ผลงานและนวัตกรรม

Page 119

106

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

4) ผู้บริหารและคณะทางานนิเทศ เพื่อสอบถามติดตาม สอบถามปัญหา และ ให้การช่วยเหลือ 5) ประเมิ น หลั ง เสร็ จ สิ้ น การด าเนิ น การกั บ ครู นั ก เรี ย น คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว และผู้นาชุมชน 6) จัด นิทรรศการจากความสาเร็จ ในการจั ดการองค์ ความรู้ มาใช้ กับ แหล่ ง เรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมูบ่ ้านห้วยน้าขาวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 7) มอบเกียรติบัตร รางวัล แก่บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียนรวมทั้งผู้ที่มี ส่วนร่วมในการจัดการองค์ความรู้มาใช้กับแหล่งเรียนรู้และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นของ หมูบ่ ้านห้วยน้าขาวมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน  แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ในการนารูปแบบการจัดการองค์ความรู้มาใช้กับแหล่งเรียนรู้และนาภูมิปัญญา ท้องถิ่ นของหมู่บ้านห้ วยน้าขาวมาพัฒ นาคุ ณภาพผู้เรี ยนไปใช้ประโยชน์ มีแนวทาง ดังนี้ 1) การกาหนดความรู้หลักที่จาเป็นหรือสาคัญต่องานหรือกิจกรรมของกลุ่มหรือ องค์กร 2) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ 3) การปรับปรุงดัดแปลงหรือสร้างความรู้บางส่วน ให้เหมาะต่อการใช้งานของตน 4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในกิจการงานของตน 5) การนาประสบการณ์จากการทางาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และสกัด “ขุมความรู้” ออกมาบันทึกไว้ 6) การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุง เป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน ลุ่มลึกและเชื่อมโยงมากขึ้น เหมาะต่อการใช้งานมาก ยิ่งขึน้ โดยที่การดาเนินการ 6 ประการนี้บูรณาการเป็นเนื้อเดียวกัน ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เป็ น ทั้ ง ความรู้ ที่ชั ด แจ้ ง อยู่ใ นรู ป ของตั ว หนั ง สือ หรือ รหั ส อย่า งอื่น ที่ เข้ า ใจได้ ทั่ว ไป (Explicit Knowledge) และความรูฝ้ ังลึกอยูใ่ นสมอง (Tacit Knowledge) ที่อยู่ในคน ทั้งที่ อยู่ในใจ (ความเชื่อ ค่านิยม) อยู่ในสมอง (เหตุผล) และอยู่ในมือ และส่วนอื่นๆ ของ ร่างกาย (ทักษะในการปฏิบัติ) การจัดการความรู้เป็ นกิจกรรมที่คนจานวนหนึ่ งทา ร่วมกันไม่ใช่กิจกรรมที่ทาโดยคนคนเดียว เนื่องจากเชื่อว่า “จัดการความรู้” จึงมีคน เข้าใจผิด เริ่มดาเนินการโดยรี่เข้าไปที่ความรู้ คือ เริ่มที่ความรู้ นี่คือความผิดพลาดที่ พบบ่อยมาก การจัดการความรู้ที่ถูกต้องจะต้องเริ่มที่งานหรือเป้าหมายของงาน เป้าหมายของงานที่สาคัญ คือ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการดาเนินการตามที่ กาหนดไว้ ที่เรียกว่า Operation Effectiveness ให้มีสัดส่วนระหว่างผลลัพธ์ กับต้นทุนที่ ลงไปที่คุ้มค่า มีประสิทธิภาพสูง คือ การทางานที่ลงทุนลงแรงน้อย แต่ได้ผลมากหรือ คุณภาพสูง เป้าหมายสุดท้ายของการจัดการความรู้ คือ การที่กลุ่มคนที่ดาเนินการจัดการ ความรู้ร่วมกัน มีชุดความรู้ของตนเอง ที่ร่วมกันสร้างเอง สาหรับใช้งานของตน คน เหล่านีจ้ ะสร้างความรู้ข้นึ ใช้เองอยูต่ ลอดเวลา โดยที่การสร้างนัน้ เป็นการสร้างเพียง การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.