แผนการสอน

Page 1

รหัส ระดับชั้น

2102-2104 ปวช.

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล สาขาวิชา เครื่องมือกล

จานวนหน่วยกิจ 2 ทฤษฎี-ปฎิบัติ 2 ชั่วโมง

จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการ ชนิด หน้าที่และการเลือกใช้งานชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 2. เพือ่ ให้สามารถถอดระกอบชิ้นส่วนเครื่องกล และการบารุงรักษา 3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทางานที่มีระเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบต่อเองและส่วนรวม มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจระบบการทางานส่งกาลัง ชนิดและหน้าที่ของชิ้นส่วน 2. เลือกชิ้นส่วนเครื่องกลมาตรฐาน กาหนดขั้นตอนการถอดประกอบสลัก เกลียว ลิ่ม เพลา ตลับลูกปืน สายพานและล้อสายพาน 3. กาหนดพิกัดการสวมประกอบ ตามระบบพิกัดงานสวม คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับระบบกาลังเครื่องจักรกล ชิ้นส่วนที่ใช้ส่งกาลัง ระบบงานสวม ชนิดรูป แบบ ลักษณะการใช้งานของโบลท์และนัต เพลา ลิ่ม รองเลื่อน ตลับลูกปืน เฟือง สายพาน และ มู่เลย์ลูกเบี้ยว คลัตซ์ เบรก การถอดประกอบและการบารุงรักษา


ตารางวิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา รหัส 2102-2104 ชื่อวิชา ชิน้ ส่วนเครื่องกล จานวนหน่วยกิจ 2 / 2 ชั่วโมง ลาดับที่ ชื่อหน่วย พฤติกรรมที่ต้องการ/การสอนหนึ่งครั้ง ความรู้ ทักษะ กิจนิสัย รวม(ชม)    1 ระบบส่งกาลังเครื่องจักรกล 2    2 ระบบงานสอบ 4    4 สกรู โบลท์ นัต 2    4 เพลา 2    5 สิ่ม 2    6 รองเลื่อน 2    7 ตลับลูกปืน 2    8 เฟือง 4    9 สายทานและมู่เลย์ 2    10 ลูกเบี้ยว 2    11 คลัตซ์และคัปปลิ้ง 4    12 เบรก 2    13 การถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล 4    14 การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องกล 2

รวม

54


หน่วยการสอนปฏิบัติ ชื่อวิชา

รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

ชื่อหน่วย ระบบกาลังเครื่องจักรกล ระบบงานสวม สกรู โบลท์ นัต เพลา ลิ่ม รองเลื่อน ตลับลูกปืน เฟือง สายพานและมู่เลย์ ลูกเบี้ยว คลัตซ์และคัปปลิ้ง เบรก การถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องกล

รวม

ชิ้นส่วนเครื่องกล จานวนคาบ 2 4 2 2 2 2 2 4 2 2 2 2 4 2

54


หน่วยที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

ตารางวิเคราะห์หน่วยการสอน ชื่อหน่วย/หัวข้อการสอน ระบบส่งกาลังเครื่องจักรกล ระบบงานสวม สกรู โบลต์และนัต เพลา ลิ่ม รองเลื่อน ตลับลูกปืน เฟื่อง สายพานและมู่เลย์ ลูกเบี้ยว คลัตซ์และคัปปลิ้ง เบรก การถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องกล

จานวนคาบ ทฤษฎี ปฏิบัติ 2 0 2 2 2 0 2 0 1 1 1 1 1 1 2 2 1 1 1 1 2 2 1 1 2 2 1 1

รวม 2 4 2 2 2 2 2 4 2 2 4 2 4 2


รหัส 32102-2104 หน่วยที่ 1

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย ระบบส่งกาลังเครื่องจักรกล

สอนครั้งที่ 1 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 1 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 หลักการระบบส่งกาลังของเครื่องจักรกล 1.2 ระบบการส่งกาลังเครื่องจักรกล 1.3 ชิ้นส่วนที่ใช้ส่งกาลังของเครื่องจักรกล สาระสาคัญ ระบบส่งกาลังของเครื่องจักรกล มีความสาคัญมากสาหรับคนที่เรียนเกี่ยวกับช่างเครื่องมือกล ดังนั้นนักศึกษาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการของระบบส่งกาลัง ระบบการส่ง กาลังและชิ้นส่วนที่ใช้ส่งกาลังของเครื่องจักรกล เพื่อจะได้นาความรู้ความเข้าใจไปใช้ในการ ซ่อมบารุงเครื่องจักรกลและการศึกษาต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถอธิบายหลักการระบบส่งกาลังของเครื่องจักรกลได้ 2. สามารถอธิบายระบบการส่งกาลังเครื่องจักรกลได้ 3. สามารถบอกชื่อชิ้นส่วนที่ใช้ส่งกาลังของเครื่องจักรกลได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกหลักการส่งกาลังของเครื่องจักรกลชนิดต่าง ๆ ได้ 2. อธิบายระบบการส่งกาลังเครื่องจักรกลแบบต่าง ๆ ได้ 3. บอกชื่อชิ้นส่วนที่ใช้ในการส่งกาลังของเครื่องจักรกลได้ งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 1 ระบบส่งกาลังเครื่องจักรกล จานวน มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 หลักการส่งกาลังของเครื่องจักรกล 1.1.1 การส่งกาลังด้วยเฟือง 1.1.2 การส่งกาลังด้วยโซ่

2

คาบ


1.1.3 การส่งกาลังด้วยสายพาน 1.1.4 การส่งกาลังด้วยคัปปลิ้ง 1.1.5 การส่งกาลังด้วยคลัตซ์ 1.1.6 การส่งกาลังด้วยเพลา 1.1.7 การส่งกาลังด้วยลูกเบี้ยว 1.2 ระบบการส่งกาลังเครื่องจักรกล 1.2.1 ระบบการส่งกาลังโดยตรง 1.2.2 ระบบการส่งกาลังที่เป็นขั้นความเร็ว 1.2.3 ระบบส่งกาลังที่ไม่เป็นขั้นที่ไม่เป็นขั้นความเร็ว 1.3 ชิ้นส่วนที่ใช้ส่งกาลังของเครื่องจักรกล 1.3.1 โบลต์ 1.3.2 นัต 1.3.3 เพลา 1.3.4 ลิบ 1.3.5 รองเพลา 1.3.6 ตลับลูกปืน 1.3.7 เฟือง 1.3.8 สายพาน 1.3.9 มู่เลย์ 1.3.10 ลูกเบี้ยว 1.3.11 คลัทซ์ 1.3.12 เบรก ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. แผ่นใส 3. เฟือง สายพาน มู่เลย์ โบลท์ นัต ตลับลูกปืน กิจกรรมการเรียน กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน 1. เตรียมเครื่องมือ 1. ศึกษาหัวข้อการเรียน 2. ควบคุมห้องเรียน 2. ค้นคว้าจากใบความรู้ 3. ถามให้นักเรียนตอบ 3. ตอบคาถามของครู 4. ทาใบงาน


สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบงาน งานที่มอบหมาย / กิจกรรม ทาใบงาน การประเมิน ตรวจใบงาน


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 2

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย ระบบงานสวม

สอนครั้งที่ 2-3 จานวน 4 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 2 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ระบบงานสวม 1.2 พิกัดความเผื่อ 1.3 ชนิดของงานสวม 1.4 ระบบของงานสวม 1.5 การนาค่าพิกัดความเผื่อไปใช้งาน สาระสาคัญ ระบบงานสวมมีความสาคัญกับชิ้นส่วนเครื่องจักรกลและการซ่อมบารุง นักศึกษาต้องมี ความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของระบบงานสวมค่าต่าง ๆ ของพิกัดความเผื่อ ชนิดของงาน สวม ระบบของงานสวมและค่าพิกัดความเผื่อของระบบงานสวม เพื่อจะได้นาความรู้ความเข้าใจ ไปใช้การสร้างชิ้นส่วน และการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถจุดมุ่งหมายของระบบสอบได้ 2. สามารถอธิบายค่าต่าง ๆ ของพิกัดความเผื่อได้ 3. สามารถอธิบายการนาค่าพิกัดความเผื่อไปใช้ในงานได้ 4. วามารถบอกชนิดของงานสวมได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความจาเป็นที่ต้องมีพิกัดความเผื่อในงานสวมได้อย่างถูกต้อง 2. บอกความหมายของขนาดกาหนด พิกัดความเผื่อ ขนาดจริง ได้อย่างถูกต้อง 3. กาหนดต่างแหน่งช่วงพิกัดความเผื่อของเพลาและรูคว้านได้อย่างถูกต้อง 4. บอกความหมายระดับมาตรฐานของระดับความละเอียดได้


5. กาหนดค่าพิกัดความเผื่อลงในแบบงานได้ 6. บอกลักษณะของงานสวมคลอน งานสวมพอดีและงานสวมอัดได้ 7. บอกสูตร คานวณหาระยะอัดและระยะคลอนได้ 8. จาแนกความแตกต่างของระบบงานสวมได้ 9. คานวณหาค่าต่าง ๆ ในระบบงานสวมได้ 10. บอกชนิดของงานสวมจากขนาดและสัญญาลักษณ์ได้ 11. เลือกใช้ค่าพิกัดความเผื่ออิสระได้ 12. กาหนดค่าพิกัดความเผื่อได้เหมาะสมกับงาน งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 2 ระบบงานสวม จานวน 4 ครั้งที่ 1 จานวน 2 ครั้งที่ 2 จานวน 2 มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ระบบงานสวม 1.1.1 จุดมุ่งหมายของระบบงานสวม 1.2 พิกัดความเผื่อ 1.2.1 ความหมายระบบมาตรฐานของพิกัดความเผื่อ 1.2.2 การกาหนดมาตรฐานของพิกัดความเผื่อ 1.2.3 ระดับความละเอียดของพิกัดความเผื่อ 1.2.4 การกาหนดค่าพิกัดความเผื่อลงในแบบงาน 1.3 ชนิดของงานสวม 1.3.1 งานสวมคลอน 1.3.2 งานสวมพอดี 1.3.3 งานสวมพอดี 1.3.4 ระยะอัดและระยะคลอน 1.4 ระบบงานสวม 1.4.1 ระบบงานสวมระบบเพลาคงที่ 1.4.2 ระบบงานสวมระบบเพลาคงที่ 1.5 การนาค่ากัดความเผื่อไปใช้งาน ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด

คาบ คาบ คาบ


2. แผ่นใส 3. แบบจาลอง กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและใบงาน อธิบายการใช้ใบเนื้อหา ถามให้นักเรียนตอบ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเนื้อหา ให้นักเรียนทาใบงาน

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ใบเนื้อหา 3. ใบงาน 4. แบบจาลอง งานที่มอบหมาย / กิจกรรม ทาใบงาน การประเมินผล ตรวจใบงาน

1. 2. 3. 4.

กิจกรรมนักเรียน แบ่งเป้นกลุ่ม ศึกษาใบเนื้อหา ตอบคาถามของครู ทาใบงาน


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 3

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย สกรูโบลต์และนัต

สอนครั้งที่ 4 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 3 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1. สกรู โบลทต์และนัต 2. ชนิดของสกรู โบลท์และนัต 3. มาตรฐานของสกรู โบทล์และนัต 4. หน้าที่และการใช้งานของสกรู โบลท์และนัต สาระสาคัญ สกรู โบลท์และนัต เป็นส่วนประกอบของเครื่องจักรกลที่มีความสาคัญมากดังนั้นนักศึกษา จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของสกรู โบลท์และนัต ชนิดและมาตรฐานของสกรู โบลท์และนัต และหน้าที่การใช้งานและจาได้นาความรู้ความเข้าใจ ไปใช้ในการซ่อมบารุง เครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกความหมายของสกรู โบลท์และนัตได้ 2. สามารถบอกชนิดของสกรู โบลท์และนัตได้ 3. สามารถบอกมาตรฐานของสกรู โบลท์และนัตได้ 4. สามารถอธิบายหน้าที่ การใช้งานของสกรู โบลท์และนัตได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายแตกต่างของการจับยึดชิ้นงานแบบถาวรและชั่วคราวได้ 2. บอกความแตกต่างของสกรู โบลท์และนัตได้ 3. อธิบายลักษณะแรงที่เกิดขึ้นภายในโบลท์และชิ้นงานได้ 4. บอกชนิดและการใช้งานของ โบลท์และสกรูได้ 5. เลือกใช้นัตได้เหมาะสมกับงานได้ 6. อธิบายความหมายมาตรฐานของงานโบลท์ นัตและสตัดได้ งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ)


หน่วยที่ 3 สกรู โบลท์ และนัต จานวน มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 สกรู โบลท์ และนัต 1.1.1 สกรู 1.1.2 โบลท์ 1.1.3 นัต 1.2 ชนิดของสกรู โบลท์และนัต 1.2.1 ชนิดของสกรู 1.2.2 ชนิดของโบลท์ 1.2.3 ชนิดนัต 1.3 มาตรฐานของสกรู โบลท์และนัต 1.3.1 ตัวอักษรแทนส่วนต่าง ๆ ของเกลียว 1.3.2 เกลียวยอดแหลม เกลียววัตเวอต 1.3.3 เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมู 1.3.4 เกลียวพันเลื่อย 1.3.5 เกลียวกลม 1.4 หน้าที่การใช้งานของสกรู โบลท์และนัต 1.4.1 สกรูหัวหกเหลี่ยม 1.4.2 โบลท์ 1.4.3 สกรูหัวผ่าแบบหัวเรียว 1.4.4 สกรูหัวฝัง 1.4.5 สกรูหัวผ่าทรงกระบอก 1.4.6 โบลท์อัด 1.4.7 สกรูหัวสี่เหลี่ยม 1.4.8 สกรูยึดโลหะแผ่น 1.4.9 การจับยึดด้วยสกรู โบลท์ และนัต 1.4.10 แรงภายในสกรู ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. สกรู โบลท์และนัต

2

คาบ


กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและใบงาน อธิบายการใช้ใบเนื้อหา ถามให้นักเรียนตอบ ให้นักเรียนศึกษาใบเนื้อหา ให้นักเรียนทาใบงาน

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบงาน งานที่มอบหมาย / กิจกรรม ทาใบงาน การประเมิน ตรวจใบงาน

1. 2. 3. 4.

กิจกรรมนักเรียน ตรวจใบงาน ศึกษาใบเนื้อหา ตอบคาถามของครู ทาใบงาน


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 4

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย เพลา

สอนครั้งที่ 5 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 4 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ชนิดของเพลา 1.2 ลักษณะของเพลา 1.3 หน้าที่การใช้งานของเพลา สาระสาคัญ เพลาเป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่ใช้ในการส่งกาลังซึ่งมีความสาคัญมาก ดังนั้นนักศึกษา ต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับชนิดของเพลาลักษณะของเพลาและหน้าที่การใช้งานของเพลา เพื่อจะได้นาความรู้ความเข้าใจไปใช้ในการเรียนและซ่อมบารุงชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกชนิดของเพลาได้ 2. สามารถอธิบายลักษณะของเพลาได้ 3. สามาระอธิบายหน้าที่การใช้งานของเพลาได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกชนิดของเพลาได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายลักษณะของเพลาชนิดต่าง ๆ ได้ 3. เลือกใช้เพลาได้เหมาะสมกับการส่งกาลัง งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของเพลา 1.1.1 เพลาส่งกาลัง 1.1.2 เพลารองรับภาระ 1.2 ลักษณะของเพลา


1.2.1 เพลาตัน 1.2.2 เพลากลอง 1.2.3 เพลาข้อเหวี่ยง 1.2.4 เพลาสปลายน์ 1.2.5 เพลาเรียว 1.3 หน้าที่การใช้งานของเพลา 1.3.1 เพลารับกาลัง 1.3.2 เพลารับภาระ ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. ตัวอย่างเพลา กิจกรรมการเรียน กิจกรรมครู 1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ 2. จัดเตรียมใบเนื้อหาและใบงาน 3. อธิบายหัวข้อต่าง ๆ 4. ถามให้นักเรียนตอบ 5. ให้นักเรียนศึกษาใบเนื้อหา 6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. แบบฝึกหัด งานที่มอบหมาย / กิจกรรม 1. ศึกษาใบเนื้อหา 2. ทาแบบฝึกหัด 3. ตอบคาถาม การประเมินผล 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. สัมภาษณ์

กิจกรรมนักเรียน 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. ตอบคาถามของครู


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 5

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย ลิ่ม

สอนครั้งที่ 6 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 5 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ประเภทลิ่ม 1.2 ลักษณะรูปร่างของลิ่มประเภทต่าง ๆ 1.3 หน้าที่การใช้งานของลิ่มประเภทต่าง ๆ สาระสาคัญ ลิ่มเป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่ทาให้ชิ้นส่วนอื่น ๆ เช่น เฟือง มู่เลย์ หน้าแปลนยึดติดกับ เพลา และช่วยถ่ายทอดแรบิดไปยังคุมล้อดังนั้นนักศึกษาต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับ ประเภทของลิ่ม ลักษณะรูปร่างของลิ่มประเภทต่าง ๆ และหน้าที่การใช้งาน เพื่อจะได้นาความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้ ในการถอดประกอบเครื่องจักรกลและซ่อมบารุงชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกประเภทขอลิ่มได้ 2. สามารถอธิบายลักษณะรูปร่างของลิ่มประเภทต่าง ๆ ได้ 3. สามารถอธิบายหน้าที่การใช้งานของลิ่มประเภทต่าง ๆ ได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกประเภทของลิ่มได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายลักษณะรูปร่างของลิ่มประเภทต่าง ๆ ได้ 3. เลือกใช้ลิ่มได้เหมาะสมกับงาน 4. กาหนดขนาดของลิ่มได้อย่างถูกต้อง งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 5 มีรายละเอียดดังนี้

ลิ่ม

จานวน

2

คาบ


1.1 ประเภทของลิ่ม 1.1.1 ลิ่มส่งกาลัง 1.1.2 ลิ่มสวมอัดเข้าไปในล้อกับเพลา 1.1.3 ลิ่มมีหัว 1.1.4 ลิ่มขวาง 1.1.5 ลิ่มอัด 1.2 ลักษณะรูปร่างของลิ่มประเภทต่าง ๆ 1.2.1 ลิ่มฝัง 1.2.2 ลิ่มเว้า 1.2.3 ลิ่มราบ 1.2.4 ลิ่มเลื่อน 1.2.5 ลิ่มสัมผัส 1.2.6 ลิ่มมีหัว 1.2.7 ลิ่มขวาง 1.2.8 ลิ่มอัด 1.3 หน้าที่การใช้งานของลิ่มประเภทต่าง ๆ 1.3.1 ลิ่มเว้า 1.3.2 ลิ่มราบ 1.3.3 ลิ่มเลื่อน 1.3.4 ลิ่มสัมผัส 1.3.5 ลิ่มมีหัว 1.3.6 ลิ่มขวาง 1.3.7 ลิ่มอัด 1.3.8 ลิ่มฝัง ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. ตัวอย่างลิ่มชนิดต่าง ๆ


กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและใบงาน แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน ให้นักเรียนศึกษาใบงาน ให้นักเรียนศึกษาใบเนื้อหา ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบแบบฝึกหัด งานที่มอบหมาย / กิจกรรม 1. ศึกษาใบเนื้อหา 2. ทาแบบฝึกหัด การประเมินผล 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. สัมภาษณ์

กิจกรรมนักเรียน 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 6

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย รองเลื่อน

สอนครั้งที่ 7 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 6 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ประเภทของรองเลื่อน 1.2 หน้าที่การใช้งานของรองเลื่อน 1.3 วัสดุที่ใช้งานของรองเลื่อน สาระสาคัญ รองเลื่อนเป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่ใช้ผิวรองรับเพลา โดยมีสารหล่อลื่นอยู่ระหว่างเพลา กับรองเลื่อน ดังนั้นนักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของรองเลื่อน หน้าที่การใช้ งานและวัสดุที่ใช้ทาตัวรองเลื่อน เพื่อใช้ในการถอดประกอบและซ่อมบารุงเครื่องจักรกลได้อย่าง เหมาะสม จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกประเภทของรองเลื่อนได้ 2. สามาระอธิบายหน้าที่การใช้งานของรองเลื่อนได้ 3. สามารถของชื่อวัสดุที่ใช้ทาตัวรองเลื่อน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกประเภทของรองเลื่อนชนิดต่าง ๆ ได้ 2. อธิบายหน้าที่การใช้งานของรองเลื่อนชนิดต่าง ๆ ได้ 3. เลือกใช้วัสดุผลิตรองเลือกได้อย่างถูกต้อง งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 6 มีรายละเอียดดังนี้

รองเลื่อน

จานวน

2

คาบ


1.1. ประเภทของรองเลื่อน 1.1.1 รองเลื่อนธรรมดา 1.1.2 รองเลื่อนแบบลูกกลิ้ง 1.2 หน้าที่ของรองเลื่อน 1.3 วัสดุที่ใช้ทารองเลื่อน ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. รองเลื่อนแบบต่าง ๆ กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4. 5.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและใบงาน อธิบายหัวข้อในใบเนื้อหา ถามให้นักเรียนตอบ ให้นักเรียนทาแบบฝึกดัด

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบแบบฝึกหัด งานที่มอบหมาย / กิจกรรม ทาแบบฝึกหัด การประเมินผล ตรวจแบบทดสอบ

กิจกรรมนักเรียน 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. ฟังครูอธิบายและตอบคาถาม


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 7

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย ตลับลูกปืน

สอนครั้งที่ 8 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 7 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1. ชนิดของตลับลูกปืน 2. วัสดุที่ใช้ทาตลับลูกปืน 3. ขนาดของตลับลูกปืน 4. การใช้งานของตลับลูกปืน สาระสาคัญ ตลับลูกปืนเป็นชิ้นส่วนที่ใช้คู่กับเพลา โดยมีลูกปืนเป็นสารหล่อลื่นอยู่ระหว่างเพลาซึ่งมี ความสาคัญมาก ดังนั้น นักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชนิด วัสดุ ขนาดและการใช้ งานของตลับลูกปืน เพื่อจะได้นาไปใช้ในการถอดประกอบและซ่อมบารุงเครื่องจักรกลได้อย่าง ถูกต้อง จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกชื่อชนิดของตลับลูกปืนได้ 2. สามารถบอกวัสดุที่ใช้ทาตลับลูกปืนได้ 3. สามารถบอกขนาดของตลับลูกปืนได้ 4. บอกความสามารถในการใช้งานของตลับลูกปืนได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความแตกต่างของแบริ่งปลอกและแบริ่งลูกกลิ้งได้ 2. บอกชื่อของตลับลูกปืนแบบต่าง ๆ ได้ 3. เลือกตลับลูกปืนได้เหมาะสมกับงานได้ 4. อธิบายการเลือกวัสดุในการผลิตตลับลูกปืนได้ 5. บอกขนาดของตลับลูกปืนได้อย่างถูกต้อง งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ)


หน่วยที่ 7 ตลับลูกปืน จานวน 2 คาบ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของตลับลูกปืน 1.1.1 ชนิดลูกปืนกลิ้งกลม 1.1.2 ชนิดลูกปืนกลิ้งทรงกระบอก 1.2 วัสดุที่ใช้ทาตลับลูกปืน 1.3 ขนาดของตลับลูกปืน 1.4 การใช้งานของตลับลูกปืน 1.4.1 การรับแรงในแนวรัศมี 1.4.2 การรับแรงในแนวแกน ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. ตัวอย่างตลับลูกปืน กิจกรรมการเรียน กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน 1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ 1. ทาแบบฝึกหัด 2. จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. อธิบายหัวข้อต่าง ๆ 3. ตอบคาถามครู 4. ถามให้นักเรียนตอบ สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบแบบฝึกหัด งานที่มอบหมาย / กิจกรรม 1. ศึกษาใบเนื้อหา 2. ตอบคาถาม 3. ทาแบบทดสอบ การประเมินผล 1. ตรวจแบบทดสอบ 2. สัมภาษณ์


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 8

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย เฟือง

สอนครั้งที่ 9-10 จานวน 4 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 8 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ชนิดของเฟือง 1.2 หน้าที่การใช้งานของเฟือง 1.3 การคานวณเฟือง สาระสาคัญ เฟืองเป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่ใช้ในการส่งกาลังที่มีความสาคัญ ดังนั้นนักศึกษาต้องมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ชนิดของเฟืองหน้าที่การใช้งานของเฟือง และการคานวณเฟือง เพื่อนา ความรู้ความเข้าใจ ไปสร้างและซ่อมบารุงชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. บอกชนิดของเฟืองได้ 2. สามารถบอกหน้าที่การใช้งานของเฟืองได้ 3. สามารถคานวณเฟืองได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกจุดมุ่งหมายของการส่งกาลังด้วยเฟืองได้ 2. บอกข้อดีของการส่งกาลังด้วยเฟืองได้ 3. บอกชื่อของเฟืองชนิดต่าง ๆ ได้ 4. เลือกใช้เฟืองได้เหมาะสมกับการส่งกาลัง 5. บอกส่วนต่าง ๆ ของเฟืองได้ 6. บอกสูตรในการคานวณหาส่วนต่าง ๆ ของเฟืองได้ 7. คานวณหาส่วนต่าง ๆ ของเฟืองได้ งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 8 เฟือง

จานวน

4

คาบ


มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของเฟือง 1.1.1 เฟืองตรง 1.1.2 เฟืองสะพาน 1.1.3 เฟืองวงแหวน 1.1.4 เฟืองเฉียง 1.1.5 เฟืองก้างปลา 1.1.6 เฟืองดอกจอก 1.1.7 เฟืองหนอน 1.1.8 เฟืองเกลียว 1.2 หน้าที่การใช้งานของเฟือง 1.2.1 เฟืองตรง 1.2.2 เฟืองสะพาน 1.2.3 เฟืองวงแหวน 1.2.4 เฟืองเฉียง 1.2.5 เฟืองก้างปลา 1.2.6 เฟืองดอกจอก 1.2.7 เฟืองหนอน 1.2.8 เฟืองเกลียว 1.3 การคานวณเฟือง 1.3.1 ส่วนต่าง ๆ ของเฟือง 1.3.2 การคานวณเฟืองโมดูล 1.3.3 การคานวณเฟือง ดี พี ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ- อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. ตัวอย่างเฟืองชนิดต่าง ๆ กิจกรรมการเรียน กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน 1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ 1. ทาแบบฝึกหัด 2. จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. อธิบายหัวข้อต่าง ๆ 3. ตอบคาถามครู 4. ถามให้นักเรียนตอบ


สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบทดสอบ งานที่มอบหมาย / กิจกรรม 1. ศึกษาใบเนื้อหา 2. ทาแบบทดสอบ การประเมินผล 1. ตรวจแบบทดสอบ 2. สัมภาษณ์


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 9

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย สายพานและมู่เลย์

สอนครั้งที่ 11 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 9 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ชนิดของสายพาน 1.2 ชนิดของมู่เลย์ 1.3 หน้าที่การใช้งานของสายพาน สาระสาคัญ สายพานและมู่เลย์ เป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่มีความสาคัญมากในการส่งกาลัง ดังนั้น นักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ชนิด หน้าที่และการใช้งานของสายพานและมู่เลย์ เพื่อ นาความรู้ความเข้าใจ ไปใช้ในการสร้างและซ่อมบารุงชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกชื่อชนิดของสายพานได้ 2. สามารถบอกชื่อชนิดของมู่เลย์ได้ 3. สามารถบอกหน้าที่การใช้งานของสายพานได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการส่งกาลังด้วยสายพานได้ 2. บอกชื่อของสายได้ 3. บอกชื่อของมู่เลย์ได้ 4. อธิบายการประกอบสายพานแบบต่าง ๆ ได้ 5. กาหนดมาตรฐานของสายในการลาเรียงได้ 6. เลือกใช้สายพานได้เหมาะสมกับการส่งกาลัง 7. เลือกมู่เลย์ได้เหมาะสมกับสายพานแบบต่าง ๆ ได้ งานที่ปฏิบัติ ( เนื้อหาสาระ)


หน่วยที่ 9 สายพานและมู่เลย์ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของสายพาน 1.1.1 สายพานแบน 1.1.2 สายพานแบบหุ้มตัว 1.1.3 สายพานแบบชิ้น 1.1.4 สายพานแบบหล่อ 1.1.5 สายพานลิ่ม 1.1.6 สายพานลิ่มร่วม 1.1.7 สายพานลิ่มแหลม 1.1.8 สายพานลิ่มหน้ากว้าง 1.1.9 สายพานลิ่มหลายรูปพรรณ 1.1.10 สายพานพันเฟือง 1.2 ชนิดของมู่เลย์ 1.2.1 มู่เลย์สายพานแบน 1.2.2 มู่เลย์สายพานลิ่ม 1.2.3 มู่เลย์สายพานพันเฟือง 1.3 หน้าที่การใช้งานของสายพาน 1.3.1 สายพานแบน 1.3.2 สายพานลิ่ม 1.3.3 สายพานพันเกลียว

จานวน

2

ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. ตัวอย่างมู่เลย์ กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ อธิบายหัวข้อต่าง ๆ ถามให้นักเรียนตอบ

กิจกรรมนักเรียน 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ศึกษาใบเนื้อหา

คาบ


สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบทดสอบ งานที่มอบหมาย / กิจกรรม ทาแบบทดสอบ การประเมินผล 1. ตรวจแบบทดสอบ 2. สัมภาษณ์


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 10

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย ลูกเบี้ยว

สอนครั้งที่ 12 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 10 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ชนิดของลูกเบี้ยว 1.2 หน้าที่การใช้งานของลูกเบี้ยว สาระสาคัญ ลูกเบี้ยวเป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่เคลื่อนที่พร้อมกับเพลาแต่ผิวของลูกเบี้ยวอยู่คนละ ศูนย์กลางกับเพลา ดังนั้นนักศึกษาจาเป็นจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดและหน้าที่การใช้ ในการสร้างและซ่อมบารุงเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกชื่อชนิดของเบี้ยวได้ 2. สามารถบอกหน้าที่การใช้งานของลูกเบี้ยวได้ งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 10 ลูกเบี้ยว จานวน มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของลูกเบี้ยว 1.1.1 ลูกเบี้ยววงกลม 1.1.2 ลูกเบี้ยวเลื่อนไปและเลื่อนกลับ 1.1.3 ลูกเบี้ยวแบบสมมาตร 1.1.4 ลูกเบี้ยวแบบตกบ่า 1.1.5 ลูกเบี้ยวแบบแผ่น 1.1.6 ลูกเบี้ยวแบบทรงกระบอก 1.1.7 ลูกเบี้ยวแบบขับส่งตัวตาม 1.2 ลักษณะตัวตามที่ใช้กับลูกเบี้ยว

2

คาบ


1.2.1 ตัวตามแนวศูนย์ 1.2.2 ตัวตามเยื้องศูนย์ 1.2.3 ตัวตามแนวแกว่ง 1.2.4 ตัวตามปลายแหลม 1.2.5 ตัวตามกลิ้ง 1.2.6 ตัวตามแบบราบ 1.3 หน้าที่การใช้งานของลูกกลิ้ง 1.3.1 ใช้จับชิ้นงาน 1.3.2 ใช้ควบคุมการทางาน 1.3.3 ใช้ควบคุมเวลา 1.3.4 ใช้ควบคุมระยะทาง 1.3.5 ใช้เพิ่มสมรรถนะเครื่องยนต์ ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ /วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. ตัวอย่างลูกเบี้ยว 3. ตัวอย่างตัวตาม กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4. 5.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ อธิบายหัวข้อต่าง ๆ ถามให้นักเรียนตอบ สาธิตการทางานของลูกเบี้ยว

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบงาน

1. 2. 3. 4.

กิจกรรมนักเรียน ทาแบบฝึกหัด ศึกษาใบเนื้อหา ดูสาธิต ตอบคาถามครู


งานที่มอบหมาย / กิจกรรม ทาแบบทดสอบ การประเมินผล ตรวจแบบทดสอบ


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 11

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย คลัตซ์และคัปปลิ้ง

สอนครั้งที่ 13-14 จานวน 4 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 11 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ชนิดของคลัตซ์ 1.2 ชนิดของคลัปปลิ้ง 1.3 หน้าที่การใช้งานของคลัตซ์ 1.4 หน้าที่การใช้งานของคัปปลิ้ง สาระสาคัญ คลัตซ์และคัปปลิ้ง เป็นส่วนเครื่องจักรกลที่ทาหน้าที่ยึดเพลาสองเพลาให้เข้าด้วยกันแล้ว ส่งถ่ายโมเมนต์บัดไปยังส่วนอื่น ๆ ต่อไปดังนั้นนักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชนิด ของคลัตซ์และคลัปปลิ้งและหน้าที่การใช้งานของคลัตซ์และคัปปลิ้ง เพื่อนาไปใช้ในการเรียน และ การซ่อมบารุงชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกชนิดของคลัตซ์ได้ 2. สามารถบอกชนิดของคัปปลิ้งได้ 3. สามารถบอกหน้าที่การใช้งานของคัปปลิ้งได้ 4. สามารถบอกหน้าที่การใช้งานของคลัตซ์ได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกหน้าที่ของคลัตซ์และคลัปปลิ้ง 2. บอกความแตกต่างของคลัตซ์และคัปปลิ้งได้ 3. อธิบายหลักการเบื้องต้นของคลัตซ์และคัปปลิ้งได้ 4. บอกชื่อของคลัตซ์แบบต่าง ๆ ได้ 5. บอกชื่อของคัปปลิ้งแบบต่าง ๆ ได้


งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 11 คลัตซ์และคัปปลิ้ง ครั้งที่ 1 คลัตซ์ ครั้งที่ 2 คัปปลิ้ง มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของคลัตซ์ 1.1.1 คลัตซ์ลาเมลลา 1.1.2 คลัตซ์แบบเรียว 1.2 ชนิดของคัปปลิ้ง 1.2.1 คัปปลิ้งแบบฝาประกอบ 1.2.2 คัปปลิ้งแบบหน้าแปลน 1.2.3 คัปปลิ้งแบบเพลา 1.2.4 คัปปลิ้งแบบเคลื่อนไหวได้ 1.2.5 คัปปลิ้งแบบฟันโค้ง 1.2.6 คัปปลิ้งแบบข้อต่อ 1.2.7 คัปปลิ้งแบบยูนิเวอร์แซล 1.2.8 คัปปลิ้งแบบยืดหยุ่น 1.2.9 คัปปลิ้งแบบตัดต่อกาลัง 1.3 หน้าที่การใช้งาน 1.3.1 หน้าที่การใช้งานขอคลัตซ์ 1.3.2 หน้าที่การใช้งานของคัปปลิ้ง ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ /อุปกรณ์ – วัสดุ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. แผ่นใส 3. แบบจารอง

จานวน จานวน จานวน

4 2 2

คาบ คาบ คาบ


กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ อธิบายหัวข้อต่าง ๆ ถามให้นักเรียนตอบ

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบแบบฝึกหัด งานที่มอบหมาย / กิจกรรม 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ค้นคว้าเพิ่มเติม การประเมินผล 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. สัมภาษณ์

กิจกรรมนักเรียน 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. ตอบคาถามครู


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 12

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย เบรก

สอนครั้งที่ 15 จานวน 2 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 12 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ชนิดของเบรก 1.2 หน้าที่การใช้งานของเบรก สาระสาคัญ เบรก เป็นส่วนเครื่องจักรกลที่ทาหน้าที่หยุดการหมุนของวงล้อหรือชะลอให้ช้าลงตาม ต้องการ ดังนั้นนักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของเบรก และหน้าที่การใช้งานของ เบรก เพื่อนาไปใช้ในการซ่อมบารุงเครื่องจักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกชนิดของเบรกได้ 2. สามารถบอกหน้าที่การใช้งานของเบรกได้ จุดประสงค์พฤติกรรม 1. บอกชนิดของเบรกแบบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายการทางานของเบรกแบบต่าง ๆ ได้ 3. เลือกชนิดของเบรกได้เหมาะสมกับงาน งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 12 เบรก มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของเบรก 1.1.1 เบรกแบบคุม 1.1.2 เบรกแบบแท่ง 1.1.3 เบรกแบบจาน

จานวน

2

คาบ


1.1.4 เบรกแบบสายพาน 1.2 หน้าที่การใช้งานของเบรก ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ /วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. แบบจาลอง กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ อธิบายหัวข้อต่าง ๆ ถามให้นักเรียนตอบ

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. แบบจาลอง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบแบบฝึกหัด งานที่มอบหมาย / กิจกรรม ทาแบบฝึกหัด การประเมินผล 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. สัมภาษณ์

กิจกรรมนักเรียน 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. ตอบคาถามครู


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 13

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล สอนครั้งที่ 16-17 ชื่อหน่วย การถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล จานวน 4 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 13 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล 1.2 วิธีการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล 1.3 วิธีการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล สาระสาคัญ การถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกลมีความสาคัญมากในการซ่อมบารุงเครื่องจักรกล ดังนั้น นักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ วิธีการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ และวิธีการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล เพื่อนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ในการซ่อมบารุงเครื่อ จักรกลต่อไป จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล 2. สามารถอธิบายวิธีการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกลได้ 3. สามารถอธิบายวิธีการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกลได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกชื่อเครื่องมือที่ใช้ในการถอดประกอบเครื่องจักรกลได้ 2. ปฏิบัติการใช้เครื่องมือในการถอดประกอบเครื่องจักรกลได้ 3. ปฏิบัติการถอดประกอบเครื่องจักรกลได้ งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 13 การถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล จานวน 4 คาบ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล


1.1.1 เครื่องมือทั่วไป 1.2 วิธีการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล 1.2.1 ประแจชนิดต่าง ๆ 1.2.2 ไขควงชนิดต่าง ๆ 1.2.3 คีมชนิดต่างๆ 1.2.4 ค้อนชนิดต่างๆ 1.2.5 ปากกาจับงาน 1.2.6 เหล็กดูด 1.3 วิธีการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล 1.3.1 โบลท์และนัต 1.3.2 เพลา 1.3.3 ลิ่ม 1.3.4 เฟือง 1.3.5 ตลับลูกปืน 1.3.6 รองเลื่อน 1.3.7 สายพาน 1.3.8 มู่เลย์ 1.3.9 ลูกเบี้ยว 1.3.10 คลัตซ์ 1.3.11 เบรก ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. เครื่องมือถอดประกอบต่างๆ 3. สกรูและนัต , เพลา ,ลิ่ม ,รองเลื่อน , ตลับลูกปืน , เฟือง ,สายพาน, มู่เลย์ กิจกรรมการเรียน 1. 2. 3. 4.

กิจกรรมครู เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ อธิบายหัวข้อต่าง ๆ ถามให้นักเรียนตอบ

กิจกรรมนักเรียน 1. ทาแบบฝึกหัด 2. ศึกษาใบเนื้อหา 3. ตอบคาถามครู


สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา 4. ใบงาน งานที่มอบหมาย / กิจกรรม 1. ทาแบบทดสอบ 2. ฝึกปฏิบัติใช้เครื่องมือถอดประกอบเครื่องจักรกล การประเมินผล 1. ตรวจแบบทดสอบ 2. สังเกตการณ์ทางาน


รหัส 2102-2104 หน่วยที่ 14

แผนการเรียนรู้ ชื่อวิชา ชิ้นส่วนเครื่องกล ชื่อหน่วย การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องกล

สอนครั้งที่ 16-17 จานวน 4 ชั่วโมง

เรื่อง / งานที่ประปฏิบัติ หน่วยที่ 14 ประกอบด้วยหัวข้อเรื่องต่อไปนี้ 1.1 ความหมายของการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1.2 วิธีการระวังรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลแบบป้องกัน 1.3 เทคนิคการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1.4 สาเหตุที่ทาให้ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเสียหาย 1.5 วิธีการวางแผนการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1.6 วิธีการวางแผนการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลตามระยะเวลา 1.7 วิธีการหล่อลื่นชิ้นส่วนเครื่องจักรกล สาระสาคัญ การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเป็นสิ่งที่ช่างทุกคนต้องระลึกและมองความสาคัญของ การบารุงรักษาอยู่เสมอ ดังนั้นนักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย วิธีการ บารุงรักษาแบบป้องกัน เทคนิคการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลตามระยะเวลา วิธีการหล่อลื่น ชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เพื่อนาไปใช้ในการซ่อมบารุงเครื่องจักรกล จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. สามารถบอกความหมายของการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้ 2. สามารถบอกวิธีการระวังรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลแบบป้องกันได้ 3. สามารถบอกเทคนิคการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้ 4. สามารถบอกสาเหตุที่ทาให้ชิ้นส่วนเครื่องกลเสื่อมได้ 5. สามารถบอกวิธีการวางแผนการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องกลได้ 6. สามารถบอกวิธีการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลตามระยะเวลาได้ 7. สามารถบอกวิธีการหล่อลื่นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้


จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้ 2. บอกวิธีการระวังรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลแบบป้องกันได้ 3. อธิบายเทคนิคการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้ 4. บอกสาเหตุที่ทาให้เครื่องจักรกลเสื่อมได้ 5. สามารถบอกวิธีการวางแผนการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องกลได้ 6. สามารถบอกวิธีการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลตามระยะเวลาได้ 7. สามารถบอกวิธีการหล่อลื่นชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้ งานที่ปฏิบัติ (เนื้อหาสาระ) หน่วยที่ 14 การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกล จานวน 4 มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ความหมายของการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1.2 วิธีการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลแบบป้องกัน 1.3 เทคนิคการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1.4 สาเหตุที่ทาให้ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเสื่อม 1.4.1 การเสื่อมตามลักษณะ 1.4.2 การเสื่อมเกิดจากอุบัติเหตุ 1.5 วิธีการวางแผนการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1.6 วิธีการบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลตามระยะเวลา 1.6.1 การปฏิบัติงานก่อนใช้เครื่องจักรกล 1.6.2 ก่อนเลิกปฏิบัติงาน 1.6.3 การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลประจาสัปดาห์ 1.6.4 การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลประจาเดือน 1.6.5 การบารุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลประจา 3 เดือน 1.6.6 การบารุงรักษาเครื่องจักรกลระยะเวลา 1 ปี 1.7 วิธีการหล่อลื่นชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1.7.1 การหล่อลื่นโดยใช้ทาน้ามัน 1.7.2 การหล่อลื่นโดยให้ไหลทีละน้อย 1.7.3 การหล่อลื่นโดยวิธีวิดสาด 1.7.4 การหล่อลื่นโดยการไหลหมุนเวียน 1.7.5 การหล่อลื่นโดยการไหลหมุนเวียน

คาบ


ครุภัณฑ์ / เครื่องมือ / วัสดุ – อุปกรณ์ 1. เครื่องฉายโอเวอร์เฮด 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อลื่นแบบต่าง ๆ กิจกรรมการเรียน กิจกรรมครู 1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ 2. จัดเตรียมใบเนื้อหาและแบบทดสอบ 3. อธิบายหัวข้อต่าง ๆ 4. ถามให้นักเรียนตอบ 5. สาธิตการบารุงรักษาเครื่องจักรกล

1. 2. 3. 4.

กิจกรรมนักเรียน ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ศึกษาใบเนื้อหา ตอบคาถามครู ฝึกการบารุงรักษาเครื่องจักรกล

สื่อการเรียนการสอน 1. แผ่นใส 2. ของจริง 3. ใบเนื้อหา งานที่มอบหมาย / กิจกรรม 1. ทาแบบทดสอบ 2. ปฏิบัติใช้เครื่องมือถอดประกอบเครื่องจักรกล 3. ค้นคว้าเพิ่มเติม การประเมินผล 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. สังเกตการณ์ทางาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.