งานวิจัยศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย

Page 1

1


2

รายงาน งานวิจัยและวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวกับศิลปะสำาหรับเด็กปฐมวัย

เสนอ อาจารย์ กรณิศ ทองสอาด

จัด ทำา โดย นาย ศรราม อ่อนตีบ

ตอนเรียน UB รหัส

นักศึกษา 55503200061 เนาว์สุวรรร

นางสาว วิณีพร

ตอนเรี ยน UB รหัสนักศึกษา 55503200072

นางสาว เพ็ญพิริยะ นวลละออ ตอนเรี ยน UB รหัสนักศึกษา 55503200080 นางสาว จุฑารัตน์ ผ่องกาย 55503200083 นาย สหรัฐ สว่างอารมณ์

ตอนเรี ยน UB รหัสนักศึกษา ตอนเรี ยน UB รหัสนักศึกษา 55503200099


3

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา 1072403 ศิลปะสำาหรับครู ปฐมวัย คณะครุ ศาตร์ หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนการศึกษานอกที่ต้งั จังหวัดสุ พรรรบุรี

คำา นำา ศิลปะสำาหรับครู ปฐมวัยโดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษา สรุ ปและวิเคราะห์งานวิจยั ซึ่ง รายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ งานวิจยั และวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวกับศิลปะปฐมวัย การศึกษาครั้ งนี้มี การรายงานเล่มนี้ เป็ นงานที่ตอ้ งอาศัยการค้นคว้าหาข้อมูล และความร่ วมมือของสมาชิก ภายในกลุ่ม เพือ่ ให้ได้มาซึ่งรายงานที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของรายงานนี้ เป็ นส่ วน หนึ่งของวิชา 1072403 ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลทางสื่ อต่างๆ เช่น หนังสื อ ผูเ้ ชี่ยวชาญ และ เทคโนโลยีในการทำารายงานของข้าพเจ้าจัดว่าประสบผลสำาเร็จอย่างหนึ่งทำาให้ได้รู้วา่ การทำาวิจยั เกี่ยวกับศิลปะต้องมีกระบวนการคิดที่หลากหลายรู ปแบบเพื่อที่จะส่ งเสริ ม พัฒนาการของเด็กอนุบาลให้ครบทุกด้าน อย่างไรก็ตามข้าพเจ้าหวังว่ารายงานเล่มนี้ จะก่อ ประโยชน์ให้แก่ผอู้ ่านไม่มากก็นอ้ ย สุ ดท้ายนี้การทำารายงานของข้าพเจ้า จะสำาเร็จลุล่วงไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับความแนะนำาของ ผูป้ กครอง อาจารย์ กรณิ ศ ทองสอาด เพื่อนๆ และคนรอบข้าง จึงขอขอบคุณ มา ณ ที่น้ี ดว้ ย คณะผู้จัดทำา


4

สารบัญ เรื่อ ง หน้า 1 การนําเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรมการปั้นเพือ่ ส่ งเสริมพัฒนาการทางศิลปะ

5-7

สํ าหรับเด็กปฐมวัย 2 การศึกษาบทบาทของครูในการจัดประสบการณ์ ศลิปะสํ าหรับเด็กวัยอนุบาล 10

8-

โรงเรียนสั งกัดสํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุ พรรณบุรีเขต 3 อําเภอเดิมบางนางบวช 3 การศึกษาการจัดสิ่ งแวดล้ อมสํ าหรับกิจกรรมสร้ างสรรค์ ศิลปศึกษาระดับอนุบาล 12

11 -

ในโรงเรียนสั งกัดสํ านักบริหารงานคณะกรรมการส่ งเสริมการศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร 4 การศึกษาการใช้ วสั ดุธรรมชาติในการจัดกิจกรรมศิลปะสํ าหรับเด็กปฐมวัย 14 ในกรุงเทพมหานคร

13 -


5

5 ผลการจัดประสบการณ์ ศิลปศึกษาเพือ่ ส่ งเสริมการเรียนรู้ ทางศิลปะสํ าหรับเด็กอนุบาล 17

15 –

บรรณาณุกรม

18

การนําเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรมการปั้นเพือ่ ส่ งเสริมพัฒนาการทางศิลปะสํ าหรับเด็กปฐมวัย ผูแ้ ต่ง ไข่มุก พงศ์สถาพ ปี ที่ทาำ การวิจยั 2555 นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทคัดย่ อ 1. คําถามวิจัย ไม่ระบุ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครู ปฐมวัยที่มีต่อการจัดกิจกรรมการปั้ นเพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการทาง ศิลปะสำาห รับเด็กปฐมวัย 2.2 เพื่อนำาเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรมการปั้ นเพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการทางศิลปะสำาหรับเด็กปฐมวัย 3.วิธีดําเนินการวิจัย การกำาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในงานวิจยั ครู ปฐมวัยในโรงเรี ยนที่มีการเปิ ดสอน ระดับอนุบาลชั้นปี ที่ 1-3 สังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ที่จดั การเรี ยนการสอนตามหลักสูตร


6

การศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 ในกรุ งเทพมหานคร จำานวน 650 โรงเรี ยน และผูเ้ ชี่ยวชาญ/นักวิชาการทางด้าน ศิลปศึกษาหรื อ ด้านการศึกษาปฐมวัย หรื อครู /อาจารย์ที่สอนวิชาศิลปศึกษาในระดับปฐมวัย กำาหนดกลุ่มตัวอย่างโดย ใช้วธิ ี การสุ่ มแบบง่าย และการเลือกแบบเจาะจง ดังต่อไปนี้ 1. ครู ปฐมวัย ต้องมีประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการปั้ นจำานวน 250 คน 2. ผูเ้ ชี่ยวชาญ/นักวิชาการทางด้านศิลปศึกษาหรื อด้านการศึกษาปฐมวัยหรื อครู ที่สอนวิชาศิลปศึกษา ใน ระดับอนุบาลที่มีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรมการปั้ นเป็ นระยะเวลา 10 ปี จำานวน 10 คน 4.เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วยดังนี้ 4.1 แบบสอบถาม (สำาหรับครู ปฐมวัย) แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป ของผู ้ ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เกี่ยวกับความสนใจและประสบการณ์การจัดกิจกรรมการปั้ น ตอนที่ 3 ความคิดเห็นต้อ การจัดกิจกรรมการปั้ นในปัจจุบนั ตอนที่ 4 ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ปั ญหาที่พบและ สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง ในการ จัดกิจกรรมการปั้ นเพื่อส่งเสริ มพัฒนาการทางศิลปะสำาหรับเด็กปฐมวัย 4.2 แบบสัมภาษณ์ (สำาหรับผูเ้ ชี่ยวชาญ/นักวิชาการ) แบบสัมภาษณ์แบ่งออกเป็ น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูล เกี่ยวกับสถานภาพทัว่ ไป ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปั จจุบนั ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะใน การจัดกิจกรรมการปั้ น ในด้านวิธีการจัดกิจกรรมการปั้ น สื่ อวัสดุอุปกรณ์ และบทบาทของครู ในการจัดกิจกรรมการ ปั้ น เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการจัดกิจกรรมการปั้ นเพื่อพัฒนาการทางศิลปะสำาหรับเด็กปฐมวัย 4.3 แบบสังเกตการจัดกิจกรรมการปั้ น แบ่งประเด็นการสังเกตเป็ น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับ สถานภาพทัว่ ไป ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรี ยน ด้านวิธีการจัดกิจกรรมการปั้ น และสื่ อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการปั้ น 5.การเก็บรวบรวมข้อมูล สำาหรับแบบสอบถาม ผูว้ ิจยั ทำาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองส่ วนหนึ่ง และอีกส่ วนหนึ่งให้ส่งคืน ทาง ไปรษณี ย ์ ส่ วนแบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต ผูว้ ิจยั ทำาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง 6.การวิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบสอบถามโดยการหาร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำา เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในรู ปตารางประกอบความเรี ยง และวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต โดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ วิเคราะห์เนื้ อหา และนำาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในรู ป ตารางประกอบความเรี ยง


7

7.ผลการทําวิจัย ผลการศึกษาพบว่า 1.ครู ปฐมวัยมีแนวโน้มในการจัดกิจกรรมการปั้ นสำาหรับเด็กปฐมวัยในอนาคตมากที่สุด (X=4.26) โดยสนใจ การจัดกิจกรรมการปั้ นที่แปลกใหม่(X=4.37)ผูเ้ ชี่ยวชาญ/นักวิชาการมีความคิดเห็นว่า ควรจะ บูรณาการกิจกรรมการปั้ นเข้า กับวิชาอื่นๆ/กิจกรรมประกอบอาหาร และจัดกิจกรรมให้เด็กได้เรี ยนรู ้จากการสร้าง วัสดุในงานปั้ นด้วยตนเอง (ร้อยละ 50) จากการสังเกตเพิ่มเติม คือ วิธีที่ครู สอนมีผลต่อความสนใจของเด็กเป็ นอย่าง มาก (ร้อยละ 60) 2.แนวทางในการจัดกิจกรรมการปั้ น สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเด็นคือ ก) แนวทางในการจัด กิจกรรมการปั้ นโดยบูรณาการ กับวิชาอื่นๆ ได้แก่ คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ภาษา และดนตรี เป็ นต้น ข) แนวทางในการจัดกิจกรรมปั้ นโดยการให้เด็ก สามารถสร้างวัสดุข้ ึนเองเพื่อนำามาใช้สาำ หรับงานปั้ นและ ค) แนวทาง ในการจัดกิจกรรมการปั้ นโดยใช้วสั ดุที่สามารถรับประทาน ได้ ภายใต้องค์ประกอบของการจัดกิจกรรมการปั้ นทั้ง 5 ด้านที่สอดคล้องกัน คือ ด้านวัตถุประสงค์ ด้านเนื้ อหา ด้านวิธีการ ด้านวัสดุ และด้านการประเมินผล

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่ อไป 1. ควรมีการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการนำาวัสดุที่หลากหลายมาใช้ในการทำากิจกรรมการปั้ น เพื่อพัฒนาการทาง ศิลปะสำาหรับเด็กปฐมวัย และเพื่อเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการสนับสนุนการทำาวิจยั ครั้งต่อไป 2. ควรมีการวิจยั เกี่ยวกับรู ปแบบการอบรมเชิงปฏิบตั ิการและคู่มือหรื อหนังสื อทางด้านการปั้ น เพื่อให้ ครู ปฐมวัยมีความรู ้และความชำานาญในการจัดกิจกรรมการปั้ นสำาหรับเด็กปฐมวัยมากยิง่ ขึ้น


8

การศึกษาบทบาทของครูในการจัดประสบการณ์ ศลิปะสํ า หรับเด็กวัยอนุบาล โรงเรียนสั งกัด สํ านักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุ พรรณบุรีเขต 3 อําเภอเดิมบางนางบวช ผูแ้ ต่ง นางสาวลูกแก้ว มุกดา ปี ทีทาำ การวิจยั 2555 นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชา หลักสู ตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทคัดย่ อ 1. คําถามวิจัย ไม่ระบุ 2. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของครู ในการจัดประสบการณ์ศิลปะสำาหรับเด็กวัยอนุบาล ในโรงเรี ยนสังกัด สำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 3 อำาเภอเดิมบางนางบวช ใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการเป็ นแบบอย่าง ด้านการจัดกิจกรรม และด้านการจัดสภาพแวดล้อม


9

3.วิธีการดําเนินงานวิจัย 3.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องผูว้ ิจยั ศึกษา ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากตำารา เอกสาร บทความ วารสาร หนังสื อ และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด หลักการเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ศิลปะสำาหรับเด็ก วัยอนุบาล บทบาทครู ในการจัด ประสบการณ์ศิลปะเพื่อกำาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั 3.2 การกำาหนดประชากร 1 ประชากรที่ใช้ในการวิจยั คือ ครู ประจ าชั้นอนุบาลปี ที่ 1-2 ในโรงเรี ยนสังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุ พรรณบุรีเขต 3 อำาเภอเดิมบางนางบวช ที่สอนในภาคการศึกษาต้น ปี การศึกษา 2554 จำานวน 53 คน โดยผูว้ ิจยั ศึกษาประชากรทั้งหมด 2 ผูใ้ ห้ขอ้ มูลในการสังเกต คือ ครู ช้ นั อนุบาลปี ที่ 1-2 ในโรงเรี ยนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถม ศึกษาสุ พรรณบุรีเขต 3 อำาเภอเดิมบางนางบวช จำานวน 5 คน โดยใช้การสุ่ มแบบ หลายขั้นตอน ได้แก่ การสุ่ มแบบ แบ่งกลุ่ม โดยสุ่ มมา 5 ตำาบล จากจำานวนทั้งสิ้ น 14 ตำาบล ด้วยวิธีการจับสลาก จากนั้นสุ่ มโรงเรี ยน โดยสุ่ มตำาบลละ 1 โรงเรี ยน รวม 5 โรงเรี ยน ด้วยวิธีการจับสลาก แล้วจึงสุ่ มครู อนุบาล โรงเรี ยนละ 1 คน รวม 5 คน ด้วยการจับสลาก 4. เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย แบบสอบถามและแบบสังเกต วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ และวิเคราะห์เนื้ อหา 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ ิจยั ดำาเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ 5.1 แบบสอบถาม ผูว้ ิจยั ส่งแบบสอบถามและรายละเอียดระยะเวลาในการเก็บแบบสอบถาม พร้อมกับ หนังสื อของความร่ วมมือในการเก็บข้อมูลจากบัณฑิตศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงสำานักงาน เขตพื ้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาสุ พรรณบุรีเขต 3 และเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนตามระยะเวลาที่ก าหนด ด้วยตนเอง ได้ แบบสอบถามกลับคืนจ านวน 51 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 96.2 5.2 แบบสังเกต ผูว้ ิจยั ติดต่อประสานงานกับผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนที่เป็ นกลุ่มผูใ้ ห้ขอ้ มูลในการสังเกต เพื่อขอ อนุญาตเข้าพื้นที่โรงเรี ยนในการทำาแบบสังเกต และนัดหมาย วัน เวลา กับครู อนุบาลที่เป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูล และนำาหนังสื อ ขอความร่ วมมือในการเก็บข้อมูลจากบัณฑิตศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไปมอบให้กบั ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนในวันที่ ผูว้ จิ ยั เข้าไปสังเกตในวันเวลาที่ได้นดั หมายไว้ล่วงหน้า โดยผูว้ ิจยั เป็ นผูส้ งั เกตและ บันทึกข้อมูลในการสังเกตครู จำานวน 5 คน คนละ 1 ครั้ง ด้วยตนเอง 6. การวิเคราะห์ และนําเสนอข้ อมูล ผูว้ ิจยั วิเคราะห์และนำาเสนอดังนี้


10

6.1 ข้อมูลจากแบบสอบถาม ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ด้วยการแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ นำา เสนอในรู ปแบบตารางประกอบความเรี ยง ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทครู ในการจัดประสบการณ์ศิลปะสำาหรับเด็กวัยอนุบาลวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ เชิงบรรยาย ด้วยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ และใช้การวิเคราะห์เนื้ หาเพื่อจัดกลุ่มข้อมูล แล้วนำาเสนอข้อมูลใน รู ปแบบความเรี ยง 6.2 ข้อมูลจากแบบสังเกต ผูว้ ิจยั ใช้การวิเคราะห์เนื้ อหา แล้วนำาเสนอข้อมูลในรู ปแบบความเรี ยง ตามประเด็นที่ กำาหนด 7. ผลการวิจัย 1) ด้านการเป็ นแบบอย่าง ครู ส่วนใหญ่แต่งกายด้วยเสื้ อผ้าสี สนั สดใส มีลวดลายประดับ และใส่ เครื่ อง ประดับที่เข้ากับเสื้ อผ้าโดยไม่สวมผ้ากันเปื้ อนขณะจัดประสบการณ์ศิลปะ ครู สาธิ ตวิธีการทำางานศิลปะให้เด็ก ก่อน เริ่ มกิจกรรม และเป็ นแบบอย่างในการเก็บวัสดุอุปกรณ์เข้าที่ทุกครั้ งหลังเลิกทำางานศิลปะ 2) ด้านการจัดกิจกรรม ครู ส่วนใหญ่มีการวางแผนการสอนเป็ นรายสปั ดาห์จดั กิจกรรมที่คาำ นึงถึงความ ำ อยที่สุด เหมาะสม และพัฒนาการของเด็กมากที่สุด โดย จัดกิจกรรมศิลปะวันละ 2 ประเภท กิจกรรมศิลปะที่จดั ซ้าบ่ คือ การวาดภาพระบายสี อิสระ ครู สร้างแรงบันดาล ใจให้เด็กก่อนเริ่ มทำากิจกรรมศิลปะด้วยการทำาผลงานให้ดูเป็ น ตัวอย่าง นอกจากนี้ มีการเสริ มแรงบวกแก่เด็กด้วยการ พูดชื่นชมผลงาน ความสามารถของเด็ก ประเมินผลการทำา กิจกรรมศิลปะโดย การจัดเก็บผลงานในแฟ้ มสะสมงาน 3) ด้านการจัดสภาพแวดล้อม พบว่า ครู ส่วนใหญ่เลือกใช้วสั ดุอุปกรณ์ที่มีความปลอดภัยและไม่เป็ นอันตราย สำาหรับเด็ก วัสดุ อุปกรณ์ที่เลือกใช้มากที่สุด คือ สี เทียน ครู ทุกคนใช้หอ้ งเรี ยนในการจัดกิจกรรมศิลปะ ในการจัดมุม ศิลปะครู นิยมจัด มุม ศิลปะให้มีตหู้ รื อกล่องสำาหรับเก็บวัสดุอุปกรณ์ ครู มีการจัดบรรยากาศของห้องเรี ยนโดยตกแต่ง ห้องเรี ยนให้มีสีสนั สดใส ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 1. ควรมีการจัดการอบรมให้ความรู้ จัดทำาเอกสาร คู่มือ เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ต่างๆ พัฒนาการ และ การเรี ยนรู ้ของเด็ก แก่ครู และผูด้ ูแลเด็ก


11

2. ควรมีการเผยแพร่ ขอ้ มูลและสร้างความเข้าใจกับผูท้ ี่เกี่ยวข้อง โดยจัดอบรมให้ความรู ้ เกี่ยวกับ บทบาทใน การจัดกิจกรรมศิลปะสำาหรับเด็กวัยอนุบาล ควบคู่กบั การจัดทำาคู่มือการจัดกิจกรรมศิลปะเพื่อให้ เป็ นแนวปฏิบตั ิแก่ผู ้ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสามารถคิดออกแบบกิจกรรมได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ข้อเสนอแนะสํ าหรับการทําวิจัยครั้งต่ อไป ควรมีการทำาวิจยั เรื่ อง การประเมินความต้องการจำาเป็ น โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็ นปั จจัยพื ้นฐาน ปัญหาและความต้องการของครู ในการจัดประสบการณ์ศิลปะสำาหรับเด็กวัยอนุบาล แล้วประมวลเป็ นรายการ ความ ต้องการจำาเป็ นเร่ งด่วนที่ควรได้รับการแก้ไข อันจะนำาไปสู่แนวทางการปฏิบตั ิเพื่อแก้ไขปั ญหาและ ปรับปรุ งการจัด ประสบการณ์ศิลปะให้มีประสิ ทธิภาพต่อไป

การศึกษาการจัดสิ่ งแวดล้ อมสํ าหรับกิจกรรมสร้ างสรรค์ ศิลปศึกษาระดับอนุบาลในโรงเรียน สั งกัดสํ านัก บริหารงานคณะกรรมการส่ งเสริมการศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร ผูแ้ ต่ง สุ มนา สัมมาทิพย์ ปี ที่ทาำ การวิจยั พ ศ 2554 นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทคัดย่ อ 1. คําถามวิจัย ไม่ระบุ 2. วัตถุประสงค์


12

เพื่อศึกษาสิ่ งแวดล้อมในกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปศึกษา ในด้านสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ และ สิ่ งแวดล้อม ทางสังคม ประกอบด้วยด้านบุคคล และด้านกิจกรรม ในโรงเรี ยนอนุบาล เขตกรุ งเทพมหานคร สังกัดสำานักบริ หาร งานคณะกรรมการส่งเสริ มการศึกษาเอกชน 3.วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและตัวอย่างประชากรเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากครู ผสู ้ อนจำานวน 250 คน การสัมภาษณ์ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ครู ผสู้ อนและการสังเกตการสอนที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จำานวน 12 คน 4. เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วยเครื่ องมือ 4 ชุด ได้แก่ 4.1 แบบสอบถามสำาหรับครู ผจู้ ดั กิจกรรม สร้างสรรค์ศิลปศึกษา 4.2 แบบสัมภาษณ์ผบู้ ริ หารโรงเรี ยน 4.3 แบบสัมภาษณ์ สำาหรับครู ผสู้ อน 4.4 แบบ สังเกต สำาหรับผูว้ ิจยั ใช้บนั ทึกสังเกตการณ์ตามสภาพที่เป็ นจริ งของโรงเรี ยนอนุบาล โดยผ่านการ ตรวจสอบ จากผูท้ รงคุณวุฒิ เพื่อทำาการปรับปรุ งให้เหมาะสมก่อนนำาไปใช้ในการเก็บข้อมูลจริ ง 5. ศึกษาข้ อมูล ใช้แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดสิ่ งแวดล้อมในกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปศึกษา ระดับชั้น อนุบาล แล้ วนำาข้อมูลมากำาหนดกรอบแนวคิดและโครงสร้างของเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ดำาเนินการสร้าง เครื่ องมือและนำาไป ให้อาจารย์ที่ปรึ กษาตรวจสอบ จากนั้นนำาไปให้ผทู ้ รงคุณวุฒิตรวจพิจารณาความ เที่ยงตรง (Validity) ตามเนื้อหา และ โครงสร้าง แล้วนำาไปทดลองใช้ และหาความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม ได้ค่าสัมประสิ ทธิ์ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficients) เท่ากับ 0.9375 6.การเก็บรวมรวมข้อมูล 4.1 นำาหนังสื อจากบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมนำาแบบสอบถามส่ งทาง ไปรษณี ยไ์ ปยัง โรงเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง มีจาำ นวน 250 คนจาก 250 โรงเรี ยน เมื่อครู ตอบแบบสอบถาม ครบถ้วนแล้ว ได้ส่งกลับ คืนให้ผวู ้ ิจยั และแบบสอบถามบางส่วนผูว้ ิจยั รับคืนด้วยตนเอง 4.2 การเก็บข้อมูลจากกรณีตวั อย่างผูว้ จิ ยั นำาแบบสัมภาษณ์ผบู ้ ริ หารโรงเรี ยน แบบสัมภาษณ์ครู ผสู ้ อน และ แบบสังเกตไปยังโรงเรี ยนที่คดั เลือกไว้เป็ นกรณีตวั อย่าง 12 โรงเรี ยน เพื่อเก็บข้อมูลอย่างเป็ น ทางการตามแนวคำาถาม


13

ที่เตรี ยมไว้และมีการสอบถามเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ชดั เจน และตรงกัน ผูว้ ิจยั เดินทางไปสัมภาษณ์ผู ้ บริ หารสถานศึกษา และสังเกตการณ์เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในกิจกรรม สร้างสรรค์ศิลปศึกษาด้วยตนเอง 7.วิเคราะห์ ผล จากแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามและแบบสังเกต จากนั้นนำาเสนอผลการวิจยั ในรู ปแบบ ตารางประกอบ ความเรี ยง 8.ผลการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า โรงเรี ยนส่วนใหญ่มีระดับสิ่ งแวดล้อมด้านกายภาพ อยูใ่ น ระดับมาก (X-Bar = 3.80) โดย มุ่งเน้นด้านความสว่างในห้องเรี ยนมีเพียงพอต่อการมองเห็นมากที่สุด (X-Bar = 4.32) สิ่ งแวดล้อมด้านสังคม อยูใ่ น ระดับมาก (X-Bar = 3.96) โดยพบว่า เด็กมีความสุ ข สนุกสนาน ยิม้ แย้ม แจ่มใส ร่ าเริ ง ขณะ ทำากิจกรรมศิลปะ มาก ที่สุด (X-Bar = 4.41)จากการสังเกตพบว่า ครู ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดโดยใช้เทคนิคต่างๆ ในการสอน เช่น การให้กาำ ลัง ใจ ให้คาำ ชมเชย และการสร้างบรรยากาศให้สนุกสนานเพื่อให้เด็กสนใจทำากิจกรรม ข้อเสนอแนะสํ าหรับการวิจัย - ควรมีการวิจยั ความต้องการ ความรู้สึกของเด็ก เกี่ยวกับการจัดสิ่ งแวดล้อมสำาหรับกิจกรรม สร้างสรรค์ ศิลปศึกษาระดับอนุบาลและประเด็นอื่นที่เกี่ยวข้อง - ควรมีการวิจยั เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการของเด็ก เช่น เงื่อนไขเวลา สถานที่ทาำ กิจกรรมศิลปะ สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนผูส้ อน ซึ่งอาจเป็ นครู หรื อผูป้ กครอง - ควรมีการวิจยั เกี่ยวกับการจัดสิ่ งแวดล้อมสำาหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปศึกษาในระดับการศึกษา อื่นๆ ตลอดจนมีการประเมินผลที่ได้จากการจัดสิ่ งแวดล้อมสำาหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปศึกษานั้นๆ ด้วย

การศึกษาการใช้ วสั ดุธรรมชาติในการจัดกิจกรรมศิลปะสํ าหรับเด็กปฐมวัยในกรุงเทพมหานคร ผูแ้ ต่ง ณัฐรวี วงศ์อริ ยะกวี ปี ที่ทาำ การวิจยั 2553 นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทคัดย่ อ 1. คําถามวิจัย ไม่ระบุ 2. วัตถุประสงค์


14

เพื่อศึกษาการใช้วสั ดุธรรมชาติในการจัดกิจกรรมศิลปะสำาหรับเด็กปฐมวัยในกรุ งเทพมหานคร 3.วิธีดําเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างประชากร ประกอบด้วยครู ผสู้ อนชั้นอนุบาลในโรงเรี ยนที่มีการเปิ ดการเรี ยนการสอน ชั้นอนุบาลใน กรุ งเทพมหานคร รวม 298 คน จาก 298 โรงเรี ยน และครู ผสู ้ อนที่มีการใช้วสั ดุธรรมชาติในการจัด กิจกรรมศิลปะ สำาหรับเด็กปฐมวัยจำานวน 12 คน 4. เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ประกอบด้วยแบบสอบถามและแบบ สัมภาษณ์ วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้ อหา 5.การเก็บรวบรวมข้อมูล 5.1 การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ได้ดาำ เนินการดังนี้ นำาหนังสื ออนุมตั ิจากหน่วยงานต้นสังกัด พร้อมกับ นำาแบบสอบถามส่ งงทางไปรษณียไ์ ปยัง โรงเรี ยนตัวอย่างประชากร จำานวน 298 โรงเรี ยนซึ่ งได้รับคืนมา 210 โรงเรี ยน คิดเป็ นร้อยละ 70 ของ แบบสอบถามที่ส่งไปทั้งหมด 5.2 การเก็บข้อมูลจากกรณีตวั อย่าง ได้ดาำ เนินการดังนี้ ผูว้ ิจยั นำาแบบสัมภาษณ์ ผูเ้ ชี่ยวชาญการจัดกิจกรรม ศิลปะไปยังโรงเรี ยนที่คดั เลือกไว้เป็ นกรณี ตัวอย่าง 12 โรงเรี ยน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผูว้ ิจยั สัมภาษณ์ อย่าง เป็ นทางการตามแนวคำาถามที่ เตรี ยมไว้และยังใช้วธิ ี สมั ภาษณ์ อย่างไม่เป็ นทางการเพิ ่มเติม เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่ชดั เจน ถูกต้อง หากมีขอ้ สงสัยเกี่ยวกับการให้ขอ้ มูลที่ได้จากการบันทึก ผูว้ ิจยั จะสอบถามจากครู ผใู ้ ห้สมั ภาษณ์เพื่อให้เกิด ความเข้าใจ ตรงกันและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง

6. วิเคราะห์ ผล วิเคราะห์ผลจากแบบสำารวจและแบบสัมภาษณ์ จากนั้นนำาเสนอผลการวิจยั ในรู ปแบบตาราง ประกอบความ เรี ยง 7. ผลการวิจัย 1) ครู ผสู ้ อนชั้นอนุบาล จากการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีระดับการใช้ระดับมากในวัสดุธรรมชาติ ประเภท หิน ดิน ทราย (x = 3.24) และวัสดุธรรมชาติจากพืช ( x =3.17) ส่ วนวัสดุธรรมชาติจากสัตว์มีระดับการใช้ น้อยที่สุด ( x = 2.27 ) และในส่วนของกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ครู ผสู ้ อนชั้นอนุบาลมีระดับการใช้มาก


15

ที่สุด ได้แก่ ภาพ พิมพ์ ( x =4.24 ) รองลงมาคือ ภาพปะติด ( x = 4.20 ) ส่ วนประติมากรรมเป็ นกิจกรรมที่มีระดับ การใช้นอ้ ยที่สุด( x = 2.97) 2) ครู ผสู ้ อนที่มีการใช้วสั ดุธรรมชาติในการจัดกิจกรรมศิลปะ จากการสัมภาษณ์ มีการใช้วสั ดุธรรมชาติจาก พืชประเภทใบไม้ในกิจกรรมมากที่สุด(12 โรงเรี ยน) รองลงมาคือกิ่งไม้และดอกไม้(11 โรงเรี ยน) และวัสดุ ธรรมชาติ จากสัตว์มีการใช้เปลือกหอยมากที่สุด(10 โรงเรี ยน) รองลงมาคือเปลือกไข่(9 โรงเรี ยน) ส่ วนวัสดุ ธรรมชาติชนิดอื่นๆ มีการใช้ดินและทรายมากที่สุด (9 โรงเรี ยน) และในส่ วนของกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ ครู ผใู ้ ห้สมั ภาษณ์มีการ ใช้มากที่สุด ได้แก่ ภาพพิมพ์จากใบไม้ ระบายสี สกัดจากดอกไม้ใบไม้ ภาพปะติดจาก เมล็ดพืช และปั้ นดินเหนียว ครู ผสู้ อนชั้นอนุบาลได้ให้ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า การใช้วสั ดุธรรมชาติ ในการจัดกิจกรรมศิลปะสำาหรับ เด็กปฐมวัยเป็ นสิ่ งที่มีประโยชน์ และยังมีความสนใจที่จะเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับ การนำาวัสดุธรรมชาติมาใช้ใน กิจกรรมศิลปะเพื่อนำาไปพัฒนาให้เกิดองค์ความรู ้ต่อไป ข้อเสนอแนะสํ าหรับการวิจัย - ควรมีการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับลักษณะการสร้างงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติและพัฒนาการของ เด็กปฐมวัย โดยเป็ นการวิจยั เพื่อสังเกตกระบวนการสร้างงานของเด็กปฐมวัยโดยตรง - ควรมีการศึกษาวิจยั การนำาวัสดุธรรมชาติมาใช้ในการสร้างงานศิลปะในพื้นที่ภูมิภาคอื่นๆ เพื่อให้ทราบถึง บริ บทที่อาจมีผลต่อประเภทของวัสดุธรรมชาติหรื อรู ปแบบการใช้ของครู ผสู ้ อน - ควรมีการวิจยั เกี่ยวกับการนำาวัสดุประเภทอื่น เช่น วัสดุเหลือใช้มาใช้ในการจัดกิจกรรมศิลปะใน ระดับ ปฐมวัยหรื อการศึกษาระดับอื่น ๆ - ควรมีการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการบูรณาการศิลปศึกษากับสิ่ งแวดล้อมศึกษาเพื่อการปลูก จิตสำานึกให้เด็กรัก ธรรมชาติผา่ นการจัดการเรี ยนการสอนศิลปะในรู ปแบบต่าง ๆ

ผลการจัดประสบการณ์ ศิลปศึกษา เพือ่ ส่ งเสริมการเรียนรู้ ทางศิลปะ สํ าหรับเด็กอนุบาล ผูแ้ ต่ง ศิวรี อรัญนารถ ปี ที่ทาำ การวิจยั 2551 สาขาวิชาศิลปศกึษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครศุาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทคัดย่ อ 1. คําถามวิจัย ไม่ระบุ 2. วัตถุประสงค์


16

การวิจยั นี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดประสบการณ์ศิลปะ เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทางศิลปะสำาหรับ เด็กอนุบาล 3.วิธีดําเนินการวิจัย ผูว้ จิ ยั ได้ทาำ การดำาเนินการวิจยั โดยแบ่งเป็ นลำาดับขั้นได้ดงั นี้ ขั้นที่ 1 การศึกษารวบรวมข้อมูล 1.1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ้ศิลปศึกษา เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทางศิลปะ สำาหรับเด็กอนุบาล จากหนังสื อ วารสาร เอกสารและงานวิจยั 1.2 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพของผูเ้ รี ยน 1.3 สังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎีและหลักการจากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานมาสร้างเป็ นกรอบแนวคิดของการ สร้างแผนการจัดประสบการณ์ศิลปศึกษา ขั้นที่ 2 การกำาหนดกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั คือเด็กที่เข้าเรี ยนชั้นเด็กเล็ก อายุระหว่าง 5-6 ปี ในโรงเรี ยนเอกชน ที่จดั ให้มีการ เรี ยนการสอนศิลปศึกษา ทั้งนี้ผวู้ ิจยั ได้ทาำ การเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็ นเด็กนักเรี ยนอายุ 5-6 ปี โรงเรี ยนอนุบาล จุไรรัตน์ จำานวน 20 คน เนื่องจากเป็ นโรงเรี ยนอนุบาลที่เป็ นที่ยอมรับในการให้ความสำาคัญกับการจัดประสบการณ์ ศิลปะ โดยมีลกั ษณะการจัดการเรยีนการสอนในรู ปแบบการเรี ยนปนเล่น มีการจัดชัว่ โมงการเรี ยนการสอนเสริ ม ทางด้านศิลปะ ให้กบั กลุ่มเด็กที่มีความสนใจได้เลือกเรี ยนเพิ่มเติม 4. เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดประสบการณ์ศิลปศึกษา และแบบ ประเมินผลสัมฤทธิ์ ในการรับรู ้ทางศิลปะ ซึ่ง มีรายละเอียด วิธีการในการสร้าง และพัฒนา ดังนี้ การสร้างเครื่ องมือวิจยั ได้แก่1) แผนการจัดประสบการณ์ ำ ก และพื้นผิว 2) สื่ อสัมผัสที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ทาง ศิลปศึกษา เกี่ยวกับทัศนธาตุ ได้แก่ เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง สี น้าหนั ศิลปะ 3) แบบประเมินด้านความรู้ 4) แบบประเมินด้านทักษะ 5) แบบประเมินด้านเจตคติ 5 การเก็บรวบรวมข้อมูล มีข้ นั ตอนในการดำาเนินการ แบ่งเป็ น 3 ส่ วน ดังนี้ 5.1 ระยะก่อนทดลอง 1) ทำาหนังสื อขอความร่ วมมือในการวิจยั โรงเรี ยนอนุบาล 2) คัดเลือกกลุ่มประชากร โดยกา i เลือกแบบ เจาะจง เป็ นเด็กอนุบาล ที่มีอายุ 5-6 ปี โรงเรี ยนอนุบาลจุไรรัตน์ 3) ดำาเนินการทดสอบการรับรู ้ทางศิลปะก่อน เรี ยนรู ้ตามแผนการจัดประสบการณ์ ทั้งนี้ในการทดลองผูว้ จิ ยั ได้กาำ หนดการวิจยั เฉพาะกลุ่มทดลอง เนื่องจาก


17

ต้องการศึกษาเปรี ยบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้น โดยพิจารณาผลสัมฤทธิ์ ดา้ นความรู ้ก่อนและหลังการเรี ยนรู ้ ควบคู่ กับผลสัมฤทธิ์ ดา้ นทักษะ และ ด้านเจตคติที่เด็กได้รับจากการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดประสบการณ์น้ี 5.2 ระยะทดลอง ผูว้ จิ ยั ดำาเนินการทดลองตามแผนการจัดประสบการณ์ศิลปศึกษา จำานวน 6 แผน เป็ นเวลา 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยใช้เวลาครั้งละ 60 นาที โดยในระหว่างทำาการทดลองนั้น ผูว้ ิจยั ได้ทาำ การบันทึกข้อมูลใน แบบประเมินด้านเจตคติซ่ ึงทำา การสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกระหว่างการจัดประสบการณ์ตามแผน ซึ่งทำาการ สังเกตโดยผูว้ ิจยั ครู ผสู้ อน และครู ผูช้ ่วยสอน โดยแบ่งผูท้ าำ การสังเกต 1 ท่าน ต่อเด็ก 5 คน 5.3 ระยะหลังการทดลอง 1) ดำาเนินการทดสอบหลังการเรี ยนรู้ ด้วยข้อสอบชุดเดียวกับการทดสอบก่อนการเรี ยนรู ้ตาม แผนการจัด ประสบการณ์ 2) หลังจากการดำาเนินการทดลองตามกำาหนดรยะเวลาในแผนการจัดประสบการณ์ ผูว้ จิ ยั นำาแบบ ประเมินความรู ้ แบบประเมินทักษะ และแบบประเมินด้านเจตคติ มารวบรวบผลค่าคะแนน 6.การวิเคราะห์ ข้อมูล 1 วิเคราะห์ค่าสถิติจากแบบประเมินด้านความรู ้ หลังจากการรวบรวมค่าคะแนนจากแบบ ประเมินความรู ้ มาดำาเนินการวิเคราะห์ คำานวณหาค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรี ยบเทียบความต่างของ คะแนน t-test ของคะแนนการรับรู้ทางศิลปะของเด็กอนุบาล 2 วิเคราะห์ค่าสถิติจากแบบประเมินด้านทักษะ ทั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ทาำ การตรวจประเมินผลงาน ศิลปะของเด็กใน แต่ละแผนการจัดประสบการณ์ ร่ วมกับครู ผสู้ อนศิลปะเด็กอนุบาล แล้วนำาค่าคะแนนที่ได้มาคำานวณ ค่าเฉลี่ยร้อยละ 3 วิเคราะห์ค่าความถี่ ค่าร้อยละจากประเมินด้านเจตคติ ทั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ทาำ การวิเคราะห์จากการ สังเกต พฤติกรรมที่แสดงออกระหว่างการจัดประสบการณ์ โดยผูว้ ิจยั ครู ผสู ้ อน และครู ผชู ้ ่วยสอน 7.ผลการวิจัย ผลการวิจยั พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์การเรี ยนรู ้ ทางศิลปะของเด็กอนุบาล ด้านความรู ้ หลังการเรี ยนสูงกว่า ก่อนการเรี ยนรู ้ อย่างมีนยั สำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ ด้านทักษะ ได้แก่เรื่ อง สี เส้น พื้นผิว และรู ปร่ าง ำ กอยูใ่ นเกณฑ์ระดับดี เรอื่งรู ปทรง อยูใ่ นเกณฑ์ระดับพอใช้ได้ ผลสัมฤทธิ์ดา้ น อยูใ่ นเกณฑ์ระดับดีมาก เรื่ องน้าหนั เจตคติพบว่ามีการพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม ข้อเสนอแนะแนวทางในการศึกษาค้ นคว้ าเพือ่ ให้ ผ้ สู นใจได้ ทําการวิจัยต่ อไป ดังนี้


18

1. ควรมีการวิจยั ศึกษาผลการจัดประสบการณ์ศิลปศึกษา เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทางศิลปะ โดยใช้รุปแบบ การบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับทัศนธาตุทางศิลปะร่ วมกัน 2. ควรมีการวิจยั ศึกษาเกี่ยวกับของเล่น หรื อสื่ อเพื่อการศึกษาที่ส่งเสริ มให้เด็กเกิดการเรี ยนรู ้ทางศิลปะ ำ ก และพื้นผิว เกี่ยวกับทัศนธาตุทางศิลปะ ได้แก่ เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง สี น้าหนั

อ้างอิง ไข่มุก พงศ์สถาพ.การนำาเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรมการปั้ นเพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการทางศิลปะสำาหรับ เด็กปฐมวัย .นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2555. นางสาวลูกแก้ว มุกดา .การศึกษาบทบาทของครู ในการจัดประสบการณ์ศิลปะสำาหรับเด็กวัยอนุบาล โรงเรี ยนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุ พรรณบุรีเขต 3 อำาเภอเดิมบางนางบวช .นิสิตมหา บัณฑิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . 2555.


19

สุ มนา สัมมาทิพย์.การศึกษาการจัดสิ่ งแวดล้อมสำาหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปศึกษาระดับอนุบาลในโรง เรี ยนสังกัดสำานัก บริ หารงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษาเอกชนในกรุ งเทพมหานคร . นิสิตมหาบัณฑิตสาขา วิชาศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . 2554. ณัฐรวี วงศ์อริ ยะกวี. การศึกษาการใช้วสั ดุธรรมชาติในการจัดกิจกรรมศิลปะสำาหรับเด็กปฐมวัยใน กรุ งเทพมหานคร. นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2553. ศิวรี อรัญนารถ.ผลการจัดประสบการณ์ศิลปศึกษา เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทางศิลปะ สำาหรับเด็ก อนุบาล.สาขาวิชาศิลปศกึษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ ศึกษา คณะครศุาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2551. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://www.edu.chula.ac.th/ojed


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.