wisut

Page 1

หลักสูตรและการสอนแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum and Instruction)

ในยุคการปฏิรูปการศึกษาที่ไดมีการออกพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 เพื่อใชเปนแนวนโยบายการปฏิรูปการศึกษานัน้ ทําใหการจัดการศึกษาทั้งในระบบ การศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และบูรณาการตามความเหมาะสมในแตละระดับการศึกษา และจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสาน ความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดงี ามและคุณลักษณะ อันพึงประสงคในทุกวิชา ดังที่กําหนดไวในมาตราที่ 23 และ 24 (4) (สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ,2545) ดังนั้นการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติจึง ตองเปนการจัดหลักสูตรและการสอนในลักษณะบูรณาการ ธรรมชาติของของการบูรณาการ การบูรณาการเปนคุณลักษณะที่เกิดขึน้ ภายในตัวผูเรียนเทานั้น (Sowell, 1996) ผูเรียนจะ เปนผูบูรณาการสิ่งที่ไดเรียนรูโดยผานประสบการณการเรียนรูที่หลากหลายไดดวยตนเอง ไมวาผูจัด หลักสูตรจะกําหนดเปาหมายของหลักสูตรใหมีการบูรณาการหรือไมก็ตาม (Taba อางใน Ornstein & Hunkins, 1988) แตถาผูจัดหลักสูตรพยายามจัดเนื้อหาหลักสูตรใหเกีย่ วของกัน เชื่อมโยงการจัด ประสบการณและกิจกรรมการเรียนรูในวิถที างที่เอื้อตอการบูรณาการ ก็จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู อยางเปนบูรณาการไดงายขึน้ (Saylor, Alexand & Lewis อางใน Ornstein & Hunkins, 1988) ความหมายของการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) คือ การจัดหลักสูตรโดยเชื่อมโยง ความรูและประสบการณทุกประเภทเขาดวยกันในแผนการจัดหลักสูตร โดยเนนการเชื่อมโยงประเด็น และหมวดหมูจ ากเนื้อหาตาง ๆ ทั้งหมดเขาดวยกันในแนวนอน เพื่อใหผูเรียนไดมองเห็นภาพรวมของ ความรูและไดเรียนรูความหมายที่ลึกซึ้งของสาระวิชาที่เรียน ซึ่งจะตองมีการจัดประสบการณการ เรียนรูที่เนนความสัมพันธของแตละองคประกอบในแนวนอน ในลักษณะเปนหนวยเดียวกัน ไมแยก เปนสวน ๆ และแตละรายวิชาตองเชื่อมโยงเขากับวิชาอื่น ๆ ในลักษณะที่มีปฏิสัมพันธตอกันและกัน (Ornstein & Hunkins, 1988) ดังนั้นกิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตรแบบบูรณาการจะเนนที่ แนวคิดของประเด็นในปรากฎการณจริง ซึ่งตองนําความรูจากเนื้อหาวิชาตาง ๆ มาประสานเชือ่ มโยง กันและกันในลักษณะใหม


2 อยางไรก็ตามไมไดมีการกําหนดวาหลักสูตรที่บูรณาการแลวจะตองนําไปจัดการเรียนการ สอนแบบบูรณาการดวยเสมอ ซึ่งมักปรากฎอยูเสมอวาหลักสูตรเปนแบบบูรณาการ แตการจัดการเรียน การสอนยังคงเปนแบบบรรยายรายวิชาอยูเชนเดิม ผลลัพธที่เกิดขึ้นยอมไมสัมฤทธิผลเทากับที่หลักสูตร และการเรียนการสอนเปนแบบบูรณาการ หากไมสามารถจัดแบบบูรณาการทั้งสองอยางได การบูรณาการ ในการเรียนการสอนเพียงอยางเดียวยอมดีกวาการบูรณาการเฉพาะหลักสูตร (สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา, 2543) เพราะการเรียนการสอนมีความสัมพันธกบั ผูสอนและผูเรียนโดยตรงมากกวาหลักสูตร สาเหตุที่ตองบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอน การสรางหลักสูตรบูรณาการมีฐานแนวคิดมาจาก การมีความรูในปจจุบันที่เพิ่มมากขึ้นทุกวัน ศาสตรแตละวิชาไดพัฒนาความลึกและความกวางแตกขยายแยกยอยเปนสาขาเฉพาะทางกระจายออกไป อยางมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคขอมูลขาวสารที่เชื่อมตอกันทั่วโลก ซึ่งเอื้อใหความรูถายโยงถึง กันอยางรวดเร็ว และไรพรมแดน ทําใหจําเปนตองสรางความรูที่ทุกศาสตรสามารถใชรวมกันเพื่อเปน ความรูกลาง และเปนฐานเบื้องตนของการเรียนใหอยูเหนือสาระที่มคี วามเฉพาะเจาะจงของศาสตรแต ละแขนงวิชา ในลักษณะทีเ่ รียกวาเปนการบูรณาการศาสตรมาจากทุกสาขาวิชา (Ornstein & Hunkins, 1988) ในวิชาชีพการพยาบาลก็เชนกันในปจจุบนั มีการพยาบาลเฉพาะสาขามากขึ้น เชน การ พยาบาลผูปวยผาตัด การพยาบาลผูติดเชื้อ การพยาบาลมารดาทารก การพยาบาลเด็กคลอดกอน กําหนด การพยาบาลผูปวยโรคเรื้อรัง ฯลฯ โดยความรูดังกลาวมีอยูจํานวนมากเกินกวาทีม่ นุษย ธรรมดาจะเรียนรูไดหมดในเวลาที่จัดใหศึกษาในสถาบันการศึกษา ดังนั้นจึงจําเปนตองจัดการศึกษา พื้นฐาน (General Education) ที่เอื้อใหผูเรียนบูรณาการความรูดังกลาวได เพื่อผูเรียนจะไดมีความรู เบื้องตนสําหรับนําไปใชตอยอดความรูในสาขาเฉพาะทางตอไป ที่สําคัญพบวาการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการมีลักษณะที่สอดคลองกับการแกปญ  หา ในชีวิตประจําวัน กลาวคือ ปญหาที่เราพบในแตละวันนั้น เราไมอาจแกปญหาได โดยใชความรูเ พียง ดานใดดานหนึ่ง หากแตตอ งนําความรูและทักษะจากศาสตรหลากหลายแขนงมาประกอบกัน จึงจะ แกไขปญหานัน้ ไดอยางครอบคลุม ทําใหเกิดแนวคิดวา การเรียนรูในลักษณะบูรณาการนาจะมีความ สอดคลองกับธรรมชาติการแกปญหาในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้กระแสการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ที่เปนผูเรียนเปนสําคัญ ใหผูเรียนฝกทักษะการคิด การแกปญ  หา การบริหารจัดการและ การ เรียนรูตลอดชีวิต กําหนดใหหลักสูตรมีการบูรณาการเนื้อหา และมุงใหผูเรียนไดเรียนรูจาก ประสบการณจริง อีกทั้งดานสาธารณสุขก็ยังมการปฏิรูประบบสุขภาพที่มุงการสงเสริมสุขภาพและ ปองกัน โรคมากกวาการรักษา ใหประชาชนดูแลตนเองได จากการเปลี่ยนแปลงดังกลาว จึงเปน


3 แรงผลักดันใหการจัดการศึกษาพยาบาลตองดําเนินไปในทิศทางการสรางหลักสูตรใหมคี วามเปนบูรณาการ สอดคลองกับกระแสสังคมและและแผนพัฒนาประเทศ แนวคิดการบูรณาการกับปรัชญาพิพัฒนนิยม (Progressivism) ความจริงแลวแนวคิดของการบูรณาการมิใชเพิ่งเกิดขึน้ หากแตเกิดขึน้ มานานแลว อาจ เกิดมาพรอม ๆ กับการรูจักการศึกษาเลยทีเดียว แตสมัยกอนอาจเรียกแตกตางกันไป คนสมัยโบราณมี การเรียนรูแบบบูรณาการมากอนแลว ตอมาคนรุนหลังมาแยกยอยแบงสวนเรียนเฉพาะทาง ทําใหคน มองทุกอยางแบบแยกสวน จึงทําใหมีความรูไมลึกไมกวาง มองแบบแนวระนาบ ไมรอบดาน ปญหา ตาง ๆ ในสังคมจึงเกิดตามมา ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม จัดวาเปนแนวคิดที่เปนรากฐานของการจัดการศึกษาแบบ บูรณาการ โดยเชื่อวา การเชื่อมโยงความคิดรวบยอดของวิชาตาง ๆ ที่มีในหลักสูตรจะสงผลใหผูเรียน สามารถนําประสบการณตาง ๆ ที่ไดรับจากการเรียนการสอนไปประยุกตใชไดในสถานการณใหม หรือเรื่องที่เรียนรูใหมไดตอไป นักการศึกษาในกลุมปรัชญาพิพัฒนนิยมยังเนนแนวคิดการเรียนรูรวมกัน (Cooperative Learning) วาการเรียนรูรวมกันจะนําไปสูก ารรูและเขาใจโลกรอบตัว และความสามารถในการจัดวาง ตัวเองไดอยางเหมาะควรในสังคมที่ตนอาศัยอยู ความพยายามและความรวมมือจะนําไปสูการเรียนรู รวมกัน นอกจากนั้นยังเชื่อวา การศึกษาจะตองพัฒนาผูเรียนในลักษณะเบ็ดเสร็จทัง้ ตัว (The whole child) มิใชแคเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งเทานัน้ จะเห็นวา แนวคิดปรัชญาพิพัฒนานิยมดังกลาวขางตนถูกนํามาประยุกตใชในการจัด หลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผูเรียน ใหมีคณ ุ ลักษณะที่สอดคลองกับผูเรียนใน สภาพสังคมยุคนี้ ความแตกตางระหวางการจัดเนื้อหาสูตรแบบแยกสวนและแบบบูรณาการ การจัดเนื้อหาหลักสูตรแบบแยกสวน (Blocking Course Content) (Frink & Balond in Billings & Halstead, 1996) เปนการจัดเนื้อหาหลักสูตรในแบบที่นิยมกันมาตัง้ แตดั้งเดิม จําแนก เปนแตละรายวิชา แยกตามสาขายอยของความเปนเฉพาะทาง สัมพันธกบั การปฏิบัติทางคลินกิ เนื้อหา และจุดเนนของแตละรายวิชาที่จัดในลักษณะนีจ้ ะมีเอกลักษณเฉพาะรายวิชานัน้ ๆ และเปนฐานสําหรับ วิชาถัดไป มีการจัดลําดับการสอนไวอยางชัดเจน โดยจําแนกตามกลุม ผูรับบริการ เชน มารดาและ ทารก ผูสูงอายุ สุขภาพจิต ชุมชน อายุรศาสตร ศัลยศาสตร หรือจําแนกตามระบบสรีระของรางกาย เชน ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบทางเดินอาหาร และขับถาย เปนตน


4 การจัดหลักสูตรในลักษณะนี้ มีขอดีที่การจัดการเรียนการสอนจะมีลําดับขั้นตอนที่ชดั เจน ตามเนื้อหา โดยเนื้อหารายวิชาตาง ๆ สามารถเชื่อมโยงกับแหลงฝกปฏิบัติและสาขาวิชาที่มีอยูเดิม การบริหารจัดการ การแบงหนาที่ความรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนเปนไปไดงายและ สะดวกสอดคลองกับความชํานาญเดิมของผูสอน อีกทั้งการกําหนดเนื้อหาก็ทําไดชัดเจน ซึ่งเอื้อให ผูสอนมีความมั่นใจวาผูเรียนจะไดรับเนื้อหาตรงตามที่หลักสูตรกําหนดอยางครบถวน แตสิ่งที่ยงั ขาด หายไปสําหรับการจัดหลักสูตรแบบเดิม คือ การขาดความเชื่อมโยงกับรายวิชาที่เรียนมาแลว และ รายวิชาที่จะเรียนตามมา ซึ่งอาจเปนอุปสรรคตอการบูรณาการความรูแ ละการถายโยงความรูประสบการณ จากรายวิชาหนึ่งไปยังวิชาอืน่ ๆ นอกจากนี้โครงสรางหลักสูตรที่มีกรอบชัดเจน อาจขาดความยืดหยุน และไมเอื้อตอการตอบสนองความตองการเรียนรูของผูเรียนแตละบุคคล สวนการจัดเนือ้ หาหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrating Course Content) นั้น โดยทั่วไป โครงสรางหลักสูตรทางพยาบาลจะประกอบดวย 2 หมวดวิชา คือ หมวดวิชาชีพการพยาบาล (Nursing Course) และหมวดวิชาอื่นที่ไมใชวิชาชีพการพยาบาล (Non – nursing Course) ซึ่งไดแก หมวดวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ หมวดวิชาการศึกษาทัว่ ไป และหมวดวิชาเลือกเสรี ซึ่งการบูรณาการ เนื้อหาหลักสูตรอาจทําไดทงั้ การบูรณาการทั้งหมด (Total Integration) และการบูรณาการเฉพาะหมวด วิชาชีพ (Hybrid Model) สําหรับการบูรณาการในหมวดวิชาชีพการพยาบาลนั้นสามารถทําได 2 ลักษณะ (Finke & Boland in Billings & Halstead, 1996) คือ ลักษณะที่ 1 ระดมความคิดจากคณาจารยเพื่อกําหนดมโนทัศนที่มีความสําคัญและสามารถ นํามาใชเปนฐานรวมของการปฏิบัติการพยาบาลทุกสาขา แลวประสานมโนทัศนดังกลาวเขาดวยกัน ตลอดหลักสูตร ตัวอยางเชนมโนทัศนออกซิเจนผันแปร ผูเรียนอาจเรียนเกี่ยวกับพยาธิสรีระของภาวะ ออกซิเจนผันแปร สาเหตุ ลักษณะ ปจจัยที่เกี่ยวของ และการประเมินภาวะออกซิเจนผันแปรมากอน และเมื่อเรียนผานไปในชั้นที่สูงขึ้นก็จะเรียนรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเพื่อลดปญหาจาก ออกซิเจนผันแปร ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวของกับภาวะออกซิเจนผันแปร ในลักษณะการพัฒนาการ ทางความรูจากภาพกวางไปสูความเขาใจที่เฉพาะเจาะจง ลึกซึ้งขึ้นทั้งในกลุมความเจ็บปวยวิกฤติและ เรื้อรัง ไมวาจะมีสาเหตุของภาวะออกซิเจนผันแปรมาจากอะไร หรือเกิดในกลุมใด เชน ผูสูงอายุ ผูปวยเรื้อรัง ทารกแรกเกิด ฯลฯ ดังนั้นในการเรียนการสอน ผูสอนจะตองชวยชี้ใหผูเรียนมองเห็น มโนทัศนเหลานี้ในกลุมประชากรตาง ๆ ในแหลงฝกแตละแหง พรอมทั้งเนนการประยุกตความรู ดังกลาวมาใชในการปฏิบัติการการพยาบาล ลักษณะที่ 2 เลือกทฤษฎีการพยาบาลที่สอดคลองกับเปาหมายหลักสูตรแลวกําหนดมโนทัศน หรือหมวดหมูส ําคัญ โดยใชมโนทัศนของทฤษฎีการพยาบาลเปนฐาน เพื่อเอื้อใหเกิดความเขาใจ ปรากฎการณการปฏิบัติการพยาบาล


5 การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการนี้ จึงมีขอดีที่ไมมีการกําหนดขอบเขตในการพัฒนาความรู ทักษะไวอยางชัดเจน ผูเรียนสามารถใชประสบการณทางคลินิกในการเรียนมโนทัศนหลักเหลานี้ และ ผูสอนสามารถกระตุนใหผูเรียนถายโยงความรูที่ไดไปสูประสบการณและแหลงฝกที่ตางกันไดอยาง ตอเนื่องกัน แตในทางปฏิบัติแลวการบูรณาการเปนเรื่องที่กระทําไดยาก เพราะไมมีขอบเขตเนื้อหา และมโนทัศนที่ชัดเจน ผูเรียนและผูสอนบางทานอาจรูสึกขัดแยงกับลักษณะการจัดหลักสูตรแบบนี้ ที่สําคัญผูสอนในหลักสูตรบูรณาการจําเปนตองไดรับการเตรียมใหมีความสามารถพิเศษในการสอนใน ลักษณะนี้ เพื่อที่จะสอนไดสอดคลองกับแนวคิด โดยไมละเลยสวนสําคัญของหลักสูตรไป ลักษณะสําคัญของการบูรณาการ การจัดหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการที่มีความสมบูรณนั้นจะตองมีลักษณะ โดยรวมดังตอไปนี้ (ธํารง บัวศรี , 2532 ) 1. เปนการบูรณาการระหวางความรูและกระบวนการเรียนรู เพราะในปจจุบันนี้ปริมาณของ ความรูมีมากขึ้นเปนทวีคูณ รวมทั้งมีความสลับซับซอนมากขึ้นเปนลําดับ การเรียนการสอนดวยวิธีการ เดิม อาทิ การบอกเลา การบรรยายและการทองจํา อาจจะไมเพียงพอที่จะกอใหเกิดการเรียนรูที่มี ประสิทธิภาพได ผูเรียนควรจะเปนผูสํารวจความสนใจของตนเองวาในองคความรูหลายหลากนั้น อะไรคือสิ่งที่ตนเองสนใจอยางแทจริง ตนควรแสวงหาความรูเพื่อตอบสนองความสนใจเหลานั้นได อย า งไร เพี ย งใด ด ว ยกระบวนการเชน ไร ซึ่ ง แน น อนว า กระบวนการเรี ย นการสอนลั ก ษณะนี้ ยอมขึ้นอยูกับความแตกตางระหวางบุคคล (Individual Differences)ไมใชนอย 2. เปนการบูรณาการระหวางพัฒนาการความรูและพัฒนาการทางจิตใจ นั่นคือใหความสําคัญ แก จิตพิสัย คือเจตคติ คานิยม ความสนใจ และสุนทรียภาพ แกผูเรียนในการแสวงหาความรูดวย ไมใชเนนแตเพียงองคความรูหรือพุทธิพิสัยแตเพียงอยางเดียว อันที่จริงการทําใหผูเรียนเกิดความ ซาบซึ้งขึ้นเสียกอนที่จะไดลงมือศึกษานั้น นับไดวาเปนยุทธศาสตรที่สําคัญยิ่งสําหรับจูงใจใหเกิดการ เรียนรูขึ้นทั้งแกผูสอนและผูเรียน 3. บูรณาการระหวางความรูและการกระทําในขอนีก้ ม็ ีนัยแหงความสําคัญและความสัมพันธ เชนเดียวกับทีไ่ ดกลาวไวแลวในขอสอง เพียงแตเปลี่ยนจิตพิสัยเปนทักษะพิสัยเทานัน้ 4. บูรณาการระหวางสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เปนอยูในชีวิตประจําวันของผูเรียน คือ การตระหนักถึงความสําคัญแหงคุณภาพชีวิตของผูเรียนวาเมื่อไดผานกระบวนการเรียนการสอน ตามหลักสูตรแลว สิ่งที่เรียนที่สอนในหองเรียนจะตองมีความหมายและมีคุณคาตอชีวิตของผูเรียน อยางแทจริง 5. บูรณาการระหวางวิชาตางๆ เพื่อใหเกิด ความรู เจตคติและการกระทําที่เหมาะสมกับ ความตองการและความสนใจของผูเรียนอยางแทจริง ตอบสนองตอคุณคาในการดํารงชีวิตของผูเรียน


6 แตละคน การบูรณาการความรูข องวิชาตางๆเขาดวยกันเพื่อตอบสนองความตองการหรือเพื่อตอบ ปญหาที่ผูเรียนสนใจจึงเปนขั้นตอนสําคัญที่ควรจะกระทําในขั้นตอนของบูรณาการหลักสูตรและการ เรียนการสอนเปนอยางยิ่ง ดังนั้น การบูรณาการในหลักสูตรและการเรียนการสอนจึงมิใชเพียงการบูรณาการเนื้อหาวิชา เทานั้น แตตองบูรณาการทั้งความรู ทักษะ เจตคติ และกระบวนการเรียนรู รวมทั้งสามารถนําความรู ไปสรางคุณคาตอชีวิตได จึงจะเปนการบูรณาการอยางแทจริง ระดับของการบูรณาการ การบูรณาการในหลักสูตรอาจพัฒนาอยางคอยเปนคอยไป จากหลักสูตรแบบแยกสวน ไปสูหลักสูตรบูรณาการ Harden (2000) ไดเสนอบันได 11 ขั้นของการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการไว ดังนี้ ขั้นที่ 1 การแยกอิสระจากกัน (Isolation) แตละวิชาสอนเปนอิสระจากกันโดยไมคํานึงถึงความเกีย่ วโยงกับวิชาหรือศาสตรอื่น ๆ ขั้นที่ 2 การตระหนัก (Awareness) เนนการสอนของแตละวิชา แตผูสอนตระหนักถึงความสัมพันธเชื่อมโยงกับวิชาหรือ ศาสตรอื่น ๆ ขั้นที่ 3 การประสานสัมพันธ (Harmonization) สอนแยกกันในแตละวิชา แตผูสอนพูดคุยกันเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่ตนสอน เพื่อใหทราบ เนื้อหาของกันและกัน ขั้นที่ 4 การรวมกัน (Nesting) สอนแยกกันในแตละวิชา แตสอดแทรกเนื้อหาวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของเขาไปในวิชาที่ตนสอน รวมทั้งบูรณาการสมรรถนะทั่วไป เชน การสื่อสาร การแกปญหา เขาไวในวิชาดวย ขั้นที่ 5 การรวมมือซึ่งกันและกัน (Temporal Coordination) เปนการนําเนื้อหาทีเ่ กีย่ วของสอดคลองกันในแตละวิชามาจัดสอนในวันเดียวกันตอเนือ่ งกัน โดยจัดตารางสอนยืดหยุนตามหัวขอ แตละวิชายังสอนแยกกัน ขั้นที่ 6 การแบงปน (Sharing) ครูที่สอนคนละวิชามาวางแผนรวมกัน และสอนรวมกันในหัวขอที่ซ้ําซอนกัน โดยเนน การแบงปนในดานแนวคิด ทักษะ และเจตคติ ขั้นที่ 7 การเชื่อมโยงสัมพันธกัน (Correlation) วิชาสวนใหญในหลักสูตรยังคงแยกจากกัน แตจัดวิชาที่มีลักษณะบูรณาการเนื้อหาเพิ่มขึน้ ในหลักสูตร


7 ขั้นที่ 8 การจัดที่ผสมผสานกัน (Complementary Programme) เปนการจัดหลักสูตรที่มีทั้งการสอนแบบแยกวิชาและบูรณาการ แตใหความสําคัญที่วิชา บูรณาการมากกวา โดยนําเนื้อหาที่สอดคลองกันทําเปนหัวเรื่อง (Theme) สอนแบบบูรณาการ และ จัดชั่วโมงสอนแบบแยกวิชาและบูรณาการควบคูกันไป ขั้นที่ 9 พหุวิทยาการ (Multidisciplinary) เปนการรวมความหลากหลายของเนื้อหาของแตละศาสตรมาเปนหนึ่งวิชา โดยกําหนดหัว เรื่อง (Theme) ที่ตองการใหผูเรียนเรียนรูรวมกัน แลวแตกหัวเรื่องยอยไปแตละวิชา ซึ่ง ลักษณะเฉพาะหรือเอกลักษณของวิชายังคงอยู ขั้นที่ 10 สหวิทยาการ (Inter-disciplinary) เปนการรวมเนื้อหาวิชาตาง ๆ มาผสมกลมกลืนกัน โดยกําหนดหัวเรื่อง (Theme) ที่มี สาระเกี่ยวโยงขามวิชามาเปนแกน เกิดวิชาใหมที่ไมคงลักษณะเฉพาะ หรือเอกลักษณของวิชาเดิม ขั้นที่ 11 ขามสาขาวิชา (Trans-disciplinary) เปนการผสมกลมกลืนของศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตจริง โดยครูที่สอนวิชาตาง ๆ จะมาวางแผนรวมกัน กําหนดหัวเรื่อง (Theme) ความคิดรวบยอด (Concept) และปญหารวมกันแลว ดําเนินการสอนรวมกันเปนทีม บันไดการบูรณาการทั้ง 11 ขั้น แสดงถึงระดับของการบูรณาการหลักสูตรจากขั้นการแยก อิสระจากกันไปจนถึงการบูรณาการขั้นสูงสุด คือการบูรณาการขามวิชา โดยบันไดขั้นที่ 1 – 4 จะ ยังคงเปนลักษณะหลักสูตรทีเ่ นนรายวิชาอยู และในขั้นที่ 6 – 11 จะเนนการบูรณาการระหวางวิชามากขึ้น การจัดการเรียนการสอนโดยใชหลักสูตรบูรณาการ เมื่อไดหลักสูตรที่มีลักษณะบูรณาการแลว ในขั้นการนําหลักสูตรไปใชใหเกิดผลโดย สมบูรณนั้น จําเปนตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการดวย (Integrated Instruction) คือ เนนที่องครวมของเนื้อหามากกวาองคความรูของแตละรายวิชา และเนนทีก่ ารเรียนรูของผูเรียนเปน สําคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยใชหลักสูตรบูรณาการใหมีประสิทธิภาพตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ (ศุลีรัตน ภัทรานนท, 2545) 1. การบริหารจัดการ (Organization) การบริหารจัดการนับเปนหัวใจสําคัญของความสําเร็จของหลักสูตรบูรณาการ ซึ่งตอง ใชการจัดการทั้งระบบ ไดแก External Organization ซึ่งเปนการจัดเวลาในการเรียนการสอนเปนชวงยาว มีความยืดหยุน เพื่อใหมีเวลาศึกษา คนควา หรืออภิปรายหัวขอตาง ๆ ไดอยางเต็มที และ Internal Organization คือการบูรณาการเนื้อหาวิชา เนนการเรียนจากหัวขอ (Topic) หรือปญหาที่เกีย่ วของกับ


8 ชีวิตจริง ถึงความรูจากวิชาตาง ๆ มาใชตามสถานการณและความจําเปนที่แทจริง ใชความรูเปน เครื่องมือในการศึกษาขอมูล เก็บรวบรวมขอมูล ทําความเขาใจ ตลอดจนการนําเสนอขอมูลตาง ๆ 2. การสรางความคิดรวบยอด (Conceptualization) ในการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรบูรณาการ เปนการจัดการเรียน ใหเห็นภาพรวมทั้งหมด ทําใหเกิดแนวคิดรวบยอดที่เปนธรรมชาติ มองเห็นความสัมพันธเชื่อมโยงกัน ของวิชาตาง ๆ การพัฒนาความเขาใจแนวคิดรวบยอดที่สําคัญของเนื้อหาในหลักสูตรบูรณาการ เปนการ สรางความเชื่อมโยงระหวางขอเท็จจริงที่เรียนกับความรูเดิมหรือสิ่งที่อยูใกลตวั ผูเรียน และจะนําไปใช ในชีวิตจริง เชน ในการเรียนเรื่องโภชนาการสําหรับผูตั้งครรภ ผูเรียนตองวางแผนโภชนาการใหกับผู ตั้งครรภไดจริงไมเพียงแตทอ งจําหลักการเพื่อใชในการสอบเทานั้น 3. ความเปนอิสระ (Autonomy) ในหลักสูตรบูรณาการ ผูเรียนมีโอกาสไดพัฒนาความสามารถในการคิด และกําหนด ทิศทางการเรียนรูดวยตนเอง (Self – directed learning) จากการมีสวนรวมในการวางแผน การ กําหนดเปาหมายในการเรียนรู การเลือกหัวขอ วิธีที่จะใชในการศึกษาคนควา วิธีนําเสนอและกําหนด ระยะเวลาในการเรียนรูหัวขอตาง ๆ ในขณะที่ครูผูสอนมีบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวก (Facilitator) ที่มีความชัดเจนในแนวคิดรวบยอด และทักษะทีจ่ ะปลูกฝงใหแกผูเรียน ตองมีความยืดหยุน เพราะ การเลือกหัวขอของผูเรียนอาจมีความหลากหลาย ผูสอนตองชวยกําหนดกรอบความคิดกวาง ๆ ดังนั้น ผูสอนจึงตองเปนนักคนควาหาความรูอยางกวางขวางและลึกซึ้งอยูเสมอ กิจกรรมการเรียนการสอนทีจ่ ัดในหลักสูตรบูรณาการ เปนกิจกรรมที่เนนการลงมือปฏิบัติ จริงตามสถานการณที่เปนจริง ไมใชสถานการณปญหาที่สรางขึ้น เพื่อการฝกเฉพาะอยาง เชน ให ผูเรียนผลัดกันฝกวัดสัญญาณชีพของกัน ฝกการเช็ดตัวลดไข ซึ่งเปนการเรียนที่ไมเปนธรรมชาติ และ ไมมีความหมาย ผูสอนควรจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการ เชน การจัดใหผูเรียนดูแลผูปวยที่มกี าร ติดเชื้อ ผูเรียนตองใชความรูในการเฝาระวังภาวะไข โดยนําความรูเกี่ยวกับการประเมินสัญญาณชีพ มาใช รวมทั้งตองนําความรูเกี่ยวกับการควบคุมอุณภูมิรางกาย และการบรรเทาความไมสุขสบายจาก ภาวะไขเขามาใชในการดูแลผูปวย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชนนีจ้ ึงจะเปนการนําความรูมา ใชอยางเปนธรรมชาติและมีความหมาย 4. มนุษยสัมพันธ (Interpersonal Skill) สําหรับหองเรียนแบบบูรณาการจะเนนที่การมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน (Interaction) การพูดจะสื่อสารกันดวยรูปแบบตาง ๆ การทํางานเปนทีม (Teamwork) การทํางานแบบรวมแรงรวมใจ (Cooperative) การปรองดองประสานผลประโยชนรวมกัน (Compromise) ในการทํากิจกรรมตาง ๆ ซึ่งทําใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะมนุษยสัมพันธไปพรอมกับการเรียนรูเนือ้ หาวิชา


9 5. รูปแบบการเรียนรู (Learning Styles) การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรบูรณาการตองใชกิจกรรมที่มีความหลากหลาย เพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนใหตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลที่มี Learning Style แตกตางกัน เชน บางคนตองลงมือปฏิบัติจึงจะเขาใจ บางคนชอบฟง ชอบดูจึงจะเกิดความเขาใจ บางคนตอง อภิปราย ถกเถียง คนควา จึงจะเกิดความรู เทคนิควิธีการสอนที่อาจนํามาใช เชน การเรียนแบบ โครงการ การเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก 4 MAT การซักคาน เปนตน 6. การประเมินผล (Assessment) การเรียนการสอนแบบบูรณาการนั้นจัดใหผูเรียนเรียนรูจากการคิด และลงมือปฏิบัติ จริง เรียนรูจ ากกลุมและเพื่อน เปนการเรียนรูองคความรูแบบเปนองครวมและเรียนรูกระบวนการ เรียนรูของตนเอง ดังนั้นการวัดและการประเมินผลจึงเปนการวัดความกาวหนาของผูเรียนแตละคนจาก ผลสําเร็จของงาน (Accomplishment) และกระบวนการทํางานเปนองครวม (Holistic) สอดคลองกับ ลักษณะการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ดังนี้ 6.1 ไมมีการแยกสอบเปนรายวิชา แตเปนการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ใหความสําคัญกับกระบวนการและผลงาน ไมสอบความรูความจําแยกสวนเปนจุด ๆ และมีการประเมินผลอยางตอเนื่องตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน 6.2 พิจารณาที่พัฒนาการของผูเรียนแตละคน ไมเปรียบเทียบกับผูเรียนคนอื่น 6.3 ผูเรียนมีสวนรวมในการประเมินตนเองและประเมินเพื่อในกลุม เงื่อนไขของการจัดการเรียนการสอนที่กลาวมาขางตนจําเปนตองไดรับการดําเนินการทั้ง ระบบจึงจะทําใหการนําหลักสูตรบูรณาการไปใชบรรลุตามเปาหมาย ซึ่งบุคคลสําคัญที่สุด คือผูสอน ตองมีความเขาใจที่ถูกตอง มีทัศนคติที่ดีตอหลักสูตรบูรณาการ รวมทั้งมีความรูเพียงพอที่จะสอนใน หลักสูตรบูรณาการดวย การเปลี่ยนแปลงสูการบูรณาการ การจัดการศึกษาทางพยาบาลศาสตรในปจจุบันมีแนวโนมที่จะจัดการศึกษาแบบบูรณาการ มากขึ้น ดวยเหตุที่หลักสูตรบูรณาการมีความเปนพลวัตรสอดคลองกับสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงมีแนวโนมที่เปนปจจุบนั ทันสมัยอยูเสมอ ขณะทีก่ ารจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการก็พัฒนา ใหผูเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงคของสังคม ประกอบกับธรรมชาติของการปฏิบัติงานในวิชาชีพ การพยาบาลมีลักษณะเปนบูรณาการในตัวเองสวนหนึ่งอยูแลว เพราะเปนการแกปญหาสุขภาพของ ผูรับบริการซึ่งมีชีวิตและอาศัยอยูในบริบทสังคมที่ซับซอน เชื่อมโยงกับปญหาตาง ๆ ทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและสังคม ดังนั้นการจัดการศึกษาใหมีความเปนบูรณาการอยางครบถวน ตั้งแตระดับ


10 โครงสรางหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน จนกระทัง่ การประเมินผล จึงนาจะเอื้อใหพัฒนาผูเ รียน ไดสอดคลองกับธรรมชาติของวิชาชีพการพยาบาล และสภาพสังคมปจจุบันไดดี อยางไรก็ตามการจัดหลักสูตรและการสอนแบบบูรณาการอาจมีขอจํากัดที่ทําใหการนําไป ปฏิบัติจริงมีความยากลําบาก เนื่องมาจากขอบเขตเนื้อหา และมโนทัศนไมชัดเจน การจัดเรียงเนื้อหา ไมเปนระบบ ซึ่งเปนสิ่งตรงกันขามกับหลักสูตรแบบเดิม ประเด็นนี้อาจสรางความรูสึกขัดแยงใหกับ ผูสอนหลายทาน โดยเฉพาะผูสอนที่หวงเนื้อหา อาจมองวาผูเรียนจะไดสาระไมครบถวน หรือเนื้อหา บางสวนจําเปนตองถูกนํามาจัดลําดับใหเรียนกอนจึงจะสามารถนําความรูนั้นไปบูรณาการได นอกจากนั้น เรื่องของเวลาที่ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางบูรณาการจําเปนตองใชเวลามากขึ้น และมี ตารางเรียนที่ยืดหยุน สิ่งนี้มักถูกมองวาทําใหยุงยากในการบริหารจัดการ เพราะโดยทั่วไปการศึกษา ทางการพยาบาลศาสาตรเปนการศึกษาที่มีทั้งภาคทฤษฎีควบคูกับการปฏิบัติ จึงตองการการกําหนด เวลาที่แนนอน เพื่อการวางแผนการฝกปฏิบัติและการประสานงานกับแหลงฝก และขอจํากัดที่สําคัญ ก็คือ ผูสอนซึ่งในการเรียนการตามหลักสูตรระดับที่เปนหลักสูตรแยกสวน ผูสอนมักจะเปนผูที่มคี วาม ชํานาญเฉพาะในสาขาวิ ช าใดวิชาหนึ่ง แตใ นหลัก สูตรบู รณาการจํา เปน ตอ งใชความรูก วาง และ ผสมผสานความรูตาง ๆ เขาดวยกัน ผูสอนจึงตองแมนในแนวคิดรวบยอด นอกจากนั้นผูสอนยังตองมี ความเขาใจในกระบวนการเรียนรูอีกดวย ดังนั้น เพื่อเปนการสนับสนุนใหการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาทางพยาบาลศาสตรไปสู การบูรณาการเกิดสัมฤทธิผลจําเปนตองมีการดําเนินการหลายดานอยางเปนขั้นตอน เริ่มตั้งแตการสราง หลักสูตรแบบบูรณาการตองทําในลักษณะคอยเปนคอยไป โดยอาจเปนการบูรณาการในขั้นแรก ๆ ของบันได 11 ขั้น แหงการบูรณาการ กลาวคือเปนบูรณาการภายในวิชาเสียกอนแลวจึงพัฒนาตอไป เปนการบูรณาการขามวิชา ที่สลัดกรอบของแตละวิชาออกไปได การกระทําเชนนี้เปนการคอยปรับทั้ง เนื้อหาหลักสูตร และความคิดความรูสึกของผูสอนใหคุนเคยกับหลักสูตรบูรณาการยิ่งขึ้น การดําเนินการ อีกดานหนึ่งทีต่ องทําควบคูกันไปคือการเตรียมผูสอนใหมีความเขาใจที่ถูกตอง มีความพรอมทั้งเชิง แนวคิดและทักษะ ตลอดจนการสรางเจตคติที่ดีในการปรับปรุงแกไขปญหาที่พบดวยความรูเ ทาทัน ธรรมชาติของความเปนบูรณาการและผลลัพธที่จะเกิดขึน้ ทั้งในดานบวกและดานลบ เพราะสถานการณที่ ยังอยูระหวางการปรับเปลี่ยนยอมไมมั่นคง จนอาจทําใหผูปฏิบัติลมเลิกความตั้งใจได การดําเนินการดานสุดทายที่จะเอื้อใหการเปลี่ยนแปลงสูการบูรณาการบรรลุผลสําเร็จได คือ ระบบสนับสนุนก็ตองมีการบูรณาการดวย ไดแก การบริหารจัดการตารางเรียนตองมีความยืดหยุน การวางแผนตารางเรียนไวอยางรอบคอบก็จะชวยลดปญหาที่ตองประสานงานกับสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ กับการจัดการเรียนการสอนได สื่อการเรียนการสอนจําเปนตองจัดเตรียมไวอยางหลากหลายและ เพียงพอสําหรับการเรียนรูของผูเรียน ระบบการวัดและการประเมินผลตองยืดหยุนในเรื่องการตัดเกรด


11 ที่อาจตองขามภาคการศึกษา และการบริหารหลักสูตรตองใหความสะดวกกับการนําหลักสูตรไปใชได อยางมีประสิทธิภาพ สรุป แมวาในขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงจะตองพบกับปญหาในการจัดหลักสูตรและการ เรียนการสอนแบบบูรณาการ แตสิ่งเหลานั้นจะชวยใหผูที่เผชิญปญหาเกิดความเขาใจอยางชัดเจน และ คนพบวิถีทางที่มีความเหมาะสมและพอดีสําหรับตัวเอง ผูสรางหลักสูตรและผูสอนจะตองมีความ ตั้งใจและมุงมัน่ ที่จะไปสูการบูรณาการอยางแทจริง จึงจะสามารถบรรลุเปาหมายของการบูรณาการได

*************************************


12 บรรณานุกรม คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร สถาบันพระบรมราชชนก สํานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2544, กันยายน – ธันวาคม) การพัฒนาหลักสูตรแบบ บูรณาการ. วารสารการศึกษาพยาบาล, 12, 13 – 18. ศุลีรัตน ภัทรานนท.(2545, มกราคม – เมษายน). เงื่อนไขของหลักสูตรบูรณาการ. วารสารศึกษาศาสตร ปริทัศน, 20, 13 – 15. สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2543). การเรียนรูสูครูมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร : ทีพีพริ้นท. สําลี รักสิทธี. (2544). เทคนิควิธีการพัฒนาหลักสูตรแบบบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา. Billings, M.D. & Halstead, A.J. (1998). Teaching in Nursing : A guide for Faculty. Philadephia : WB. Saunders Company. Harden, R.M.(2000). The integration ladder : a tool for curriculum planning and evaluation. Medical Education, 34, 551 – 557. Ornstein, C.A. & Hunkins, F.(1988). Curriculum : Foundation, Principles, and Theory. Boston : Allyn and Bacon. Sowell, J.E. (1996). Curriculum : Integrative Introduction. New Jersey : Prentice – Hall.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.