สไลด์สรุปผลการวิจัย "การจัดทำแผนที่ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลา"

Page 1

บทบาทของธุรกิจต่อมนุษย์และระบบนิเวศของ ท้องทะเลไทย สฤณี อาชวานันทกุล กรรมการผู้จัดการ ด้านการพัฒนาความรู้ บริษัท ป่าสาละ จากัด 27 สิงหาคม 2557


อัตราการจับสัตว์ นา้ ต่ อการลงแรงประมงลดลง อัตราการจับสัตว์ นา้ ต่ อการลงแรงประมง (Catch Per Unit Effort: CPUE) ของ ประเทศไทย ระหว่ างปี พ.ศ.2504-2553 (หน่ วย: กิโลกรั ม/ชั่วโมง)

ทีม่ า: ทวีป บุญวานิ ช และสุชาดา บุญภักดี , 2552

2


ปริมาณปลาขึน้ ท่ าฝั่ งอ่ าวไทยลดลงต่ อเนื่อง ปริมาณปลาขึน้ ท่ าฝั่ งอ่ าวไทย ปริมาณปลาขึน้ ท่ า (ตัน)

ทีม่ า: กรมประมง, 2554

ปลาทัง้ หมด ปลากิน ปลาเป็ ด

3


ผลผลิตอุตสาหกรรมปลาป่ นในจังหวัดสงขลา  จากสถิตขิ องกรมประมง ในปี 2554 สงขลาผลิตปลาป่ น 39,402 ตัน คิด เป็ น 12.03% ของผลผลิตทัง้ ประเทศ  จากการสัมภาษณ์ โรงงานปลาป่ น 8 โรง จาก 9 โรงในจังหวัด คณะวิจัย ประเมินว่ าทัง้ 9 แห่ ง ผลิตปลาป่ นรวมกันได้ ราว 29,300 ตัน ในปี 2556

ปริมาณ (ตัน)

วัตถุดบิ ที่ใช้ ผลิตปลาป่ นในจังหวัดสงขลาตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2542-2554

ปลาเป็ ด

ปลาอื่นๆ

เศษซาก

ปี พ.ศ. 4


ผลการประเมินชีวมวลที่ขนึ ้ ฝั่ งจากเรือประมงในสงขลา  62% เป็ นปลาเป็ ด ขึน้ ท่ าเฉลี่ยประมาณ 6.5 ตัน/ลา  ประเมินว่ ามีปลาเป็ ดขึน้ ท่ าราว 25,000 ตันต่ อปี

รวมทุกลำ

ทีม่ า: การสารวจภาคสนาม, 2557

5


ผลการประเมินชีวมวลที่ขนึ ้ ฝั่ งจากเรือประมงในสงขลา (ต่ อ) องค์ ประกอบของปลาเป็ ดที่ขนึ ้ ท่ าในจังหวัดสงขลา เน่าเปื่ อย, ื่ มสภาพ เสอ จนจาแนก ไม่ได ้

ทีม่ า: การสารวจภาคสนาม, 2557

6


ลักษณะของ “ปลาเป็ ด” ที่เอามาทาปลาป่ นเกรดต่า

7


ห่ วงโซ่ อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่ นในจังหวัดสงขลา

บริ โภคภำยในประเทศ

ส่งออก

8


ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจากกิจกรรมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย เรื อประมง

ใช้ เครื่องมือ และ/หรือ วิธี ทาการประมงไม่ เหมาะสม

แพปลา/ โบรกเกอร์

รับซือ้ ปลาเป็ ดและขาย ต่ อให้ ผ้ ูผลิตปลาป่ น

ผู้ผลิตปลาป่ น

รับซือ้ วัตถุดบิ /ขอเอกสาร ตรวจสอบย้ อนกลับ/ผสม ปลาป่ นเพื่อเพิ่มเกรด

ผู้ผลิตอาหาร สัตว์

รับซือ้ ปลาป่ น/ ขอ เอกสารตรวจสอบ ย้ อนกลับ/ ตัง้ มาตรฐาน การรับซือ้

ทาลายแนวประการั งซึ่งเป็ นที่อยู่อาศัย ของสัตว์ นา้ และจับลูกปลาเศรษฐกิจ ผ่ านการใช้ เครื่ องมือประมงที่ไม่ เหมาะสม ปลาเป็ ดคุณภาพต่ายังขายได้ เนื่องจาก - สามารถนาไปผสมเพื่อเพิ่มคุณภาพได้ - มีความต้ องการในตลาด - ปราศจากมาตรฐานการรั บซือ้ อย่ าง ยั่งยืนที่มีประสิทธิภาพ ไม่ สามารถ ตรวจสอบกิจกรรมประมงได้ อย่ าง แท้ จริง 9


สรุ ปผลการวิจัยห่ วงโซ่ อุปทานปลาป่ น จ. สงขลา  อุตสาหกรรมปลาป่ นส่ งผลต่ อระบบนิเวศและวิถีชีวติ ของชุมชนชาวประมง พืน้ บ้ าน  พยุงให้ การประมงแบบทาลายล้ างดาเนินต่ อไป เนื่องจากเป็ นตลาดหลัก ของ “ปลาเป็ ด” ซึ่งรวมถึงลูกปลาและปลาขนาดเล็กที่ตดิ ไปกับอวนประมง  ปี 2556 ผู้ผลิตปลาป่ น 8 ราย จาก 9 รายในสงขลา ผลิตปลาป่ นรวม 28,509 ตัน  ใช้ วัตถุดบิ 100,215 ตัน >>เศษซาก 79,965 ตัน (80%), ปลาตัว 20,250 ตัน (20%) ในจานวนนีเ้ ป็ นปลาเป็ ด 5,760 ตัน  ผลผลิต 66% (18,814 ตัน) ขายให้ ผ้ ูผลิตอาหารสัตว์ รายใหญ่ ได้ แก่ ซีพี เอฟ 45%, เบทาโกร 17%, ไทยยูเนี่ยนฟี ดมิลล์ 11%

10


สรุ ปผลการวิจัยห่ วงโซ่ อุปทานปลาป่ น จ. สงขลา  ปลาป่ นที่ผลิตจากปลาเป็ ด 1,527 ตัน ขายให้  ซีพเี อฟ 37.6% หรื อ 575 ตัน > ตรวจสอบที่มาได้ 300 ตัน  ฟาร์ ม 19.7% หรื อ 300 ตัน > ทัง้ หมดตรวจสอบที่มาได้  โบรกเกอร์ 42.7% หรื อ 652 ตัน > ทัง้ หมดตรวจสอบที่มาไม่ ได้  ระบบรั บรองปลาป่ น  ผู้ผลิตอาหารสัตว์ ท่ เี ข้ าร่ วมมีเพียงซีพเี อฟ  ตรวจสอบได้ เพียงเอกสาร ไม่ สามารถตรวจสอบกิจกรรมประมงที่เกิดขึน้ จริงได้  ยังคงมีตลาดรองรั บปลาเป็ ดทุกรูปแบบ  บทเรี ยนจากเปรู : การประมงที่ย่ งั ยืน  มาตรฐานที่กากับผู้เล่ นได้ ทุกคน ใช้ กฎหมายควบคู่กับการกากับดูแลของเอกชน  ใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีในการกากับดูแลและตรวจสอบ  ค้ นหา “เหตุผลทางธุรกิจ” ที่ชัดเจน เพราะเป็ นแรงจูงใจที่มีประสิทธิภาพ 11


ปริมาณปลาลดลง

อัตราจับปลาต่ อการลงแรงลดลง

ลงแรงเพิ่ม

ความต้ องการปลาต่ างแดนเพิ่ม

พลวัตระดับท้ องถิ่น

คนต่ างแดนมาจับปลาท้ องถิ่นมากขึน้ คนท้ องถิ่นจับปลาขายส่ งออกมากขึน้ รุ กรานน่ านนา้ ประเทศอื่นมากขึน้ ปริมาณปลาลดลง

อัตราจับปลาต่ อการลงแรงลดลง

ลงแรงเพิ่ม

ศาสตร์ ท่ เี กี่ยวข้ อง

พลวัตระดับโลก

สิ่งแวดล้ อม-สังคม-ธุรกิจ แยกจากกันไม่ ได้ สิทธิมนุษยชน นิเวศการเมือง นิเวศวิทยา, ชีววิทยาอนุรักษ์ อาชญวิทยา สาธารณสุข เศรษฐศาสตร์

อุปสงค์ แรงงานราคาถูกเพิ่ม

ปลาเป็ ด

ลงแรงเพิ่ม ความไม่ ม่ นั คงทางอาหารเพิ่ม ความไม่ ม่ นั คงทางรายได้ เพิ่ม ต้ นทุนต่ อหน่ วยลงแรงลดลง ความยากจนเพิ่ม

แรงงาน เด็ก

แรงงาน ต่างด ้าว

ละเมิดสิทธิแรงงานมากขึน้

ทีม่ า: ปรับจาก Brasheres et. al, “Wildlife Decline and Social Conflict,” 2014 12


Thank you! ดาวน์ โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ได้ จาก www.salforest.com หน้ า “Knowledge” 13


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.