201503Amnestyletter

Page 1

ที่ AI. Th. 016 /2558 วันที่ 16 มีนาคม 2558 เรื่ อง ข้ อเสนอแนะทีมีตอ่ ร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... เรี ยน ประธานกรรมาธิการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตกิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ... เอกสารแนบ: แถลงการณ์ของแอมเนสตี ้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล สานักเลขาธิการระหว่างประเทศ กรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ พร้ อมคาแปล แอมเนสตี ้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ประเทศไทย ขอขอบคุณสภานิติบัญญัติแห่ง ชาติที่เปิ ด โอกาสให้ ทางองค์การฯ เข้ าพบ และยื่นหนังสือในช่วงก่อนหน้ านี ้ เพื่อนาเสนอข้ อห่วงใยและข้ อเสนอแนะ ของทางองค์การที่มีตอ่ ร่างพระราชบัญญัตกิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ... และมีความยินดีเป็ นอย่างยิ่งที่มีการ นาข้ อเสนอแนะของทางองค์การฯไปปรับใช้ ในเนื ้อหาของร่างกฎหมาย อย่างไรก็ดี แอมเนสตี ้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย ยังคงมีความกังวลกับร่ างพ.ร.บ. ฉบับนี ้ ซึง่ ยังไม่เป็ นไปตามมาตรฐานของสนธิสญ ั ญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็ นภาคี การคุ้มครองสิทธิที่จะมีเสรี ภาพในการชุมนุมอย่างสงบพึงเป็ นไปตามข้ อ 21 ของกติการะหว่างประเทศว่า ด้ วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights-ICCPR) รวมถึงที่สิทธิที่จะมีเสรี ภาพในการแสดงออก (ข้ อ 19 ของกติกา ICCPR) และการสมาคม (ข้ อ 22 ของ กติกา ICCPR) แอมเนสตี ้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย ปรารถนาที่จะเห็นร่ างกฎหมายที่กาหนดแนว ทางการชุมนุมโดยสงบ ชอบธรรม และเป็ นไปตามมาตรฐานสิ ทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครอง สิทธิ ที่จะมีเสรี ภาพในการชุมนุม อย่างสงบ การแสดงออก และสมาคมของประชาชนไทย โดยแอมเนสตี ้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย เห็นว่าข้ อเสนอแนะดังต่อไปนี ้จะเป็ นประโยชน์เพื่อการปรับปรุงร่างพ.ร.บ. เพื่อการบรรลุเป้าประสงค์ดงั กล่าว ข้ อเสนอแนะของทางองค์การประกอบด้ วย 1. ให้ ตดั ข้ อบัญญัติใดๆ ที่ม่งุ เอาผิดทางอาญากับผู้จัด การชุมนุมและผู้ประท้ วง โดยคานึงว่าควรใช้ กฎหมายอาญาทัว่ ไปกับผู้ประท้ วงเช่นเดียวกับที่ใช้ กบั บุคคลอื่น ๆ 2. เปลี่ยนถ้ อยคาในมาตรา 10 และมาตราอื่นๆ ที่จากัดสิทธิ ที่จะมีเสรี ภาพในการชุมนุม อย่างสงบ โดยให้ เหลือเงื่อนไขการจากัดสิทธิเท่าที่กระทาได้ ตามข้ อ 21 ของกติการะหว่างประเทศว่าด้ วยสิทธิ พลเมืองและสิทธิ ทางการเมือง และลดข้ อจากัดต่างๆ ในการกาหนดให้ ผ้ ูจดั การชุมนุมต้ องแจ้ ง


ล่วงหน้ า โดยให้ เหลือเพียงการแจ้ งล่วงหน้ าในกรณีที่เป็ นการจัดการชุมนุมขนาดใหญ่ หรื อกรณีที่ คาดว่าจะเกิดความวุน่ วายในระดับหนึง่ 3. เปลี่ยนถ้ อยคาที่คลุมเครื อที่ปรากฏในมาตรา 16 ของร่ างพ.ร.บ. เกี่ ยวกับหน้ าที่ของผู้ชุมนุมซึ่ง จะต้ องไม่ก่อให้ เกิด “ความไม่สะดวก” และต้ องไม่ชมุ นุมโดยไม่ได้ รับอนุญาตระหว่างเวลา 18.00 น.-06.00 น. ซึง่ เป็ นการกาหนดมาตรการจากัดการชุมนุมอย่างสงบมากเกินกว่าที่จะกระทาได้ ตาม กติกา ICCPR รวมถึงการให้ อานาจตารวจในการห้ ามการชุมนุม หากเชื่อว่าจะมีการขัดขวาง บริการของภาครัฐ หรื อการปิ ดกันการเข้ ้ าไปยังสถานที่ตามที่กาหนดโดยรัฐมนตรี 4. ให้ การประกันว่า การประกาศใช้ กฎหมาย ระเบียบ และคาสั่งใดๆ เพื่อจากัดสิทธิต้องได้ รับการ ตีความอย่างแคบทังในทางกฎหมายและในทางปฏิ ้ บตั ิ และเป็ นไปตามหลักความจาเป็ นและความ ได้ สดั ส่วน 5. ฟื น้ คืนหลักการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ และให้ ขจัดอุปสรรคใดๆ ที่ขดั ขวางการใช้ สิทธิที่จะมีเสรี ภาพอย่างเต็มที่ในการชุมนุมอย่างสงบและการสมาคม แอมเนสตี ้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติจะ พิจารณาข้ อเสนอแนะของทางองค์การฯ เพื่อประกันให้ มีเนื ้อหาสอดคล้ องกับพันธกรณีระหว่างประเทศ ด้ านสิทธิมนุษยชนของไทย ขอแสดงความนับถือ

(นายชานาญ จันทร์ เรื อง) ประธานกรรมการ แอมเนสตี ้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.