พรบ.เชียงใหม่มหานคร: ขุนนางเอ็นจีโอ และยุทธศาสตร์ประชาธิปไตย ?

Page 1

พรบ.เชียงใหม่ มหานคร: ขุนนางเอ็นจีโอ และยุทธศาสตร์ ประชาธิปไตย ? สุ รีย์ มิง่ วรรณลักษณ์ การกระจายอํานาจไปสู่ท้องถิ่น ชุมชน เพราะหากกระจุกอยู่ส่วนกลางจะทําอะไรไม่ ได้ คอรั ปชั่นจะเกิดขึน้ มาก บ้ านเมืองแก้ ปัญหาอะไรไม่ ได้ ทหารก็ทาํ รั ฐประหารได้ ง่ายเพราะอํานาจกระจุก ถ้ ากระจายไปสู่ชุมชน รั ฐประหารทําไม่ ได้ คอรั ปชั่นยาก ประเวศ วะสี รั ฐประหารคราวที่ แล้ วสําเร็ จเพราะไม่ กระจายอํานาจ หรื อสําเร็ จเพราะคณะรั ฐประหารเขาเชิ ญเอ็นจี โอไปนั่ง สภาครั บ? ที่ กระชับพืน้ ที่ แล้ วมีคนตายแล้ วลากไปได้ จนจบสมัยได้ หน่ ะ ส่ วนหนึ่งก็เพราะไปตั้ง คณะกรรมการปฏิ รูปหรื อปล่ าวครั บ ? พิชญ์ พงษ์ สวัสดิ์

1 กระแสการเคลื่อนไหวเรี ยกร้องให้มีการออกพรบ.เชียงใหม่มหานคร ภายใต้แนวคิด “จังหวัดจัดการ ตนเอง” (น่าจะความหมายเดียวกันกับการกระจายอํานาจสู่ ทอ้ งถิ่น แต่เปลี่ยนให้ดูเป็ นอัตลักษณ์ของตนเอง) ของเหล่า ขุนนางเอ็นจีโอ (ในที่นี่หมายถึงเอ็นจีโอสายอนุรักษ์นิยม) ที่มี ประเวศ วะสี เป็ นหัวขบวน ที่มีความเชื่อหรื ออ้างว่า จะเป็ นการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งทางโครงสร้างอํานาจ เป็ นการปฎิรูปโครงสร้าง แก้ไขปั ญหาความขัดแย้งระหว่างเหลือง-แดง ระหว่างอํามาตย์-ไพร่ ได้อย่างแท้จริ ง ทั้งยังเป็ นประชาธิ ปไตย รากหญ้าหรื อประชาธิปไตยชุมชนท้องถิ่น ประหนึ่งว่า แนวคิด” จังหวัดจัดการตนเอง” เป็ นยาแก้ได้สารพัดโรค เหมือนดัง่ เช่นที่ผา่ นมาด้วยการท่องคาถา “สภาองค์กรชุมชน” “สิ ทธิชุมชน” “จังหวัดบูรณาการ” “เศรษฐกิจพอเพียง” “ความเหลื่อมลํ้า” “ การปฏิรูปประเทศไทย” ฯลฯ แล้วก็ละเมอเพ้อพกว่า แก้ได้ สารพัดโรค นับเป็ นความเพ้อฝันเพ้อเจอยิง่ นัก หากไม่มี”เจตนา”บิดเบี้ยวการเคลื่อนไหวของฝ่ ายประชาธิปไตย? เนื่องจาก หากเหล่ า “ขุนนางเอ็นจีโอ” ให้ ความสํ าคัญกับกติกาประชาธิปไตยระดับท้ องถิน่ ดังทีแ่ อบอ้ าง ก็ ถือเป็ นตลกร้ ายสิ้นดี เพราะขัดแย้ งในตัวมันเอง ถ้ าเสนอหรือยอมรับให้ มกี ารเลือกตั้งผู้บริหารผู้ปกครอง


ท้ องถิ่นทีม่ อี สิ ระจากอํานาจส่ วนกลาง แต่ กลับปฏิเสธไม่ ยอมรับการเลือกตั้งผู้บริหารระดับประเทศตามวิถี รัฐสภา หรือกติกาการเมืองประชาธิปไตยระดับประเทศ เหมือนทีผ่ ่ านมาและเป็ นอยู่ ขุนนางเอ็นจีโอ ควรยอมรับกติกา ประชาธิปไตย ยอมรับสิ ทธิคนส่ วนใหญ่ และต่อสู ้กนั ตามกติกา หนึ่งเสี ยง หนึ่งสิ ทธิ์ในการเลือกผูบ้ ริ หารปกครองประเทศ จึงจะทําให้ความขัดแย้งมีจุดลงตัวได้อย่างที่ควรจะเป็ น เหมือนเช่นอารยประเทศ มิใช่ไม่ยอมรับมติคนส่ วนใหญ่อย่างที่ฝ่ายอํามาตยาธิปไตยก่อวิกฤตการเมือง ปั จจุบนั อยู่

2. นอกจากนี้พวก”ขุนนางเอ็นจีโอ” ยังได้มีการกล่าวอ้างว่า แดงเหลืองยุติความขัดแย้ง และได้ร่วมมือกัน เคลื่อนไหวในเรื่ องดังกล่าว แต่บทบาทที่ผา่ นมาที่ตอ้ งบันทึกจดจําไว้ในประวัติศาสตร์ของประชาชนว่า เหล่าขุนนางเอ็นจีโอกลุ่มนี้ได้ สนับสนุนฝ่ ายอํามาตยาธิปไตยทั้งที่เผยตัวชัดเจน และทั้งแบบอีแอบเนียมอาย ทั้งก่อนและรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 รวมทั้งออกมาคัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 อันเป็ นผลพวงของคณะรัฐประหาร บางคนดํารงตําแหน่งเป็ นสภานิติบญั ญัติแห่งชาติ บางคนดํารงตําแหน่งเป็ นสภาร่ างรัฐธรรมนูญ 2550 ที่แต่ง ตั้งขึ้นโดย คณะรัฐประหารคมช. บางคนดํารงตําแหน่งเป็ นคณะกรรมการปฏิรูปที่จดั ตั้งขึ้น โดยรัฐบาลอภิสิทธิ์ชน ภายหลังการล้อมปราบ สังหารประชาชน 93 ศพได้เพียงไม่กี่วนั คงไม่ มใี ครทีต่ ้ องการประชาธิปไตยทีส่ มบูรณ์ ปฏิเสธการกระจายอํานาจสู่ ท้องถิน่ เพียงแต่ การกระจาย อํานาจสู่ ท้องถิ่นนั้น เป็ นส่ วนหนึ่ง ต้ องเคลือ่ นไหวควบคู่ไปกับของกระบวนการการสร้ างประชาธิปไตยที่ สมบูรณ์ ระดับประเทศ ไม่ มกี ารเคลือ่ นไหวฝ่ ายประชาธิปไตยประเทศไหนในโลกทีต่ ้ องการให้ มีการกระจายอํานาจสู่ ท้องถิ่นได้ อย่ าง แท้ จริง แต่ กลับหลีกเลีย่ งเมินเฉยต่ อ “อํานาจนอกระบอบประชาธิปไตย” ทีย่ งั ดํารงอยู่และยังครอบงํากดทับ อํานาจของประชาชนอยู่อย่ างล้ นฟ้ า เช่ น อํานาจกองทัพ อํานาจศาล เป็ นต้ น การเคลื่อนไหวให้มีการกระจายอํานาจที่แท้จริ ง จึงต้องเคลื่อนไหวคัดค้านต่อต้านอํานาจนอกระบบ ประชาธิปไตยอย่างปฏิเสธไม่ได้ ยิง่ สังคมการเมืองไทยปั จจุบนั ดังนั้นเป้ าหลักยุทธศาสตร์ใหญ่จึงอยูท่ ี่ อํานาจนอกระบบ เป็ นประเด็นใหญ่


มิใช่ “จังหวัดจัดการตนเอง” ที่อา้ งว่าจะเป็ นวิธีการแก้ปัญหารัฐประหารได้ อย่างที่ ประเวศ วะสี เทศนาไว้ ตราบใดทีต่ ้ องการกระจายอํานาจสู่ ท้องถิ่น แต่ ยอมรับหรือสนับสนุนอํานาจนอกระบอบ การกระจายอํานาจ สู่ ท้องถิน่ ก็เป็ นเพียง”กลลวง” หรือ”วาทกรรมจอมปลอม” ของเหล่ าขุนนางเอ็นจีโอทีต่ ้ องการบิดเบือนการ เคลือ่ นไหวของฝ่ ายประชาธิปไตยเท่ านั้นเอง หาก “ขุนนางเอ็นจีโอ” เป็ นนักประชาธิปไตยเพียงพอ มีจิตใจไม่คบั แคบ แม้จะมีความคิดอนุรักษ์นิยมก็ ตาม พวกเขาควรเปลี่ยนความคิดคนที่พวกเขาทํางานด้วยที่เป็ นเหลือง ให้รักประชาธิปไตยมากกว่า หรื อ อย่างน้อยเคารพกติกาประชาธิ ปไตย แม้ยงั เป็ นเหลืองอยูก่ ต็ าม เพื่อให้การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งซึ่งเป็ น เรื่ องปกติในสังคมประชาธิปไตย แต่เคารพศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์กนั เพื่อไม่เกิดความเกียจชังและความ รุ นแรงอย่างที่มิควรจะเป็ นไม่วา่ จะเป็ นเหลืองหรื อแดงก็ตาม

3. ภายหลังการปฏิวตั ิ 24 มิถุนายน 2475 ( “วันชาติ” ปี นี้ครบรอบ 80 ปี ) คณะราษฎร มีขอ้ เสนอเรื่ องการ กระจายอํานาจสู่ ทอ้ งถิ่นและผลักดันรู ปธรรมจัดให้มีการเลือกตั้งเทศบาล ขึ้น “คณะราษฎร” เป็ นฝ่ ายประชาธิปไตย มีอุดมการณ์ประชาธิปไตย ต้องการผลักดันให้สงั คมไทยเป็ น ประชาธิปไตย ต้องการให้ประชาชนมีสิทธิเสรี ภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ ตามคําแถลงของคณะราษฎร ภารกิจทางประวัติศาสตร์ของคณะราษฎร ต้องการยกเลิกระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ์ราชย์ สร้าง ประชาธิปไตย มีรัฐธรรมนูญ มีหลักนิติธรรม นิติรัฐ มีการเลือกตั้งแบบรัฐสภา ไม่ตอ้ งการให้อาํ นาจนอก ระบอบประชาธิปไตยอยูเ่ หนืออํานาจประชาชนในแผ่นดิน แต่ หัวขบวนการของจังหวัดจัดการตนเอง กลับอยู่ฝั่งตรงข้ ามฝ่ ายประชาธิปไตยมาตลอดสมํ่าเสมอ และมิ เคยสํานึกผิด หรื อกล้ ายอมรับว่ าตนเองเป็ นฝ่ ายอํามาตยาธิปไตย จนถึงทุกวันนี้ ขณะที่ ร่ างพรบ.เชียงใหม่มหานคร ที่เป็ นเป็ นรู ปธรรมจากแนวคิดจังหวัดจัดการตนเอง นั้น ในเนื้อหา ยังมี คําถามถึงข้อเสนอ เช่นว่า สภาประชาชนท้องถิ่นมาจากไหน? ใครเลือก? เลือกกันเองหรื อ? คนเสื้ อแดงกลุ่ม ต่างๆ ถือเป็ นภาคประชาชนได้หรื อไม่ ? ยอมรับได้หรื อไม่? หรื อมีเฉพาะเครื อข่ายภาคประชาชนของขุนนาง เอ็นจีโอ ของหมอประเวศเท่านั้นหรื อไม่ ? การจัดสรรงบประมาณของท้ องถิ่นทีเ่ ป็ นธรรม จะ เป็ นไปได้ อย่ างไร ? เมือ่ งบประมาณแผ่ นดินยังต้ อง จัดสรรให้ อาํ นาจนอกระบบ จํานวนไม่ น้อย เช่ น งบประมาณกองทัพ งบประมาณองค์ กรอิสระ และอืน่ ๆ


และโครงสร้ างภาษีทเี่ ป็ นธรรมจะเป็ นไปได้ อย่ างไร ? เนื่องเพราะ ความสั มพันธ์ ทางอํานาจในสั งคมไทยทีย่ งั ไม่ เป็ นประชาธิปไตยทีส่ มบูรณ์ เฉกเช่ น ประเทศ ญี่ปุ่น ประเทศ เกาหลีใต้ จึงมิมีเพียงความสั มพันทางอํานาจระหว่ างรัฐส่ วนกลาง กับท้ องถิน่ เท่ านั้น แต่ มี ความทับซ้ อนภายใต้ ภาวะ “รัฐซ้ อนรัฐ “ดํารงอยู่จริง และหน่ วยงานราชการ หน่ วยงานพิเศษ บาง หน่ วยงานที่มีอาํ นาจไม่ ได้ เชื่อมโยงกับประชาชน แต่ กลับมีพลังต่ อรอง กับรัฐบาลอย่ างทีเ่ ป็ นอยู่ได้ สูง หรือ กลับมีอทิ ธิพลอํานาจเหนือรัฐและรัฐบาลด้ วยซํ้าไป นอกจากนี้แล้ว กฎหมายเชียงใหม่มหานคร จะผ่านกระบวนการรัฐสภาได้อย่างไร ? เมื่ออํานาจพิจารณา กฎหมาย ส่ วนหนึ่งอยูใ่ นมือของวุฒิสภา และจํานวนมากมาจากการลากตั้งของอํานาจคณะรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ซึ่งล้วนเป็ นข้าราชการเก่าที่เคยชินมีแนวคิดรวมศูนย์อาํ นาจแบบฝ่ ายอํามายาธิปไตย กฎหมาย เชียงใหม่มหานคร จะถูกบิดเบือนบิดเบี้ยวไปเหมือนกฎหมายหลายฉบับที่ผา่ นมาหรื อไม่ ?

4. ที่กล่าวมาทั้งหมด ผูเ้ ขียนมิใช่ตอ้ งการขัดขวางเส้นทางประชาธิปไตยท้องถิ่น มิใช่ประเภท มือไม่พาย เอาเท้ารานํ้า มิใช่ไม่เห็นด้วยกับการกระจายอํานาจสู่ ทอ้ งถิ่น เพียงแต่ตอ้ งการตั้งคําถาม ถกเถียง ตรวจสอบและตั้งข้อสงสัยต่อบทบาทขุนนางเอ็นจีโอ (ที่แอบอ้าง ประชาธิปไตยท้องถิ่น แต่ชิงชังประชาธิปไตยระดับชาติพร้อมๆกับสนับสนุนอํานาจนอกระบอบ ประชาธิปไตย) สําหรับผูร้ ่ วมขบวนที่ใฝ่ ฝันถึงประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ ถึงยุทธศาสตร์ประชาธิปไตยที่ควรจะเป็ น ตราบที่ สังคมไทย ยังมีคนโหยหารัฐประหาร และหลักการเสรี ภาพ ความเสมอภาค อํานาจสู งสุ ดเป็ นของประชาชน หลักการนิติรัฐ/นิติธรรม ยังคงถูกละเมิดยํา่ ยีอย่างชัดแจ้งทั้งโดยกองทัพ และกระบวนการตุลาการ รัฐประหาร ผู้รักประชาธิปไตยทั้งหลาย จึงต้ องต่ อสู้ กบั อํานาจนอกระบบ ต้ องแก้ ไขรัฐธรรมนูญ 2550 เพือ่ สร้ าง ประชาธิปไตยทีส่ มบูรณ์ ไม่ อาจเคลือ่ นไหวการกระจายอํานาจสู่ ท้องถิน่ ประเด็นเเดียว ต้ องโยงใย ประชาธิปไตยโดยรวมทั้งหมดอย่ างมิอาจปฎิเสธได้ และหากตราบใด “ขุนนางเอ็นจีโอ” ปฏิเสธกติกาประชาธิปไตยโดยรวมทั้งหมด พวกเขาก็หาได้เป็ นนัก ประชาธิปไตยที่แท้จริ งซึ่งใฝ่ ฝันถึงประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ ดัง่ ที่คณะราษฎร ได้แผ้วถางเส้นทางไว้ไม่


เพราะ ไม่ มปี ระเทศไหนในโลกที่มกี ารกระจายอํานาจสู่ ท้องถิน่ ได้ อย่ างแท้ จริง ในขณะทีย่ งั มีอาํ นาจนอก ระบอบประชาธิปไตย ยังดํารงอยู่และมีอาํ นาจอย่ างล้ นฟ้ า


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.