Amoeba

Page 5

5 แฟลกเจลเลต แฟลกเจลเลต มีแฟลกเจลลา อยางนอย 1 เสนในระยะโทรโฟซอยต มี 3 กลุมคือ 1. แฟลกเจลเลตในลําไส ทีส่ ําคัญคือ Giardia lamblia 2. แฟลกเจลเลตในอวัยวะสืบพันธุ คือ Trichomonas vaginalis 3. แฟลกเจลเลตในเนื้อเยื่อและโลหิต ไดแก Leishmania spp. และ Trypanosoma spp. Giardia lamblia ในวงจรชีวติ มี 2 ระยะคือ โทรโฟซอยตและซิสต โทรโฟซอยตขนาดยาว 9.5-21 µm. กวาง 5-15 µm. ดานทองมีจานดูดและมีหนวด (flagella) 4 คู ซิสตขนาดยาว 8-12 µm. กวาง 7-10 µm. ภายในมี 2-4 นิวเคลียส และมีหนวดที่หดอยูกลางซิสต ระบาดวิทยา: คนไดรับเชื้อจากการปนเปอนอาหารและน้ําดื่มดวยระยะซิสต พบมากที่มีคนอยูแออัด และสุขอนามัยไมดี พบมากในเด็ก การกอโรค: เกิดจากพยาธิกอใหเกิดความระคายเคืองตอเยื่อบุผวิ ไมมีการไชเขาในเยื่อบุผวิ ทําให villi ของลําไสหดสั้นลง เกิดการดูดซึมอาหารที่ผิดปกติ (malabsorpion syndrome) ลําไสไมดูด ซึมไขมันทําใหมีไขมันใจอุจจาระสูง (steatorrhoea) อาการ: 1. กลุมที่ไมมีอาการ 2. กลุมมีอาการเฉพาะโรค คือ หลังจากระยะฟกตัวประมาณ 2 สัปดาหผูปวยจะมีอาการ ปวดทองเกร็ง ทองเดิน อุจจาระเหลวเปนน้ํา ออนเพลีย น้ําหนักลด อาการจะคงอยูประมาณ 6 สัปดาห แลวจะลดนอยลง โดยที่ยังมีเชื้ออยูได 3. กลุมอาการรุนแรง กลุมนี้พบไดนอยมาก มีความสัมพันธกับภาวะไมมีกรดใน กระเพาะอาหาร (achlorhydria) ภูมิคุนกันบกพรอง และการขาดสารอาหาร การวินิจฉัย: ตรวจหาโทรโฟซอยตหรือซิสตในอุจจาระ การตรวจหา antigen ในอุจจาระดวยการทํา ELISA การรักษา: Metronidazole 250 มก.วันละ 3 เวลาหลังอาหาร นาน 5 วัน การปองกัน: ดื่มน้ํา และกินอาหารที่สะอาด


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.