newsletter NVI (4/2/54)

Page 1



ในหลวง กับพระราชกรณียกิจด้านวัคซีน • กฤษณา นุราช และ ณรรจยา โกไศยกานนท์ “...การแพทย์ แ ละการสาธารณสุ ข เป็ น พื้ น ฐานที่ ส ำคั ญ อย่ า งหนึ่ ง ของการพั ฒ นาประเทศ ไม่มปี ระเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์ หากประชากรในประเทศนัน้ ๆ ยังมีสขุ ภาพพลานามัย ไม่ ดี พ อ...” เป็ น พระราชดำรั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ที่แสดงน้ำพระทัยห่วงใย ทุ ก ข์ สุ ข ของประชาราษฎร์ แ ละทรงให้ ค วามสำคั ญ

กับการสาธารณสุขเสมอมา รวมทั้งการป้องกันควบคุมโรค ด้ ว ยวั ค ซี น   ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี

พระราชกรณียกิจที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวัคซีน ดังนี้ ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ ประชาชนชาวไทยจำนวนมาก ป่ ว ยด้ ว ยวั ณ โรคร้ า ยแรง  ขณะนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัตประเทศไทย พระราชทานยารักษา วัณโรคขนานใหม่จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์แก่กระทรวง สาธารณสุข และพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อสร้าง “อาคารมหิดลวงศานุสรณ์” บริเวณสถานเสาวภา สำหรั บ ใช้ ใ นกิ จ การทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละการผลิ ต วัคซีนบีซีจี ขึ้นใช้เองแทนการสั่งซื้อจากต่างประเทศและใช้

เป็นวัคซีนป้องกันวัณโรคแก่เด็กไทย วัคซีนบีซีจีที่ประเทศ ไทยผลิ ต ได้ เ องนั้ น นอกจากจะใช้ ป้ อ งกั น วั ณ โรคให้ แ ก่ คนไทยได้ผลดีแล้ว  กองทุนสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ หรือยูนิเซฟยังได้สั่งซื้อวัคซีนบีซีจีจากประเทศไทยเพื่อส่งไป ให้ประเทศอื่นๆในเอเชียได้ใช้ด้วย เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้มีพระราชปรารภกับหลวงพยุงเวชศาสตร์ อธิ บ ดี ก รมสาธารณสุ ข ความตอนหนึ่ ง ว่ า “คุ ณ หลวง วั ณ โรคสมั ย นี้ มี ย ารั ก ษากั น ได้ เ ด็ ด ขาดหรื อ ยั ง ยาอะไรขาด ถ้าต้องการฉันจะหาให้อีก ฉันอยากเห็น กิจการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมากๆ...” ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๙๕ ประเทศไทยเกิดการระบาด ร้ า ยแรงของโรคไขสั น หลั ง อั ก เสบ  (โปลิ โ อ)  ทำให้

เด็ ก ไทยจำนวนมากที่ ป่ ว ยมี ค วามพิ ก ารทางแขนและขา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทุนแรกเริม่ และได้รบั เงินโดยเสด็จพระราชกุศล จำนวนมากสำหรั บ จั ด ตั้ ง กองทุ น   “โปลิ โ อสงเคราะห์ ” เพื่ อ ก่ อ สร้ า งตึ ก วชิ ร าลงกรณ์ ธ าราบำบั ด   โรงพยาบาล พระมงกุ ฏ เกล้ า สำหรั บ เป็ น ศู น ย์ บ ำบั ด รั ก ษาผู้ ป่ ว ยที่ มี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

เดือนมีนาคม 2554

1


2

จ ด ห ม า ย ข่ า ว ส ถ า บั น วั ค ซี น แ ห่ ง ช า ติ

ภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหยอดวัคซีนโปลิโอแก่เด็ก

ความพิ ก ารโดยใช้ น้ ำ และจั ด ซื้ อ อุ ป กรณ์ เช่ น เครื่ อ ง ช่วยหายใจ หรือ “ปอดเหล็ก” จากต่างประเทศ จำนวน ๓ เครื่ อ ง ให้ กั บ ผู้ ป่ ว ยโปลิ โ อ ที่ มี ก ารหายใจล้ ม เหลว จากกล้ามเนื้อหายใจเป็นอัมพาตจากเชื้อโปลิโอ และทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ ในการรั ก ษาโรค พระราชทานไปยั ง โรงพยาบาลศิ ริ ร าช เพื่ อ ใช้ ใ นการรั ก ษาพยาบาล และก่ อ ตั้ ง “สถานบำบั ด โปลิโอ” ด้วย พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๕๐๒ เกิ ด โรคอหิ ว าตกโรค ระบาดในกรุงเทพฯ ทั้งฝั่งพระนครและธนบุรี และในอีก หลายจังหวัด มีผู้ป่วยเสียชีวิตนับร้อยคนเนื่องจากไม่มี วัคซีนป้องกันโรค สภากาชาดไทยต้องระดมผลิตวัคซีน

อย่ า งเร่ ง ด่ ว น  แต่ ก็ ยั ง ไม่ พ อเพี ย งกั บ ความต้ อ งการ ในขณะนั้น เมื่อความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานพระราชทรั พ ย์ ส่ ว นพระองค์ จ ำนวนหนึ่ ง ร่ ว มกั บ เงิ น บริ จ าคของประชาชน  จั ด ตั้ ง เป็ น กองทุ น ปราบอหิวาตกโรค โดยให้กองวิทยาศาสตร์ สภากาชาดไทย จั ด หาเครื่ อ งมื อ จากสหรั ฐ อเมริ ก าเพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพ

ในการผลิ ต วั ค ซี น จนสามารถผลิ ต วั ค ซี น ได้ เ พี ย งพอต่ อ ความต้องการ ทำให้สามารถป้องกันควบคุมโรคได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันท่วงที นอกจากนี้ทำให้ประเทศไทย มี ศั ก ยภาพในการพั ฒ นาวั ค ซี น เพิ่ ม ขึ้ น จนสามารถผลิ ต วั ค ซี น ชนิ ด อื่ น ได้ อี ก ด้ ว ย เช่ น วั ค ซี น ป้ อ งกั น ไข้ ท รพิ ษ และไข้รากสาดน้อย เป็นต้น จากพระราชกรณี ย กิ จ ทางด้ า นการแพทย์ แ ละ สาธารณสุ ข ที่ อั ญ เชิ ญ มาเพี ย งบางส่ ว นนี้ จะเห็ น ได้ ถึ ง พระอัจฉริยภาพและทรงมีวสิ ยั ทัศน์ทกี่ ว้างไกล ต่อการพัฒนา ด้านวัคซีนซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญต่อการป้องกันควบคุมโรค เป็นการวางรากฐานสำคัญสำหรับความมั่นคงด้านสุขภาพ ของประเทศเพือ่ การพึง่ ตนเอง และแสดงถึงน้ำพระราชหฤทัย ที่ ท รงมี แ ก่ พ สกนิ ก รไทยได้ เ ป็ น อย่ า งดี เป็ น บุ ญ ของเรา ชาวไทยที่ มี โ อกาสเกิ ด มาภายใต้ ร่ ม พระบารมี แ ห่ ง องค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเราพระองค์นี้


ความคืบหน้าของวาระแห่งชาติด้านวัคซีน • ดร.อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ

ระทรวงสาธารณสุขได้เสนอร่างวาระแห่งชาติ

ด้านวัคซีนต่อคณะรัฐมนตรี ในการประชุม

คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2554 คณะรั ฐ มนตรี พิ จ ารณาแล้ ว ลงมติ เ ห็ น ชอบในหลั ก การ ต่อวาระแห่งชาติด้านวัคซีนตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ โดยให้ ก ระทรวงสาธารณสุ ข รั บ ความเห็ น ของรั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงต่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ สำนัก สรุปสาระสำคัญ ดังนี้ หน่วยงาน

งบประมาณ สำนั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสังคมแห่งชาติ   และสำนักงาน ก.พ.ร. ไปพิจารณา ดำเนินการด้วย สถาบั น วั ค ซี น แห่ ง ชาติ   กรมควบคุ ม โรค

ได้ ร วบรวมความเห็ น จากหน่ ว ยงานดั ง กล่ า ว  และ

ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากกระทรวงอุตสาหกรรม

ความเห็น

กระทรวงต่างประเทศ - ควรร่วมมือกับต่างประเทศด้วย เช่น ความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก - ขอให้เชิญกระทรวงต่างประเทศเข้าร่วมประชุมด้วย กระทรวงศึกษาธิการ ควรเชื่อมโยงงานวิจัยพัฒนานวัตกรรม การผลิตกำลังคนของสถาบันอุดมศึกษา ไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมและสร้างบุคลากรเพื่อการพัฒนาประเทศ

อย่างยั่งยืน สำนักงบประมาณ - โครงการที่ใช้เงินลงทุนสูง และดำเนินการร่วมกันหลายหน่วยงาน ได้แก่ การจัดตั้งโรงงานผลิตวัคซีนกึ่งอุตสาหกรรม การจัดตั้งศูนย์ทรัพยากร

ชีวภาพทางการแพทย์แห่งชาติ การวิจัยพัฒนาและขยายกำลังการผลิตวัคซีนป้องกันวัณโรค หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรร่วมกันศึกษาถึงความคุ้มค่า

ขอบเขตการวิจัยหรือการผลิตวัคซีน และแผนการการดำเนินงานที่ครอบคลุมไปถึงการใช้ประโยชน์อื่นที่จะนำไปใช้ให้ตรงกับความต้องการ - ให้กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบโครงการจัดทำแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ชัดเจนในแต่ละปี

และเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ตามความจำเป็นและเหมาะสมตามขั้นตอนต่อไป สำนักงานคณะกรรมการ - รูปแบบความร่วมมือกับภาคเอกชน ควรครอบคลุมตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำอย่างเป็นภาคีพัฒนาเศรษฐกิจและเห็นควรส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน การพัฒนาสังคมแห่งชาติ ในภารกิจอื่นๆ ที่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบุกเบิกตลาดใหม่ การวิจัยและพัฒนาคุณภาพวัคซีน การพัฒนา บุคลากรเฉพาะเรื่อง และการประชาสัมพันธ์ - ควรมีมาตรการที่ชัดเจนในการควบคุมระดับราคาและปริมาณของวัคซีนที่ผลิตขึ้นโดยบริษัทเอกชน เพื่อให้ผู้มีรายได้น้อยสามารถเข้าถึงบริการได้ อย่างทั่วถึง สำนักงาน ก.พ.ร. หากกระทรวงสาธารณสุขจะมีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นใหม่ เพื่อรองรับภารกิจที่เกี่ยวข้องกับวาระแห่งชาติด้านวัคซีน ขอให้ดำเนินการตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2553 เรื่องการขยายระยะเวลาของมาตรการระงับการขอจัดตั้งหน่วยงานใหม่หรือขยายหน่วยงานตามมติ คณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 26 มกราคม 2553 ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2554 กระทรวงอุตสาหกรรม เห็นควรให้สำนักงบประมาณพิจารณาให้การสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการที่บรรจุอยู่ในวาระแห่งชาติด้านวัคซีน ในคราวเดียวกัน เนื่องจากต้องใช้การดำเนินงานของโครงการทั้งหมดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของนโยบายต่อไป

ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

เดือนมีนาคม 2554

3


4

จ ด ห ม า ย ข่ า ว ส ถ า บั น วั ค ซี น แ ห่ ง ช า ติ

การดำเนินงานหลังทราบมติ ครม. 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์) แถลงข่าวต่อสื่อมวลชนเรื่อง ครม.เห็นชอบ ต่อวาระแห่งชาติด้านวัคซีน ในวันที่ 18 มกราคม 2554 เวลา 15.00 น. 2. สถาบันวัคซีนแห่งชาติแจ้งผู้ประสานงานโครงการที่บรรจุอยู่ในวาระแห่งชาติด้านวัคซีนเพื่อทราบว่า ครม. มีมติเห็นชอบต่อวาระแห่งชาติด้านวัคซีน และให้เตรียมข้อมูลสำหรับจัดทำแผนขาขึ้นเพื่อเสนอของบประมาณสนับสนุน พร้อมแนบแบบฟอร์มจัดทำแผนขาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดทำคำของบประมาณ ในวันที่ 18 มกราคม 2554 เวลา 12.30 น. 3. ปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ประชุ ม หารื อ กั บ สถาบั น วั ค ซี น แห่ ง ชาติ สำนั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ของประเทศไทย (TCELS) เกี่ยวกับ

การของบประมาณ และแนวทางการดำเนินงานชุดโครงการการพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออกของประเทศไทย ในวันที ่ 26 มกราคม 2554 4. เมื่อได้รับมติ ครม. อย่างเป็นทางการ และได้หารือสำนักงบประมาณแล้ว สถาบันวัคซีนแห่งชาติแจ้ง ผู้ประสานงานโครงการที่บรรจุอยู่ในวาระแห่งชาติด้านวัคซีน ในวันที่ 27 มกราคม 2554 ให้จัดส่งคำของบประมาณขาขึ้น ผ่านหน่วยงานต้นสังกัดไปที่สำนักงบประมาณโดยตรง เนื่องจากกำหนดส่งคำของบประมาณ คือวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 พร้อมกันนี้ได้แนบไฟล์มติครม. เพื่อให้ใช้อ้างอิงในการเสนอของบประมาณ 5. สถาบันวัคซีนแห่งชาติจัดประชุมหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบโครงการต่างๆ ในวาระแห่งชาติ เพื่อทราบ

ความคืบหน้าของการของบประมาณปี 2555 และแผนการดำเนินงาน ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 ซึ่งสามารถสรุป

ผลความคืบหน้าได้ดังนี้


โครงการ

1.  โครงการจั ด เตรี ย มคลั ง เก็ บ วั ค ซี น มาตรฐานของภูมิภาค 2. โครงการจัดตั้งโรงงานผลิตวัคซีนระดับ กึ่ ง อุ ต สาหกรรมมาตรฐาน  GMP  แบบ อเนกประสงค์ 3. โครงการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ท รั พ ยากรชี ว ภาพ ทางการแพทย์แห่งชาติ 4. โครงการวิจัยพัฒนาเพื่อการผลิตวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอี 4.1 โครงการพัฒนาการผลิตวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีจากเซลล์เพาะเลี้ยง 4.2 โครงการพัฒนาวัคซีนไข้สมองอักเสบ เจอีชนิดเชื้อเป็นโดยใช้เทคโนโลยี พันธุวิศวกรรม 5. โครงการผลิ ต วั ค ซี น ป้ อ งกั น โรคคอตี บ บาดทะยัก ไอกรน และการผลิตวัคซีนผสม คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตับอักเสบบี 6. โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ การผลิ ต วัคซีนป้องกันโรคไอกรนชนิดไร้เซลล์ 7. โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ด้านวัคซีนโดยหน่วยงานกลางแห่งชาติ ด้านวัคซีน 8. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน วัคซีนอย่างเป็นระบบ

ระยะ งบประมาณ เวลา (ล้านบาท) 2 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 10 ปี 10 ปี

7.800 625.235 630.000 510.000 185.000 181.400 765.000 126.300 348.000

หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ สถาบันชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ องค์การเภสัชกรรม ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัคซีน มหาวิทยาลัยมหิดล องค์การเภสัชกรรม บริษัท ไบโอเนท-เอเชีย จำกัด สำนักงานคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ

ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

สถานะโครงการในปัจจุบัน - อยู่ระหว่างการจัดสรรพื้นที่ สำหรับปี  2555  ใช้เงินบำรุงของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - จะเสนอของบประมาณดำเนินการในปี 2556 เสนอของบประมาณขาขึ้นปี  2555 จำนวน 14 ล้านบาท สำหรับค่าจ้างที่ปรึกษาออกแบบโรงงาน ผลิตวัคซีนระดับกึ่งอุตสาหกรรมมาตรฐาน GMP ชนิดอเนกประสงค์ - อยู่ระหว่างการเลือกพื้นที่จัดตั้งศูนย์ฯ - ในปี 2555 ของบประมาณเพื่อลงทุนก่อสร้าง 53.7 ล้านบาท และการอบรมบุคลากร 490,000 บาท อยู่ ร ะหว่ า งการประสานกั บ สำนั ก นโยบายและ ยุ ท ธศาสตร์   กระทรวงสาธารณสุ ข   เพื่ อ ขอ

งบประมาณ 40 ล้ า นบาท สำหรั บ การดำเนิ น โครงการนี้ ในปี 2555 ได้เสนอของบประมาณปี 2555 จำนวน 15 ล้าน บาท ต่ อ สำนั ก งบประมาณ ผ่ า นสำนั ก งานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ อยู่ ร ะหว่ า งการประสานกั บ สำนั ก นโยบายและ ยุ ท ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุ ข เพื่ อ ของบ ประมาณ 30 ล้านบาท สำหรับการทดสอบวัคซีน ทางคลินิก ในปี 2555 อยู่ระหว่างการพัฒนา GMP Seed อยู่ระหว่างการเสนอเรื่องการจัดตั้งสถาบันวัคซีน แห่งชาติโดยพระราชบัญญัติ และได้ของบประมาณ ขาขึ้นต่อสำนักงบประมาณ ผ่านกรมควบคุมโรค 9.3 ล้านบาท ในปี 2555 - อยู่ ร ะหว่ า งการสำรวจอั ต รากำลั ง และความ ต้องการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานเครือข่าย ด้านวัคซีน - เสนอของบประมาณ 36.8 ล้านบาท ผ่านกรมควบคุมโรค เพื่อการดำเนินงาน ตามแผนในปี 2555

เดือนมีนาคม 2554

5


6

จ ด ห ม า ย ข่ า ว ส ถ า บั น วั ค ซี น แ ห่ ง ช า ติ

โครงการ

9. โครงการวิจัยพัฒนาและขยายกำลัง การผลิตวัคซีนป้องกันวัณโรค 10. ชุดโครงการการพัฒนาวัคซีน ไข้เลือดออกของประเทศไทย 10.1  โครงการความร่ ว มมื อ กระทรวง ส า ธ า ร ณ สุ ข โ ด ย ก ร ม ค ว บ คุ ม โ ร ค มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อการพัฒนาวัคซีน เดงกี่ มหิดลชุดที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ 1 0 . 2   แ ผนการพั ฒ นาศั ก ยภาพทาง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเพื่อป้องกันโรค ไข้ เ ลื อ ดออกของประเทศไทย: การสร้ า ง วัคซีนไข้เลือดออกตัวเลือก 10.3  โครงการจั ด ตั้ ง โรงงานผลิ ต วั ค ซี น ระดับก่อนอุตสาหกรรม BSL๓ (GMP Pilot Plant) 1 0 . 4   โ ค ร ง ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ท ด ส อ บ ประสิทธิภาพของวัคซีนไข้เลือดออกในคน

ระยะ งบประมาณ เวลา (ล้านบาท) 10 ปี 5 ปี 10 ปี 3 ปี 8 ปี

1,092.000 22.800 180.000 250.000 325.000

หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย กรมควบคุมโรคและมหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช) ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ของประเทศไทย (TCELS) กรมควบคุมโรคและมหาวิทยาลัยมหิดล

สถานะโครงการในปัจจุบัน เสนอของบประมาณในปี 2555 ผ่านสภากาชาดไทย ไม่ทันในกำหนดเวลา จึงจะเสนอขอใหม่ใน ปี 2556 อยู่ระหว่างการรอผลวัคซีนตัวเลือกที่พัฒนาโดย มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ซึ่ ง กรมควบคุ ม โรคได้ สนับสนุนงบประมาณไปแล้ว 11 ล้านบาท ในปี 2553-2554 อยู่ะหว่างการเสนอของบประมาณขาขึ้นผ่าน ผู้อำนวยการ สวทช. จำนวน 40 ล้านบาท ในปี 2555 เสนอของบประมาณขาขึ้นปี 2555 แล้ว จำนวน 60 ล้านบาท ได้ เ สนอของบประมาณปี   2555  จำนวน 20 ล้านบาท ต่อสำนักงบประมาณ ผ่านสำนักงาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา   กระทรวง ศึกษาธิการ

ข้อคิดเห็น แม้ว่าวาระแห่งชาติด้านวัคซีนจะผ่านความเห็นชอบจาก ครม. แล้วก็ตาม ประเด็นที่เป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ คือ การได้ รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงบประมาณ เนื่องจากการของบประมาณขาขึ้นปี 2555 สำนักงบประมาณให้จัดทำคำขอผ่าน หน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งมีหลายหน่วยงานที่เป็นผู้รับผิดชอบหลักของโครงการที่บรรจุอยู่ในวาระแห่งชาติ แต่ละแห่งนั้นมีระบบ ในการเสนอของบประมาณที่มีความยากง่ายแตกต่างกัน ถึงแม้จะมีความเห็นชอบจาก ครม. แต่การของบประมาณยังเป็นไป ตามระบบปกติ จึงสร้างความไม่มั่นใจให้แก่ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานว่าจะได้เงินมาปฏิบัติการได้จริงและทันเวลาหรือไม่

ทั้งนี้เนื่องจากเป็นโครงการที่ใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานและต้องได้รับงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะสำเร็จ

ตามเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม หน่วยงานผู้รับผิดชอบเหล่านี้ และสถาบันวัคซีนแห่งชาติ จะต้องฟันฝ่าอุปสรรคที่เกิดขึ้น และพยายาม หาทางออกอย่างถูกวิธี จนกระทั่งสามารถบรรลุผลสำเร็จดังที่ตั้งไว้ในวาระแห่งชาติด้านวัคซีน


ความก้าวหน้า

ในการพัฒนาวัคซีนตัวเลือก ป้องกันวัณโรคโดย AERAS • เกศินี มีทรัพย์ AERAS เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร จัดตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการวิจัยพัฒนาวัคซีนป้องกัน วั ณ โรคที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในกลุ่ ม เป้ า หมายทุ ก อายุ ขณะนี้ การศึกษาวิจัยทางคลินิกระยะที่ 1 เพื่อประเมินความปลอดภัย และการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน (immunogenicity) ของวัคซีนตัวเลือก ที่ป้องกันวัณโรคใน Trial AERAS-422 ได้เริ่มดำเนินการแล้ว โดยมีหัวหน้าทีมวิจัยคือ Dr. Daniel Hoft จาก The Center for Vaccine Development มหาวิทยาลัยเซ็นต์หลุยส์ มลรัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา ในเวลากว่าทศวรรษที่ผ่านมา นักวิจัยของ AERAS ได้ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาวัคซีนต้นแบบสำหรับใช้ป้องกันวัณโรค อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งค้นหาวิธีการพัฒนาวัคซีนปูพื้น (prime) ที่ ดี ขึ้ น และคั ด เลื อ กวั ค ซี น ต้ น แบบที่ เ หมาะสมเพื่ อ พั ฒ นาต่ อ ในระดับคลินิก วั ค ซี น ที่ ผ่ า นการคั ด เลื อ กนี้ เป็ น วั ค ซี น ที่ พั ฒ นา โดยใช้เทคนิกทางพันธุวิศวกรรม จนได้recombinant:rBCG ผลการทดลองในสั ต ว์ พ บว่ า rBCG มี ค วามปลอดภั ย และ มีศักยภาพในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันดีกว่า วัคซีน BCG ที่ใช้กัน อยู่ในปัจจุบันซึ่งใช้มานานเกือบ 90 ปีแล้ว และจากข้อมูลทาง คลิ นิ ก พบว่ า วั ค ซี น BCG สามารถป้ อ งกั น โรคในผู้ ใ หญ่ ไ ด้ จำนวนหนึ่งเท่านั้น นอกจากนี้ AERAS ได้เริ่มการศึกษาวิจัย ทางคลินิกระยะที่ 2 ในประเทศเคนย่า โดยใช้อาสาสมัครเด็ก ทารกจำนวน 64 คน วัคซีนต้นแบบที่ใช้สำหรับการทดสอบนี้คือ AERAS-402/Crucell Ad35 ซึ่งออกแบบโดยใช้หลักการปูพื้น (Prime boost strategy) และใช้กระตุ้นภายหลังการฉีดวัคซีน

BCG  ที่ มี ใ นปั จ จุ บั น   รวมทั้ ง ศึ ก ษาตารางการให้ วั ค ซี น ที่เหมาะสม การศึกษานี้เป็นความร่วมมือกันระหว่าง KEMRI (Kenya Medical Research Institute) และ CDC (The Center for Disease Control and Prevention) ซึ่ ง เป็ น

การศึกษาระยะแรกของการศึกษาแบบ multi-center clinical trial co-sponsored และมีแผนที่จะขยายการศึกษาออกไป

ในแถบทวีปแอฟริกา โดยการสนับสนุนของ European and Developing Country Clinical Trials Partnership (EDCTP) ผ่านความร่วมมือของ African research institute เรียบเรียงจาก Clinical Trial of rBCG Candidate Starts, www.aeras.org ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

เดือนมีนาคม 2554

7


8

จ ด ห ม า ย ข่ า ว ส ถ า บั น วั ค ซี น แ ห่ ง ช า ติ

โรคไข้เลือดออกเดงกี่ และการพัฒนาวัคซีน • วรวรรณ กลิ่นสุภา และ พญ.อรรถยา ลิ้มวัฒนายิ่งยง

โรคไข้เลือดออกเดงกี่ (Dengue hemorrhagic fever: DHF) เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่ (Dengue viruses) ซึ่งเป็น RNA virus ใน Family Flaviviridae, Genus Flavivirus มี 4 serotypes ได้แก่ Dengue 1, 2, 3 และ 4 ติดต่อสู่คนโดยมียุงลาย (Aedes spp.) เป็นพาหะนำโรค การติดเชื้อไวรัสเดงกี่ มีอาการสำคัญคือ ไข้สูงร่วมกับ อาการปวดตามร่ า งกาย มี ผื่ น แดง อาจมี เ ลื อ ดออก ส่ ว นใหญ่ ไม่รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต แต่หากเป็นชนิดรุนแรงจะมีการรั่วของ พลาสม่าและระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ เส้นเลือดเปราะ แตกง่าย มีจุดเลือดที่ผิวหนัง อาจมีอาเจียนเป็นเลือด ตับโตกดเจ็บ และอาจเกิดภาวะช็อก (Dengue shock syndrome: DSS) นำไป สู่การเสียชีวิตได้ การระบาดของกลุ่มอาการไข้ที่เหมือนการติดเชื้อเดงกี่ (Dengue like illness) มี ก ารบั น ทึ ก ไว้ เ ป็ น ครั้ ง แรกตั้ ง แต่ เ มื่ อ 1,017 ปี ที่ แ ล้ ว ใน “Chinese encyclopedia of disease symptoms and remedies” สำหรับการระบาดของโรคติดเชื้อ เดงกี่ที่มีอาการรุนแรง มีการสูญเสียภาวะปกติของระบบไหลเวียน มี เ ลื อ ดออกตามระบบต่ า งๆ  พบครั้ ง แรกที่ รั ฐ ควี น ส์ แ ลนด์ เมื่อ ปีพ.ศ. 2320 และพบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปีพ.ศ. 2491 ในประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศไทยมีรายงานในปีพ.ศ. 2492 ซึ่งพบ ผู้ป่วยรายแรกๆ ในกรุงเทพและธนบุรี

หลายทศวรรษที่ ผ่ า นมา  โรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส เดงกี่

มีการแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง ก่อนปีพ.ศ. 2513 มีรายงาน การระบาดของโรคใน 9 ประเทศเท่านั้น ในปัจจุบันมีการรายงาน

โรคไข้เลือดออกเดงกี่มากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ในประเทศไทยเริ่มพบโรคไข้เลือดออกเดงกี่ประปราย ตั้ ง แต่ ปี พ .ศ. 2492 และแพร่ ก ระจายไปยั ง จั ง หวั ด ต่ า งๆ ที่ มี การคมนาคมจากกรุงเทพฯ สะดวก และแพร่กระจายไปทั่วประเทศ

ในปีพ.ศ. 2521 ภาพรวมตั้งแต่ปีพ.ศ. 2501 ถึงปัจจุบัน อัตราป่วยยังมี แนวโน้มสูงขึ้น แม้จะมีการชะลอตัวลงตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 รูปแบบ การระบาดมีความหลากหลายเช่นการระบาดปีเว้นปี การระบาดปี เว้น 2 ปี หรือ 2 ปีเว้น 2 ปี เป็นต้น ทั้งนี้การระบาดครั้งใหญ่ที่สุด เกิดขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2530 มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 174,285 ราย อัตราป่วย 325.13 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 1,008 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.58 และยังมีการระบาดเกิดขึ้นอีกหลายครั้ง อัตราการ เสียชีวิตลดลงเป็นร้อยละ 0.01 ในปีพ.ศ. 2548 จากข้อมูลทางระบาดวิทยา สรุปได้ว่ารูปแบบการเกิด ไข้ เ ลื อ ดออกของประเทศไทยยั ง ไม่ เ ปลี่ ย นแปลงแต่ มี แ นวโน้ ม การเกิ ด โรคเพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง นี้ ป ระเทศไทยมี ส ภาวะที่ พ ร้ อ มที่ จ ะมี การติดเชือ้ ซ้ำของประชากรได้สงู เนือ่ งจากมีเชือ้ เดงกีห่ ลายซีโรทัยป์ แพร่กระจายอยู่ในเวลาเดียวกัน (Hyperendemicity with multiple




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.