สไลด์สรุปผลโครงการวิจัย "การวิเคราะห์การจัดการห่วงโซ่อุปทานของข้าวโพดอาหารสัตว์ จ. น่าน"

Page 1

ผลการวิจัย โครงการ “การวิเคราะห์ การจัดการห่ วงโซ่ อุปทานของข้ าวโพดอาหารสัตว์ เพื่อ ส่ งเสริมการจัดการลุ่มนา้ อย่ างยั่งยืนในจังหวัดน่ าน” (Maize Supply Chain Management Analysis to Support Sustainable Watershed Management in Nan Province)

3 ธันวาคม 2557 หัวหน้ าโครงการ: สฤณี อาชวานันทกุล ทีมวิจัย: ภัทราพร แย้ มละออ, กรณิศ ตันอังสนากุล, ศศิวมิ ล คล่ องอักขระ, ภรตา เสนพันธุ์ บริษัท ป่ าสาละ จากัด : www.salforest.com

1


สรุ ปผลการวิจัย  อุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์สง่ ผลต่อระบบนิเวศและสุขภาพในพื ้นที่วิจยั ลุม่ น ้า สาขา ยาว-อวน-มวบ จังหวัดน่าน  จากการศึกษาเปรี ยบเทียบภาพถ่ายดาวเทียมโดย GISTDA พบว่าพื ้นที่ เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เพิ่มขึ ้น 109.2% จากปี 2545 ถึงปี 2556 ในจานวนนี ้ 61% เป็ นพื ้นที่ป่า ส่งผลให้ ระบบนิเวศเสื่อมโทรม และความหลากหลายทาง ชีวภาพลดลง  ฝุ่ นละอองจากการเผาเตรี ยมพื ้นที่มีสว่ นทาให้ เกิดโรคทางเดินหายใจ และการ ระคายเคืองผิวหนัง  ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียที่สาคัญในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่วิจยั 4 ตาบล ได้ แก่ ธ.ก.ส. (70% ยอดสินเชื่อ) เบทาโกร (รับซื ้อข้ าวโพด 40%) และซีพี (รับซื ้อ ข้ าวโพด 28% และครองตลาดเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดและปุ๋ย) 2


สรุ ปผลการวิจัย (ต่ อ)  จากการสัมภาษณ์กลุม่ เกษตรในพื ้นที่พบว่า เกษตรกรที่เพาะปลูกในพื ้นที่ชนั มีความ เป็ นอยูแ่ ละอานาจต่อรองด้ อยกว่าเกษตรกรที่เพาะปลูกในพื ้นที่ราบ และมีทางเลือก น้ อยกว่า  กรณีศกึ ษานโยบายอนุรักษ์ ป่าของ Starbucks และ GAR พบว่า กุญแจสาคัญของ การกาหนดมาตรฐานการรับซื ้อผลผลิตที่ยงั่ ยืนได้ แก่ การกาหนดความเหมาะสมของ พื ้นที่เพาะปลูก การกาหนดราคารับซื ้อที่เป็ นธรรม และมีกลไกช่วยเหลือเกษตรกรให้ สามารถเพาะปลูกอย่างยัง่ ยืนกว่าเดิม

3


ความสาคัญและที่มาของการศึกษาวิจัย  แม่น ้าน่านเป็ นต้ นกาเนิดของแม่น ้าเจ้ าพระยา แม่น ้าสายหลักที่หล่อเลี ้ยงที่ราบลุม่ ภาคกลางของประเทศไทย  พื ้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์) ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ส่งผล กระทบต่อความยัง่ ยืนของลุม่ น ้าน่าน  ส่งผลต่อวิถีชีวิตของผู้คนในจังหวัดน่านและผู้ที่อาศัยด้ านล่างของลาน ้า

4


ความสาคัญและที่มาของการศึกษาวิจัย  ในปี 2553 สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และสานักงาน โครงการสิ่งแวดล้ อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) เริ่มแผนงานความยากจนและ สิ่งแวดล้ อม (PEI) เพื่อก่อตังโครงการภายใต้ ้ แนวคิด ‘Payments for Ecosystem Services’ (PES) หรื อ ‘การจ่ายค่าตอบแทนบริการระบบนิเวศ’  จังหวัดนาร่อง ได้ แก่ น่าน ขอนแก่น สมุทรสงคราม  พื ้นที่นาร่องนาร่องในจังหวัดน่านคือ ลุม่ น ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ ดาเนินโครงการ โดยสถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย (TEI) ระหว่างเดือนมิถนุ ายนปี 2553 ถึง เดือน กันยายนปี 2554 ผลการวิจยั “รายงานการประเมินระบบนิเวศและกาหนด ทางเลือกการพัฒนาสูก่ ารอยูด่ ีมีสขุ ในจังหวัดน่าน” เผยแพร่ปี 2555

5


วัตถุประสงค์ ของโครงการวิจัย การวิเคราะห์ การจัดการห่ วงโซ่ อุปทานของ ข้ าวโพดอาหารสัตว์ ล่ ุมนา้ สาขา ยาว-อวน-มวบ จังหวัดน่ าน  เพื่อจัดทา “แผนที่” และวิเคราะห์หว่ งโซ่อปุ ทานธุรกิจข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัด น่าน และผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมที่เกิดจากกิจกรรมการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์  เพื่อริเริ่มการอภิปรายในกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ต่อประเด็นปั ญหาการพัฒนาใน จังหวัดน่าน และร่วมค้ นหาศักยภาพในการจัดการระบบห่วงโซ่อปุ ทานอย่าง ยัง่ ยืน  เพื่อสรุปหลักการและแนวปฏิบตั ิด้าน “การจัดการห่วงโซ่อปุ ทานที่ยงั่ ยืน” จาก ประสบการณ์ในต่างประเทศของบริษัทในกลุม่ ธุรกิจการเกษตร อันอาจนามา ประยุกต์เข้ ากับการผลิตข้ าวโพดอาหารสัตว์ในจังหวัดน่านเพื่อช่วยสร้ างความ ยัง่ ยืนในการจัดการลุม่ น ้า ตลอดจนวิถีชีวิตของประชาชนและชุมชนในจังหวัดน่าน 6


กรอบคิดในการวิจัย เครื อข่ ายห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ ง สัตว์

กิจกรรม การผลิต

ห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์ในลุม่ น ้าน่าน

การเปลี่ยนแปลง ในสภาพระบบ นิเวศ ลุ่มนา้ น่ าน

การเปลี่ยนแปลงใน นิเวศบริการ

ระบบนิเวศย่อย: สภาพป่ า และพื ้นที่ การเพาะปลูก

กลไกกากับ

กลไกบริการ

คุณค่าเชิงวัฒนธรรม กลไกสนับสนุน

ขอบเขตงานวิจัย 7


รูปแบบการวิจัย เชิงคุณภาพ 1. สภาพแวดล้ อมและบริการระบบนิเวศ 2. ระบบห่ วงโซ่ อุปทานและกิจกรรมการผลิต

3. การเปลี่ยนแปลงของพืน้ ที่ป่าไม้ และพืน้ ที่ เพาะปลูกข้ าวโพด 4. แนวทางการจัดการห่ วงโซ่ อุปทานอย่ างยั่งยืน

เชิงปริมาณ

วรรณกรรมปริ ทศั น์ วรรณกรรมปริ ทศั น์, สัมภาษณ์เชิงลึก, สัมภาษณ์เชิงลึก, สัมภาษณ์กลุม่ * สัมภาษณ์กลุม่ * วรรณกรรมปริ ทศั น์

GISTDA วิเคราะห์ข้อมูล ภาพถ่าย ดาวเทียม -

*การสัมภาษณ์ กลุ่ม: เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในเขตลุ่มนา้ สาขา ยาว-อวน-มวบ จังหวัด น่ าน พืน้ ที่ตาบลพงษ์ ตาบลดู่พงษ์ และตาบลป่ าแลวหลวง ในเขตอาเภอสันติสุข และตาบล อวน ในอาเภอปั ว จานวน 120 ราย 8


ภาพรวมอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์  สถานการณ์อตุ สาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์โลก ประเทศ

เนื ้อที่ปลูกข้ าวโพด (ล้ านไร่ )

2552

2553

2554

ผลผลิตข้ าวโพด (ล้ านตัน)

2552

2553

2554

รวมทั ้งโลก 992.967 1,025.44 1,064.99 820.539 850.445 883.46 สหรัฐอเมริกา 201.055 206.003 212.414 332.549 316.165 313.918 จีน 195.023 203.237 209.754 164.108 177.541 192.904

ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)

2552

2553

2554

826 1,654 841

829 1,535 874

830 1,478 920

บราซิล

85.342

79.243

82.618

50.72

55.364

55.66

594

699

674

อาร์ เจนติน่า

14.707

18.142

23.424

13.121

22.677

23.8

892

1,250

1,016

ยูเครน

13.057

16.548

22.148

10.486

11.953

22.838

803

722

1,031

6.905

7.268

7.207

4.616

4.861

5.022

668

669

697

425.243 441.537 461.985 228.219 240.758 247.754

537

545

536

ไทย อื่นๆ

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2555) 9


ภาพรวมอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์  จังหวัดที่ผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์สงู สุด 5 อันดับแรก

จังหวัด

พื ้นที่เพาะปลูก (ไร่)

ผลผลิตรวม (ตัน)

2554

2555

2554

2555

เพชรบูรณ์

1,088,255

1,075,536

746,804

733,246

นครราชสีมา

829,233

816,805

630,217

610,970

เลย

830,011

825,735

569,921

560,330

ตาก

686,083

686,013

454,286

452,129

น่ าน

624,949

637,475

387,806

398,148

รวมทัง้ ประเทศ

7,415,614

7,366,996

5,022,039

4,964,631

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2555) 10


ภาพรวมอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ราคาข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ 12

ราคาต่ อกิโลกรั ม (บาท)

10 ราคาเกษตรกรขายได้ ราคาโรงงานอาหารสัตว์รับซื ้อ ราคาไซโลรับซื ้อ ราคาส่งออก F.O.B. ราคาตลาดชิคาโก้

8 6 4 2 0

2550

2551

2552

2553

2554

ที่มา : สานักงานวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร (2555) 11


ภาพรวมอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์  ปั จจัยกาหนดอุปสงค์และอุปทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

อุปสงค์ ความต้ องการใช้ อาหารสัตว์ภายในประเทศ

อุปทาน สภาพอากาศ

ปริ มาณผลผลิตและความต้ องการใช้ ข้าวโพด การชลประทาน เลี ้ยงสัตว์ โดยเฉพาะของประเทศ สหรัฐอเมริ กา ในฐานะผู้ใช้ รายใหญ่ การส่งออก ราคาพืชแข่งขัน ราคาของวัตถุดิบทดแทน นโยบายรัฐ (รับจานาข้ าวโพด, ประกันราคา, นโยบายการ นาเข้ า) 12


ผลกระทบของอุตสาหกรรม  ผลกระทบของอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม เกษตรกรมีอานาจต่อรองต่า ตกอยู่ในวงจรหนี ้สิน

ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม และระบบนิเวศ

- พื ้นที่ป่าแทนที่ด้วยพื ้นที่เพาะปลูก - ระบบนิเวศเสื่อมโทรม - ดินมีความสามารถในการกักเก็บและชะลอน ้าลดลง - ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง - มลภาวะจากการเผาและการใช้ สารเคมี

ผลกระทบต่ อสุขภาพ

ฝุ่ นละอองจากการเผาและพิษจากสารกาจัดวัชพืช ก่อให้ เกิดโรคทางเดินหายใจ การระคายเคืองผิวหนัง หรื อดวงตา เป็ นต้ น 13


ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจากกิจกรรมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ผู้ผลิตปั จจัยการผลิต

ผู้จาหน่ ายปั จจัยการผลิต ผู้ปล่ อยสินเชื่อ

-พัฒนาสายพันธุ์ให้ ได้ พนั ธุ์ที่ผลผลิตต่อไร่สงู ขึ ้น -นาเข้ าแม่ป๋ ยจากต่ ุ างประเทศมาผสมและ/หรื อบรรจุขาย -นาเข้ าวัตถุดบิ มาผลิตสารกาจัดวัชพืช

ส่งเสริมการขาย ให้ สินเชื่อโดยไม่กาหนดเงื่อนไขที่เหมาะสม

เกษตรกร

เผาเตรี ยมพื ้นที่ และใช้ เคมีเกษตรมากเกินควร

หัวสี/ไซโล

รับซื ้อผลผลิต อานวยความสะดวกในห่วงโซ่อปุ ทาน

โรงงานอาหารสัตว์ ผ้ ู กาหนดราคา

ตังราคาและเงื ้ ่อนไขการรับซื ้อโดยไม่พิจารณา ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อม

ส่งผลกระทบ ทางอ้ อม ผ่านการใช้ ปัจจัยการผลิต เกินขนาด

- พืน้ ที่เพาะปลูกเพิ่มขึน้ - พืน้ ที่ป่าลดลง - หน้ าดินถูกชะล้ าง - คุณภาพดินเสียจากการ เพาะปลูก ดินไม่ อ้ ุมนา้ - นา้ ไหลเร็วทาให้ อุทกภัย รุ นแรง - คุณภาพนา้ คุณภาพดิน ส่ งผลต่ อความหลากหลาย ทางชีวภาพ 14


61% ของพืน้ ที่เพาะปลูกที่เพิ่มขึน้ เคยเป็ นป่ า  การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่าเบญจพรรณ (GISTDA วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat) เปรี ยบเทียบกับพื ้นที่เขตอุทยานแห่งชาติ เขตป่ าสงวน และพื ้นที่ลมุ่ น ้าชัน้ 1A และชัน้ 2 พื ้นที่ซงึ่ เปลี่ยนจาก พื ้นที่ลมุ่ น ้า พื ้นที่ปลูก ส่วนเพิ่มที่ ป่ าเป็ นข้ าวโพด ชั ้น 1A และ ข้ าวโพดเพิ่มจาก จากปี 2545 เป็ น เคยเป็ นป่ า ชั ้น 2* 2545 เป็ น 2556 2556

หน่วย: ไร่

เขตอุทยาน แห่งชาติ

เขตป่ า สงวน

ตาบลป่ าแลว หลวง

0

60,745

31,250

8,697

16,640

52.3%

ตาบลพงษ์

89,726

138,936

120,625

14,606

20,527

71.2%

ตาบลดู่พงษ์

0

30,112

13,125

3,161

10,827

29.2%

ตาบลอวน

67,094

103,686

91,250

8,975

10,176

88.2%

รวม

156,821

333,480

256,250

35,440

58,170

60.9%

ที่มา: GISTDA, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช (2556), กรมป่ าไม้ (2556), สานักนโยบาย 15 และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม (2556)


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) 16


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) 17


รูปแบบความสัมพันธ์ ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ในห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ล่ ุมนา้ สาขา ยาว-อวน-มวบ

18


ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียรายสาคัญในพืน้ ที่วจิ ยั  ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียรายสาคัญในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ลมุ่ น ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ

ประเภทของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ผู้ปล่อยสินเชื่อ เมล็ดพันธุ์ ผู้ผลิตปั จจัยการผลิต ปุ๋ย

ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียรายสาคัญ ธ.ก.ส. (70%), สหกรณ์การเกษตร (56.67%) ซีพี (80%), ไพโอเนีย (58%) เจียไต๋ (53%), ไทยเซ็นทรัลเคมี (41%), ซีพี (35%)

สารกาจัดวัชพืช ซินเจนทา (60%), สหภัณฑ์สง่ เสริ มการเกษตร (35%) สหกรณ์การเกษตร (50%), ร้ านค้ าปลีก (44%), สกต. ผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิต (27.5%) เกษตรกร

เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

หัวสี/พ่อค้ าคนกลางระดับท้ องถิ่น ไซโลระดับจังหวัดและภูมิภาค

เกรี ยงไกร สุทธเขต (23%), เจ๊ คา (17%) จิตฟอง (33.3%), ใจงาม (11.35%), น้ อมจิตร (8.52%)

โรงงานอาหารสัตว์

เบทาโกร (40.55%), ซีพี (27.97%)

19


ผลการประเมินห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในพืน้ ที่วจิ ัย

20


อิทธิพลของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ในห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ล่ ุมนา้ สาขา ยาว-อวน-มวบ

21


วิธีปฏิบัตทิ ่ เี ป็ นเลิศ (best practice) ในต่ างประเทศ  กรณีศกึ ษา - ผลกระทบของการขยายพื ้นที่การเกษตรในเขตป่ าไม้ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ภาครัฐ

วิธีเพิ่มความยั่งยืนในห่ วงโซ่ อุปทาน นโยบายป่ าไม้ นโยบายการเกษตร ความร่วมมือระหว่างภาคส่วน การระงับการค้ าหรื อออกใบอนุญาต เป็ นต้ น

การตระหนักรู้ของผู้บริ โภค การคว่าบาตรจากผู้บริ โภค การสร้ างผลิตภัณฑ์ที่มี “คุณค่าเพิ่ม” มากขึ ้นเพื่อผู้บริ โภค การสร้ าง ผู้ผลิต ผู้แปรรูปอาหาร คุณค่าผ่านการจัดซื ้ออย่างยัง่ ยืน การสร้ างความสัมพันธ์และความไว้ หรือผู้ค้าปลีก เนื ้อเชื่อใจกับคูค่ ้ า การใช้ มาตรฐาน เป็ นต้ น การรวมตัวกันต่อรอง ปรับเปลี่ยนวิถีการเพาะปลูก เกษตรกร องค์ กรพัฒนาเอกชน ร้ องเรี ยนให้ เห็นปั ญหา ร่วมกาหนดมาตรฐานกับภาคเอกชน ติดตาม ตรวจสอบ (เอ็นจีโอ) ผู้บริโภค

22


วิธีปฏิบัตทิ ่ เี ป็ นเลิศ: กรณีศึกษา GAR  กรณีศกึ ษา – นโยบายการอนุรักษ์ ป่าของ Golden Agri-Resources อินโดนีเซีย  ผู้ปลูกปาล์มน ้ามันอันดับ 2 ของโลก จัดการพื ้นที่ปลูกปาล์มน ้ามัน 2.9 ล้ านไร่ทงั ้ ประเทศ เป็ นที่ดินของบริ ษัท 79% ที่เหลืออีก 21% เป็ นของเกษตรรายย่อย

จุดเริ่มต้ น : Greenpeace ทา โครงการรณรงค์ กับผู้บริโภค

Golden Agri-Resources (GAR) The Forest Trust (TFT)

รั ฐบาลอินโดนีเซีย

ปฏิกริ ิยา : นโยบายและ มาตรฐาน Forest Conservation Policy- FCP

Greenpeace

23


สถานการณ์ วันนี ้  หลังจากดาเนินโครงการปี แรกใน ค.ศ.2012 Greenomics สรุปผลการดาเนินงาน ของ SMART (บริษัทลูกของ GAR) ในเขตกาลิมนั ตันตะวันตกว่า แม้ วา่ จะมีการ ลดปริมาณพื ้นที่แผ้ วถางป่ าลงเป็ นจานวนมาก แต่ก็ยงั ไม่สามารถทาตาม เป้าหมายที่จะไม่สร้ างรอยเท้ าป่ าไม้ ได้ เพราะนอกจากจะยังมีการแผ้ วถางป่ าใน พื ้นที่ป่าพรุที่ได้ ยื่นขออนุญาต ยังเลยเข้ าไปถึงพื ้นที่ที่ไม่ได้ ขออนุญาต  ปลายปี 2012 Norwegian Government Pension Fund ขายหุ้นที่มีใน GAR และ บริษัทผลิตน ้ามันปาล์มอีก 22 แห่ง  ผลการติดตามในปี 2013 Greenomics ก็ยงั พบว่า บริษัทลูกของ GAR ยังมีการ แผ้ วถางพื ้นที่โดยเฉพาะในเขตที่มีต้นไม้ พนั ธุ์หายากและใกล้ สญ ู พันธุ์ รวมถึงพบ หลักฐานการจ่ายเงินเพื่อขออนุญาตรัฐบาลในการแผ้ วถางป่ า แต่จานวนพื ้นที่ ลดลงกว่าปี ก่อนๆ มาก  ปั จจุบนั พื ้นที่ดาเนินโครงการครอบคลุม 15% ของพื ้นที่สมั ปทานทังหมด ้ 24


ประโยชน์ ท่ บี ริษัทและลูกค้ าได้ รับ ประโยชน์ ท่ บี ริษัทและลูกค้ าได้ รับ ลูกค้ าของ G.A.R • ลดแรงกดดันจาก NGO และ ผู้บริโภค • ได้ น ้ามันปาล์มที่ยงั่ ยืน • ปกป้องชื่อเสียงและยอดขาย

G.A.R • ป้องกันการสูญเสียลูกค้ า • ป้องกันการสูญเสียรายได้ • ป้องกันการสูญเสียนักลงทุน • ทางานร่วมกับผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย มากขึ ้น • สร้ างตาแหน่งทางการตลาดใหม่ “ผูผ้ ลิ ตน้ำมันปำล์มที ไ่ ม่มีรอยเท้ำ กำรทำลำยป่ ำ” 25


ห่ วงโซ่ อุปทานกาแฟของ Starbucks

26


วิธีปฏิบัตทิ ่ เี ป็ นเลิศ: กรณีศึกษา Starbucks  กรณีศกึ ษา – Starbucks และความร่วมมือด้ านการอนุรักษ์ ในระดับนานาชาติ

เหตุผล

• ความเสี่ยงปฏิบตั ิการในอนาคตจากปั ญหาอุปทานไม่แน่นอน ปั ญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่ ส่งผลกระทบให้ เกษตรกรเลิกปลูกกาแฟ กาแฟคุณภาพต่าท่วมตลาดส่งผลให้ ราคาลดลงฮวบฮาบ • การให้ ความสาคัญกับความกินดีอยู่ดีและสิ่งแวดล้ อมของชุมชนเกษตรกร

• การเป็ นพันธมิตรกับ Conservation International (CI) เอ็นจีโออนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมระดับโลก • การหาวิธีแก้ ปัญหาด้ วยความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายฝ่ าย ทังชุ ้ มชน และภาครัฐ ลักษณะการลงทุน • การใช้ เครื่ องมือทางการเงิน เช่น PES เงินกู้เพื่อพัฒนาธุรกิจขนาดย่อม การเงินคาร์ บอน

คุณค่าที่นาเสนอ

• การลดความเสี่ยงธุรกิจด้ านอุปทานจากพื ้นที่ที่มีความสาคัญต่อการซื ้อเม็ดกาแฟ • ใช้ คานงัดด้ านความสามารถและความเชี่ยวชาญจากการเป็ นพันธมิตรกับ CI

ที่มา: Kissinger, Brasser & Gross (2013, หน้ า 16) 27


เกณฑ์ C.A.F.E. ของ Starbucks Starbucks จับมือกับ Conservation International กาหนดมาตรฐานการรับซื ้อเมล็ดกาแฟที่ ยัง่ ยืน และวางกระบวนการติดตามตรวจสอบตลอดสายห่วงโซ่อปุ ทาน

28


เกณฑ์ C.A.F.E. ของ Starbucks Starbucks และความร่วมมือด้ านการอนุรักษ์ ในระดับนานาชาติ Conservation International

Starbucks

ความรับผิดชอบต่อสังคม 3 ด้ าน • การจัดการสินค้ าอย่างมี จริ ยธรรม • ดูแลสิ่งแวดล้ อม • การมีสว่ นร่วมของชุมชน

เกณฑ์ มาตรฐาน C.A.F.E. 1. คุณภาพสินค้ า 2. ความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ 3. ความรับผิดชอบต่อสังคม 4. ความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้ อม

29


เกณฑ์ C.A.F.E. ของ Starbucks (ต่ อ) สิ่งที่อยากได้ มาตรฐานคุณภาพ • กาแฟคุณภาพดี คือ เป้าหมาย ความโปร่ งใส • หลักฐานการจ่ายเงินตลอด ห่วงโซ่อปุ ทาน เพื่อพิสจู น์ได้ ว่าเกษตรกรได้ ส่วนแบ่ ง จากราคาจริงๆ เท่ าไร

การพิสูจน์ และตรวจสอบ (verified and audited) โดยบริษัท รับรองคุณภาพภายนอก เกณฑ์ ปฏิบตั ิ • ตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน • กิจกรรมการเพาะปลูกและ แปรรูปกาแฟที่เป็ นมิตรกับ สิ่งแวดล้ อม • ค่าจ้ าง สุขภาพ ความ ปลอดภัย ความเป็ นอยู่ • ห้ ามใช้ แรงงานเด็ก • มีเอกสารยืนยัน 30


สถานการณ์ วันนี ้  93% ของกาแฟ Starbucks ทังหมดในปี ้ 2012 รับซื ้อโดยผ่านมาตรฐาน C.A.F.E., มาตรฐาน Fairtrade (การค้ าที่เป็ นธรรม) หรื อมาตรฐานเทียบเคียงอื่น  Starbucks ได้ กาแฟคุณภาพดี ขณะที่สง่ เสริมมาตรฐานทางสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้ อม  Conservation International พอใจกับผลลัพธ์ที่ออกมา มองเห็นการเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีขึ ้นต่อสิง่ แวดล้ อมและคนในฟาร์ มที่เข้ าร่วมโครงการหลายพันฟาร์ ม ครอบคลุมเกษตรกรและคนทางานกว่า 1 ล้ านคน  SCS Global Services ดูแลการประเมินทังระบบด้ ้ วยดัชนีกว่า 200 ตัว คุมผู้ ยืนยันและตรวจสอบภายนอก (third-party audit)  Starbucks ขยายโครงการรับซื ้ออย่างมีจริยธรรมไปยังสินค้ าชนิดอื่นๆ อาทิ ชา โกโก้ และสินค้ าที่ระลึกภายในร้ าน 31


ประโยชน์ ท่ เี กษตรกรผู้ปลูกกาแฟได้ รับ  90% ของเกษตรกรมีผลผลิตสูงขึ ้น 20% และมีความรู้ด้านการเพาะปลูกดีขึ ้น  รายได้ สงู ขึ ้นจากการขายกาแฟคุณภาพสูงและคาร์ บอนเครดิต  ได้ “พรี เมี่ยมการเปลี่ยนไปเพาะปลูกอย่างยัง่ ยืน” (Sustainability Conversion) $0.05 ต่อ กาแฟหนึง่ ปอนด์ เป็ นเวลา 1 ปี ถ้ าทาได้ 80% ของมาตรฐาน หลังจากนันถ้ ้ าทาได้ เพิ่ม 10% ในหนึง่ ปี จะได้ “พรี เมี่ยมการดารงความยัง่ ยืน” (Sustainability Performance) อีก $0.05 ต่อกาแฟหนึง่ ปอนด์

    

คุณภาพชีวิตดีขึ ้น ขายกาแฟได้ อย่างต่อเนื่องหากผ่านการตรวจสอบ เข้ าถึงแหล่งเงินกู้ดอกเบี ้ยต่า ดารงอาชีพปลูกกาแฟต่อไปได้ ไม่ต้องเปลี่ยนอาชีพ ไม่ต้องย้ ายถิ่นฐาน ระบบนิเวศท้ องถิ่นดีขึ ้น 32


ประโยชน์ ท่ ี Starbucks ได้ รับ ฐานอุปทาน • ดึงดูด คูค่ ้ าเชิงกลยุทธ์ให้ อยู่กบั บริ ษัทต่อเนื่อง • วางแผนการรับซือ้ ได้ ดีขึ ้น • เพิ่มชื่อเสียงของบริ ษัท • ลดความเปราะบางต่อความผัน ผวนของราคาและอุปทานใน ตลาดโลก

ห่ วงโซ่ อุปทานที่มองเห็น • เรี ยกร้ องเอกสารและการยืนยันผลผลิตและ กระแสเงินสด • เพิ่มความโปร่ งใสในห่วงโซ่อปุ ทาน • เข้ าใจความต้ องการและสถานการณ์ ของคู่ ค้ าได้ ดีขึ ้น รวมถึงมีความสัมพันธ์กบั เกษตรกร • รับมือกับปั ญหาด้ านอุปทานได้ ดีกว่าเดิม จากช่องทางการสื่อสารและความสัมพันธ์ที่ดีขึ ้น

การตลาด • สร้ างความชอบธรรมให้ กบั ราคาพรีเมื่ยม ของกาแฟ - ลูกค้ าตระหนักและมองเห็นคุณค่า • กระตุ้นพนักงาน ให้ อยากทางานกับบริ ษัท จากการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม • โอกาสในการสร้ างแบรนด์ C.A.F.E. และขายให้ กบั บริ ษัทร้ านกาแฟเจ้ าอื่น • โอกาสในการปรับปรุ งห่ วงโซ่ อุปทานอย่างต่อเนื่อง 33


การวิเคราะห์ ช่องว่ างวิธีปฏิบัตทิ ่ เี ป็ นเลิศ กับกิจกรรมในห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ จังหวัดน่ าน  เปรี ยบเทียบห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จงั หวัดน่านกับวิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ วิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ

ห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์จงั หวัดน่าน

ความเหมาะสมของพื ้นที่ เพาะปลูก

/

X

การปฏิบตั ิที่เป็ นธรรม

/

X

ประเด็นสาคัญ

กิจกรรมในห่ วงโซ่ อุปทานที่ก่อให้ เกิดปั ญหา • พฤติกรรมการเพาะปลูกของเกษตรกร  เงื่อนไข การรั บซือ้ ของหัวสี  เงื่อนไขการรั บซือ้ ของโรงงาน อาหารสัตว์ • เงื่อนไขการปล่ อยสินเชื่อเพื่อการเพาะปลูก 34


การวิเคราะห์ ช่องว่ างวิธีปฏิบัตทิ ่ เี ป็ นเลิศ กับกิจกรรมในห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ จังหวัดน่ าน  หลักเกณฑ์สาคัญสูว่ ิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศและผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสียที่สามารถกาหนดหลักเกณฑ์

หลักเกณฑ์

ผู้มีส่วนได้ เสียที่สามารถกาหนดมาตรฐาน ดังกล่ าว กรณีล่ ุมนา้ ยาว-อวน-มวบ

การใช้ พนื ้ ที่ในการเพาะปลูก

เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซือ้ ผลผลิตรายใหญ่ ) ธ.ก.ส. (ผู้ปล่ อยสินเชื่อรายใหญ่ )

การรั กษาคุณภาพนา้ ผิวดินและนา้ ใต้ ดนิ

เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซือ้ ผลผลิตรายใหญ่ )

การป้องกันการกัดเซาะของหน้ าดิน

เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซือ้ ผลผลิตรายใหญ่ )

การใช้ สารเคมีทางการเกษตร

เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซือ้ ผลผลิตรายใหญ่ )

การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพ

เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซือ้ ผลผลิตรายใหญ่ ) ธ.ก.ส. (ผู้ปล่ อยสินเชื่อรายใหญ่ )

35


Thank you! ดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้จาก www.salforest.com

36


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.