18 คน สัมฤทธิผลแห่งคุณภาพ : ทุกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการพัฒนาครบ

100 %

ปัจจัยสู่ความสําเร็จ 1 การรับรู้ สื่อสาร ทําความเข้าใจ 2 สนับสนุน ช่วยเหลือแก้ปัญหา 3 ยกย่องเชิดชูเกียรติ ให้รางวัล

ข้อจํากัดในเชิงคุณภาพ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขตพื้นที่ (ยกเว้1นเขตที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้แทนภาค) ไม่ทราบข้อมูลเป็นรายบุคคลที่แท้จริง ได้ว่า “ใคร? ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน” ในกรณีที่ เจ้าตัวไม่ประสงค์จะรายงานให้เขตฯ ทราบ จึงทําให้ทุกเขตพื้นที่ มีผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมินทุกกลุ่มวิชา.

1


จุดที่ควรพัฒนา มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ของทุกเขต เป็นผู1 ้ดูแลระบบ เพื่อสะดวกในการกํากับ ติดตาม และแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อนําไปสู่การวางแผนพัฒนาแต่ละ กลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคล

แนวทางการพัฒนา ทบทวนและพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรต่างๆ ให้มีม1ิติของการมีส่วนร่วมของทุก กลุ่มเป้าหมาย และให้มีระบบให้รางวัลแก่ บุคลากรและหน่วยงานที่มีความตั้งใจในการ พัฒนาตนเองที่ชัดเจน เช่น ผลของการพัฒนา มีผลต่อการมีและเลื่อนวิทยฐานะ เป็นต้น

2


กลยุทธ์ที่5.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2 กระบวนการที่มี ประสิทธิภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษา และ ส่งผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา

บันไดสู่ความสําเร็จ 5 ขั้นตอน 5

การพัฒนาอย่างยั่งยืน

การสร้างแรงสนับสนุน

4

3

• เรียนรูและทํากิจกรรมตาง ๆ ในสาขา

ชัการยอมรั ้นปที่ วิชาเอกที่สบ ังกัด รวมทั้งการรวมจัดและทํากิจกรรมของ 2

การประเมิ นตนเอง ชั้นปที่

ชมรมตาง ๆ

2

1

การรับรู้

1

ทุกคน ทุกตําแหน่งต้องทราบ

ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพบุคลากร การศึกษาขั้นพื้นฐาน สพป.กจ.1

1 2 3

การสร้างเครือข่ายสายใยสัมพันธ์ ด้วยใจระหว่างสํานักงานเขตพื้นที่ และสถานศึกษา การพัฒนางานโดยใช้กระบวนการ แลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้

สัมฤทธิผลแห่งคุณภาพ ผ่านการรับรองการดําเนินการ

บริหารจัดการตามเกณฑ์ คุณภาพ สพฐ. ประจําปี งบประมาณ 2555 ครั้งที่ 1 ระดับการประเมินที่ได้ 3

1


บุคลากรที่สร้างชื่อเสียง ตัวอย่างผลงานและนวัตกรรม ด้านต่างๆ ของสพป.กจ.1

นางปัทมา รุ่งสว่าง ครู คศ.2 ร.ร.อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม โทรศัพท์ 081-7589584 รางวัลทรงคุณคา สพฐ.OBEC AWARDS ชนะเลิศ ครูผูสอนวิชาบูรณาการประถม ยอดเยี่ยมดานนวัตกรรม ปพ.ศ. 54

บุคลากรที่สร้างชื่อเสียง

ผลงานดีเด่นของสพป.กจ.1 เป็นเจ้าภาพในการจัด การแข่งขันทักษะทางวิชาการ "งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาคตะวันออก

นางสาวสายหยุด ห้าวเจริญ ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านโป่งหวาย โทรศัพท์ 089-9183657 รางวัลตามรอยเกียรติยศครูผูมีอุดมการณฯ ของ สพฐ. ปพ.ศ. 2553

การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม

2


ผลงานดีเด่นของผู้บริหาร การบริหารและจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วม : เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา โดย นางบุษกร ห้าสกุล ผอ.ร.ร.บ้านทุ่งนานางหรอก "เพ็ญชาติอุปถัมภ์"

น้อมนําหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวมาสู่การปฏิบัติ

ผลงานดีเด่นของครู

ผลงานดีเด่นของครู การส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน โดย นางนัยนา เจียมอยู่ ครู ร.ร. วัดจรเข้เผือก

สนองยุทธศาสตร์ที่ 8 ของ สพฐ. การส่งเสริมการมีงานทํา ลดปัญหาหนี้สิน เน้นทั้งความรู้ ทางวิชาการและวิชาชีพ

ผลงานดีเด่นของลูกจ้าง

น้ําอ้อยหวานจัง จากภูมิปัญญา ท้องถิ่น (ชวนหนูอ้อย ไปอาเซียน)

การพัฒนาการปฏิบัติงาน ทุนชีวิตฝากไว้กับพนักงานขับรถ

โดย นางสุดา เข็มไทย ครู ร.ร. บ้านหนองสองห้อง

โดย นายสมเกียรติ์ นุชโสภา ลูกจ้างประจํา สพป.กจ.1

สนองยุทธศาสตร์ท่ี 8 ของ สพฐ. การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ นักวิทยาศาสตร์น้อย

สนองยุทธศาสตร์ที่ 4 ของ สพฐ. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ เน้นให้บุคลากรทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ

3


12/11/55

ขั้นตอนการดําเนินงาน การพัฒนารูปแบบผลงานวิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ (Best Practice) 27 กันยายน 2555 า

ณ ห้องประชุม 1 สพป.กจ.1

ประชาสัมพันธ์ แจ้งแบบนําเสนอให้ทุก ร.ร. ในเขตพื้นที่การศึกษาทราบ ดําเนินการจัดเวทีแสดงผลงานและคัดเลือก ผลงานการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practices) สรรหาและคัดเลือกบุคคลและหน่วยงาน ดีเด่นเป็นตัวแทนในระดับเขตพื้นที่ ส่งผลงาน ไม่เกิน 6 หน้า ส่งถึง สพป.กจ.1 ภายใน 28 ก.ย.55 เพื่อจัดทํารูปเล่ม

1 2 3 4

หลักการและเหตุผล สพป.กจ.1 มี ค วามมุ่ ง หวั ง ให้ โ รงเรี ย นสามารถจั ด การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพ รวมทั้ ง สามารถ พัฒนาตนเองให้เป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาการศึกษาให้ เป็ น ที่ย อมรั บของชุ ม ชนและสั ง คม จึง ได้ จั ด ให้ มีเ วที ก าร แลกเปลี่ ยนเรียนรู้แก่ ผู้บริหาร ครู ที่มีผลงานวิธีปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านวิชาการ บริหารจัดการ และ นวัตกรรม รวมถึงลูกจ้างประจําขึ้น ดังนั้นเพื่อต่อยอดความ เข้มแข็งทางวิชาการ จึงได้จัดประชุมเตรียมความพร้อมใน การแข่งขันรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS เพื่อเป็นตัวแทนในระดับเขตพื้นที่

วัตถุประสงค์

รูปแบบการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practices)

) ด้านวิชาการ บริหารจัดการ และนวัตกรรม

1

เป็นผลงานที่ผ่านการพัฒนาอย่าง เป็นระบบ ถูกต้องตามหลักวิชา

2

มีความคิดสร้างสรรค์

3 มีการพัฒนาผลงานอย่างต่อเนื่อง

มีผลการใช้และร่องรอยหลักฐานชัดเจน

4

เป็นรูปแบบที่สามารถนําไปปฏิบัติได้จริง

1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหาร

5

สถานศึกษา ครูผู้สอน และลูกจ้างมีรูปแบบ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) 2 เพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันรางวัล ทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS

คุณประโยชน์ของผลงาน (Best Practices)

6

มีการเผยแพร่ / ขยายผลและได้รับ การยอมรับ

7

ไม่ควรเป็นผลงานที่เคยนําเสนอ Best Practices มาแล้ว

1


12/11/55

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. 2. 3.

โรงเรียนมีรูปแบบการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และ ลูกจ้างประจํามีรูปแบบการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practices) สพป.กจ.1 มีรูปแบบการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ ด้านวิชาการ บริหารจัดการ และนวัตกรรม

ความหมายของหลักเกณฑ์การให้คะแนน

5 4 3 2 1

มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การพิจารณาครบทุกข้อ มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การพิจารณา 4 ข้อ มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การพิจารณา 3 ข้อ มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การพิจารณา 2 ข้อ มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การพิจารณา 1 ข้อ

มีความคิดสร้างสรรค์ หลักเกณฑ์การคัดเลือกรูปแบบ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ(Best Practices) ● ประเด็นพิจารณา ● หลักเกณฑ์การพิจารณา ● หลักเกณฑ์การให้คะแนน

เป็นผลงานทีผ่ า่ นการพัฒนาอย่างเป็น ระบบ ถูกต้องตามหลักวิชา

หลักเกณฑ์การพิจารณา

ความหมายของหลักเกณฑ์การให้คะแนน

3

ผลงานเกิดจากแนวคิดแปลกใหม่ที่พัฒนาขึ้นเอง น่าสนใจ นําไปใช้ได้สะดวก

2

ผลงานมีการปรับปรุงพัฒนาต่อยอดจากแนวคิดผู้อื่น สามารถนําไปใช้ประยุกต์ใช้ได้ผล

1

ผลงานที่นําแนวคิดของผู้อนื่ นําไปใช้ปฏิบตั ิกับสถานศึกษาหรือ ห้องเรียนของผู้เสนอโดยไม่มกี ารปรับเปลี่ยน

มีการพัฒนาผลงานอย่างต่อเนือ่ ง มีผล การใช้และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน

หลักเกณฑ์การพิจารณา

บอกหลักการและเหตุผลในการทําBP ได้ชัดเจน

มีแบบแผนการทํางาน/ปฏิทิน/กําหนดระยะเวลา

เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหา มีแนวคิด/ทฤษฎีท่ช ี ัดเจนและอ้างอิงได้ เนื้อหาสาระมีความสมบูรณ์ ถูกต้องตามหลักวิชา มีกระบวนการหรือวิธีการดาเนินงานเป็นขั้นตอน สรุปผลการดําเนินงานชัดเจนสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ท่กี ําหนดไว้

การทํางาน มีแบบประเมินหรือแบบบันทึกผลการทํางาน มีผลงานประกอบ เช่น ผลงานผู้เรียน ผลงานครู ฯลฯ

2


12/11/55

ความหมายของหลักเกณฑ์การให้คะแนน

3

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาครบทุกข้อ

2

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณา 2 ข้อ

1

มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณา 1 ข้อ

เป็นรูปแบบที่สามารถนําไป ปฏิบัติได้จริง

หลักเกณฑ์การพิจารณา

คุณประโยชน์ของผลงาน Best Practices

หลักเกณฑ์การพิจารณา

ผลงานสามารถนําไปใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนา

ผู้เรียนได้ดี ผลงานเป็นประโยชน์ต่อเพือ ่ นครูในการพัฒนา งาน ผลงานเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา

ความหมายของหลักเกณฑ์การให้คะแนน

3

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาครบทุกข้อ

งานที่ปฏิบัติในการทํางานครบถ้วน มีหลักฐาน/ ผลงานที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติจริง

2

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณา 2 ข้อ

1

มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาเพียง 1 ข้อ

ความหมายของหลักเกณฑ์การให้คะแนน

มีการรับรองผล/เผยแพร่และ ได้รับการยอมรับ

มีรูปแบบตรงตามหลักการศึกษา มีคู่มือ/รายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมหรือ

3

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาครบทุกข้อ

2

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณา ข้อที่ 1. และข้ออื่นๆ อีก 1 ข้อ

1

มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาเพียง 1 ข้อ

หลักเกณฑ์การพิจารณา

ผู้เรียนมีพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์-จิตใจ

สังคมและสติปัญญาในระดับดีขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อย ละ 80 มีการเผยแพร่ผลงานผู้เรียนที่เกิดจากการปฏิบัตท ิ ี่ เป็นเลิศในเวทีสาธารณะระดับเขตพื้นที่ขึ้นไป ผลงานของผู้เรียนที่เกิดจากการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ ได้รับรางวัลในระดับเขตพื้นที่ขึ้นไป

3


12/11/55

ความหมายของหลักเกณฑ์การให้คะแนน

3

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาครบทุกข้อ

2

มีคุณลักษณะของผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณา 2 ข้อ

1

มีคุณลักษณะผลงานตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาเพียง 1 ข้อ

ขอความร่วมมือ 1. แบบรายงานการนําเสนอผลงานมีความยาวไม่เกิน 5 หน้า ขนาด ตัวอักษร 16 พอยต์ 2. หลักฐานรูปภาพและร่องรอยประกอบไม่เกิน 1 หน้า รวมแล้วไม่ เกิน 6 หน้า 3. ให้ส่งผลงานในรูปแบบเอกสารตามแบบที่กําหนดในแผ่น CD หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ทาง emaill:poopiyanard@gmail.com ภายในวันที่ 28 กันยายน 2555

แบบฟอร์มผลงานนวัตกรรม Best Practice

1 2 3 4 5

ชื่อผลงาน BP ด้านวิชาการ บริหาร นวัตกรรม ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับ เป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ./ สถานศึกษา

แบบฟอร์มผลงานนวัตกรรม Best Practice

6 7 8 9 10

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นํามาใช้ในการพัฒนา กระบวนการพัฒนา BP ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนือ่ ง รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และ ขยายผล

สพฐ. ได้อนุมัติโครงการคัดเลือกหน่วยงานและผู้มี ผลงานดีเด่นที่ประสบผลสําเร็จเป็นที่ประจักษ์ เพื่อรับ รางวัล OBEC AWARDS ระดับเขตพื้นที่ ระดับภาคและ ระดับชาติ ณ อิมแพทเมืองทองธานี พร้อมกับงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 62 ปีการศึกษา 2555

วัตถุประสงค์ เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ และส่งเสริมบุคลากรภายใน สพฐ. ที่มีผลงานยอดเยี่ยม และมีความประพฤติในการ ครองตน ครองตน ครองงานเป็นแบบอย่างที่ดี และ ยอมรับของบุคคลในวิชาชีพและสังคม รวมทั้งเสริมสร้าง ขวัญและกําลังใจให้กับบุคลากรในฐานะผูป้ ฏิบัติงาน และยกย่องหน่วยงานและสถานศึกษา ที่สามารถทํา หน้าที่จัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นตัวอย่างทีด่ ี

4


12/11/55

ประเภทรางวัลที่จะคัดเลือก 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11)

สพท.ยอดเยี่ยม จํานวน 6 รางวัล สถานศึกษายอดเยี่ยม จํานวน 21 รางวัล ผอ.สพท.ยอดเยี่ยม จํานวน 6 รางวัล รองผอ.สพท.ยอดเยี่ยม จํานวน 6 รางวัล ผอ.กลุ่มยอดเยี่ยม จํานวน 6 รางวัล ศน.ยอดเยี่ยม จํานวน 6 รางวัล ผอ.สถานศึกษายอดเยี่ยม จํานวน 6 รางวัล รองผอ.สถานศึกษายอดเยี่ยม จํานวน 15 รางวัล ครูผู้สอน จํานวน 111 รางวัล บุคลากรทางการศึกษา จํานวน 6 รางวัล ลูกจ้าง จํานวน 5 รางวัล

1

วิธีการดําเนินงาน

1 2

ส่งบุคคล/หน่วยงานยอดเยีย่ มระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ไปประกวด ระดับภาค ณ สพป.ระยอง เขต 2 ภายในวันที่ 1 พ.ย. 55

3

คณะกรรมการประเมินสรุปผลตามเกณฑ์การตัดสิน พร้อมทั้ง ประกาศผลการคัดเลือกบุคคล/หน่วยงานยอดเยีย่ มระดับภาค เพื่อให้ ได้ตัวแทนเข้ารับการคัดเลือกในระดับชาติต่อไป

คณะกรรมการประเมินทําการประเมินผู้ที่ผ่านการประเมินจากระดับ เขตพื้นที่การศึกษา และระดับภาค โดยพิจารณาจากหลักฐาน เอกสาร หรือการตรวจสอบสภาพจริง หรือการนําเสนอรายงานผล การปฏิบัติงานของผู้รบั การประเมิน และซักถามเพิ่มเติม ตามที่ คณะกรรมการเห็นสมควร

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิคัดเลือก หน่วยงานและสถานศึกษายอดเยีย่ ม 1) เป็นสถานศึกษาหรือ สพป.หรือ สพม. สังกัด สพฐ. 2) มีผลการปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับตาม หลักเกณฑ์และวิธีการของคณะกรรมการ ประเมินกําหนด

บุคคลยอดเยี่ยม 1) ดํารงตําแหน่งลูกจ้าง หรือพนักงานราชการ หรือข้าราชการพลเรือน สามัญ หรือข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัด สพฐ. 2) ปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่ง ลูกจ้าง หรือพนักงานราชการ หรือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ หรือข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี นับถึงวันที่ยื่นขอรับการประเมิน 3) เป็นผู้ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยภายใน 2 ปีนับถึงวันที่ยื่นขอรับการ ประเมิน 4) มีความประพฤติในการครองตน ครองคน ครองงาน เป็นแบบอย่างที่ ดีและยอมรับของบุคคลในวิชาชีพในสังคม 5) มีผลการปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับตามหลักเกณฑ์และวิธีการของ คณะกรรมการประเมินกําหนด

เกณฑ์การตัดสิน

ผู้ถือว่าเป็นผู้คัดเลือกเป็นบุคคล/หน่วยงานได้ ต้องได้คะแนนแต่ละ ระดับตามเกณฑ์ต่อไปนี้  ต้องผ่านการประเมินคุณสมบัติเบื้องต้นผ่านทุกรายการ ตามที่ คณะกรรมการประเมินกําหนด  ต้องผ่านการประเมินเฉพาะด้านในระดับดีเยี่ยมของตัวชี้วัด ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 จากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา  ต้องผ่านการประเมินเฉพาะด้านในระดับดีเยี่ยมของตัวชี้วัด ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 จากระดับภาค  ต้องผ่านการประเมินเฉพาะด้านในระดับดีเยี่ยมของตัวชี้วัด ไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 จากระดับชาติ และผ่านความเห็นชอบเพิ่มเติมจาก คณะกรรมการประเมินอย่างเป็นเอกฉันท์

5


12/11/55

แนวทางการดําเนินการประกวด OBEC AWARDS

1

ผู้เข้าประกวดจะต้องจัดทําเอกสารสรุปผลการปฏิบัติงาน ของตนเอง (Self Report) ตามองค์ประกอบและตัวชี้วัด ของด้านที่รับการประเมิน ไม่เกิน 50 หน้า กระดาษ A4 พร้อมทั้งแนบเอกสารหลักฐานอื่น ๆ โดยให้อยู่ภายในเล่ม เดียวกัน (ภาคผนวก) เพื่อประกอบการพิจารณา พร้อม ส่งเอกสารประวัติและผลงานให้คณะกรรมการประเมิน คนละ 3 เล่ม (กรรมการประเมิน 3 คน) ในระหว่างวันที่ 10 – 12 ธ.ค. 55 ณ โรงแรมสตาร์ อ.เมืองฯ จ.ระยอง (แผนที่ดังแนบ)

แนวทางการดําเนินการประกวด OBEC AWARDS

2

ให้ระบุให้ชัดเจน ว่าผ่านการประเมินในระดับเขต พื้นที่การศึกษาใด (ของเรา:สพป.กาญจนบุรี เขต 1) (ประเภทหน่วยงาน หรือประเภทบุคคล) รางวัล ผู้บริหารสถานศึกษา ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาด เล็ก หรือขยายโอกาส หรือ ครูผู้สอนกลุ่มสาระวิชา ใด ระดับประถมศึกษา หรือ มัธยมศึกษาตอนต้น และประกวดในด้านวิชาการ บริหารจัดการ และ นวัตกรรม (ต้องชัดเจน)

แนวทางการดําเนินการประกวด OBEC AWARDS

3

ให้เตรียมเอกสารหลักฐานประกอบ เช่น ใบเกียรติบัตร โล่รางวัล และแฟ้มผลงานวิชาการที่ เกี่ยวข้องตามองค์ประกอบและตัวชีว้ ัด เพื่อจัดให้ คณะกรรมการประเมิน โดย สพป.ระยอง เขต 2 ได้จัดโต๊ะสําหรับจัดวางขนาด กว้าง 45 ซม.xยาว 150 ซม. จํานวน 1 ตัว ซึ่งผู้เข้าประกวดจะต้องใช้ พื้นที่เพียงเท่านี้ (ดูภาพประกอบ)

แนวทางการดําเนินการประกวด OBEC AWARDS

4

การนําเสนอให้ผเู้ ข้าประกวด นําเสนอผลงานดีเด่นใช้ เวลา ประมาณ 10 นาที คณะกรรมการซักถามไม่เกิน 10 นาที รวมไม่เกิน 20 นาที/ราย เฉพาะประเภท รางวัล ผอ.สพท.ยอดเยี่ยม สพท.ยอดเยี่ยม นําเสนอ ผลงานดีเด่นใช้เวลา ประมาณ 20 นาที คณะกรรมการซักถามไม่เกิน 10 นาที สรุปนําเสนอ 5 นาที รวมไม่เกิน 35 นาที/ราย

แนวทางการดําเนินการประกวด OBEC AWARDS

5

ข้อเสนอแนะในการนําเสนอ ควรพูดถึงประเด็น ปัญหาที่เชื่อมโยงสู่การเปลี่ยนแปลงสู่ตวั นักเรียน โดยมีการแสดงหลักฐานประกอบ เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียน / แฟ้มเกียรติบัตร / โล่ รางวัลและผลงาน ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับภาค ระดับจังหวัด ฯลฯ ที่สําคัญผู้เข้าประกวดจะต้อง นําเสนอได้ชดั ตรงประเด็น และเน้นให้คณะกรรมการ เห็นชัดว่า ผ่านการคัดเลือกใน ด้านวิชาการ หรือ บริหารจัดการ หรือ ด้านนวัตกรรม

แนวทางการดําเนินการประกวด OBEC AWARDS

6

ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง หรือค่าที่พักในการประกวด ไม่ผูกพันกับงบประมาณของ สพป.กจ.1 แต่ปกติแล้ว สพปฐ. จะโอนเงินไปยังหน่วยจัด เพื่อบริหารจัดการงบประมาณซึ่งจะสามารถ เบิกค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง

6


12/11/55

ข้อควรทราบ ผู้ที่จะได้รับรางวัลระดับชาติ ต้องผ่านการ ประเมินในระดับ 90 % ขึ้นไป คนได้คะแนนสูงสุด จะได้รับโล่รางวัลระดับชาติ แต่ถ้าผ่านเกณฑ์ 90 % จะได้รับเกียรติบัตร เหรียญทอง และผ่านเกณฑ์ 85-89 จะได้เกียรติบัตร เหรียญเงิน

บันไดสู่ความเป็นดาว * เตรียมให้พร้อม ฝึกซ้อมให้ดี ท่าทีให้สง่า หน้าตาให้สุขุม ทักที่ประชุมอย่าวกวน เริ่มต้นให้โน้มน้าว เรื่องราวให้กระชับ ตาจับที่ผู้ฟัง เสียงดังแต่พอดี อย่ามีเอ้ออ้า ดูเวลาพอครบ สรุปจบให้จับใจ ยิ้มแย้มแจ่มใสตลอดการพูด

ขอให้โชคดีค่ะ ผู้ประสานงาน ปิยนาถ (ปู) 089-9189294 รัชนิดา (จิ๋ม) 081-7365746

7


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Best Practices) กลุ่มบริหารงานบุคคล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 www.kan1.go.th สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.