แนวทางการพัฒนา Thailand Taxonomy เพื่อส่งเสริม Just Energy Transition

Page 1

แนวทางการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรม เศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน (Thailand Taxonomy) เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิม การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม (Just Energy Transition) รายงานฉบั​ับสมบู​ูรณ์​์ จั​ัดทำำ�โดย แนวร่​่วมการเงิ​ินที่​่�เป็​็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand) สิ​ิงหาคม 2566 สฤณี​ี อาชวานั​ันทกุ​ุล หั​ัวหน้​้าโครงการ ศิ​ิวั​ัช อ่​่วมประดิ​ิษฐ์​์ นั​ักวิ​ิจั​ัย จั​ักรพงศ์​์ คงกล่ำำ�� นั​ักวิ​ิจั​ัย อิ​ิชยา เส้​้งมี​ี นั​ักวิ​ิจั​ัย หทั​ัยชนก โพธิ์​์�งาม นั​ักวิ​ิจั​ัย


สารบั​ัญ บทสรุ​ุปสํ​ําหรั​ับผู้​้�บริ​ิหาร 1. หลั​ักการและเหตุ​ุผล 2. สรุ​ุปผลการทบทวนวรรณกรรม การจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว (taxonomy) และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม (just energy transition) 3. สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์เชิ​ิงลึ​ึกกั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย 4. ข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบาย บรรณานุ​ุกรม

3 5 7 31 79 82

สารบั​ัญตาราง ตารางที่​่� 1 เปรี​ียบเที​ียบความแตกต่​่างระหว่​่าง EU-China Taxonomy 11 ตารางที่​่� 2 เปรี​ียบเที​ียบวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมของ EU taxonomy และ China taxonomy 12 ตารางที่​่� 3 ภาคอุ​ุตสาหกรรมสํ​ําคั​ัญภายใต้​้ CGT 13 ตารางที่​่� 4 ระบบ traffic-light system เพื่​่�อจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจ 17 ตารางที่​่� 5 สรุ​ุปประเด็​็นข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ีย จํ​ําแนกตามประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านและประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม 74 ตารางที่​่� 6 สรุ​ุปข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบาย การพั​ัฒนา Thailand Taxonomy ที่​่�สอดคล้​้องกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม 80

สารบั​ัญแผนภาพ แผนภาพที่​่� 1 สถานะการจั​ัดทํ​ํามาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวทั่​่�วโลก แผนภาพที่​่� 2 เส้​้นทางไปสู่​่�เป้​้าหมายการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ในปี​ี ค.ศ. 2050 ของกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจแต่​่ละกลุ่​่�มภายใต้​้ Thailand Taxonomy แผนภาพที่​่� 3 ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ฉบั​ับย่​่อของแนวคิ​ิด “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม แผนภาพที่​่� 4 ระดั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน และระดั​ับการมี​ีส่​่วนร่​่วม ของวาทกรรม JET แต่​่ละวาทกรรม แผนภาพที่​่� 5 การดํ​ําเนิ​ินการในปี​ี ค.ศ. 2021 ของแต่​่ละประเทศทั่​่�วโลกเพื่​่�อบรรลุ​ุ เป้​้าหมายการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ (Net Zero) แผนภาพที่​่� 6 ปริ​ิมาณคาร์​์บอนจากถ่​่านหิ​ินในประเทศสมาชิ​ิก JETP ตั้​้�งแต่​่ปี​ี ค.ศ. 1860–2021 (ตั​ัน) แผนภาพที่​่� 7 จํ​ํานวนผู้​้� ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จํ​ําแนกตามประเภท

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 2

9 17 21 24 26 28 31


บทสรุ​ุปสํ​ําหรั​ับผู้​้�บริ​ิหาร ผลกระทบที่​่�รุ​ุ นแรงขึ้​้�นเรื่​่�อย ๆ ของการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ และการประกาศเป้​้าหมาย

การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ (Net Zero) ของนานาประเทศ รวมทั้​้�งไทย ส่​่งผลให้​้ “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน” จากการผลิ​ิตและใช้​้พลั​ังงานคาร์​์บอนสู​ูง เป็​็นคาร์​์บอนตํ่​่าหรื​ือคาร์​์บอน

เป็​็นศู​ูนย์​์ ถู​ูกพู​ูดถึ​ึงมากขึ้​้�นว่​่ าเป็​็นการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�จํ​ํ าเป็​็นต้​้ องเกิ​ิ ดอย่​่างเร่​่งด่​่ วน อย่​่างไรก็​็ ดี​ี

การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานย่​่อมเกิ​ิดผลกระทบต่​่อผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียบางกลุ่​่�มอย่​่างหลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ และ อาจซํ้​้าเติ​ิมความอยุ​ุติ​ิธรรมในระบบพลั​ังงาน ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� แนวคิ​ิด “just energy transition” หรื​ือ

“การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” จึ​ึงถู​ูกนํ​ําเสนอเป็​็นกรอบคิ​ิ ดในการออกแบบและจั​ั ดการ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานในแต่​่ละประเทศ ซึ่​่�งคณะวิ​ิจั​ัยมองว่​่า หลั​ักการดั​ังกล่​่าวควรนํ​ํามาใช้ ้ใน การพั​ัฒนาและปรั​ับปรุ​ุ ง การจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน หรื​ือ Thailand Taxonomy

ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ัน Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 ประกาศใช้​้ 30 มิ​ิถุ​ุนายน 2566 ครอบคลุ​ุมกิ​ิจกรรม

ในภาคพลั​ังงานและขนส่​่ง เพื่​่�อให้​้ Thailand Taxonomy มี​ีส่​่วนในการขั​ับเคลื่​่�อนการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม

จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่​่�ยวกั​ับการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน (taxonomy)

และการเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานที่​่�ยุ​ุ ติ​ิ ธ รรม ประกอบการสั​ั ง เคราะห์​์ ข้​้ อ คิ​ิ ด เห็​็ น และข้​้ อ เสนอแนะ ของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย 6 กลุ่​่�ม 22 ราย ทั้​้�งหน่​่วยงานภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน สถาบั​ันการเงิ​ิน ตั​ัวแทนแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ

ด้​้านพลั​ังงาน ตั​ัวแทนองค์​์กรพั​ัฒนาเอกชน ซึ่​่�งคณะวิ​ิจั​ัยดํ​ําเนิ​ินการสั​ัมภาษณ์​์เชิ​ิงลึ​ึกระหว่​่างเดื​ือน

พฤษภาคม–สิ​ิงหาคม 2566 คณะวิ​ิจั​ัยสรุ​ุ ปข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายโดยใช้​้ขั้​้น � ตอนจํ​ําแนกประเด็​็น ดั​ังนี้​้�

 จํ​ําแนกประเภทความยุ​ุติธิ รรมที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ออกเป็​็น 4 ประเภท ตาม ผลการทบทวนวรรณกรรม ได้​้แก่​่ ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการกระจาย (distributional justice),

ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงกระบวนการ (procedural justice), ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรั​ับรู้​้� (recognition justice) และ ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงสมานฉั​ันท์​์ (restorative justice)

 จํ​ําแนกและจั​ัดหมวดหมู่​่�ประเด็​็นพิ​ิจารณาในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ในบริ​ิบ ทของประเทศไทย ที่​่�ผู้​้�มี​ี ส่​่ ว นได้​้ เ สี​ี ย ให้​้ ค วามสํ​ํ า คั​ั ญ เป็​็ น 3 หมวดหมู่​่�หลั​ั ก ได้​้ แ ก่​่

การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาคพลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน, การปฏิ​ิรู​ูป โครงสร้​้างพลั​ังงานให้​้มีค ี วามยุ​ุติธ ิ รรมมากขึ้​้�น และ การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบ ต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

จากการสั​ังเคราะห์​์ตามขั้​้�นตอนข้​้างต้​้น คณะวิ​ิจั​ัยสรุ​ุ ปข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายได้​้ดั​ังตารางที่​่� 6 แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 3


นอกเหนื​ือจากประเด็​็นที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องโดยตรงกั​ับการพั​ัฒนา Thailand Taxonomy ดั​ังสรุ​ุ ปในตาราง ข้​้างต้​้น คณะวิ​ิจั​ัยเห็​็นว่​่า คณะทํ​ํางาน Thailand Taxonomy สามารถมี​ีบทบาทเชิ​ิงรุ​ุ กในการจั​ัด เวที​ี สานเสวนาระหว่​่ างภาคส่​่ วนต่​่ าง ๆ อย่​่างต่​่ อเนื่​่�อง เพื่​่�อเป็​็นเวที​ี ถกเถี​ี ยงอภิ​ิ ปรายในประเด็​็ น

ที่​่�ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ เสี​ี ยยั​ังมี​ีความคิ​ิ ดเห็​็นหรื​ือมุ​ุมมองที่​่�แตกต่​่ างกั​ั น เกี่​่�ยวกั​ั บการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงาน อั​ันได้​้แก่​่ นิ​ิยาม “ความมั่​่�นคงทางพลั​ังงาน”, ทางเลื​ือกในช่​่วงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน (เช่​่น ควร รวมพลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์หรื​ือไม่​่ บทบาทของเทคโนโลยี​ีดั​ักจั​ับและกั​ักเก็​็บคาร์​์บอน (CCS/CCU),

“ความเป็​็นธรรม” ในโครงสร้​้างค่​่าไฟฟ้​้า และประเด็​็น การชดเชยและเยี​ียวยาที่​่�เหมาะสมสํ​ําหรั​ับ ผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล

นอกจากนี้​้� คณะทํ​ํางาน Thailand Taxonomy ยั​ังสามารถแสดงจุ​ุดยื​ืนว่​่าสนั​ับสนุ​ุนการปฏิ​ิรู​ูปเชิ​ิง

โครงสร้​้างในภาคพลั​ังงาน โดยข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายที่​่�คณะวิ​ิจัย ั พบว่​่า ผู้​้�มี​ีส่ว ่ นได้​้เสี​ียอย่​่างน้​้อย 3 กลุ่​่�ม เสนอแนะต่​่อหน่​่วยงานภาครั​ัฐ ในทางที่​่�สอดคล้​้องกั​ันและไม่​่ขั​ัดแย้​้งกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยน ผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม มี​ีทั้​้�งหมด 5 ประเด็​็นดั​ังต่​่อไปนี้​้�

 เร่​่งส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตไฟฟ้​้าพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนแบบกระจายศู​ูนย์​์ โดยภาครั​ัฐและหน่​่วยงาน

กํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรเปิ​ิดให้​้ประชาชนผลิ​ิตไฟฟ้​้าได้​้อย่​่างเสรี​ี กํ​ําหนดให้​้มี​ีตลาดการ

ซื้​้�อ-ขายไฟฟ้​้าจากผู้​้�ผลิ​ิตรายย่​่อย การปรั​ับกฎเกณฑ์​์ให้​้ประชาชนและผู้​้�ประกอบการรายย่​่อย สามารถผลิ​ิตพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้ ้โดยง่​่าย และพั​ัฒนาระบบโครงข่​่ายไฟฟ้​้าอั​ัจฉริ​ิยะ (smart grid) ตลอดห่​่วงโซ่​่ระบบไฟฟ้​้า

 ควรสนั​ับสนุ​ุนด้​้านเงิ​ินทุ​ุน องค์​์ความรู้​้� นวั​ัตกรรม และเทคโนโลยี​ีด้​้านพลั​ังงาน ต่​่อผู้​้�ประกอบ­ กิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิล เพื่​่�อหนุ​ุนเสริ​ิมให้​้มี​ีความพร้​้อมต่​่อการยุ​ุติ​ิการดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจ

 ควรมี​ีการจั​ัดทํ​ําแผนการส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ชั​ัดเจน รวมถึ​ึงปรั​ับปรุ​ุ งแผนพั​ัฒนา

กํ​ํ า ลั​ั ง ผลิ​ิ ต ไฟฟ้​้ า ของประเทศ (Power Development Plan: PDP) ที่​่�ให้​้ ค วามสํ​ํ า คั​ั ญ กั​ั บ

การใช้​้ พ ลั​ั ง งานหมุ​ุ น เวี​ี ย น เพื่​่�อให้​้ เ กิ​ิ ด การเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานที่​่�เป็​็น รู​ู ป ธรรมมากขึ้​้� น เช่​่ น การปรั​ับปรุ​ุ งกฎหมายเพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้เกิ​ิดการแข่​่งขั​ันในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน การกํ​ําหนด

แนวทางลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกให้​้ครอบคลุ​ุมทุ​ุกอุ​ุตสาหกรรม การสนั​ับสนุ​ุนการพั​ัฒนา นวั​ัตกรรมด้​้านพลั​ังงานทดแทน เป็​็นต้​้น

 ควรกํ​ําหนดมาตรการสํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบการพลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ที่​่�ต้​้องมี​ีระบบกั​ักเก็​็บและ การสํ​ํารองไฟฟ้​้า

 รั​ัฐบาลควรมี​ีการจั​ัดทํ​ําพั​ันธสั​ัญญา (commitment) เมื่​่�อมี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านรั​ัฐบาล เพื่​่�อให้​้ การดํ​ําเนิ​ินนโยบายด้​้านพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเป็​็นไปอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 4


1. หลั​ักการและเหตุ​ุผล 1.1 ความสํ​ําคั​ัญและที่​่�มา ในรายงานประเมิ​ินสถานการณ์​์สภาพภู​ูมิ​ิอากาศฉบั​ับที่​่� 6 (Sixth Assessment Report) ซึ่​่�ง

คณะกรรมการระหว่​่ างรั​ัฐบาลว่​่ าด้​้ วยการเปลี่​่�ยนแปลงภู​ูมิ​ิอากาศ (The Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ตี​ีพิ​ิมพ์​์เผยแพร่​่ในเดื​ือนเมษายน ค.ศ. 2022 IPCC เตื​ือน

ว่​่ าประชาคมโลกมี​ีเวลาเหลื​ื อไม่​่ถึ​ึ ง 10 ปี​ี (ก่​่ อนปี​ี ค.ศ. 2030) ที่​่�จะลดปริ​ิมาณการปล่​่ อยก๊​๊ าซ

เรื​ือนกระจกลงอย่​่างฮวบฮาบเพื่​่�อลดหายนะจากความล้​้มเหลวของสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate breakdown) (IPCC, 2022) และประกาศว่​่าปั​ัจจุ​ุบัน ั โลกมี​ีทางเลื​ือกครบถ้​้วนสํ​ําหรั​ับทุ​ุกภาคส่​่วน ที่​่�จะลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกลงอย่​่างน้​้อยครึ่​่�งหนึ่​่�งภายในปี​ี ค.ศ. 2030

ความเร่​่ง ด่​่ ว นของการรั​ับ มื​ื อ กั​ั บ การเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ู มิ​ิ อ ากาศส่​่ ง ผลให้​้ “การเปลี่​่�ยนผ่​่ า น

พลั​ังงาน” หรื​ือ Energy Transition เป็​็นประเด็​็นที่​่�ถู​ูกพู​ูดถึ​ึงมากขึ้​้�นอย่​่างต่​่อเนื่​่�องทั่​่�วโลก เนื่​่�องจาก ภาคพลั​ังงานปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกคิ​ิดเป็​็นกว่​่าร้​้อยละ 75 ของปริ​ิมาณการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ในแต่​่ละปี​ี และเกื​ือบร้​้อยละ 90 ถ้​้านั​ับเฉพาะก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์ (UN, 2023)

เมื่​่�อหั​ั น มามองประเทศไทย ปั​ั จ จุ​ุ บั​ั น การผลิ​ิ ต ไฟฟ้​้ า ยั​ั ง ใช้​้ เ ชื้​้� อ เพลิ​ิ ง ฟอสซิ​ิ ล มากถึ​ึงร้​้อ ยละ 76 ณ สิ้​้�นเดื​ือนกั​ันยายน 2564 โดยหลั​ัก ๆ แบ่​่งเป็​็นก๊​๊าซธรรมชาติ​ิร้อ ้ ยละ 54 ถ่​่านหิ​ินลิ​ิกไนต์​์ร้อ ้ ยละ 22

(สํ​ํานั​ักงานนโยบายและแผนพลั​ังงาน, 2564) ในขณะที่​่�รั​ัฐบาลประกาศมุ่​่�งหน้​้าสู่​่�เป้​้าหมายความ เป็​็นกลางทางคาร์​์บอน (carbon neutral) ภายในปี​ี ค.ศ. 2050 และคาร์​์บอนสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ (Net Zero) ภายในปี​ี ค.ศ. 2065

ผลกระทบที่​่�รุ​ุ นแรงขึ้​้�นเรื่​่�อย ๆ ของการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ และคํ​ํามั่​่�นสั​ัญญาในการ

ปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์หรื​ือ Net Zero ของนานาประเทศ ส่​่งผลให้​้ “การเปลี่​่�ยนผ่​่าน

พลั​ังงาน” (energy transition) จากการผลิ​ิตและใช้​้พลั​ังงานคาร์​์บอนสู​ูง เป็​็นคาร์​์บอนตํ่​่าหรื​ือ

คาร์​์บอนเป็​็นศู​ูนย์​์ ถู​ูกพู​ูดถึ​ึงมากขึ้​้�นว่​่าเป็​็นการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�ขาดไม่​่ได้​้ อย่​่างไรก็​็ดี​ี การเปลี่​่�ยน ผ่​่านพลั​ังงานไม่​่ใช่​่ทางออกที่​่�ตรงไปตรงมาและไร้​้ซึ่​่�งผลกระทบใด ๆ โดยเฉพาะถ้​้าหากการเปลี่​่�ยน

ผ่​่านดั​ังกล่​่าวก่​่อให้​้เกิ​ิดหรื​ือซํ้​้าเติ​ิมความอยุ​ุติ​ิธรรมในระบบพลั​ังงานต่​่อผู้​้�ใช้​้หรื​ือผู้​้�ผลิ​ิตพลั​ังงาน บางกลุ่​่�ม โดยเฉพาะกลุ่​่�มเปราะบาง ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� แนวคิ​ิด “just energy transition” หรื​ือ “การ เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” จึ​ึงถู​ูกเสนอเป็​็นกรอบคิ​ิดในการออกแบบการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ธนาคารแห่​่งประเทศไทย (ธปท.) มี​ีบทบาทที่​่�ขาดไม่​่ได้ ้ในการผลั​ักดั​ันให้​้ภาคการเงิ​ิน ฟั​ันเฟื​ื อง

สํ​ําคั​ัญในระบอบเศรษฐกิ​ิจ จั​ัดสรรทุ​ุนในทางที่​่�สนั​ับสนุ​ุนการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน เป้​้าหมายเชิ​ิง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 5


นโยบายในด้​้านนี้​้�ของ ธปท. ปรากฏในเอกสาร “ภู​ูมิทั ิ ศ ั น์​์ใหม่​่ภาคการเงิ​ินไทย เพื่​่�อเศรษฐกิ​ิจดิ​ิจิทั ิ ล ั และการเติ​ิบโตอย่​่างยั่​่�งยื​ืน” ซึ่​่�งเผยแพร่​่ในเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ 2565 ว่​่า ธปท. จะ “ผลั​ักดั​ันให้​้ภาค การเงิ​ินประเมิ​ินความเสี่​่�ยงด้​้ านสิ่​่�งแวดล้​้ อมในการทํ​ํ าธุ​ุรกิ​ิ จอย่​่างจริ​ิงจั​ั งและเป็​็น ระบบ และมี​ี

ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�สนั​ับสนุ​ุนให้​้ภาคธุ​ุรกิ​ิจปรั​ับตั​ัวและลดกิ​ิจกรรมที่​่�ไม่​่เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม โดยวาง building blocks ที่​่�สํ​ําคั​ัญของ green ecosystem ร่​่วมกั​ับหน่​่วยงานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง” (ธปท., 2565) ซึ่​่�งเครื่​่�องมื​ือเชิ​ิงนโยบายที่​่� ธปท. จะนํ​ํามาใช้ ้ในการขั​ับเคลื่​่�อนเป้​้าหมายดั​ังกล่​่าว คื​ือ การนิ​ิยาม กิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม หรื​ือ taxonomy

ในเดื​ือนธั​ันวาคม 2565 คณะทํ​ํางาน Thailand Taxonomy ได้​้เผยแพร่​่ร่า่ ง Thailand Taxonomy

ระยะที่​่� 1 ครอบคลุ​ุ ม กิ​ิ จ กรรมในภาคการขนส่​่ ง และภาคพลั​ั ง งาน (คณะทํ​ํ า งาน Thailand Taxonomy, 2565) และต่​่อมาในเดื​ือนมิ​ิถุน ุ ายน 2566 คณะทํ​ํางานดั​ังกล่​่าวได้​้เผยแพร่​่ Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 ฉบั​ับสมบู​ูรณ์​์แล้​้ว

จากประสบการณ์​์การพั​ัฒนา taxonomy ในต่​่ างประเทศ มาตรฐานดั​ั งกล่​่ าวยั​ังเป็​็นที่​่�วิ​ิ พากษ์​์

วิ​ิจารณ์​์อย่​่างกว้​้างขวางสามารถรั​ับมื​ือกั​ับความเร่​่งด่​่วนของปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมได้​้หรื​ือไม่​่ อี​ีกทั้​้�ง

อาจมี​ีความสุ่​่�มเสี่​่�ยงที่​่�จะถู​ูกใช้ ้ในการ “ฟอกเขี​ียว” (greenwash) อี​ีกทั้​้�งหลั​ักเกณฑ์​์และกระบวนการ ประเมิ​ินความเสี่​่�ยงอาจไม่​่ครอบคลุ​ุมปั​ัจจั​ัยเสี่​่�ยงด้​้านสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อมอย่​่างรอบด้​้านเพี​ียงพอ งานวิ​ิ จั​ัยฉบั​ับนี้​้�มุ่​่�งศึ​ึกษานิ​ิยามและวาทกรรมของ “just energy transition” ในต่​่ างประเทศ แนวโน้​้มความหมายในบริ​ิบทไทย ตลอดจนนิ​ิยามและประสบการณ์​์การพั​ัฒนา taxonomy ใน

ต่​่ างประเทศ เพื่​่�อจั​ั ดทํ​ํ าข้​้อเสนอเชิ​ิงนโยบายว่​่ า แนวคิ​ิ ด “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม”

จะสามารถได้​้รับ ั การประยุ​ุกต์​์ใช้ ้ในการพั​ัฒนา Thailand Taxonomy ได้​้อย่​่างไร ทั้​้�งนี้​้� เพื่​่�อสร้​้าง

หลั​ักประกั​ันว่​่า Thailand Taxonomy จะมี​ีส่​่วนช่​่วยผลั​ักดั​ันให้​้ “ภาคการเงิ​ินประเมิ​ินความเสี่​่�ยง ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมในการทํ​ําธุ​ุรกิ​ิจอย่​่างจริ​ิงจั​ังและเป็​็นระบบ และมี​ีผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�สนั​ับสนุ​ุนให้​้ภาคธุ​ุรกิ​ิจ ปรั​ับตั​ัวและลดกิ​ิจกรรมที่​่�ไม่​่เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม” ดั​ังเจตนารมณ์​์ของ ธปท. ได้​้อย่​่างแท้​้จริ​ิง

1.2 วั​ัตถุ​ุประสงค์​์ โครงการ  เพื่​่�อทบทวนวรรณกรรมเกี่​่�ยวกั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม และ taxonomy ในต่​่าง ประเทศ

 เพื่​่�อสํ​ํารวจความคิ​ิดเห็​็นของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียด้​้านพลั​ังงาน ถึ​ึงความเห็​็นต่​่ อความเชื่​่�อมโยง ระหว่​่างความยุ​ุติ​ิธรรมพลั​ังงานกั​ับ Thai Taxonomy

 เพื่​่�อนํ​ําเสนอข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายต่​่อ ธปท. เรื่​่�อง แนวทางการพั​ัฒนา Thai Taxonomy ในทางที่​่�สอดคล้​้องกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 6


2. สรุ​ุปผลการทบทวนวรรณกรรม การจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว (taxonomy) และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม (just energy transition) 2 .1 “การจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว (taxonomy)”: นิ​ิยามและแนวทาง เพื่​่�อให้​้เข้​้าใจนิ​ิยาม และรู​ู ปแบบของมาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว คณะวิ​ิจั​ัย

ได้​้ทบทวนวรรณกรรมที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับ taxonomy ทั้​้�งในประเทศและต่​่างประเทศ ได้​้แก่​่ กรอบการ จั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ของ ธปท. รวมถึ​ึงมาตรฐานอื่​่�น ๆ ที่​่� ธปท. ใช้​้อ้​้างอิ​ิงในการจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy โดยมี​ีรายละเอี​ียด ดั​ังนี้​้�

นิ​ิยามมาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว ในปี​ี พ.ศ. 2545 Climate Bonds Initiative (CBI) ซึ่​่�งเป็​็นองค์​์กรระหว่​่างประเทศที่​่�ทํ​ํางานด้​้าน

การระดมเงิ​ินทุ​ุนในระดั​ับสากลเพื่​่�อการดํ​ําเนิ​ินการด้​้านการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ1 เป็​็น องค์​์กรแรกที่​่�เผยแพร่​่แนวคิ​ิดของการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว (green taxonomy) เป็​็น

แนวปฏิ​ิบัติ ั ิแบบสมั​ัครใจ (voluntary guideline) สํ​ําหรั​ับตลาดตราสารหนี้​้�สี​ีเขี​ียว (green bond market) (ธนาคารแห่​่งประเทศไทย, 2565) เพื่​่�อเป็​็นเครื่​่�องมื​ือช่​่วยให้​้ผู้​้�ออกตราสาร นั​ักลงทุ​ุน หน่​่ว ยงานภาครั​ัฐ เข้​้ า ใจได้​้ ว่​่ า การลงทุ​ุ น ที่​่�จะก่​่ อ ให้​้ เ กิ​ิ ด เศรษฐกิ​ิ จ คาร์​์บ อนตํ่​่ า คื​ื อ การลงทุ​ุ น ใด (Climate Bonds Initiative, n.d.)

Climate Bonds Taxonomy ใช้​้วิธี ิ รี ะบุ​ุสิน ิ ทรั​ัพย์​์ กิ​ิจกรรม และโครงการ ที่​่�มุ่​่�งเน้​้นการเกิ​ิดเศรษฐกิ​ิจ

คาร์​์บอนตํ่​่าที่​่�สอดคล้​้องกั​ับเป้​้าหมายตามความตกลงปารี​ีส (Paris Agreement) คื​ือ การรั​ักษา

ระดั​ับอุ​ุณหภู​ูมิเิ ฉลี่​่�ยของโลกไม่​่ให้​้สูงู ขึ้​้�นเกิ​ิน 1.5 องศาเซลเซี​ียส เมื่​่�อเที​ียบกั​ับยุ​ุคก่​่อนปฏิ​ิวัติ ั อุ ิ ต ุ สาห­ กรรม ทั้​้�งนี้​้� Climate Bonds Taxonomy จะได้​้รับ ั การปรั​ับปรุ​ุ งให้​้เป็​็นปั​ัจจุ​ุบัน ั อยู่​่�เสมอ โดยอ้​้างอิ​ิง 1

การดํ​ําเนิ​ินการของ CBI อาทิ​ิ การจั​ัดทํ​ําและพั​ัฒนามาตรฐาน Climate Bonds Standard and Certification

Scheme ซึ่​่�งเป็​็ น มาตรฐานที่​่�รั​ับ รองการลงทุ​ุ น ที่​่�มี​ี ส่​่ ว นก่​่ อ ให้​้ เ กิ​ิ ด การดํ​ํ า เนิ​ิ น การด้​้ า นการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพ ภู​ูมิ​ิอากาศ การมี​ีส่​่วนร่​่วมกั​ับภาคส่​่วนต่​่าง ๆ ในการกํ​ําหนดนโยบายการดํ​ําเนิ​ินการด้​้านการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพ

ภู​ูมิ​ิอากาศ การสนั​ับสนุ​ุนเครื่​่�องมื​ือและองค์​์ความรู้​้�ให้​้กั​ับองค์​์กร/หุ้​้�นส่​่วนความร่​่วมมื​ือต่​่าง ๆ เพื่​่�อกระตุ้​้�นให้​้เกิ​ิด การเปลี่​่�ยนแปลงการดํ​ําเนิ​ินงานด้​้านการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (Climate Bonds Initiative, 2023)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 7


จากข้​้อมู​ูลที่​่�เป็​็นวิ​ิทยาศาสตร์​์ เทคโนโลยี​ีใหม่​่ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น รวมถึ​ึงเกณฑ์​์เฉพาะเจาะจงของแต่​่ละภาค อุ​ุตสาหกรรม (Climate Bonds Initiative, n.d.)

ตั​ัวอย่​่าง taxonomy ที่​่�ได้​้รับ ั การยอมรั​ับในระดั​ับสากลให้​้เป็​็นต้​้นแบบของการจั​ัดทํ​ํามาตรฐานการ จั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว คื​ือ EU taxonomy เนื่​่�องจากมี​ีความละเอี​ียดและครอบคลุ​ุม

ภาคอุ​ุตสาหกรรมต่​่าง ๆ มากที่​่�สุ​ุด รวมถึ​ึงครอบคลุ​ุมวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้านความยั่​่�งยื​ืน นอกจากนี้​้� หลายประเทศทั่​่�วโลก อาทิ​ิ เม็​็ ก ซิ​ิ โ ก สหราชอาณาจั​ั ก ร จอร์​์เ จี​ี ย แอฟริ​ิก าใต้​้ บั​ั ง กลาเทศ ใช้​้

EU taxonomy เป็​็นต้​้นแบบในการจั​ัดทํ​ํามาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวของตน (NATIXIS, 2021; Climate Bonds Initiative, 2022)

สหภาพยุ​ุโรป (European Union: EU) นํ​ําแนวคิ​ิดการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวของ CBI ไปใช้ ้ในการพั​ัฒนา EU taxonomy โดยในปี​ี พ.ศ. 2549 คณะกรรมาธิ​ิการยุ​ุโรป (European Commission) ได้​้จั​ัดทํ​ําโครงการวิ​ิจั​ัยเรื่​่�องการจั​ัดทํ​ํามาตรฐานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับสิ​ินเชื่​่�อสี​ีเขี​ียว ซึ่​่�ง

นํ​ําไปสู่​่�การจั​ัดทํ​ํา EU taxonomy ในเวลาต่​่อมา (European Union, n.d.) ทั้​้�งนี้​้� EU taxonomy ให้​้นิย ิ ามคํ​ําว่​่า taxonomy ในความหมายที่​่�ใกล้​้เคี​ียงกั​ับ CBI กล่​่าวคื​ือ เป็​็นระบบการจั​ัดประเภท (classification system) กิ​ิ จกรรมทางเศรษฐกิ​ิ จที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ั บสิ่​่�งแวดล้​้ อมอย่​่างยั่​่�งยื​ืน ระบบ

ดั​ังกล่​่าวจะช่​่วยให้​้ภาคธุ​ุรกิ​ิจ นั​ักลงทุ​ุน และหน่​่วยงานภาครั​ัฐ มี​ีความเข้​้าใจตรงกั​ันว่​่ากิ​ิจกรรมใด ที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมอย่​่างยั่​่�งยื​ืน ซึ่​่�งจะช่​่วยป้​้องกั​ันนั​ักลงทุ​ุนจากการฟอกเขี​ียว (greenwashing) ช่​่วยให้​้ภาคธุ​ุรกิ​ิจสามารถดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจที่​่�ลดการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศได้​้มากขึ้​้�น

จี​ีนเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งประเทศที่​่�ถื​ือเป็​็นผู้​้�บุ​ุกเบิ​ิกการเงิ​ินสี​ีเขี​ียว (green finance) ดั​ังเห็​็นได้​้จากความ

พยายามในการพั​ัฒนานิ​ิยามการเงิ​ินที่​่�ยั่​่�งยื​ืน การสร้​้างตลาดการเงิ​ินที่​่�ยั่​่�งยื​ืน และการเคลื่​่�อนย้​้าย เงิ​ินทุ​ุนไปสู่​่�กิ​ิ จกรรมเศรษฐกิ​ิ จที่​่�ยั่​่�งยื​ืนและเป็​็นมิ​ิตรกั​ั บสิ่​่�งแวดล้​้ อม เพื่​่�อให้​้บรรลุ​ุเป้​้าหมายด้​้ าน

สิ่​่�งแวดล้​้อมของโลก (Organisation for Economic Cooperation and Development, n.d.) ทั้​้�งนี้​้� ธนาคารกลางจี​ีน (The People’s Bank of China: PBC) คณะกรรมการกํ​ํากั​ับดู​ูแลหลั​ักทรั​ัพย์​์

จี​ีน (China Securities & Regulatory Commission: CSRC) และคณะกรรมการการพั​ัฒนาและ ปฏิ​ิรู​ูปแห่​่งชาติ​ิจี​ีน (National Development & Reform Commission: NDRC) ได้​้จั​ัดทํ​ําหลั​ัก­ เกณฑ์​์การรั​ับรองตราสารหนี้​้�สีเี ขี​ียว (Green Bond Endorsed Projects Catalogue) ซึ่​่�งโดยทั่​่�วไป

มั​ักถู​ูกอ้​้างอิ​ิงเป็​็น taxonomy ของจี​ีน หลั​ักเกณฑ์​์ดั​ังกล่​่าวระบุ​ุประเภทอุ​ุตสาหกรรม โครงการ หรื​ือกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม (Climate Bonds Initiative, 2021 และ The People’s Bank of China, 2021) ที่​่�ช่​่วยให้​้การออกพั​ันธบั​ัตรหรื​ือตราสารหนี้​้�เพื่​่�อระดมทุ​ุน กิ​ิจกรรมหรื​ือโครงการด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมมี​ีความชั​ัดเจนมากยิ่​่�งขึ้​้�น

องค์​์กรหรื​ือหน่​่วยงานระดั​ับสากลอื่​่�น ๆ ก็​็ได้ ้ให้​้นิย ิ าม taxonomy ที่​่�ใกล้​้เคี​ียงกั​ับนิ​ิยามที่​่�ได้​้กล่​่าวถึ​ึง

ข้​้างต้​้น ตั​ัวอย่​่างเช่​่น ธนาคารโลก (World Bank) อ้​้างอิ​ิงนิ​ิยามของ taxonomy ของสมาคมตลาดทุ​ุน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 8


ระหว่​่างประเทศ (International Capital Market Association: ICMA) ซึ่​่�งระบุ​ุว่า่ การจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรม

เศรษฐกิ​ิ จสี​ี เขี​ียว คื​ื อ ระบบการจั​ั ดประเภทสํ​ํ าหรั​ับการระบุ​ุกิ​ิจกรรมหรื​ือการลงทุ​ุนที่​่�ขั​ับเคลื่​่�อน ประเทศไปสู่​่�เป้​้าหมายที่​่�เฉพาะเจาะจงด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมตามระยะเวลาที่​่�กํ​ําหนด (World Bank, 2020) กล่​่าวโดยสรุ​ุ ป มาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว หรื​ือ taxonomy ในบริ​ิบทของการเงิ​ิน ที่​่�ยั่​่�งยื​ืน คื​ือ ระบบการจั​ัดประเภทกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว ซึ่​่�งช่​่วยให้​้ภาคธุ​ุรกิ​ิจ นั​ักลงทุ​ุน และ หน่​่วยงานภาครั​ัฐ มี​ีข้อ ้ มู​ูลเพี​ียงพอในการตั​ัดสิ​ินใจดํ​ําเนิ​ินกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวด­

ล้​้อม ทั้​้�งนี้​้� การจั​ัดประเภทกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวดั​ังกล่​่าว ต้​้องสามารถปรั​ับปรุ​ุ งให้​้เป็​็นปั​ัจจุ​ุบั​ัน ได้​้ตามข้​้อค้​้นพบใหม่​่ในอุ​ุตสาหกรรมหรื​ือข้​้อมู​ูลทางวิ​ิทยาศาสตร์​์ที่​่�เป็​็นปั​ัจจุ​ุบัน ั (NATIXIS, 2021)

การจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวที่​่�สํ​ําคั​ัญของโลก ปั​ั จ จุ​ุ บั​ั น หลายประเทศทั่​่�วโลกเริ่​่�มจั​ั ด ทํ​ํ า มาตรฐานการจั​ั ด กลุ่​่�มกิ​ิ จ กรรมเศรษฐกิ​ิ จ สี​ี เ ขี​ี ย ว ทั้​้� ง นี้​้�

CBI ได้​้ เ ผยแพร่​่ร ายงาน Global green taxonomy development, alignment, and implementation ซึ่​่�งได้​้สรุ​ุ ปสถานะการจั​ัดทํ​ํามาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว ทั่​่�วโลก ดั​ังแสดงในแผนภาพที่​่� 1

แผนภาพที่ 1 สถานะการจั​ัดทํ​ํามาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวทั่​่�วโลก

ที่​่�มา: Climate Bonds Initiative (2022)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 9


อย่​่างไรก็​็ตาม เมื่​่�อพิ​ิจารณารู​ู ปแบบหรื​ือวิ​ิธีก ี ารจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวของแต่​่ละประเทศ พบว่​่ามี​ีรายละเอี​ียดปลี​ีกย่​่อยที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ทั้​้�งนี้​้� เมื่​่�อพิ​ิจารณาวิ​ิธีก ี ารจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจ สี​ีเขี​ียวที่​่�สํ​ําคั​ัญ อาจสามารถแบ่​่งได้​้เป็​็น 3 วิ​ิธี​ี (CBI, 2022; ธนาคารแห่​่งประเทศไทยม 2565)

 Whitelist-based taxonomies เป็​็นการระบุ​ุชั​ัดเจนว่​่ากิ​ิจกรรมใดเป็​็นกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจ

สี​ีเขี​ียวในแต่​่ละภาคอุ​ุตสาหกรรมหลั​ัก (sector) หรื​ือภาคอุ​ุตสาหกรรมย่​่อย (sub-sector) ตั​ัวอย่​่างประเทศที่​่�จั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวด้​้วยวิ​ิธีนี้​้ ี � คื​ือ จี​ีน รั​ัสเซี​ีย มองโกเลี​ีย

 Technical screening criteria-based taxonomies เป็​็นการกํ​ําหนดเกณฑ์​์เชิ​ิงปริ​ิมาณ (quantitative threshold) โดยกิ​ิจกรรมที่​่�ถู​ูกจั​ัดเป็​็นกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวจะต้​้องมี​ีส่​่วน

ทํ​ําให้​้บรรลุ​ุเป้​้าหมายทางสิ่​่�งแวดล้​้อมตามเกณฑ์​์ที่​่�กํ​ําหนด อี​ีกทั้​้�งกิ​ิจกรรมดั​ังกล่​่าวจะต้​้องไม่​่ สร้​้างผลกระทบเชิ​ิงลบอย่​่างมี​ีนัย ั สํ​ําคั​ัญ (Do No Significant Harm: DNSH) ต่​่อวั​ัตถุ​ุประสงค์​์

ด้​้ า นสิ่​่�งแวดล้​้ อ มอื่​่�น ๆ ด้​้ ว ย ตั​ั ว อย่​่ า งประเทศที่​่�จั​ั ด กลุ่​่�มกิ​ิ จ กรรมเศรษฐกิ​ิ จ สี​ี เ ขี​ี ย วด้​้ ว ยวิ​ิ ธี​ีนี้​้� คื​ือ โคลอมเบี​ีย แอฟริ​ิกาใต้​้ รวมถึ​ึงสหภาพยุ​ุโรป

 Principle-based taxonomies เป็​็นการกํ​ําหนดหลั​ักการสํ​ําคั​ัญ (core principles) สํ​ําหรั​ับ ตลาด โดยไม่​่ได้​้ระบุ​ุประเภทกิ​ิจกรรมหรื​ือไม่​่ได้​้กํ​ําหนดเกณฑ์​์เชิ​ิงปริ​ิมาณ ตั​ัวอย่​่างประเทศที่​่� จั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวด้​้วยวิ​ิธีนี้​้ ี � คื​ือ ญี่​่�ปุ่​่�น มาเลเซี​ีย

จะเห็​็นได้​้ว่​่ารู​ู ปแบบหรื​ือวิ​ิธีก ี ารจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวมี​ีความแตกต่​่างหลากหลาย จาก การทบทวนวรรณกรรม พบว่​่า งานวิ​ิจัย ั ส่​่วนใหญ่​่มัก ั จั​ัดทํ​ํากรณี​ีศึ​ึกษาเปรี​ียบเที​ียบ EU taxonomy

และ China taxonomy เนื่​่�องจากเป็​็นเขตเศรษฐกิ​ิจขนาดใหญ่​่ และเป็​็นผู้​้�นํ​ําด้​้านการเงิ​ินที่​่�ยั่​่�งยื​ืน

หนึ่​่�งในตั​ัวอย่​่างงานวิ​ิจั​ัยของ NATIXIS ซึ่​่�งเป็​็นวาณิ​ิชธนกิ​ิจจากฝรั่​่�งเศส ได้​้จั​ัดทํ​ํารายงาน New Geography of Taxonomies: The EU-China Taxonomy ซึ่​่�งฉายภาพเปรี​ียบเที​ียบความแตกต่​่าง ระหว่​่ าง EU taxonomy และ China taxonomy ซึ่​่�งสามารถสรุ​ุ ปประเด็​็ นเปรี​ียบเที​ี ยบสํ​ํ าคั​ั ญ (NATIXIS, 2021) ดั​ังแสดงในตารางที่​่� 1

จะเห็​็นได้​้ว่​่า EU taxonomy และ China taxonomy มี​ีความแตกต่​่างกั​ันในรายละเอี​ียดค่​่อนข้​้าง

มาก ทั้​้�งในวิ​ิธีก ี ารจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว การบั​ังคั​ับใช้​้ รวมไปถึ​ึงการกํ​ําหนดหลั​ักการ Do Not Significant Harm (DNSH) และ Minimum Social Safeguards (MSS) ซึ่​่�ง EU taxonomy กล่​่าวไว้​้อย่​่างชั​ัดเจน

ความแตกต่​่ างเหล่​่ านี้​้�สร้​้างความสั​ั บสนให้​้กั​ับภาคธุ​ุรกิ​ิ จและนั​ักลงทุ​ุนเมื่​่�อต้​้ องดํ​ํ าเนิ​ินกิ​ิ จกรรม

เศรษฐกิ​ิ จข้​้ามพรมแดน ดั​ั งนั้​้�น การพั​ัฒนาการจั​ั ดกลุ่​่�มกิ​ิ จกรรมเศรษฐกิ​ิ จสี​ี เขี​ียวในปั​ัจจุ​ุบั​ันจึ​ึง มุ่​่�งเน้​้นให้​้เกิ​ิดความสอดคล้​้องกั​ันเพื่​่�อแก้ ้ไขปั​ัญหาดั​ังกล่​่าว (Climate Bonds Initiative, 2022)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 10


ตารางที่ 1 เปรี​ียบเที​ียบความแตกต่​่างระหว่​่าง EU-China Taxonomy

ประเด็​็น

วั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม

(รายละเอี​ียดแสดงในตารางที่​่� 2) วิ​ิธีก ี ารจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรม เศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว

EU taxonomy

6 วั​ัตถุ​ุประสงค์​์ Technical screening

criteria-based taxonomies

China taxonomy

(Green Bond Endorsed Projects Catalogue)

3 วั​ัตถุ​ุประสงค์​์

Whitelist-based taxonomies

หลั​ักการ Do Not Significant Harm (DNSH): จะต้​้องเป็​็นกิ​ิจกรรมที่​่�

ไม่​่สร้​้างผลกระทบเชิ​ิงลบอย่​่างมี​ี นั​ัยสํ​ําคั​ัญต่​่อวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้าน

กํ​ําหนด

ไม่​่กํ​ําหนด

กํ​ําหนด

ไม่​่กํ​ําหนด

สิ่​่�งแวดล้​้อมอื่​่�น ๆ

หลั​ักการ Minimum social safeguards: ต้​้องคํ​ํานึ​ึงถึ​ึง ผลกระทบด้​้านสั​ังคม

บริ​ิษั​ัทผู้​้�ลงทุ​ุนขนาดใหญ่​่ใน EU มี​ีหน้​้าที่​่�ต้​้องเปิ​ิดเผยความ การบั​ังคั​ับใช้​้

สอดคล้​้องของกิ​ิจกรรม

เศรษฐกิ​ิจกั​ับวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมของ

EU taxonomy ภายในปี​ี 2567

ผู้​้�ใช้​้หลั​ัก (primary users)

• ประเทศสมาชิ​ิก EU • บริ​ิษั​ัทขนาดใหญ่​่ • นั​ักลงทุ​ุน

เป็​็นภาคบั​ังคั​ับสํ​ําหรั​ับผู้​้�ออก

พั​ันธบั​ัตรหรื​ือตราสารหนี้​้�สี​ีเขี​ียว ในจี​ีน (mandatory for China onshore green bonds issuance)

• สถาบั​ันการเงิ​ิน • ภาคธุ​ุรกิ​ิจ

ที่​่�มา: NATIXIS (2021)

ตั​ัวอย่​่างงานวิ​ิจั​ัยที่​่�ถื​ือว่​่าเป็​็นพั​ัฒนาการสํ​ําคั​ัญของประเด็​็นนี้​้� คื​ือ รายงาน EU-China Common

Ground Taxonomy (CGT) Instruction Report จั​ัดทํ​ําโดยคณะทํ​ํางานของ International Platform on Sustainable Finance (IPSF) (Climate Bonds Initiative, 2021) ซึ่​่�งเป็​็นเครื​ือข่​่าย ความร่​่วมมื​ือของหน่​่วยงานด้​้านนโยบายหลายประเทศเพื่​่�อแลกเปลี่​่�ยนแนวทางปฏิ​ิบัติ ั ิด้า ้ นการเงิ​ิน ที่​่�ยั่​่�งยื​ืน (European Commision, n.d.)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 11


ตารางที่ 2 เปรี​ียบเที​ียบวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมของ EU taxonomy และ China taxonomy EU objectives

China objectives

การลดปั​ัญหาการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate change mitigation)

การตอบสนองการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate change response)

การปรั​ับตั​ัวต่​่อการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate change adaptation)

การใช้​้ทรั​ัพยากรนํ้​้าอย่​่างยั่​่�งยื​ืน (sustainable use

and protection of marine and water resources)

การฟื้​้� นฟู​ูสภาพแวดล้​้อม (environmental

improvement; pollution control and ecological

การอนุ​ุรัก ั ษ์​์ ความหลากหลายทางชี​ีวภาพ

conservation)

ของระบบนิ​ิเวศ (protection and restoration of biodiversity)

การเปลี่​่�ยนผ่​่านสู่​่�เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน

การใช้​้ทรั​ัพยากรอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพมากขึ้​้�น

(transition to a circular economy)

(more efficient resource utilization;

circular economy, waste management

การป้​้องกั​ันและควบคุ​ุมมลพิ​ิษ (pollution

and pollution prevention)

prevention and control)

ที่​่�มา: NATIXIS (2021) และ IPSF Taxonomy Working Group (2021)

CGT เป็​็นการศึ​ึกษาเปรี​ียบเที​ียบ EU taxonomy และ China taxonomy เพื่​่�อให้​้มี​ีแนวทางใน

การพั​ัฒนาปรั​ับปรุ​ุ งการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวทั่​่�วโลกให้​้มีค ี วามสอดคล้​้องกั​ันมากยิ่​่�งขึ้​้�น โดยในระยะเริ่​่�มต้​้นกํ​ําหนดขอบเขตการศึ​ึกษาเฉพาะกิ​ิจกรรมที่​่�สอดคล้​้องตามวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้าน

การลดปั​ั ญ หาการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ู มิ​ิ อ ากาศ (climate change mitigation) ของทั้​้� ง EU taxonomy และ China taxonomy เท่​่านั้​้�น โดยระเบี​ียบวิ​ิธีใี นการเปรี​ียบเที​ียบ EU-China taxonomy สามารถสรุ​ุ ปพอสั​ังเขปได้​้ ดั​ังนี้​้� (IPSF Taxonomy Working Group, 2021)

ในขั้​้�นแรก จะเป็​็นการคั​ัดกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวจาก EU taxonomy และ China taxonomy

ที่​่�มี​ีวัต ั ถุ​ุประสงค์​์ด้า ้ นการลดปั​ัญหาการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิอ ิ ากาศ นํ​ํากิ​ิจกรรมดั​ังกล่​่าวไปเที​ียบ กั​ับ International Standard Industrial Classification of All Economic Activities (ISIC)

และใส่​่รหั​ัสอ้​้างอิ​ิงเพื่​่�อให้​้สามารถเปรี​ียบเที​ียบกั​ันได้​้ง่​่ายขึ้​้�น แล้​้วจึ​ึงเลื​ือกภาคอุ​ุตสาหกรรมที่​่�มี​ี ส่​่วนสํ​ําคั​ัญในการลดการปล่​่อยคาร์​์บอนมาพิ​ิจารณา

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 12


ตารางที่ 3 ภาคอุ​ุตสาหกรรมสํ​ําคั​ัญภายใต้​้ CGT ISIC Agriculture forestry and fishing

Level 1 EU Taxonomy

Level 1 China 4. Ecology and Environ�� -

1. Forestry

ment-related sector

1. Energy Saving and C. Manufacturing

Environmental

3. Manufacturing

Protection Industry

3. Clean Energy Industry D. Electricity, gas, steam and air conditioning supply

E. W ater supply;

sewerage waste

management and

remediation activities

3. Clean Energy Industry

4. Energy

5. Sustainable Upgrade of Infrastructure

Priority High priority

Prioritise some sub-sectors

High priority

1. Energy Saving and

5. Water supply,

Environmental

sewerage, waste

Protection Industry

management and

2. Clean Production

remediation.

Waste = high priority Water = low priority

Industry

1. Energy Saving and F. Construction

Environmental

7. Construction and

Protection Industry

real estate activities.

5. Sustainable Upgrade

High priority

of Infrastructure

H. T ransportation and storage

J. Information and

8. Information and

M. Professional scientific

9. Professional,

communication and technical activities

5. Sustainable Upgrade

6. Transport

of Infrastructure

communication. scientific and

technical activities 2. Environmental

protection and

High priority

6. Green Services

Not included

6. Green Services

Not included

Not included

restoration activities. ที่​่�มา: IPSF Taxonomy Working Group (2021)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 13


ในขั้​้�นต่​่อมา คณะทํ​ํางานจะพิ​ิจารณากิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจดั​ังกล่​่าว โดยกิ​ิจกรรมที่​่�มี​ีส่​่วนทั​ับซ้​้อนกั​ัน ชั​ัดเจน (areas with clear overlap) และสามารถนํ​ํามาเปรี​ียบเที​ียบกั​ันได้​้ภายใต้​้ CGT ประกอบ ด้​้วยกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจ 79 กิ​ิจกรรม ใน 6 ภาคอุ​ุตสาหกรรมตาม ISIC ประกอบด้​้วย

 การเกษตร ป่​่าไม้​้ และประมง (agriculture, forestry, and fishing)  ภาคการผลิ​ิต (manufacturing)  การผลิ​ิตกระแสไฟฟ้​้า (electricity, gas, steam, and air conditioning supply)  การจั​ัดหานํ้​้า การจั​ัดการนํ้​้าเสี​ีย การจั​ัดการของเสี​ีย และกิ​ิจกรรมฟื้​้� นฟู​ู (water supply, sewage, waste management and remediation activities)

 การก่​่อสร้​้าง (construction)  การขนส่​่ง และการจั​ัดเก็​็บ (transportation and storage) กล่​่าวโดยสรุ​ุ ป จะเห็​็นได้​้ว่า ่ ปั​ัจจุ​ุบัน ั รู​ู ปแบบการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวยั​ังมี​ีความแตกต่​่าง หลากหลายอยู่​่�มาก ทั้​้�งในด้​้านวิ​ิธีก ี ารจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจ การบั​ังคั​ับใช้​้ ดั​ังนั้​้�น การจั​ัดกลุ่​่�ม กิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวให้​้เข้​้ากั​ับบริ​ิบทของประเทศไทย จึ​ึงมี​ีความท้​้าทายที่​่�ต้​้องเผชิ​ิญอยู่​่�มาก

กรอบการจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ของคณะทํ​ํางาน Thailand Taxonomy คณะวิ​ิจัย ั ได้​้ทบทวนกรอบการจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ของ ธปท. เพื่​่�อให้​้เห็​็นความสอดคล้​้อง กั​ับ taxonomy ในระดั​ับสากล

ในฐานะองค์​์กรสมาชิ​ิกในคณะทํ​ํางาน Thailand Taxonomy ธปท. กํ​ําหนดทิ​ิศทางการพั​ัฒนาสู่​่�

ความยั่​่�งยื​ืนด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมภายใต้​้ภูมิ ู ทั ิ ัศน์​์ใหม่​่ภาคการเงิ​ินไทย ซึ่​่�งให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับการจั​ัดสรร

เงิ​ิ น ทุ​ุ น แก่​่ ภ าคธุ​ุร กิ​ิ จ เพื่​่�อให้​้ ส ามารถปรั​ับ รู​ู ป แบบการทํ​ํ า ธุ​ุร กิ​ิ จ ให้​้ ร องรั​ับ การเปลี่​่�ยนแปลงด้​้ า น

สิ่​่�งแวดล้​้อมได้​้ โดยหนึ่​่�งในแนวทางการดํ​ําเนิ​ินงานที่​่�สํ​ําคั​ัญของ ธปท. คื​ือ การจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ให้​้เป็​็นมาตรฐานกลางในการกํ​ําหนดนิ​ิยามของกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม ของประเทศ (ธนาคารแห่​่งประเทศไทย, ม.ป.ป.) ซึ่​่�งจะช่​่วยให้​้ภาครั​ัฐ ภาคเอกชน และสถาบั​ัน­

การเงิ​ิน มี​ีความเข้​้าใจเกี่​่�ยวกั​ับกิ​ิจกรรมที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�ตรงกั​ัน สามารถเตรี​ียมความ พร้​้อมในการปรั​ับตั​ัวในช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่านได้​้ กล่​่าวคื​ือ ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน

สามารถนํ​ํ า taxonomy ไปใช้​้ อ อกแบบมาตรการจู​ู ง ใจด้​้ า นสิ่​่�งแวดล้​้ อ มที่​่�เหมาะสมกั​ั บ ธุ​ุ ร กิ​ิ จ

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 14


ภาคเอกชนสามารถนํ​ําไปใช้​้ประเมิ​ินความพร้​้อมและวางแผนการปรั​ับตั​ัวในการดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจที่​่� คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงสิ่​่�งแวดล้​้อม และสถาบั​ันการเงิ​ินสามารถนํ​ําไปใช้​้ออกแบบผลิ​ิตภั​ั ณฑ์​์ และบริ​ิการทาง การเงิ​ินที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงสิ่​่�งแวดล้​้อม (ธนาคารแห่​่งประเทศไทย, ม.ป.ป.)

ธปท. ได้​้จั​ัดตั้​้�งคณะทํ​ํางานขั​ับเคลื่​่�อนการกํ​ําหนดนิ​ิยามและจั​ัดหมวดหมู่​่�โครงการหรื​ือกิ​ิจกรรม ในภาคเศรษฐกิ​ิจที่​่�ยั่​่�งยื​ืนสํ​ําหรั​ับประเทศไทย (คณะทํ​ํางาน Thailand Taxonomy2) ซึ่​่�งได้​้จั​ัดทํ​ํา และเผยแพร่​่ร่า ่ งมาตรฐานการจั​ั ดกลุ่​่�มกิ​ิ จกรรมทางเศรษฐกิ​ิ จที่​่�คํ​ํ านึ​ึงถึ​ึงสิ่​่�งแวดล้​้ อมเมื่​่�อวั​ั น ที่​่� 26 ธั​ันวาคม 2565 และต่​่อมาเผยแพร่​่ Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 ฉบั​ับสมบู​ูรณ์​์ ในวั​ันที่​่� 30 มิ​ิถุน ุ ายน 2566

Taxonomy ดั​ังกล่​่าว จั​ัดทํ​ําโดยอ้​้างอิ​ิง EU taxonomy โดยการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจ พิ​ิจารณาจากวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม และภาคเศรษฐกิ​ิจที่​่�จะดํ​ําเนิ​ินการ โดยวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมของ Thailand Taxonomy มี​ี 6 วั​ัตถุ​ุประสงค์​์ ได้​้แก่​่

 การลดปั​ัญหาการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate change mitigation)  การปรั​ับตั​ัวต่​่อการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate change adaptation)  การใช้​้ทรั​ัพยากรนํ้​้าอย่​่างยั่​่�งยื​ืน (sustainable use and protection of marine and water resources)

 การใช้​้ทรั​ัพยากรอย่​่างยั่​่�งยื​ืนและปรั​ับตั​ัวสู่​่�เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน (resource resilience and transition to a circular economy)

 การป้​้องกั​ันและควบคุ​ุมมลพิ​ิษ (pollution prevention and control)  การอนุ​ุรักั ษ์​์ ความหลากหลายทางชี​ีวภาพของระบบนิ​ิเวศ (protection and restoration of biodiversity)

Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 จะพิ​ิจารณาเฉพาะวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ข้​้อ 1 การลดปั​ัญหาการเปลี่​่�ยน แปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศเท่​่านั้​้�น โดยกิ​ิจกรรมที่​่�พิ​ิจารณาว่​่าเป็​็นไปตามวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ข้​้อ 1 คื​ือ

2

ประกอบด้​้ ว ยผู้​้�แทนจากธนาคารแห่​่ ง ประเทศไทย (ธปท.) สํ​ํ า นั​ั ก งาน ก.ล.ต. สํ​ํ า นั​ั ก งานนโยบายและแผน

ทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิและสิ่​่�งแวดล้​้อม กรมพั​ัฒนาพลั​ังงานทดแทนและอนุ​ุรัก ั ษ์​์พลั​ังงาน สํ​ํานั​ักงานนโยบายและแผน พลั​ังงาน สํ​ํานั​ักงานนโยบายและแผนการขนส่​่งและจราจร องค์​์การบริ​ิหารจั​ัดการก๊​๊าซเรื​ือนกระจก (องค์​์การ มหาชน) สภาหอการค้​้าแห่​่งประเทศไทย สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคมธนาคาร นานาชาติ​ิ และสมาคมสถาบั​ันการเงิ​ินของรั​ัฐ

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 15


• กิ​ิจกรรมที่​่�หลี​ีกเลี่​่�ยงการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก (avoidance of GHG emissions) ได้​้แก่​่

กิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียว (green activities) ซึ่​่�งไม่​่มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกเลย หรื​ือมี​ีการปล่​่อย ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกน้​้อยมาก (เกื​ือบเป็​็นศู​ูนย์​์)

• กิ​ิ จกรรมที่​่�ต้​้ องลดการปล่​่ อยก๊​๊ าซเรื​ือนกระจก (reduction of GHG emissions) ได้​้ แ ก่​่

กิ​ิจกรรมที่​่�มี​ีความสํ​ําคั​ัญต่​่อภาคเศรษฐกิ​ิจ แต่​่ยั​ังมี​ีการปล่​่อยคาร์​์บอนในระดั​ับสู​ูง (เช่​่น การ ผลิ​ิตเหล็​็ก ซี​ีเมนต์​์ อลู​ูมิ​ิเนี​ียม) กิ​ิจกรรมกลุ่​่�มนี้​้�ถื​ือเป็​็นกิ​ิจกรรมที่​่�อยู่​่�ในช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน และ ต้​้องมี​ีการปรั​ับปรุ​ุ งพั​ัฒนาการดํ​ําเนิ​ินการอย่​่างมี​ีนัย ั สํ​ําคั​ัญเพื่​่�อลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก

• กิ​ิจกรรมสนั​ับสนุ​ุนให้​้เกิ​ิดการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก (enabling GHG-reducing activities) กิ​ิจกรรมกลุ่​่�มนี้​้�ไม่​่ได้​้ลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกโดยตั​ัวมั​ันเอง แต่​่มี​ีส่​่วนช่​่วย ให้​้การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพมากขึ้​้�น เช่​่น ระบบสายส่​่งพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน (renewable energy transmission) เทคโนโลยี​ีดั​ักจั​ับคาร์​์บอน (carbon capture) เป็​็นต้​้น นอกจากนี้​้� กิ​ิ จกรรมดั​ั งกล่​่ าวจะต้​้ องเป็​็นกิ​ิ จกรรมที่​่�ไม่​่สร้​้างผลกระทบเชิ​ิงลบอย่​่างมี​ีนั​ัยสํ​ํ าคั​ั ญ (Do No Significant Harm: DNSH) ต่​่อวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมอื่​่�น ๆ และต้​้องคํ​ํานึ​ึงถึ​ึง ผลกระทบด้​้ า นสั​ั ง คม (Minimum Social Safeguards: MSS) ซึ่​่�งจะเห็​็ น ได้​้ ว่​่ า Thailand

Taxonomy มี​ีรู​ูปแบบการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียวที่​่�อ้​้างอิ​ิง EU taxonomy อย่​่างชั​ัดเจน Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 ครอบคลุ​ุมภาคพลั​ังงานและภาคการขนส่​่งก่​่อน เนื่​่�องจากเป็​็น

ภาคเศรษฐกิ​ิจที่​่�มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในสั​ัดส่​่วนที่​่�สู​ูง (ธนาคารแห่​่งประเทศไทย, 2565) โดยสามารถสรุ​ุ ปขั้​้�นการประเมิ​ินและจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสํ​ําหรั​ับภาคพลั​ังงานและภาคการ ขนส่​่งได้​้ ดั​ังนี้​้�

ขั้​้�นที่​่� 1 เป็​็นการประเมิ​ินว่​่ ากิ​ิ จกรรมนั้​้�นอยู่​่�ภายใต้​้ ภาคพลั​ั งงานและภาคการขนส่​่ งหรื​ือไม่​่ หาก

ประเมิ​ิ น ว่​่ า เป็​็ น กิ​ิ จ กรรมที่​่�อยู่​่�ในภาคพลั​ั ง งานและภาคการขนส่​่ ง จะดํ​ํ า เนิ​ิ น การต่​่ อ ในขั้​้� น ที่​่� 2 แต่​่ ห ากไม่​่ ไ ด้​้ เ ป็​็น กิ​ิ จ กรรมที่​่�อยู่​่�ในภาคพลั​ั ง งานและภาคการขนส่​่ ง จะถื​ื อ ว่​่ า เป็​็น กิ​ิ จ กรรมที่​่�ไม่​่ เกี่​่�ยวข้​้อง (ineligible activity/not listed activity) และไม่​่ต้​้องดํ​ําเนิ​ินการต่​่อ

ขั้​้น � ที่​่� 2 เป็​็นการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจ โดยอ้​้างอิ​ิงหลั​ักการทางวิ​ิทยาศาสตร์​์สิ่​่�งแวดล้​้อม และ ใช้​้ระบบ traffic-light system เพื่​่�อจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจ ดั​ังนี้​้�

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 16


ตารางที่ 4 ระบบ traffic-light system เพื่​่�อจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจ traffic-light

ความหมาย

system

วั​ันสิ้​้�นสุ​ุด (sunset date)

• กิ​ิจกรรมที่​่�ลดปั​ัญหาการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ โดยมี​ีการปล่​่อย

สี​ีเขี​ียว (green)

ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิใกล้​้เคี​ียงหรื​ือเท่​่ากั​ับศู​ูนย์​์ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน โดยอ้​้างอิ​ิง ตั​ัวชี้​้�วั​ัดที่​่�คาดการณ์​์จากแบบจํ​ําลองของสากลว่​่าจะสามารถบรรลุ​ุ

-

เป้​้าหมายการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ในปี​ี พ.ศ. 2593

(ค.ศ. 2050) เพื่​่�อควบคุ​ุมอุ​ุณหภู​ูมิ​ิโลกให้​้สูงู ขึ้​้�นไม่​่เกิ​ิน 1.5 องศาเซลเซี​ียส ตามความตกลงปารี​ีส

• กิ​ิจกรรมที่​่�ยั​ังไม่​่มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิใกล้​้เคี​ียงหรื​ือเท่​่ากั​ับ

ภายในปี​ี ค.ศ. 2040

• กิ​ิจกรรมกลุ่​่�มนี้​้�ปั​ัจจุ​ุบั​ันสามารถลดปั​ัญหาได้​้บ้​้าง แต่​่ยั​ังสามารถปรั​ับปรุ​ุ ง

พั​ัฒนาปรั​ับปรุ​ุ งและเปลี่​่�ยน

ศู​ูนย์​์ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน และอยู่​่�ระหว่​่างปรั​ับตั​ัวเพื่​่�อลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก

สี​ีเหลื​ือง (amber)

ให้​้ดี​ีมากขึ้​้�นได้​้ โดยต้​้องมี​ีการจั​ัดทํ​ําเส้​้นทางการลดคาร์​์บอน (decarbonization pathways) และกรอบเวลาที่​่�น่​่าเชื่​่�อถื​ือ

กิ​ิจกรรมสี​ีเหลื​ืองต้​้องมี​ีการ ผ่​่านไปเป็​็นกิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียว

• เงื่​่�อนไขการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกภายใต้​้กิ​ิจกรรมสี​ีเหลื​ือง จะอ้​้างอิ​ิง จากเป้​้าหมายการมี​ีส่​่วนร่​่วมที่​่�จะลดก๊​๊าซเรื​ือนกระจกของประเทศ (Nationally Determined Contribution: NDC)

สี​ีแดง (red)

• กิ​ิจกรรมที่​่�ไม่​่สามารถถู​ูกประเมิ​ินได้​้ว่​่าเป็​็นมิ​ิตรต่​่อการลดก๊​๊าซเรื​ือน

กระจกสุ​ุทธิ​ิได้​้ และไม่​่เข้​้าข่​่ายตามเงื่​่�อนไขและตั​ัวชี้​้�วั​ัดสํ​ําหรั​ับกิ​ิจกรรม สี​ีเขี​ียวหรื​ือสี​ีเหลื​ือง

ภายในปี​ี ค.ศ. 2040

ต้​้องไม่​่มี​ีการดํ​ําเนิ​ินกิ​ิจกรรม สี​ีแดงอย่​่างสิ้​้�นเชิ​ิง (เช่​่น โรงไฟฟ้​้าถ่​่านหิ​ิน)

ที่​่�มา: ธนาคารแห่​่งประเทศไทย (2565)

แผนภาพที่ 2 เส้​้นทางไปสู่​่�เป้​้าหมายการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ในปี​ี ค.ศ. 2050 ของกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจแต่​่ละกลุ่​่�มภายใต้​้ Thailand Taxonomy

ที่​่�มา: ธนาคารแห่​่งประเทศไทย (2565) แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 17


2 .2 “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” (just energy transition): นิ​ิยามและวาทกรรม นิ​ิยาม “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” คํ​ําว่​่า “Just Energy Transition” หรื​ือ “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” (ต่​่อไปในรายงาน วิ​ิจั​ัยจะใช้​้ตั​ัวย่​่อ JET) มาจากการนํ​ําคํ​ําว่​่า “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน” (Energy Transition) ซึ่​่�ง

หมายถึ​ึง การผลิ​ิตและบริ​ิโภคพลั​ังงานจากเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิลเป็​็น เป็​็นการผลิ​ิตและบริ​ิโภคคาร์​์บอน เป็​็นศู​ูนย์​์หรื​ือคาร์​์บอนตํ่​่า มารวมกั​ับคํ​ําว่​่า “ยุ​ุติ​ิธรรม” (Just) ดั​ังนั้​้�น “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” จึ​ึงหมายถึ​ึงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงานในทางที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมกั​ั บทุ​ุกภาคส่​่ วน ไม่​่ส่​่งผลให้​้ ประชากรกลุ่​่�มใดกลุ่​่�มหนึ่​่�งต้​้องรั​ับภาระหรื​ือผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านเกิ​ินสมควร หรื​ือถู​ูก กี​ี ดกั​ั นออกจากการผลิ​ิ ตหรื​ือใช้​้พลั​ั งงานคาร์​์บอนตํ่​่ าหรื​ือคาร์​์บอนเป็​็นศู​ูนย์​์ (Garcia-Garcia, Carpintero และ Buendia, 2020)

ปั​ัจจุ​ุบัน ั แนวคิ​ิด JET ถู​ูกนํ​ําไปใช้ ้ในหลายระดั​ับตั้​้�งแต่​่ระดั​ับโลกจนถึ​ึงระดั​ับท้​้องถิ่​่�น และใช้​้กั​ับเชื้​้�อ­

เพลิ​ิงเฉพาะชนิ​ิดได้​้ด้​้วย ยกตั​ัวอย่​่างเช่​่น โครงการ “Just Transition for All” ของธนาคารโลก ให้​้การสนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินและองค์​์ความรู้​้�ในการปิ​ิดหรื​ือรื้​้�อถอนโครงการโรงไฟฟ้​้าถ่​่านหิ​ินและ เหมื​ืองถ่​่านหิ​ิน โดยเน้​้น “การทํ​ํางานกั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียทุ​ุกภาคส่​่วนเพื่​่�อสร้​้างแผน นโยบาย และ การปฏิ​ิรู​ูปที่​่�จํ​ําเป็​็นต่​่อการบรรเทาผลกระทบด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม สนั​ับสนุ​ุนคนที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบ และ สร้​้างอนาคตพลั​ังงานสะอาด” (World Bank, 2023)

Carley และ Konisky (2020) สรุ​ุ ปจากการทบทวนวรรณกรรมว่​่า “ความยุ​ุติธ ิ รรมพลั​ังงาน” หรื​ือ Energy Justice หรื​ือ Just Energy อาจนั​ับได้​้ว่​่าเป็​็นแขนงย่​่อยของ ความยุ​ุติ​ิธรรมสิ่​่�งแวดล้​้อม

(Environmental Justice) ซึ่​่�งเน้​้นการมองผลกระทบตลอดโครงสร้​้างห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานและระบบ

พลั​ังงาน เน้​้นการเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานในราคาที่​่�เหมาะสม มี​ีความปลอดภั​ัยและยั่​่�งยื​ืน เพื่​่�อให้​้สมาชิ​ิกทุ​ุก คนในสั​ังคมสามารถมี​ีคุณ ุ ภาพชี​ีวิต ิ ที่​่�ดี​ี โดย “ความยุ​ุติธ ิ รรมพลั​ังงาน” มี​ีหลั​ักการ 4 ประการ ได้​้แก่​่

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการกระจาย (distributional justice) หมายถึ​ึง การสร้​้างหลั​ักประกั​ันว่​่า

จะไม่​่มีป ี ระชาชนกลุ่​่�มใดกลุ่​่�มหนึ่​่�งต้​้องแบกรั​ับผลกระทบทางลบจากภาคพลั​ังงานมากเกิ​ินควร หรื​ือบางกลุ่​่�มถู​ูกกี​ีดกั​ันจากการใช้​้ประโยชน์​์จากพลั​ังงาน

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงกระบวนการ (procedural justice) หมายถึ​ึง การเน้​้นการมี​ีส่​่วนร่​่วมของ ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียทุ​ุกฝ่​่ายในกระบวนการตั​ัดสิ​ินใจ

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรั​ับรู้​้� (recognition justice) หมายถึ​ึง การรั​ับรู้​้�ในศั​ักดิ์​์�ศรี​ีของ

มนุ​ุษย์​์ มองเห็​็นความอยุ​ุติ​ิธรรมที่​่�สั่​่�งสมมาจากในอดี​ีต โดยเฉพาะความไม่​่เท่​่าเที​ียมของกลุ่​่�ม

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 18


เปราะบางเมื่​่�อเที​ียบกั​ับกลุ่​่�มอื่​่�น ๆ ในสั​ังคม และพยายามขจั​ัดการดู​ูหมิ่​่�นศั​ักดิ์​์�ศรี​ี แนวคิ​ิดความ ยุ​ุติ​ิธรรมดั​ังกล่​่าวเชื่​่�อมโยงกั​ับการเมื​ืองเรื่​่�องอั​ัตลั​ักษณ์​์ (identity politics)

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงสมานฉั​ันท์​์ (restorative justice) หมายถึ​ึง การชดเชยเยี​ียวยาความ สู​ูญเสี​ียและความเสี​ียหายที่​่�เกิ​ิดจากภาคพลั​ังงานในอดี​ีต

ในงานชิ้​้�นเดี​ียวกั​ัน คณะวิ​ิจั​ัยพบว่​่ากลุ่​่�มเปราะบาง อาทิ​ิ ชนพื้​้�นเมื​ือง ประชากรที่​่�อาศั​ัยในชนบท และครั​ัวเรื​ือนรายได้​้น้อ ้ ย สุ่​่�มเสี่​่�ยงที่​่�จะถู​ูกกี​ีดกั​ันจากการเข้​้าถึ​ึงเทคโนโลยี​ีพลั​ังงานสะอาด และมี​ี

กํ​ําลั​ังซื้​้�อน้​้อยกว่​่ากลุ่​่�มอื่​่�นในการเปลี่​่�ยนผ่​่านสู่​่�พลั​ังงานสะอาด ความล้​้มเหลวที่​่�จะบู​ูรณาการแนวคิ​ิด

เรื่​่�องความยุ​ุติ​ิธรรมเข้​้าไปในกระบวนการออกแบบนโยบายเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานมั​ักส่​่งผลให้​้ความ เหลื่​่�อมลํ้​้าถ่​่างกว้​้าง ต้​้นทุ​ุนของการเปลี่​่�ยนผ่​่านไม่​่ถู​ูกกระจายอย่​่างเท่​่าเที​ียม และผลกระทบทาง ลบจากโครงการพลั​ังงานสะอาด (Carley และ Konisky, 2020)

เมื่​่�อนํ​ําแนวคิ​ิด “ความยุ​ุติ​ิธรรมพลั​ังงาน” มาปรั​ับใช้​้กั​ับ “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน” เราสามารถ สรุ​ุ ปได้​้ว่​่า “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” ภายใต้​้แนวคิ​ิดดั​ังกล่​่าวต้​้องให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับ 4 มิ​ิติ​ิ ดั​ังต่​่อไปนี้​้� (ขี​ีดเส้​้นใต้​้เพิ่​่�มเติ​ิมโดยผู้​้�วิ​ิจั​ัย)

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการกระจาย (distributional justice) หมายถึ​ึง การสร้​้างหลั​ักประกั​ันว่​่า

จะไม่​่มี​ีประชาชนกลุ่​่�มใดกลุ่​่�มหนึ่​่�งต้​้องแบกรั​ับผลกระทบทางลบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน มากเกิ​ินควร หรื​ือบางกลุ่​่�มถู​ูกกี​ีดกั​ันจากการใช้​้ประโยชน์​์จากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงกระบวนการ (procedural justice) หมายถึ​ึง การเน้​้นการมี​ีส่​่วนร่​่วมของ ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียทุ​ุกฝ่​่ายในกระบวนการตั​ัดสิ​ินใจเรื่​่�องการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรั​ับรู้​้� (recognition justice) หมายถึ​ึง การรั​ับรู้​้�ในศั​ักดิ์​์�ศรี​ีของ

มนุ​ุษย์​์ มองเห็​็นความอยุ​ุติธ ิ รรมที่​่�สั่​่�งสมมาจากในอดี​ีตในภาคพลั​ังงาน โดยเฉพาะความไม่​่เท่​่า

เที​ียมของกลุ่​่�มเปราะบางเมื่​่�อเที​ียบกั​ับกลุ่​่�มอื่​่�น ๆ ในสั​ังคม และพยายามขจั​ัดการดู​ูหมิ่​่�นศั​ักดิ์​์�ศรี​ี แนวคิ​ิดความยุ​ุติ​ิธรรมดั​ังกล่​่าวเชื่​่�อมโยงกั​ับการเมื​ืองเรื่​่�องอั​ัตลั​ักษณ์​์ (identity politics)

 ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงสมานฉั​ันท์​์ (restorative justice) หมายถึ​ึง การชดเชยเยี​ียวยาความสู​ูญ เสี​ียและความเสี​ียหายที่​่�เกิ​ิดจากภาคพลั​ังงานในอดี​ีต ในระหว่​่างการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์แนวคิ​ิด “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” คํ​ําว่​่า “การเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” (just transition) เข้​้าสู่​่�บทสนทนากระแสหลั​ักเกี่​่�ยวกั​ับการ

เปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศในปั​ัจจุ​ุบั​ัน นั​ับตั้​้�งแต่​่พิ​ิธีส ี ารเกี​ียวโตปี​ี ค.ศ. 2015 กล่​่าวถึ​ึง “ความ จํ​ําเป็​็นของการเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรม” ต่​่อมาในปี​ี ค.ศ. 2021 ในการประชุ​ุมรั​ัฐภาคี​ีกรอบอนุ​ุสัญ ั ญา

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 19


สหประชาชาติ​ิว่​่าด้​้วยการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ สมั​ัยที่​่� 26 หรื​ือ COP26 รั​ัฐบาลประเทศ

ต่​่าง ๆ มากกว่​่า 30 ประเทศ ลงนามร่​่วมกั​ันในถ้​้อยแถลงว่​่าด้​้วยการเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม (just transition declaration) (COP26, 2021) ล่​่าสุ​ุดในบทสรุ​ุ ปสํ​ําหรั​ับผู้​้�ดํ​ําเนิ​ินนโยบาย จากรายงาน

IPCC ปี​ี ค.ศ. 2022 คณะทํ​ํ างาน IPCC ชี้​้�ว่​่าข้​้อเสนอทางออกว่​่ าด้​้ วยการปรั​ับตั​ั วรั​ับมื​ือกั​ั บการ

เปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศของคณะทํ​ํางาน ล้​้วนเป็​็นทางออกที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิผล ทํ​ําได้​้จริ​ิง และ “สอดคล้​้ องกั​ั บหลั​ั กความยุ​ุติ​ิธรรมด้​้ านการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate justice)

…ซึ่​่�งโดยทั่​่�วไปประกอบด้​้วยหลั​ักการสามข้​้อ ได้​้แก่​่ ความยุ​ุติธ ิ รรมเชิ​ิงการกระจาย …ความยุ​ุติธ ิ รรม เชิ​ิงกระบวนการ …และความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรั​ับรู้​้�” (IPCC, 2022)

ก่​่ อ นหน้​้ า ที่​่�แนวคิ​ิ ด “just energy transition” จะเข้​้ า สู่​่�กระแสหลั​ั ก ในปั​ั จ จุ​ุ บั​ั น คํ​ํ า ว่​่ า Just Transition หรื​ือ “การเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” อุ​ุบั​ัติ​ิขึ้�้นครั้​้�งแรกในทศวรรษ 1970 ในขบวนการ เคลื่​่�อนไหวเพื่​่�อสิ​ิทธิ​ิแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล สหรั​ัฐอเมริ​ิกา นํ​ําโดย โทนี​ี มาซซอคคี​ี

(Tony Mazzocchi) ผู้​้�นํ​ําสหภาพแรงงานคนงานในอุ​ุตสาหกรรมนํ้​้ามั​ัน เคมี​ีภั​ัณฑ์​์ และนิ​ิวเคลี​ียร์​์ (Oil, Chemical, and Atomic Workers Union ย่​่อว่​่ า OCAW) ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ต่​่ อมาใน

ทศวรรษ 1990 มาซซอคคี​ีเสนอความคิ​ิดว่​่าควรมี​ีการจั​ัดตั้​้�ง “อภิ​ิกองทุ​ุนสํ​ําหรั​ับคนงาน” (Super­ fund for Workers) คล้​้ายกั​ับการจั​ัดตั้​้�ง “อภิ​ิกองทุ​ุน” เพื่​่�อขจั​ัดการปนเปื้​้� อนของสารพิ​ิษ ซึ่​่�งเป็​็น โครงการของสํ​ํานั​ักงานปกป้​้องสิ่​่�งแวดล้​้อมของรั​ัฐบาลกลางสหรั​ัฐในสมั​ัยนั้​้�น มาซซอคคี​ีอธิ​ิบาย

แนวคิ​ิดนี้​้�ว่​่า “เราต้​้องสร้​้างหลั​ักประกั​ันสํ​ําหรั​ับคนงานว่​่าพวกเขาจะไม่​่ต้​้องจ่​่ายค่​่าอากาศสะอาด และนํ้​้าสะอาดด้​้วยการต้​้องสู​ูญเสี​ียงาน มาตรฐานการครองชี​ีพ หรื​ืออนาคตของพวกเขา” ซึ่​่�งสะท้​้อน

การยอมรั​ับว่​่าภาคอุ​ุตสาหกรรมที่​่�จ้​้างคนงานเหล่​่านี้​้�สร้​้างผลกระทบสู​ูงต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม แต่​่การ เปลี่​่�ยนผ่​่านออกจากอุ​ุตสาหกรรมเหล่​่านี้​้�ควรให้​้การสนั​ับสนุ​ุนและชดเชยคนงาน (Nguyen, 2023) ระหว่​่างที่​่�มาซซอคคี​ีและผู้​้�นํ​ําสหภาพแรงงานคนอื่​่�น ๆ ในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิลเริ่​่�มผลั​ักดั​ันแนวคิ​ิด

“การเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรม” ชุ​ุมชนคนผิ​ิวสี​ี ชนพื้​้�นเมื​ือง และผู้​้�มี​ีรายได้​้น้อ ้ ยในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากมลพิ​ิษอุ​ุตสาหกรรมในอดี​ี ตอย่​่างต่​่ อเนื่​่�อง ก็​็ รณรงค์​์ เรี​ียกร้​้องสภาพแวดล้​้ อมที่​่�

สะอาดและปลอดมลพิ​ิษมาตั้​้� งแต่​่ ยุ​ุคขบวนการเคลื่​่�อนไหวเพื่​่�อสิ​ิ ทธิ​ิพลเมื​ืองในทศวรรษ 1960

ชุ​ุมชนเหล่​่านี้​้�หลายแห่​่งเล็​็งเห็​็นโอกาสจั​ับมื​ือกั​ับสหภาพแรงงานในการต่​่อสู้​้�กั​ับอุ​ุตสาหกรรมที่​่�ปล่​่อย มลพิ​ิ ษ และความร่​่ว มมื​ื อ นี้​้� ก็​็ นํ​ํ า ไปสู่​่�การจั​ั ด ตั้​้� ง “แนวร่​่ว มการเปลี่​่�ยนผ่​่ า นที่​่�ยุ​ุ ติ​ิ ธ รรม” (Just Transition Alliance) ร่​่วมกั​ั นในปี​ี ค.ศ. 1997 เพื่​่�อเป็​็นตั​ั วแทนของแรงงานและชุ​ุมชนที่​่�ได้​้ รับ ั ผลกระทบมากที่​่�สุ​ุดจากสิ่​่�งแวดล้​้อมและสภาพการทํ​ํางานที่​่�ไม่​่ปลอดภั​ัย (Nguyen, 2023)

แนวร่​่วมดั​ังกล่​่าวนิ​ิยาม “การเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” ว่​่า “เป็​็นทั้​้�งหลั​ักการ กระบวนการ และการ

ปฏิ​ิบัติ ั ิ ...เศรษฐกิ​ิจที่​่�เข้​้มแข็​็งและสิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�สะอาดสามารถอยู่​่�ด้​้วยกั​ันและควรอยู่​่�ด้​้วยกั​ัน กระบวนการที่​่�จะบรรลุ​ุวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์ดั​ังกล่​่าวควรเป็​็นกระบวนการที่​่�เป็​็นธรรม ไม่​่ก่​่อให้​้เกิ​ิดความสู​ูญเสี​ีย

ต่​่อสุ​ุขภาพ สิ่​่�งแวดล้​้อม หรื​ือฐานะทางเศรษฐกิ​ิจของคนงานและคนในชุ​ุมชน” (Just Transition Alliance, 2023)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 20


Garcia-Garcia, Carpintero และ Buendia (2020) สรุ​ุ ปประวั​ัติศ ิ าสตร์​์ฉบับ ั ย่​่อของแนวคิ​ิด “การ

เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” จากการทบทวนวรรณกรรมว่​่า เราอาจแบ่​่งประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ของ แนวคิ​ิดนี้​้�ออกเป็​็น 3 ช่​่วง ได้​้แก่​่

 ทศวรรษ 1950: ช่​่วงการขั​ับเคลื่​่�อนระดั​ับท้​้องถิ่​่�นและอุ​ุตสาหกรรม ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เมื่​่�อ คนงานเริ่​่�มกั​ังวลเรื่​่�องผลกระทบของอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานฟอสซิ​ิลต่​่อสุ​ุขภาพและสิ่​่�งแวดล้​้อม

 ทศวรรษ 1990: ช่​่วงการขั​ับเคลื่​่�อนระดั​ับประเทศในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา คํ​ําว่​่า “การเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�

ยุ​ุติ​ิธรรม” เริ่​่�มถู​ูกพู​ูดถึ​ึงในวงกว้​้ าง ขบวนการเคลื่​่�อนไหวเพื่​่�อสิ​ิ ทธิ​ิแรงงานในอุ​ุตสาหกรรม ฟอสซิ​ิลมาจั​ับมื​ือร่​่วมกั​ับขบวนการเคลื่​่�อนไหวเพื่​่�อความยุ​ุติ​ิธรรมทางสิ่​่�งแวดล้​้อมของชุ​ุมชน คนผิ​ิวสี​ี ชนพื้​้�นเมื​ือง และผู้​้�มี​ีรายได้​้น้อ ้ ย

 ทศวรรษ 2000 ถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน: ช่​่วงการขั​ับเคลื่​่�อนระดั​ับโลก ขบวนการแรงงานในสหรั​ัฐอ่​่อนตั​ัว

(post-unionism) แนวคิ​ิ ด “การเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” ถู​ูกนํ​ําไปพั​ัฒนาต่​่ อโดยองค์​์ การ แรงงานระหว่​่างประเทศ คณะทํ​ํางาน IPCC และเข้​้าสู่​่�วาทกรรมกระแสหลั​ักของการอภิ​ิปราย เรื่​่�องการบรรเทาและการรั​ับมื​ือต่​่อการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศในปั​ัจจุ​ุบั​ัน

ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์แนวคิ​ิดทั้​้�ง 3 ช่​่วงข้​้างต้​้น สามารถสรุ​ุ ปเป็​็นแผนภาพได้​้ดั​ังแสดงในแผนภาพที่​่� 3 แผนภาพที่ 3 ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ฉบั​ับย่​่อของแนวคิ​ิด “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม”

ขับเคลื่อนระดับท้องถิ่น และอุตสาหกรรม

ขับเคลื่อนระดับประเทศ

ขับเคลื่อนระดับโลก

ทศวรรษ 1950

ทศวรรษ 1990

ปัจจุบัน

ขบวนการสิ่งแวดล้อมเชิงสังคม (social environmentalism), ความกังวลประเด็นสุขภาพและ ความปลอดภัย

แนวคิดแพร่หลายไปยัง องค์กรที่ขับเคลื่อนเรือ ่ ง แรงงานทั่วประเทศ สหรัฐอเมริกา

องค์การแรงงานระหว่าง ประเทศ (ILO) พัฒนาต่อ, สหประชาชาติประกาศเป้า การพัฒนาที่ย่ังยืน (SDG), เริม ่ เข้าสู่กระแสหลัก

1950

1960

1970

1980

1990

ทศวรรษ 1970

2000

2010

2020

ทศวรรษ 1990–2010

ผลักดันโดยสหภาพแรงงาน อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล, Mazzochi (OCAW)

แนวคิดแผ่วลงในสหรัฐ, แพร่หลายไปทั่วโลก (สหประชาชาติ & สหภาพยุโรป) ยุคหลังขบวนการสหภาพแรงงานเข้มแข็ง (post-unionism)

ขบวนการสหภาพแรงงานเข้มแข็ง (unionism)

ที่​่�มา: Garcia-Garcia, Carpinter o และ Buendia, 2020

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 21


วาทกรรม “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” ถึ​ึงแม้​้ว่​่าแนวคิ​ิด “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” จะมี​ีต้​้นตอจากขบวนการเคลื่​่�อนไหวเพื่​่�อ สิ​ิทธิ​ิแรงงานอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิลในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ดั​ังสรุ​ุ ปในส่​่วนที่​่�แล้​้วของรายงานฉบั​ับนี้​้� เมื่​่�อ

เวลาผ่​่านไปหลายทศวรรษ แนวคิ​ิ ดนี้​้�เข้​้าสู่​่�วงอภิ​ิ ปรายกระแสหลั​ั กอย่​่างแพร่​่หลายในปั​ัจจุ​ุบั​ัน

โดยเฉพาะเมื่​่�อคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความเร่​่งด่​่วนของการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานเพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับการเปลี่​่�ยนแปลง สภาพภู​ูมิ​ิอากาศ แนวคิ​ิด JET ก็​็เริ่​่�มมี​ีการใช้ ้ในลั​ักษณะที่​่�มี​ีความแตกต่​่างในแง่​่วาทกรรม ขึ้​้�นอยู่​่� กั​ับอุ​ุดมการณ์​์ทางการเมื​ือง มโนทั​ัศน์​์ จุ​ุดเน้​้น (priority) เชิ​ิงนโยบาย ขี​ีดความทะเยอทะยาน หรื​ือ

กลยุ​ุทธ์​์ของของผู้​้�นํ​ําเสนอ ถึ​ึงแม้​้ว่​่านิ​ิยามโดยรวมจะไม่​่แตกต่​่างกั​ัน ดั​ังนั้​้�นการทํ​ําความเข้​้าใจกั​ับ “วาทกรรม” ของแนวคิ​ิด JET จึ​ึงเป็​็นประเด็​็นสํ​ําคั​ัญ

งานวิ​ิจั​ัย JET หลายชิ้​้�นที่​่�ผ่​่านมาเน้​้นการวิ​ิเคราะห์​์การสู​ูญเสี​ียงานในภาคอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน

เดิ​ิม โดยเฉพาะเหมื​ืองถ่​่านหิ​ินในประเทศพั​ัฒนาแล้​้ว (อาทิ​ิ Garcia-Garcia et. al., 2020) การ วิ​ิเคราะห์​์ผลกระทบในแง่​่ความไม่​่มั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงาน (energy insecurity) จากการเข้​้าไม่​่ถึ​ึง พลั​ังงานราคาถู​ูก และการวิ​ิเคราะห์​์กลยุ​ุทธ์​์การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรมในบางประเทศ (อาทิ​ิ

Zinecker et. al., 2020) แต่​่งานที่​่�ทบทวนวรรณกรรมโดยเน้​้นการวิ​ิเคราะห์​์ “วาทกรรม” ที่​่�ครบ

ถ้​้วนและละเอี​ียดที่​่�สุ​ุดชิ้​้�นหนึ่​่�งจั​ัดทํ​ําโดย Wilgosh, Sorman และ Barcena (2021) ซึ่​่�งสํ​ํารวจ เอกสารเกี่​่�ยวกั​ั บ JET ในยุ​ุโรป สหรั​ัฐอเมริ​ิกา และแอฟริ​ิกาใต้​้ เพื่​่�อสํ​ํ ารวจว่​่ าผู้​้�เล่​่ นต่​่ าง ๆ อาทิ​ิ

ผู้​้�นํ​ําสหภาพแรงงาน นั​ักเคลื่​่�อนไหวด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม ภาคเอกชน และหน่​่วยงานของรั​ัฐ วางกรอบ และใช้​้แนวคิ​ิด JET อย่​่างไร

ในงานวิ​ิจั​ัยดั​ังกล่​่าว คณะวิ​ิจั​ัยศึ​ึกษารายงานวิ​ิจั​ัยและบทความเชิ​ิงวิ​ิชาการเกี่​่�ยวกั​ับ JET จํ​ํานวน 125 ชิ้​้�น และสั​ังเคราะห์​์ธีม ี หลั​ักของเอกสารเหล่​่านั้​้�นได้​้ว่​่า สามารถจํ​ําแนก “วาทกรรม” JET ออก เป็​็น 5 วาทกรรมหลั​ัก ได้​้แก่​่

 วาทกรรมเชิ​ิงปฏิ​ิกิ​ิริยิ า (Reactionary Discourses) – วาทกรรมนี้​้�เน้​้นการตอบสนองต่​่อ

ประเด็​็นที่​่�มองว่​่าเป็​็นภั​ัยคุ​ุกคามทางเศรษฐกิ​ิจและสั​ังคมต่​่อกลุ่​่�มผลประโยชน์​์เดิ​ิม องค์​์กรและ กลุ่​่�มคนที่​่�ใช้​้วาทกรรมนี้​้�พยายามพิ​ิทั​ักษ์​์รัก ั ษาสถานะเดิ​ิมของตน (status quo) ขณะที่​่�ขานรั​ับ

เสี​ียงเรี​ียกร้​้องให้​้มี​ีบทบาทแก้​้ปั​ัญหาการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ สํ​ําหรั​ับคนงาน วาท­ กรรมนี้​้�หมายถึ​ึงวิ​ิธีก ี ารเชิ​ิงตั้​้�งรั​ับที่​่�เน้​้นการปกป้​้องงานเดิ​ิมในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานฟอสซิ​ิล

เหนื​ือปฏิ​ิบัติ ั ิการด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมหรื​ือการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิอ ิ ากาศ (Goods, 2013) และ เน้​้นคุ​ุณค่​่าตามอุ​ุดมการณ์​์เสรี​ีนิ​ิยมใหม่​่ อั​ันได้​้แก่​่ ปั​ัจเจกนิ​ิยม การแข่​่งขั​ัน และทางออกที่​่�

พึ่​่�งพาระบบตลาด (Hampton, 2015) ไม่​่ให้​้ความสํ​ําคั​ัญของกลไกเปิ​ิดให้​้ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียมี​ี

ส่​่วนร่​่วมหรื​ือมาตรการลดการปล่​่อยคาร์​์บอนเชิ​ิงรุ​ุ ก ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� แนวคิ​ิด JET ในวาทกรรมนี้​้� จึ​ึงเป็​็นเพี​ียงโวหารเท่​่านั้​้�น

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 22


 วาทกรรม “การเติ​ิ บโตสี​ี เขี​ียว” (Green Growth) และ “งานสี​ี เขี​ียว” (Green Jobs) – วาทกรรมนี้​้�สนั​ับสนุ​ุนการปฏิ​ิรู​ูปการจ้​้างงานและการอนุ​ุรัก ั ษ์​์ สิ่​่�งแวดล้​้อมผ่​่านการให้​้แรงจู​ูงใจ

ในระบบตลาด (Hampton, 2015) การเปลี่​่�ยนแปลงใด ๆ ที่​่�ต้​้องการเห็​็นในวาทกรรมนี้​้�เป็​็นการ

เปลี่​่�ยนแปลงระดั​ับเล็​็กน้​้อยและปฏิ​ิรู​ูประดั​ับผิ​ิวเผิ​ิน (Goods, 2013) ไม่​่แตะความสั​ัมพั​ันธ์​์เชิ​ิง

อํ​ํานาจหรื​ือโครงสร้​้างการผลิ​ิตดั้​้�งเดิ​ิม เน้​้นความก้​้าวหน้​้าทางเทคโนโลยี​ีว่​่าสามารถทํ​ําให้​้การ

เปลี่​่�ยนผ่​่านไปสู่​่�สั​ังคมคาร์​์บอนตํ่​่าเป็​็นการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�สร้​้างผลกํ​ําไร ทุ​ุกฝ่​่ายได้​้ประโยชน์​์ (Death, 2014) เน้​้นการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�นํ​ําโดยระบบตลาดและมาตรการเชิ​ิงสมั​ัครใจ แทนที่​่�

กฎระเบี​ียบภาคบั​ังคั​ับ เพื่​่�อหลี​ีกเลี่​่�ยงสิ่​่�งที่​่�มองว่​่าเป็​็นอุ​ุปสรรคกี​ีดขวางการเติ​ิบโตทางเศรษฐกิ​ิจ และการจ้​้างงาน วาทกรรมนี้​้�ยอมรั​ับให้​้รัฐ ั มี​ีบทบาทในการชั​ักนํ​ําตลาดไปยั​ังผลลั​ัพธ์​์ที่​่�ยั่​่�งยื​ืน และไม่​่ทิ้​้�งใครไว้​้ข้​้างหลั​ังมากกว่​่าเดิ​ิม และมองว่​่ารั​ัฐมี​ีบทบาทในการให้​้บริ​ิการพื้​้�นฐานอย่​่าง เช่​่นสาธารณสุ​ุขและการศึ​ึกษา (Rathzel และ Uzzell, 2011) สนั​ับสนุ​ุนกลไกปรึ​ึกษาหารื​ือกั​ับ

ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียในประเด็​็น คุ​ุณภาพงาน ปริ​ิมาณงาน และความหลากหลายเพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุนการ จ้​้างงานที่​่�เป็​็นธรรม แต่​่โดยรวมการตั​ัดสิ​ินใจยั​ังเป็​็นแบบบนลงล่​่างและ “ให้​้ข้​้อมู​ูล” ผู้​้�มี​ีส่​่วน

ได้​้เสี​ียเป็​็นหลั​ัก วาทกรรมนี้​้�มอง “การสร้​้างงาน” เป็​็นกลไกหลั​ักของการไม่​่ทิ้​้�งใครไว้​้ข้​้างหลั​ัง

สนั​ับสนุ​ุนมาตรการ อาทิ​ิ การทดแทนรายได้​้ชั่​่�วคราว การฝึ​ึกอบรมใหม่​่ ๆ และฝึ​ึกทั​ักษะใหม่​่ ๆ วาทกรรมนี้​้�สํ​ําหรั​ับสหภาพแรงงานหมายถึ​ึงการยอมรั​ับการรั​ับมื​ือกั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพ

ภู​ู มิ​ิ อ ากาศ ตราบใดที่​่�ประโยชน์​์ อ ย่​่ า งเช่​่ น ความมั่​่�นคงของรายได้​้ แ ละสุ​ุ ข ภาพและความ ปลอดภั​ัยในที่​่�ทํ​ํางานไม่​่ได้​้รับ ั ผลกระทบ (Moody, 1997 และ Stevis และ Felli, 2015)

 วาทกรรม “เคนส์​์สี​ีเขี​ียว” (Green Keynesian Discourses) – วาทกรรมนี้​้�เน้​้นการพั​ัฒนา

ที่​่�ยั่​่�งยื​ืนที่​่�จั​ัดการผ่​่านระบบการแทรกแซงโดยรั​ัฐ กฎระเบี​ียบ และหลั​ักประกั​ันทางสั​ังคม โดย ใช้​้มาตรการ เช่​่น การให้​้สิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์แบบพุ่​่�งเป้​้า การเก็​็บภาษี​ี เชิ​ิงกลยุ​ุทธ์​์ การจ้​้างงานโดย รั​ัฐ และระบบสวั​ัสดิ​ิการที่​่�เข้​้มแข็​็ง (Death, 2014) วาทกรรมนี้​้�ในเชิ​ิงอุ​ุดมการณ์​์สอดคล้​้องกั​ับ

รั​ัฐสวั​ัสดิ​ิการแนวเสรี​ีนิย ิ ม เน้​้นกระบวนการประชาธิ​ิปไตยตั​ัวแทน มองว่​่าคนงานและพลเมื​ือง

ต้​้องมี​ีบทบาททางการเมื​ืองในการตั​ัดสิ​ินใจ (Fraser, 1995) ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับกลไก การมี​ีส่​่วนร่​่วม อาทิ​ิ การสานเสวนาทางสั​ังคม หรื​ือการเจรจาต่​่อรองสามฝ่​่าย เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุน

การกระจายประโยชน์​์อย่​่างเท่​่าเที​ียม งานวิ​ิจั​ัยบางชิ้​้�น อาทิ​ิ Stevis และ Felli (2015) มองว่​่า วาทกรรมดั​ังกล่​่าวเป็​็นผลลั​ัพธ์​์ของการ “ประนี​ีประนอม” ระหว่​่างสหภาพแรงงานกั​ับองค์​์การ ระหว่​่างประเทศ

 วาทกรรม “สาธารณสมบั​ัติ​ิ” (Public Ownership) และ “ประชาธิ​ิปไตยพลั​ังงาน” (Energy

Democracy) – วาทกรรมนี้​้�เน้​้นการให้​้ชุ​ุมชนเป็​็นเจ้​้าของและมี​ีอํ​ํานาจควบคุ​ุมระบบพลั​ังงาน

โดยตรง เพื่​่�อหนุ​ุนเสริ​ิมการลดคาร์​์บอนระดั​ับโครงสร้​้าง (deep decarbonization) โดยหา สมดุ​ุลระหว่​่างผลประโยชน์​์ที่​่�แตกต่​่างกั​ันของประชากรทั้​้�งสั​ังคมด้​้วยการให้​้ทุ​ุกคนมี​ีส่​่วนร่​่วม

ทางตรง (Burke & Stephens, 2017) ให้​้ “พลั​ั งสั​ั งคม” ของแรงงานและชุ​ุมชนท้​้ องถิ่​่�นมี​ี

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 23


อิ​ิทธิ​ิพลต่​่อการตั​ัดสิ​ินใจ และดึ​ึงกริ​ิดไฟฟ้​้าออกจากระบบตลาด (Sweeney & Treat, 2018:3)

แนวคิ​ิด “ประชาธิ​ิปไตยพลั​ังงาน” มองว่​่าพลั​ังงานไม่​่ควรเป็​็นสิ​ินค้​้าโภคภั​ัณฑ์​์ แต่​่ควรมองว่​่า เป็​็น “สิ​ิ ทธิ​ิชุ​ุมชน” และอํ​ํ านาจควรถู​ูกโยกย้​้ายออกจากสถาบั​ันตั​ั วแทนต่​่ าง ๆ มาอยู่​่�ในมื​ือ พลเมื​ืองโดยตรงให้ ้ได้​้มากที่​่�สุ​ุด

 วาทกรรม “การปฏิ​ิวั​ัติ​ิเขี​ียว” (Green Revolution Discourses) – วาทกรรมนี้​้�เรี​ียกร้​้อง การปฏิ​ิรู​ูปเชิ​ิงโครงสร้​้างของความสั​ัมพั​ันธ์​์ทางการเมื​ืองและสั​ังคม ย้​้ายออกจากมโนทั​ัศน์​์ที่​่�

เรี​ียกร้​้องการเติ​ิบโตไม่​่สิ้​้�นสุ​ุด การฉวยโอกาสถลุ​ุงทํ​ําลายธรรมชาติ​ิ และการเบี​ียดเบี​ียนกลุ่​่�ม

เปราะบางที่​่�ถู​ูกกระทํ​ําอย่​่างไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรมตั้​้�งแต่​่อดี​ีต (Death, 2014) วาทกรรมนี้​้�ปฏิ​ิเสธระบบ ทุ​ุนนิ​ิยม เรี​ียกร้​้องให้​้คิ​ิดใหม่​่เกี่​่�ยวกั​ับความสั​ัมพั​ันธ์​์ระหว่​่างมนุ​ุษย์​์กั​ับธรรมชาติ​ิในทางที่​่�ไม่​่มอง ธรรมชาติ​ิเป็​็นสิ​ินค้​้าอี​ีกต่​่อไป (Goods, 2013)

Wilgosh, Sorman และ Barcena (2021) สรุ​ุ ปธี​ีมหลั​ักและระดั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�วาทกรรม JET แต่​่ละวาทกรรมหลั​ักข้​้างต้​้นเรี​ียกร้​้อง ออกมาเป็​็นแผนภาพดั​ังแสดงในแผนภาพที่​่� 4

แผนภาพที่ 4 ระดั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน และระดั​ับการมี​ีส่​่วนร่​่วม ของวาทกรรม JET แต่​่ละวาทกรรม

ที่​่�มา: Wilgosh, Sorman และ Barcena (2021)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 24


2.3 “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม”: ตั​ัวอย่​่างในต่​่างประเทศ คณะกรรมการระหว่​่างรั​ัฐบาลว่​่าด้​้วยการเปลี่​่�ยนแปลงภู​ูมิอ ิ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ระบุ​ุว่​่าระดั​ับการปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอนของโลกยั​ังคงเพิ่​่�มขึ้​้�นและเสี่​่�ยงต่​่อ ผลกระทบที่​่�จะรุ​ุ นแรงมากยิ่​่�งขึ้​้�นในอนาคต (World Economic Forum, 2022) ดั​ังนั้​้�น การเร่​่งไป

สู่​่�การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยั่​่�งยื​ืนและยุ​ุติ​ิธรรมจึ​ึงถื​ือเป็​็นปั​ัจจั​ัยสํ​ําคั​ัญในการรั​ับมื​ือกั​ับวิ​ิกฤตการ เปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศโดยไม่​่ทิ้​้�งใครไว้​้ข้​้างหลั​ัง (IEA, 2021)

อย่​่ า งไรก็​็ ต าม หลายประเทศทั่​่�วโลกต้​้ อ งเผชิ​ิ ญ กั​ั บ ความท้​้ า ทายในการเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานที่​่�

ยุ​ุติ​ิธรรม เนื่​่�องจาก 1) การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานในแต่​่ละประเทศจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการปรั​ับปรุ​ุ งโครง­

สร้​้างพื้​้�นฐาน หน่​่วยงาน และองค์​์กรที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง เพื่​่�อรองรั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงได้​้อย่​่างต่​่อเนื่​่�องและ มี​ีประสิ​ิ ทธิ​ิภาพ 2) การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมในแต่​่ ละประเทศต้​้ องใช้​้เงิ​ินทุ​ุนจํ​ํ านวน

มหาศาล ในหลายประเทศที่​่�ยั​ังคงมี​ีประชากรที่​่�มี​ีความยากจนโดยเฉพาะประชากรกลุ่​่�มเปราะบาง

จํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการแก้ ้ไขปั​ัญหาดั​ังกล่​่าวพร้​้อมกั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานอย่​่างยุ​ุติ​ิธรรม 3) การ

เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการพั​ัฒนาด้​้านเทคโนโลยี​ีและนวั​ัตกรรมด้​้านพลั​ังงาน อี​ีกทั้​้�ง จํ​ําเป็​็นต้​้องพั​ัฒนาทั​ักษะวิ​ิชาชี​ีพและความเชี่​่�ยวชาญใหม่​่ ๆ ภายในประเทศ เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุนกระบวนการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน รวมถึ​ึงต้​้องรั​ับประกั​ันได้​้ว่​่าประชากรในประเทศสามารถเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงาน ได้​้อย่​่างทั่​่�วถึ​ึงในราคาที่​่�เหมาะสมและเป็​็นธรรม (World Economic Forum, 2022)

หลายประเทศทั่​่�วโลกได้​้เริ่​่�มมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการที่​่�ชั​ัดเจนมากขึ้​้�นเพื่​่�อให้​้สามารถบรรลุ​ุเป้​้าหมายการ

ปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ (Net Zero target) โดยในปี​ี ค.ศ. 2021 สหรั​ัฐอเมริ​ิกาและ

หลายประเทศในสหภาพยุ​ุโรปได้​้มี​ีการประกาศกฎหมายเพื่​่�อให้​้ประเทศสามารถบรรลุ​ุเป้​้าหมาย การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ ซึ่​่�งส่​่วนหนึ่​่�งเป็​็นกฎหมายที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่าน

พลั​ังงานสู่​่�พลั​ังงานคาร์​์บอนตํ่​่าที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ขณะที่​่�หลายประเทศทั่​่�วโลกก็​็มี​ีความพยายามอย่​่างยิ่​่�ง ที่​่�จะประกาศคํ​ํามั่​่�นและกํ​ําหนดนโยบายเพื่​่�อดํ​ําเนิ​ินการตามเป้​้าหมายการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก สุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ (World Economic Forum, 2022) ดั​ังแสดงในแผนภาพที่​่� 5

สํ​ําหรั​ับตั​ัวอย่​่างประเทศที่​่�มี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรม คณะวิ​ิจัย ั ได้​้หยิ​ิบยกตั​ัวอย่​่างประเทศ 2 ประเทศ ได้​้แก่​่ ประเทศเยอรมนี​ี และสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ที่​่�ได้​้มี​ีการประกาศนโยบายและเป้​้าหมาย

ในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม รวมถึ​ึงมี​ีการประกาศทางกฎหมายเพื่​่�อตอบสนองต่​่อการ เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ตลอดจนมี​ีแนวทางในการดํ​ําเนิ​ินการเพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม โดยมี​ีรายละเอี​ียดดั​ังนี้​้�

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 25


แผนภาพที่ 5 การดํ​ําเนิ​ินการในปี​ี ค.ศ. 2021 ของแต่​่ละประเทศทั่​่�วโลกเพื่​่�อบรรลุ​ุเป้​้าหมาย การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ (Net Zero)

ประเทศที่ยังไม่มีการดําเนินการใด ๆ

ประเทศที่มีกําลังจะเริม ่ ดําเนินการและอยู่ระหว่างหารือ

ประเทศที่มีการประกาศเป้าหมายและให้คํามั่นที่จะดําเนินการตามเป้าหมาย Net Zero ประเทศที่มีการประกาศเป็นนโยบายระดับชาติ

ประเทศที่มีการกําหนดเป้าหมาย Net Zero เป็นกฎหมาย

ที่​่�มา: World Bank (2022)

ตั​ัวอย่​่างการดํ​ําเนิ​ินการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานของประเทศเยอรมนี​ี เยอรมนี​ีถื​ือเป็​็นประเทศต้​้นแบบของสหภาพยุ​ุโรปในการกํ​ําหนดแนวทางการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

ที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม โดยในปี​ี ค.ศ. 2011 ประเทศเยอรมนี​ีได้​้มีก ี ารจั​ัดทํ​ําแผนการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ในชื่​่�อ “Energiewende” เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมการเปลี่​่�ยนผ่​่านมาใช้​้พลั​ังงานสะอาดทดแทนการใช้​้พลั​ังงานจาก

ฟอสซิ​ิล ซึ่​่�งแผนการดั​ังกล่​่าวมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการที่​่�ครอบคลุ​ุมเป้​้าหมายการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือน­ กระจกที่​่�ร้​้อยละ 40 ในปี​ี ค.ศ. 2020 และลดลงอย่​่างต่​่อเนื่​่�องที่​่�ร้​้อยละ 80–95 ในปี​ี ค.ศ. 2050

เมื่​่�อเที​ียบกั​ับปี​ี ค.ศ. 1990 รวมถึ​ึงมี​ีเป้​้าหมายในการเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนนการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนของ ประเทศที่​่�ร้​้อยละ 30 ในปี​ี ค.ศ. 2030 และเพิ่​่�มขึ้​้�นเป็​็นร้​้อยละ 60 ในปี​ี ค.ศ. 2050 (Hans, 2018) เพื่​่�อให้​้สามารถดํ​ําเนิ​ินการได้​้ตามแผนดั​ังกล่​่าวอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพและดึ​ึงดู​ูดนั​ักลงทุ​ุนที่​่�สนใจ

เยอรมนี​ีได้​้มี​ีการประกาศกฎหมาย “Renewable Energy Sources Act” เพื่​่�อรั​ับประกั​ันว่​่าจะมี​ี การสนั​ับสนุ​ุนการพั​ัฒนาพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนอี​ีกเป็​็นระยะเวลา 20 ปี​ีหลั​ังจากเริ่​่�มมี​ีการผลิ​ิตไฟฟ้​้า โดยในปี​ี ค.ศ. 2017 พบว่​่ามี​ีกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเพิ่​่�มขึ้​้�นเป็​็น 112 กิ​ิโลวั​ัตต์​์

ที่​่�ส่​่วนใหญ่​่เป็​็นกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตจากโซลาร์​์เซลล์​์ ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้�จึ​ึงทํ​ําให้​้นั​ักลงทุ​ุนมั่​่�นใจได้​้ว่​่าการลงทุ​ุน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 26


ในพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนจะได้​้รับ ั ผลตอบแทนที่​่�คุ้​้�มค่​่า (Hans, 2018) นอกจากนี้​้� กฎหมายดั​ังกล่​่าว ยั​ังมี​ีข้​้อกํ​ําหนดการลดหย่​่อนทางภาษี​ี สํ​ําหรั​ับผู้​้�ผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนไม่​่ต้​้องจ่​่ายภาษี​ี หากมี​ีกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตมากกว่​่า 2 เมกะวั​ัตต์​์ (IEA , 2020)

อย่​่างไรก็​็ตาม ประเทศเยอรมนี​ียั​ังไม่​่มี​ีการเปลี่​่�ยนแปลงเพื่​่�อการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานในหลายมิ​ิติ​ิ ตั​ัวอย่​่างเช่​่น การขาดความชั​ัดเจนในการใช้​้พลั​ังงานในภาคการขนส่​่งที่​่�ถื​ือว่​่ามี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือน­

กระจกที่​่�สํ​ําคั​ัญอี​ีกแห่​่งหนึ่​่�ง ซึ่​่�งแตกต่​่างจากในสหราชอาณาจั​ักรและฝรั่​่�งเศส ที่​่�ให้​้คํ​ํามั่​่�นว่​่าจะไม่​่

ให้​้มี​ีการขายรถยนต์​์ ที่​่� ไม่​่มี​ีเทคโนโลยี​ีลดการปล่​่อยมลพิ​ิษภายในปี​ี ค.ศ. 2040 (Hans, 2018) สะท้​้อนให้​้เห็​็นว่​่าแม้​้ประเทศเยอรมนี​ีจะมี​ีความคื​ืบหน้​้าในการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกใน

ภาพรวม แต่​่ยังั จํ​ําเป็​็นต้​้องให้​้ความสํ​ําคั​ัญ กั​ับการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในภาคการขนส่​่ง มากขึ้​้�น (IEA, 2020)

นอกจากนี้​้� ประเทศเยอรมนี​ียั​ังไม่​่มี​ีแนวทางที่​่�ชั​ัดเจนในการยกเลิ​ิกการผลิ​ิตพลั​ังงานจากถ่​่านหิ​ิน

โดยเยอรมนี​ีถือ ื เป็​็นประเทศที่​่�มี​ีการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากถ่​่านหิ​ินมากที่​่�สุ​ุดในสหภาพยุ​ุโรป ที่​่�ส่​่วนหนึ่​่�งเป็​็น เพราะความเข้​้มแข็​็งของสหภาพแรงงานในเหมื​ืองถ่​่านหิ​ินที่​่�รั​ัฐบาลเยอรมนี​ีจํ​ําเป็​็นต้​้องหาแนวทาง ในการหยุ​ุดเหมื​ืองถ่​่านหิ​ินอย่​่างรั​ับผิ​ิดชอบต่​่อวิ​ิถี​ีชีวิ ี ิตของแรงงานในเหมื​ืองถ่​่านหิ​ินที่​่�ยั​ังคงทํ​ํางาน อยู่​่�ประมาณ 56,000 คน (UNRISD, 2018)

ตั​ัวอย่​่างการดํ​ําเนิ​ินการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานของสหรั​ัฐอเมริ​ิกา สหรั​ัฐอเมริ​ิกามี​ีการพู​ูดถึ​ึงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานอย่​่างมากในช่​่วงปี​ี ค.ศ. 2009–2017 จากการ ประกาศกฎหมาย “American Recovery and Reinvestment Act” เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมการใช้​้พลั​ังงาน

คาร์​์บอนตํ่​่า โดยการส่​่งเสริ​ิมนั​ักลงทุ​ุนที่​่�ต้​้องการลงทุ​ุนในการผลิ​ิตพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน รวมถึ​ึงการพั​ัฒนา เทคโนโลยี​ีพลั​ังงานสะอาด ให้ ้ได้​้รับ ั สิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์ด้า ้ นเงิ​ินกู้​้�ดอกเบี้​้�ยตํ่​่าและสิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์ด้า ้ นการ

ลดหย่​่อนภาษี​ี (Aldy, 2012) โดยในปี​ี ค.ศ. 2020 สหรั​ัฐอเมริ​ิกามี​ีการขยายตั​ัวของการผลิ​ิตพลั​ังงาน

จากแสงอาทิ​ิตย์​์อยู่​่�ที่​่� 17 กิ​ิโลวั​ัตต์​์ รวมถึ​ึงกํ​ําลั​ังมี​ีโครงการพั​ัฒนาโครงสร้​้างพื้​้�นฐานเพื่​่�อรองรั​ับพลั​ัง­

งานหมุ​ุนเวี​ียน รวมถึ​ึงรั​ัฐเวอร์​์จิ​ิเนี​ียในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาได้​้มี​ีการพั​ัฒนาโครงการพื้​้�นฐานและตั้​้�งเป้​้า­ หมายในการเพิ่​่�มการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเป็​็นร้​้อยละ 100 ในภายในปี​ี ค.ศ. 2050 (IEA, 2020) การเติ​ิ บโตในของภาคการผลิ​ิ ตไฟฟ้​้าจากแหล่​่ งพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนส่​่ งผลให้​้มี​ีตํ​ําแหน่​่งงานใน

ด้​้านนี้​้�เพิ่​่�มขึ้​้�น 17,212 ตํ​ําแหน่​่ง และเติ​ิบโตเพิ่​่�มขึ้​้�นร้​้อยละ 5.4 หรื​ือหากสํ​ํารวจในภาคอุ​ุตสาหกรรม รถยนต์​์ที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม ก็​็พบว่​่ามี​ีการเกิ​ิดขึ้​้�นของงานใหม่​่ ๆ ถึ​ึง 23,577 ตํ​ําแหน่​่ง อย่​่างไร ก็​็ตาม สหรั​ัฐอเมริ​ิกายั​ังจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีแนวทางที่​่�ชั​ัดเจนในการเร่​่งพั​ัฒนาทั​ักษะของแรงงานผ่​่านการ

ยกระดั​ับด้​้านการศึ​ึกษา และการพั​ัฒนาทั​ักษะแรงงานในแต่​่ละอุ​ุตสาหกรรมให้​้สามารถปรั​ับตั​ัวใน การทํ​ํางานในภาคพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน (World Economic Forum, 2022)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 27


ตั​ัวอย่​่างจาก 2 ประเทศข้​้างต้​้น แสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงการเริ่​่�มมี​ีการดํ​ําเนิ​ินนโยบายและเปลี่​่�ยนผ่​่านไปสู่​่�

ระบบพลั​ังงานคาร์​์บอนตํ่​่า แต่​่ยังั จํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการพั​ัฒนาการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานด้​้วยวิ​ิธีที่​่�ยุ ี ติ ุ ธ ิ รรม และเท่​่าเที​ียม ทั้​้�งนี้​้� การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานในภู​ูมิภ ิ าคเอเชี​ียตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้ (Southeast Asia)

ที่​่�ถื​ือเป็​็นภู​ูมิภ ิ าคที่​่�มี​ีความต้​้องการด้​้านพลั​ังงานเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างต่​่อเนื่​่�องจากการเพิ่​่�มขึ้​้�นของประชากร

และการเติ​ิบโตทางด้​้านเศรษฐกิ​ิจ และถื​ือเป็​็นภู​ูมิ​ิภาคที่​่�มี​ีการผลิ​ิตพลั​ังงานจากเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล

ทั่​่�ยั​ังขาดแนวทางและนโยบายที่​่�ชั​ัดเจนในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานไปสู่​่�พลั​ังงานคาร์​์บอนตํ่​่า รวม

ถึ​ึงยั​ังมี​ีการผลิ​ิตพลั​ังงานจากเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิลโดยเฉพาะถ่​่านหิ​ินอยู่​่�เป็​็นจํ​ํานวนมาก ซึ่​่�งถื​ือเป็​็น พลั​ังงานที่​่�ส่​่งผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมและสุ​ุขภาพของประชากรที่​่�รุ​ุ นแรง (Jens, 2017)

นอกจากนี้​้� การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานในภู​ูมิ​ิภาคเอเชี​ียตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้ยั​ังคงมี​ีอุ​ุปสรรคสํ​ําคั​ัญใน ด้​้านแรงงาน เนื่​่�องจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านระบบพลั​ังงานคาร์​์บอนตํ่​่า อาจสร้​้างผลกระทบต่​่อวิ​ิถี​ีชี​ีวิ​ิต ของแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานเดิ​ิม สํ​ําหรั​ับภู​ูมิ​ิภาคเอเชี​ียตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้จึ​ึงยั​ังถื​ือเป็​็น โจทย์​์สํ​ําคั​ัญในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานให้​้มี​ีความยุ​ุติ​ิธรรมและเท่​่าเที​ียม (Jens, 2017)

ประเทศอิ​ินโดนี​ีเซี​ียและประเทศเวี​ียดนาม ถื​ือเป็​็น 2 ประเทศแรกในภู​ูมิภ ิ าคเอเชี​ียตะวั​ันออกเฉี​ียง

ใต้​้ที่​่�เข้​้าร่​่วมใน Just Energy Transition Partnerships (JETP) ที่​่�ถื​ือเป็​็นโครงการเพื่​่�อการส่​่ง เสริ​ิมการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานของประเทศที่​่�มี​ีการพึ่​่�งพิ​ิงพลั​ังงานฟอสซิ​ิลไปสู่​่�พลั​ังงานคาร์​์บอนตํ่​่า อย่​่างยุ​ุติธ ิ รรม โดยกลุ่​่�มประเทศผู้​้�สนั​ับสนุ​ุนหลั​ัก ได้​้แก่​่ ฝรั่​่�งเศส เยอรมนี​ี สหราชอาณาจั​ักร สหรั​ัฐ­ อเมริ​ิกา และสหภาพยุ​ุโรป นอกจากนี้​้� ประเทศสมาชิ​ิก JETP ยั​ังประกอบไปด้​้ วย แอฟริ​ิกาใต้​้

อิ​ินเดี​ีย และเซเนกั​ัล ที่​่�ส่​่วนใหญ่​่ยั​ังคงพึ่​่�งพิ​ิงพลั​ังงานถ่​่านหิ​ินเป็​็นหลั​ักและยั​ังคงมี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซ คาร์​์บอนที่​่�เกิ​ิดจากการผลิ​ิตถ่​่านหิ​ินที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น (Katherine, 2022) ดั​ังแสดงในแผนภาพที่​่� 6

แผนภาพที่ 6 ปริ​ิมาณคาร์​์บอนจากถ่​่านหิ​ินในประเทศสมาชิ​ิก JETP ตั้​้�งแต่​่ปี​ี ค.ศ. 1860–2021 (พั​ันล้​้านตั​ัน) India

1.8 1.6 1.4 1.2 1.0 0.8 0.6

South Africa

0.4

Indonesia Vietnam

0.2 0 1860

1880

1900

1920

1940

1960

1980

2000

Senegal

2021

ที่​่�มา: Andrew et al., (2021); Our World in Data (2021)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 28


ประเทศที่​่�มี​ี ก ารพึ่​่�งพิ​ิ ง พลั​ั ง งานจากถ่​่ า นหิ​ิ น ในประเทศในสั​ั ด ส่​่ ว นที่​่�มาก การเปลี่​่�ยนแปลงจาก พลั​ังงานถ่​่านหิ​ินสู่​่�การใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนหรื​ือพลั​ังงานสะอาดถื​ือเป็​็นความเสี่​่�ยงอย่​่างมากต่​่อ การเกิ​ิดผลกระทบกั​ับประชาชนในประเทศ โดยเฉพาะการขาดรายได้​้ของประชาชนที่​่�ประกอบการ ชี​ีพในอุ​ุตสาหกรรมถ่​่านหิ​ิน (Katherine, 2022)

ทั้​้�งนี้​้� ทุ​ุกประเทศใน JETP มี​ีศัก ั ยภาพในการเปลี่​่�ยนผ่​่านสู่​่�พลั​ังงานสะอาด ทั้​้�งด้​้านพลั​ังงานลม และ

พลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ ตั​ัวอย่​่างเช่​่น งานศึ​ึกษาของ International Renewable Energy Agency (2020) พบว่​่ า ประเทศอิ​ิ น โดนี​ีเ ซี​ี ย ที่​่�มี​ี ศั​ั ก ยภาพเพี​ี ย งพอที่​่�จะสามารถบรรลุ​ุ เ ป้​้ า หมายการใช้​้ พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ร้​้อยละ 31 ได้​้ภายในปี​ี พ.ศ. 2573 จากเดิ​ิมที่​่�มี​ีการตั้​้�งเป้​้าหมายภายในปี​ี พ.ศ.

2593 ขณะที่​่�ประเทศเวี​ียดนามมี​ีอุ​ุปสรรคที่​่�แตกต่​่างจากประเทศอื่​่�น ๆ คื​ือ ปั​ัญหาด้​้านการเข้​้าถึ​ึง พลั​ังงานของประชากรในประเทศที่​่�ยั​ังไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานสมั​ัยใหม่​่เนื่​่�องจากอาศั​ัยในพื้​้�นที่​่�

ชนบท ซึ่​่�งเหมาะอย่​่างยิ่​่�งสํ​ําหรั​ับเทคโนโลยี​ีและนวั​ัตกรรมพลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์และพลั​ังงานลมที่​่�

สามารถตอบสนองต่​่อความต้​้องการเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานของประชากรในพื้​้�นที่​่�ชนบท (Katherine, 2022) สํ​ําหรั​ับประเทศอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย เนื่​่�องจากมี​ีภูมิ ู ิประเทศส่​่วนใหญ่​่เป็​็นหมู่​่�เกาะ จึ​ึงจํ​ําเป็​็นอย่​่างยิ่​่�งที่​่�ต้​้อง เร่​่งดํ​ําเนิ​ินการลดความเสี่​่�ยงจากภั​ัยพิ​ิบั​ัติ​ิจากการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศด้​้วยการเปลี่​่�ยน ผ่​่านพลั​ังงาน (ASEAN Briefing, 2023) อย่​่างไรก็​็ตาม เนื่​่�องจากอิ​ินโดนี​ีเซี​ียพึ่​่�งพิ​ิงพลั​ังงานจาก

ถ่​่านหิ​ินเป็​็นพลั​ังงานหลั​ักและถื​ือเป็​็นประเทศผู้​้�ผลิ​ิตถ่​่านหิ​ินที่​่�ใหญ่​่ที่​่�สุด ุ ในโลก โดยจากข้​้อมู​ูลของ สถาบั​ันสถิ​ิติ​ิแห่​่งชาติ​ิอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย (Statistics Indonesia - BPS) ปี​ี ค.ศ. 2021 อิ​ินโดนี​ีเซี​ียมี​ีการ ผลิ​ิตถ่​่านหิ​ินประมาณ 616 ล้​้านตั​ัน โดยเฉพาะถ่​่านหิ​ินสํ​ําหรั​ับใช้ ้ในการผลิ​ิตไฟฟ้​้าประมาณ 557 ล้​้านตั​ัน ซึ่​่�งถื​ือเป็​็นตั​ัวเลขที่​่�สู​ูงที่​่�สุ​ุดในประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ของอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย

อิ​ิ นโดนี​ีเซี​ียมี​ีความมุ่​่�งมั่​่�นในการเป็​็นประเทศคาร์​์บอนเป็​็น กลาง (carbon neutral) ภายในปี​ี ค.ศ. 2060 และมี​ีการวางแนวทางในการดํ​ําเนิ​ินการเพื่​่�อลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกจนถึ​ึงปี​ี

ค.ศ. 2050 ตามคํ​ํ า ประกาศ “Presidential Decree on Renewable Energy” ของรั​ัฐ บาล อิ​ิ นโดนี​ีเซี​ีย เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุนนั​ักลงทุ​ุนและประชาชนให้​้หั​ันมาใช้​้พลั​ั งงานทดแทน รวมถึ​ึงลดการ ผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากแหล่​่งพลั​ังงานถ่​่านหิ​ิน (ASEAN Briefing, 2023)

อย่​่างไรก็​็ตาม ในทางปฏิ​ิบัติ ั ิอิ​ินโดนี​ีเซี​ียยั​ังต้​้องเผชิ​ิญกั​ับความท้​้าทายในหลายด้​้านเพื่​่�อให้​้สามารถ บรรลุ​ุเป้​้าหมายได้​้ ทั้​้�งในการเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ร้​้อยละ 23 ภายในปี​ี ค.ศ. 2026 แต่​่

อิ​ินโดนี​ีเซี​ียยั​ังเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้เพี​ียงร้​้อยละ 12 เท่​่านั้​้�น ในปี​ี ค.ศ. 2023 (ASEAN

Briefing, 2023) รวมถึ​ึงปั​ัญหาด้​้านแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมถ่​่านหิ​ิน ที่​่�หากมี​ีการลดปริ​ิมาณการ ผลิ​ิตถ่​่านหิ​ินจะส่​่งผลวิ​ิถี​ีชี​ีวิ​ิตและความเป็​็นอยู่​่�ของประชาชนที่​่�ประกอบอาชี​ีพในเหมื​ืองถ่​่านหิ​ิน

ที่​่�เสี่​่�ยงต่​่อการสู​ูญเสี​ียอาชี​ีพ ขาดสวั​ัสดิ​ิการ และเสี่​่�ยงต่​่อการไม่​่ได้​้รับ ั การเยี​ียวยา รวมถึ​ึงบริ​ิษั​ัท และผู้​้�ประกอบการย่​่อมได้​้รับ ั ผลกระทบจากการลดปริ​ิมาณการผลิ​ิตและจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการปรั​ับตั​ัว อย่​่างมากเพื่​่�อให้​้กิ​ิจการสามารถดํ​ําเนิ​ินต่​่อไปได้​้ (IEA, 2022)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 29


การลดปริ​ิมาณการผลิ​ิตถ่​่านหิ​ินยั​ังส่​่งผลต่​่อประชาชนที่​่�อยู่​่�ในพื้​้�นที่​่�ห่​่างไกลที่​่�ไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึง พลั​ังงานจากแหล่​่งผลิ​ิตใหม่​่ได้​้ รวมถึ​ึงการพั​ัฒนาโครงการพลั​ังงานทดแทนก็​็มีค่ ี ่าใช้​้จ่​่ายค่​่อนข้​้าง

สู​ูง ตั​ัวอย่​่างเช่​่น การสร้​้างสถานี​ีผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานลมหรื​ือแสงอาทิ​ิตย์​์ในบริ​ิเวณที่​่�ห่​่างไกล

จากเมื​ือง ปั​ัญหาการซ่​่อมบํ​ํารุ​ุ งและรั​ักษาระบบพลั​ังงานหากเกิ​ิดการหยุ​ุดชะงั​ักในการผลิ​ิต เป็​็นต้​้น

นอกจากนี้​้� หากมี​ีการพั​ัฒนาด้​้านพลั​ังงานสะอาดก็​็มีค ี วามเสี่​่�ยงต่​่อการเกิ​ิดความขั​ัดแย้​้งของผู้​้�คน ท้​้องถิ่​่�น ที่​่�นอกจากบางพื้​้�นที่​่�จะได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานและตกงาน บางพื้​้�นที่​่�

อาจได้​้รับ ั ผลกระทบจากการรุ​ุ กลํ้​้าจากโครงการพลั​ังงานสะอาดต่​่าง ๆ เช่​่น ฟาร์​์มโซลาร์​์เซลล์​์ เขื่​่�อน เป็​็นต้​้น ซึ่​่�งมี​ีส่​่วนต่​่อการรบกวนวิ​ิถี​ีชี​ีวิ​ิตของประชาชน (IEA, 2022)

ขณะที่​่�การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานสู่​่�พลั​ังงานคาร์​์บอนตํ่​่าของประเทศเวี​ียดนาม ซึ่​่�งเป็​็นประเทศที่​่�มี​ีการ

ใช้​้พลั​ังงานจากถ่​่านหิ​ินจํ​ํานวนมากเช่​่นกั​ัน (Katherine, 2022) ก็​็ได้​้ประกาศเป้​้าหมายว่​่าจะลด

การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ (Net Zero) ภายในปี​ี ค.ศ. 2050 โดยประกาศว่​่าจะเพิ่​่�ม

พื้​้�นที่​่�สี​ีเขี​ียวของประเทศและลดการใช้​้พลั​ังงานจากถ่​่านหิ​ินลง อย่​่างไรก็​็ตาม เวี​ียดนามยั​ังต้​้อง

เผชิ​ิญกั​ับความท้​้าทายด้​้านความต้​้องการพลั​ังงานที่​่�เพิ่​่�มมากขึ้​้�นจากการเพิ่​่�มขึ้​้�นของประชากรและ การเติ​ิบโตทางเศรษฐกิ​ิจ ทํ​ําให้​้รัฐ ั บาลวางเป้​้าหมายในการเพิ่​่�มกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากแหล่​่ง พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน เช่​่น พลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ และพลั​ังงานลม เพิ่​่�มขึ้​้�น 5 เท่​่า ภายในปี​ี ค.ศ. 2050 เพื่​่�อรองรั​ับการเติ​ิบโตดั​ังกล่​่าว (Kanni, 2022)

นอกจากนี้​้� เวี​ียดนามยั​ังจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการพั​ัฒนาโครงสร้​้างพื้​้�นฐานต่​่าง ๆ เพื่​่�อรองรั​ับให้​้ประชาชน ในประเทศให้​้สามารถการเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้อย่​่างสะดวก ซึ่​่�งรั​ัฐบาลมี​ีบทบาทสํ​ําคั​ัญใน

การสนั​ับสนุ​ุนการวิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนา เพื่​่�อเสริ​ิมสร้​้างโครงสร้​้างพื้​้�นฐาน รวมถึ​ึงการพั​ัฒนาทั​ักษะและ ศั​ักยภาพของประชาชนในอาชี​ีพใหม่​่ ๆ ในภาคพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดผลลั​ัพธ์​์ที่​่�มีป ี ระสิ​ิทธิ​ิภาพในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมของประเทศ (Kanni, 2022)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 30


3. สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์เชิ​ิงลึ​ึกกั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย สํ​ํ า หรั​ับ การสั​ั ม ภาษณ์​์ เ ชิ​ิ ง ลึ​ึก คณะวิ​ิ จั​ั ย คั​ั ด เลื​ื อ กผู้​้�มี​ี ส่​่ ว นได้​้ ส่​่ ว นเสี​ี ย ที่​่�มี​ี ส่​่ ว นเกี่​่�ยวข้​้ อ งกั​ั บ การ

เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานในประเทศไทย ได้​้แก่​่ หน่​่วยงานดํ​ําเนิ​ินนโยบายและกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน

หน่​่วยงานดํ​ําเนิ​ินนโยบายและกํ​ํากั​ับดู​ูแลสถาบั​ันการเงิ​ิน ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน ทั้​้� งพลั​ั งงานฟอสซิ​ิลและพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยน ตั​ั วแทนแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมเชื้​้�อเพลิ​ิ งฟอสซิ​ิล

สถาบั​ันการเงิ​ิน ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงาน และองค์​์กรพั​ัฒนาเอกชน รวม 22 ราย ดั​ังแสดงใน แผนภาพที่​่� 7 จากนั้​้�นจึ​ึงดํ​ําเนิ​ินการสั​ัมภาษณ์​์เชิ​ิงลึ​ึกเพื่​่�อสํ​ํารวจความคิ​ิดเห็​็นต่​่อความเชื่​่�อมโยง

ระหว่​่างการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว (taxonomy) และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรม (just energy transition) ระหว่​่างวั​ันที่​่� 15 พฤษภาคม 2566–16 สิ​ิงหาคม 2566 ประกอบด้​้วย

• ผู้​้�ดํ​ําเนิ​ินนโยบาย/หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแล จํ​ํานวน 5 แห่​่ง ประกอบด้​้วยหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแล ด้​้านพลั​ังงาน 4 แห่​่ง และหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลสถาบั​ันการเงิ​ิน 1 แห่​่ง

• ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน จํ​ํานวน 3 ราย • สถาบั​ันการเงิ​ิน จํ​ํานวน 3 ราย

• ตั​ัวแทนแรงงานอุ​ุตสาหกรรมเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล จํ​ํานวน 3 ราย • ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงาน จํ​ํานวน 5 ราย • องค์​์กรพั​ัฒนาเอกชน จํ​ํานวน 3 ราย

แผนภาพที่ 7 จํ​ํานวนผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จํ​ําแนกตามประเภท

14%

23%

องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ ตัวแทนแรงงาน

23%

14%

สถาบันการเงิน ผู้ประกอบกิจการพลังงาน

14%

14%

ผู้ดําเนินนโยบาย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 31


คณะวิ​ิจั​ัยใช้​้คํ​ําถามปลายเปิ​ิดชุ​ุดเดี​ียวกั​ันในการสั​ัมภาษณ์​์เชิ​ิงลึ​ึกทุ​ุกครั้​้�งกั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียทุ​ุกราย โดยคํ​ําถามดั​ังกล่​่าวแบ่​่งเป็​็น 5 ประเด็​็น ดั​ังต่​่อไปนี้​้�

 นิ​ิยามและความเข้​้าใจต่​่อการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ันและการ เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม

 ปั​ัญหา อุ​ุปสรรค และความท้​้าทายในการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลของภาคพลั​ังงานไทย  ประเด็​็นที่​่�เห็​็นว่​่าเป็​็น “ความไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรม” ในโครงสร้​้างพลั​ังงานไทย  แนวทางการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของประเทศไทย  ความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม คณะวิ​ิจั​ัยสรุ​ุ ปประเด็​็นที่​่�พบจากการสั​ัมภาษณ์​์เชิ​ิงลึ​ึกกั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย 6 กลุ่​่�ม เรี​ียงตามกลุ่​่�มและ

ประเด็​็นคํ​ําถามข้​้างต้​้น โดยสํ​ําหรั​ับข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายทั้​้�งหมดของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย คณะวิ​ิจั​ัย สรุ​ุ ปและนํ​ําเสนอรวมกั​ันเป็​็นหั​ัวข้​้อต่​่างหากในส่​่วนสุ​ุดท้​้ายของบทนี้​้� (ข้​้อ 3.7)

3.1 สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์รายกลุ่​่�ม - กลุ่​่�มผู้​้�ดํ​ําเนิ​ินนโยบาย คณะวิ​ิ จั​ัยสั​ั มภาษณ์​์ผู้​้�แทนจากหน่​่วยงานกํ​ํ ากั​ั บดู​ูแลด้​้ านพลั​ั งงานและสถาบั​ันการเงิ​ิน จํ​ํ านวน 5 แห่​่ง สามารถสรุ​ุ ปผลการสั​ัมภาษณ์​์ได้​้ดั​ังนี้​้�

นิ​ิยามและความเข้​้าใจต่​่อการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่านิ​ิยามของ taxonomy คื​ือ การจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจเพื่​่�อ

ให้​้เห็​็นว่​่ากิ​ิจกรรมใดยั​ังมี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกหรื​ือไม่​่ อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จาก หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานบางส่​่วนยั​ังไม่​่เข้​้าใจนิ​ิยามของคํ​ําว่​่า taxonomy มากนั​ัก

สํ​ําหรั​ับคํ​ําว่​่า การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ทุ​ุกรายให้​้นิ​ิยามในความหมาย ที่​่�ใกล้​้เคี​ียงกั​ัน กล่​่าวคื​ือ การเปลี่​่�ยนจากการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลไปเป็​็นพลั​ังงานประเภทอื่​่�น ซึ่​่�งลด

การปล่​่ อยก๊​๊ าซเรื​ือนกระจกหรื​ือมี​ีผลกระทบต่​่ อสิ่​่�งแวดล้​้ อมน้​้อยลง และต้​้ องมี​ีการชดเชยหรื​ือ เยี​ียวยาผู้​้�ที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานดั​ังกล่​่าว เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความเป็​็นธรรมด้​้วย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 32


ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน มี​ีความตื่​่�นตั​ัวและเข้​้าใจนิ​ิยามของ

taxonomy และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมในระดั​ับหนึ่​่�ง เนื่​่�องจากเป็​็นเรื่​่�องที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับ

กิ​ิจการของผู้​้�ประกอบกิ​ิจการโดยตรง โดยมองว่​่าเป็​็นประเด็​็นความเสี่​่�ยงในการกู้​้�ยื​ืมและการลงทุ​ุน รวมถึ​ึงผู้​้�ประกอบกิ​ิจการที่​่�ส่​่งออกไปยั​ังสหภาพยุ​ุโรปก็​็มีค ี วามตื่​่�นตั​ัวเรื่​่�องการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือน­ กระจก ส่​่วนหนึ่​่�งเป็​็นผลมาจากมาตรการ Carbon Border Adjustment Mechanism (CBAM)

ซึ่​่�งเป็​็นการกํ​ําหนดราคาสิ​ินค้​้านํ​ําเข้​้าโดยการปรั​ับราคาคาร์​์บอนในกลุ่​่�มสิ​ินค้​้าที่​่�มี​ีความเสี่​่�ยงในการ รั่​่�ว ไหลของคาร์​์บ อนสู​ูง ได้​้ แ ก่​่ เหล็​็ ก และเหล็​็ ก กล้​้ า ซี​ี เ มนต์​์ กระแสไฟฟ้​้ า ปุ๋​๋� ย และอลู​ูมิ​ิ เ นี​ีย ม

(ตลาดหลั​ักทรั​ัพย์​์แห่​่งประเทศไทย, 2565) ทั้​้�งนี้​้� การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานยั​ังมี​ีความท้​้าทายที่​่�แตก ต่​่างกั​ันสํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานแต่​่ละกลุ่​่�ม เช่​่น ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ต้​้องการจะเข้​้ามาในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานให้​้เร็​็วที่​่�สุ​ุด เนื่​่�องจากเล็​็งเห็​็นโอกาสทางธุ​ุรกิ​ิจ ขณะที่​่� ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลต้​้องการออกจากอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานให้​้ช้​้าที่​่�สุ​ุด เป็​็นต้​้น

สํ​ําหรั​ับกลุ่​่�มประชาชนทั่​่�วไป ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าประชาชนส่​่วนใหญ่​่ยังั ไม่​่ทราบว่​่า taxonomy หรื​ือ

การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรมหมายถึ​ึงอะไร เนื่​่�องจากยั​ังมองเป็​็นเรื่​่�องที่​่�ไกลตั​ัว อย่​่างไรก็​็ตาม

ประชาชนส่​่วนใหญ่​่ตระหนั​ักถึ​ึงผลกระทบของปั​ัญหาการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศมากขึ้​้�น ซึ่​่�งอาจส่​่งผลให้​้ประชาชนบางส่​่วนเริ่​่�มปรั​ับเปลี่​่�ยนรู​ู ปแบบการดํ​ําเนิ​ินชี​ีวิ​ิต รวมถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานที่​่�

คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงปั​ัญหาดั​ังกล่​่าวมากขึ้​้�นด้​้วย ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ตั้​้�งข้​้อสั​ังเกตว่​่าหากประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่าน

พลั​ังงานมี​ีผลกระทบกั​ับเรื่​่�องความเป็​็นอยู่​่�ของประชาชน เช่​่น ค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�แพงขึ้​้�น ค่​่าครองชี​ีพที่​่�แพง

ขึ้​้�น เป็​็นต้​้น ที่​่�ถื​ือเป็​็นเรื่​่�องใกล้​้ตั​ัวมากขึ้​้�น ก็​็อาจจะทํ​ําให้​้เกิ​ิดการรั​ับรู้​้�ในประเด็​็นดั​ังกล่​่าวมากยิ่​่�งขึ้​้�น สํ​ําหรั​ับกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ิน/ธนาคารพาณิ​ิชย์​์ ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มองว่​่าสถาบั​ันการเงิ​ินส่​่วนใหญ่​่มี​ี

ความเข้​้าใจ taxonomy ในระดั​ับค่​่อนข้​้างสู​ูง โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งสถาบั​ันการเงิ​ินที่​่�มี​ีสํา ํ นั​ักงานใหญ่​่ ในต่​่างประเทศ และต้​้องดํ​ําเนิ​ินการตาม taxonomy ของประเทศนั้​้�น ๆ และหรื​ือมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการ ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับความยั่​่�งยื​ืนอยู่​่�แล้​้ว ขณะที่​่�สถาบั​ันการเงิ​ินเฉพาะกิ​ิจของภาครั​ัฐอาจยั​ังมี​ีความเข้​้าใจ taxonomy ที่​่�น้​้อยกว่​่าธนาคารพาณิ​ิชย์​์

ปั​ัญหา อุ​ุปสรรค และความท้​้าทายในการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลของภาคพลั​ังงานไทย นโยบายการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานของไทยเป็​็นไปตามแผนพั​ัฒนากํ​ําลั​ังผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศ

(Power Development Plan: PDP) ซึ่​่�งแผน PDP 2018 ตั้​้�งเป้​้าลดกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตของโรงไฟฟ้​้า จากพลั​ังงานฟอสซิ​ิลลง รวมทั้​้�งเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนมากขึ้​้�น ผู้​้�ให้​้

สั​ั ม ภาษณ์​์ย กตั​ั ว อย่​่ า งการปรั​ับ เปลี่​่�ยนการผลิ​ิ ต ไฟฟ้​้ า โดยใช้​้ พลั​ั ง งานหมุ​ุ น เวี​ี ย นของหน่​่ว ยงาน ภาครั​ัฐ อาทิ​ิ โครงการโซลาร์​์เซลล์​์ลอยนํ้​้าของ กฟผ. กํ​ําลั​ังการผลิ​ิตรวม 2,725 เมกะวั​ัตต์​์ ซึ่​่�งเป็​็น

โครงการที่​่�ไม่​่ส่​่งผลกระทบกั​ับพื้​้�นที่​่�ทํ​ํากิ​ินของเกษตรกร เนื่​่�องจากเป็​็นการติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์บน ทุ่​่�นลอยนํ้​้าในพื้​้�นที่​่�เขื่​่�อนที่​่�มี​ีอยู่​่�แล้​้ว อี​ีกทั้​้�งเห็​็นว่​่าสามารถเป็​็นต้​้นแบบให้​้กับ ั ภาคเอกชนในการติ​ิดตั้​้�ง โซลาร์​์เซลล์​์ในบ่​่อบํ​ําบั​ัด/บ่​่อพั​ักนํ้​้าได้​้ เนื่​่�องจากมี​ีต้​้นทุ​ุนที่​่�ถู​ูกกว่​่าการติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์บนพื้​้�นดิ​ิน แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 33


อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ระบุ​ุว่​่าการจั​ัดทํ​ําแผนพั​ัฒนากํ​ําลั​ังผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศฉบั​ับใหม่​่

มี​ีความล่​่าช้​้า เนื่​่�องจากสถานการณ์​์โรคอุ​ุบั​ัติ​ิใหม่​่โควิ​ิด-19 ที่​่�ผ่​่านมา ส่​่งผลให้​้ความต้​้องการใช้​้

ไฟฟ้​้าในระบบมี​ีความไม่​่แน่​่นอน นอกจากนี้​้� การยกเลิ​ิกการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลย่​่อมส่​่งผลกระทบ ต่​่อเสถี​ียรภาพและความมั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงาน โดยผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิล

อาจต้​้องใช้​้ระยะเวลาถึ​ึง 20 ปี​ี ขณะที่​่�ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่าประเทศไทยไม่​่สามารถยกเลิ​ิก

การใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลได้​้เลย เนื่​่�องจากไทยมี​ีก๊​๊าซธรรมชาติ​ิเป็​็นทรั​ัพยากรการผลิ​ิตหลั​ักอยู่​่�แล้​้ว และยั​ังจํ​ําเป็​็นต้​้องใช้​้ควบคู่​่�ไปกั​ับพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มองว่​่าการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนยั​ังมี​ีข้​้อจํ​ํากั​ัดด้​้านเสถี​ียรภาพ เช่​่น พลั​ังงานแสง

อาทิ​ิ ต ย์​์ ไม่​่ ส ามารถผลิ​ิ ต กระแสไฟฟ้​้ า ได้ ใ้ นช่​่ ว งที่​่�ไม่​่ มี​ี แ ดด โดยเฉพาะในฤดู​ู ฝ น พลั​ั ง งานลม จํ​ํ าเป็​็นต้​้ องใช้​้พื้​้�นที่​่�ในการก่​่ อสร้​้างขนาดใหญ่​่ และภู​ูมิ​ิศาสตร์​์ของประเทศไทยก็​็ อาจไม่​่เอื้​้� อให้​้

สามารถสร้​้างได้​้ พลั​ังงานชี​ีวมวล อาจไม่​่มี​ีวั​ัตถุ​ุดิ​ิบเพี​ียงพอในกรณี​ีที่​่�ผลผลิ​ิตจากการเพาะปลู​ูก

ได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิอ ิ ากาศ หรื​ือมี​ีความผั​ันผวนด้​้านราคาที่​่�ไม่​่สามารถ ควบคุ​ุมได้​้ เป็​็นต้​้น ดั​ังนั้​้�น การเปลี่​่�ยนผ่​่านไปใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนจึ​ึงต้​้องให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับการ

พั​ัฒนาโครงสร้​้างพื้​้�นฐานเพื่​่�อให้​้มั่​่�นใจได้​้ว่​่าจะทํ​ําให้​้การใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนมี​ีเสถี​ียรภาพและ ความมั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงาน

ประเด็​็นความมั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงานเป็​็นประเด็​็นที่​่�หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานให้​้ความสํ​ําคั​ัญ

อย่​่างมาก ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ให้​้ข้อ ้ มู​ูลว่​่าการประเมิ​ินความต้​้องการใช้ ้ไฟฟ้​้าจะมี​ีผู้​้�แทนจากหน่​่วยงาน ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง เช่​่น สภาพั​ัฒนาการเศรษฐกิ​ิจและสั​ังคมแห่​่งชาติ​ิ การไฟฟ้​้าฝ่​่ายผลิ​ิตแห่​่งประเทศไทย การไฟฟ้​้านครหลวง ฯลฯ ร่​่วมดํ​ําเนิ​ินการ โดยจะพิ​ิจารณาจากความต้​้องการใช้ ้ไฟฟ้​้าของครั​ัวเรื​ือน

ภาคอุ​ุตสาหกรรม ภาคธุ​ุรกิ​ิจ เพื่​่�อคาดการณ์​์ปริ​ิมาณการใช้ ้ไฟฟ้​้าในช่​่วง 15 ปี​ี ซึ่​่�งหากประเมิ​ิน

ผิ​ิดพลาด และมี​ีกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตไม่​่เพี​ียงพอกั​ับความต้​้องการ ก็​็อาจจะส่​่งผลให้​้เกิ​ิดสถานการณ์​์ ไฟดั​ับเป็​็นวงกว้​้าง (blackout) ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการประเมิ​ินกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตไว้​้เกิ​ินกว่​่าความ ต้​้องการเป็​็นสิ่​่�งที่​่�ควรทํ​ํา และสะท้​้อนถึ​ึงความมั่​่�นคงทางพลั​ังงาน ซึ่​่�งช่​่วยส่​่งเสริ​ิมความสามารถใน การแข่​่งขั​ันทางเศรษฐกิ​ิจของประเทศด้​้วย

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการจํ​ําแนกประเทศตามศั​ักยภาพในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน อาจจํ​ําแนก ได้​้ดั​ังนี้​้�

 ประเทศที่​่�สามารถยกเลิ​ิกการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลได้​้: ต้​้องเป็​็นประเทศที่​่�มี​ีทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิ มากเพี​ียงพอ และไม่​่ต้​้องพึ่​่�งพิ​ิงการใช้​้พลั​ังงานมาก รวมถึ​ึงสามารถใช้​้พลั​ังงานทางเลื​ือกได้​้ เช่​่น พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน พลั​ังงานชี​ีวมวล พลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 34


 ประเทศที่​่�มี​ีทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิประเภทฟอสซิ​ิล: ประเทศกลุ่​่�มนี้​้�ยั​ังจํ​ําเป็​็นต้​้องใช้​้พลั​ังงาน

ฟอสซิ​ิล และควรลงทุ​ุนเพิ่​่�มในเทคโนโลยี​ีการกั​ักเก็​็บและดั​ักจั​ับคาร์​์บอน ซึ่​่�งจะมี​ีความคุ้​้�มค่​่า มากกว่​่าการยกเลิ​ิกการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลและต้​้องไปซื้​้�อพลั​ังงานจากแหล่​่งอื่​่�น

 ประเทศที่​่�ไม่​่มี​ีทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิ: เช่​่น ญี่​่�ปุ่​่�น ต้​้องนํ​ําเข้​้าก๊​๊าซธรรมชาติ​ิเหลว (Liquefied Natural Gas: LNG) เพื่​่�อผลิ​ิตไฟฟ้​้า ประเทศกลุ่​่�มนี้​้�ควรเน้​้นการพั​ัฒนาอุ​ุปกรณ์​์หรื​ือเทคโนโลยี​ี ใหม่​่เพื่​่�อรองรั​ับการผลิ​ิตพลั​ังงาน

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มองว่​่า ปั​ัจจุ​ุบัน ั กิ​ิจกรรมที่​่�มี​ีการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลส่​่วนใหญ่​่ ได้​้แก่​่ การผลิ​ิตไฟฟ้​้า

การใช้​้รถยนต์​์ และการผลิ​ิตของโรงงานอุ​ุตสาหกรรม โดยเสนอแนวทางการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ดั​ังนี้​้�

 การไม่​่สร้​้างโรงไฟฟ้​้าถ่​่านหิ​ินใหม่​่ หรื​ือหากจํ​ําเป็​็นต้​้องสร้​้าง ก็​็ต้​้องมี​ีการติ​ิดตั้​้�งเทคโนโลยี​ีการ กั​ักเก็​็บและดั​ักจั​ับคาร์​์บอน

 การผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนหรื​ือพลั​ังงานทางเลื​ือก เพื่​่�อให้​้ภาคอุ​ุตสาหกรรมปรั​ับ เปลี่​่�ยนการใช้​้พลั​ังงานได้​้

 การกํ​ําหนดมาตรการไม่​่ต่​่ออายุ​ุหรื​ือขึ้​้�นทะเบี​ียนรถที่​่�ใช้​้นํ้า้ มั​ันหรื​ือรถเก่​่าภายในปี​ี ค.ศ. 2035

ซึ่​่�งเป็​็นทิ​ิศทางที่​่�สอดคล้​้องกั​ับกระแสโลก กล่​่าวคื​ือ ฝ่​่ายนิ​ิติ​ิบัญ ั ญั​ัติ​ิในสหภาพยุ​ุโรปลงมติ​ิเพื่​่�อ ห้​้ามการขายรถยนต์​์ใหม่​่ และรถตู้​้�ใหม่​่ที่​่�ใช้​้นํ้​้ามั​ันเชื้​้�อเพลิ​ิงภายในปี​ี ค.ศ. 2035 โดยกํ​ําหนด ให้​้รถยนต์​์ใหม่​่ทั้​้�งหมดในยุ​ุโรปต้​้องเป็​็นรถยนต์​์ไฟฟ้​้า หรื​ือรถยนต์​์ EV (ฐานเศรษฐกิ​ิจ, 2566) อย่​่างไรก็​็ตาม ในประเด็​็นการกํ​ําหนดให้​้ต้​้องใช้​้รถยนต์​์ไฟฟ้​้านั้​้�น ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าต้​้อง

พิ​ิจารณาความเหมาะสม เช่​่น โครงสร้​้างพื้​้�นฐาน มี​ีที่​่�ชาร์​์จที่​่�รองรั​ับมากขึ้​้�น ราคาที่​่�ผู้​้�บริ​ิโภค สามารถเข้​้าถึ​ึงได้​้ มาตรการสนั​ับสนุ​ุนจากภาครั​ัฐ เป็​็นต้​้น

 อุ​ุตสาหกรรมบางประเภท เช่​่น เครื่​่�องบิ​ิน ยั​ังไม่​่สามารถยกเลิ​ิกการใช้​้นํ้​้ามั​ันได้​้ เนื่​่�องจาก

ยั​ังไม่​่สามารถเปลี่​่�ยนเป็​็นเครื่​่�องยนต์​์ไฟฟ้​้าได้​้ จึ​ึงต้​้องมี​ีการค้​้นคว้​้าพั​ัฒนาเชื้​้�อเพลิ​ิงอากาศยาน แบบยั่​่�งยื​ืน (sustainable aviation fuel)

ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ เ ห็​็ น ว่​่ า ภาครั​ัฐ ควรมี​ี ม าตรการชดเชย/เยี​ี ย วยาผู้​้�ประกอบกิ​ิ จ การอุ​ุ ต สาหกรรม พลั​ั ง งานฟอสซิ​ิ ล รวมถึ​ึงการช่​่ ว ยเหลื​ื อ ให้​้ ส ามารถปรั​ับ ตั​ั ว ไปสู่​่�อุ​ุ ต สาหกรรมพลั​ั ง งานใหม่​่ ไ ด้​้

เนื่​่�องจากผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการกลุ่​่�มนี้​้�มี​ีต้​้นทุ​ุนในการปรั​ับตั​ั วที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น และอาจส่​่ งผลกระทบให้ ้ไม่​่

สามารถแข่​่งขั​ันด้​้านราคาได้​้ ในประเด็​็นนี้​้�ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าภาครั​ัฐควรมี​ีการบั​ังคั​ับใช้​้กฎหมาย

เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการแข่​่งขั​ันกั​ันได้​้อย่​่างเท่​่าเที​ียม เช่​่น การกํ​ําหนดให้​้ผู้​้�ที่​่�ได้​้ประโยชน์​์จากการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงาน หรื​ือผู้​้�ประกอบกิ​ิจการที่​่�ได้​้รับ ั ผลตอบแทนจากการลงทุ​ุนตามเป้​้าหมายแล้​้ว มี​ีส่ว ่ นในการ บริ​ิจาคหรื​ือช่​่วยเหลื​ือให้​้เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานด้​้วย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 35


ประเด็​็นที่​่�เ ห็​็นว่​่าเป็​็น “ความไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรม” ในโครงสร้​้างพลั​ังงานไทย ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จํ​ํานวน 1 ราย ระบุ​ุว่​่าประเด็​็นโครงสร้​้างพลั​ังงานที่​่�เคยได้​้รับ ั การร้​้องเรี​ียน คื​ือ ราคา

ค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�ไม่​่เป็​็นธรรม โดยผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าความเข้​้าใจเรื่​่�อง “ความเป็​็นธรรม” ระหว่​่าง

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการกั​ับประชาชนมี​ีความแตกต่​่างกั​ัน กล่​่าวคื​ือ ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับ การกํ​ําหนดราคาค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�เหมาะสมกั​ับต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต ขณะที่​่�ประชาชนให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับการ จ่​่ายค่​่าไฟฟ้​้าในราคาตํ่​่าที่​่�สุ​ุด เนื่​่�องจากเป็​็นปั​ัจจั​ัยพื้​้�นฐาน บทบาทของภาครั​ัฐในการกํ​ํากั​ับดู​ูแลใน ประเด็​็นดั​ังกล่​่าว คื​ือ การพยายามกํ​ําหนดราคาค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงผู้​้�ประกอบกิ​ิจการและประชาชน

เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความเท่​่าเที​ียมกั​ันมากที่​่�สุ​ุด หรื​ือในกรณี​ีประชาชนกลุ่​่�มเปราะบาง ภาครั​ัฐก็​็ต้อ ้ งมี​ีมาตร­ การช่​่วยเหลื​ือประชาชนกลุ่​่�มนี้​้�ให้​้สามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานได้​้อย่​่างทั่​่�วถึ​ึง

ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ 1 ราย ระบุ​ุว่า ่ ที่​่�ผ่​่านมาหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานของไทยมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการ

ที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความเป็​็นธรรมด้​้านพลั​ังงาน โดยตั​ัวอย่​่างการดํ​ําเนิ​ินการที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความเป็​็นธรรมของ ประชาชน/ผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้า เช่​่น การกํ​ําหนดอั​ัตราค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�เท่​่ากั​ันสํ​ําหรั​ับผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าประเภทเดี​ียวกั​ัน

ทั่​่�วประเทศ (uniform tariff) โดยไม่​่คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงมิ​ิติ​ิด้​้านระยะทาง ความหนาแน่​่นของผู้​้�ใช้​้ และ ต้​้นทุ​ุนส่​่วนอื่​่�น ๆ ที่​่�อาจแตกต่​่างกั​ัน (กล่​่าวคื​ือ ต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจะถู​ูกถั​ัวเฉลี่​่�ย ทํ​ําให้ ้ไม่​่มีก ี ลุ่​่�ม ใดกลุ่​่�มหนึ่​่�งต้​้องรั​ับภาระค่​่าไฟฟ้​้าสู​ูงกว่​่ากลุ่​่�มอื่​่�น) หรื​ือการส่​่งเสริ​ิมการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ใน

ช่​่วงแรกมี​ีต้​้นทุ​ุนในการเปลี่​่�ยนผ่​่านสู​ูง การไฟฟ้​้าฝ่​่ายผลิ​ิตแห่​่งประเทศไทย (กฟผ.) จึ​ึงมี​ีการจ่​่าย ส่​่วนเพิ่​่�มราคารั​ับซื้​้�อไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน หรื​ือค่​่า adder เพื่​่�อชดเชยต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิตไฟฟ้​้า จากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนสํ​ําหรั​ับผู้​้�ผลิ​ิตไฟฟ้​้าขนาดเล็​็กมาก (VSPP) และต่​่อมาได้​้พั​ัฒนาเป็​็นค่​่า Feed-in Tariff (FiT) ซึ่​่�งเป็​็นการกํ​ําหนดราคารั​ับซื้​้�อไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ซึ่​่�งค่​่าใช้​้จ่​่าย

ส่​่วนนี้​้�จะถู​ูกนํ​ําไปรวมกั​ับค่​่าไฟฟ้​้าตามสู​ูตรการปรั​ับอั​ัตราค่​่าไฟฟ้​้าโดยอั​ัตโนมั​ัติ​ิ หรื​ือค่​่าไฟฟ้​้า ผั​ันแปร (Ft) ทํ​ําให้​้ต้​้นทุ​ุนถู​ูกถั​ัวเฉลี่​่�ยไปให้​้ทุก ุ คนเท่​่ากั​ัน เป็​็นต้​้น

ตั​ัวอย่​่างการคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความเป็​็นธรรมสํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ คื​ือ การทํ​ําสั​ัญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้า/

การเช่​่าโรงไฟฟ้​้ากั​ั บผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการโรงไฟฟ้​้า (กล่​่ าวอี​ี กนั​ัยหนึ่​่�ง คื​ื อ การประกั​ั นรายได้​้ ของ ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ) ซึ่​่�งทํ​ําให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการมั่​่�นใจได้​้ว่​่าผู้​้�ประกอบกิ​ิจการจะได้​้รับ ั ค่​่าเช่​่าโรงไฟฟ้​้า

ตามสั​ัญญาที่​่�ได้​้ตกลงกั​ัน รวมทั้​้�งสร้​้างความเชื่​่�อมั่​่�นให้​้กั​ับนั​ักลงทุ​ุนเพื่​่�อเข้​้ามาลงทุ​ุนในประเทศ เพิ่​่�มขึ้​้�นด้​้วย

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า การคํ​ํานวนต้​้นทุ​ุนที่​่�แท้​้จริ​ิงในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ต้​้องรวมถึ​ึงต้​้นทุ​ุนใน การเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานด้​้วย อย่​่างไรก็​็ตาม ที่​่�ผ่​่านมามั​ักไม่​่มีก ี ารคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงต้​้นทุ​ุนการ

เยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการดั​ังกล่​่าว อี​ีกทั้​้�งประเทศไทยเป็​็นประเทศที่​่�ไม่​่ได้​้มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือน­

กระจกในระดั​ับสู​ูงมาตั้​้�งแต่​่ต้​้น และเห็​็นว่​่าประเทศที่​่�มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในระดั​ับสู​ูง (หรื​ือ เป็​็นประเทศที่​่�เคยใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลในระดั​ับสู​ูงมาก่​่อน และมี​ีการขยายฐานการผลิ​ิตไปในต่​่าง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 36


ประเทศ) ควรมี​ีส่​่วนในการชดเชยหรื​ือเยี​ียวยาด้​้วย ทั้​้�งนี้​้� การชดเชยหรื​ือเยี​ียวยาจากต่​่างประเทศ ดั​ังกล่​่าว ควรนํ​ํามาจั​ัดสรรในการช่​่วยเหลื​ือเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในไทยอย่​่างเป็​็นธรรม เช่​่น SMEs ควรมี​ีแต้​้มต่​่อหรื​ือได้​้รับ ั การชดเชยเยี​ียวยามากกว่​่าบริ​ิษั​ัทขนาดใหญ่​่ เป็​็นต้​้น

แนวทางการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของประเทศไทย ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จํ​ํานวน 1 ราย เห็​็นว่​่าประเทศไทยมี​ีศั​ักยภาพในการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนประเภท พลั​ังงานชี​ีวมวล (biomass) เนื่​่�องจากเป็​็นประเทศที่​่�มี​ีการเพาะปลู​ูกสิ​ินค้​้าเกษตรเป็​็นหลั​ักอยู่​่�แล้​้ว

อี​ีกทั้​้�งการสนั​ับสนุ​ุนธุ​ุรกิ​ิจพลั​ังงานชี​ีวมวลในอี​ีกทางหนึ่​่�งก็​็มีส่ ี ่วนช่​่วยแก้ ้ไขปั​ัญหาความยากจนของ เกษตรกร ช่​่วยลดงบประมาณสนั​ับสนุ​ุนที่​่�ภาครั​ัฐต้​้องจ่​่ายให้​้แก่​่เกษตรกร (เช่​่น ค่​่าปุ๋​๋�ย) ตลอดจน ช่​่วยแก้ ้ไขปั​ัญหาฝุ่​่�นพิ​ิษ PM 2.5 เช่​่น การนํ​ําวั​ัตถุ​ุดิ​ิบทางการเกษตรมาใช้​้เป็​็นเชื้​้�อเพลิ​ิงแทนการ เผาทิ้​้�งที่​่�ทํ​ําให้​้เกิ​ิดฝุ่​่�นพิ​ิษ เป็​็นต้​้น ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าภาครั​ัฐควรมี​ีนโยบายปฏิ​ิรู​ูปการใช้​้

ที่​่�ดิ​ิน เพื่​่�อจั​ัดพื้​้�นที่​่�สํ​ําหรั​ับธุ​ุรกิ​ิจพลั​ังงานชี​ีวมวลให้​้อยู่​่�ในพื้​้�นที่​่�เดี​ียวกั​ัน เพื่​่�อลดการขนส่​่งวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ทางการเกษตร อั​ันเป็​็นสาเหตุ​ุหนึ่​่�งที่​่�ก่​่อให้​้เกิ​ิดมลพิ​ิษ

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าพลั​ังงานชี​ีวมวลยั​ังไม่​่สามารถทดแทนการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิล ได้​้ทั้​้�งหมด และจํ​ําเป็​็นต้​้องใช้​้ควบคู่​่�กั​ัน ขณะที่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนประเภทอื่​่�น เช่​่น พลั​ังงานลม พลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่ามี​ีข้​้อจํ​ํากั​ัดเรื่​่�องพื้​้�นที่​่�ในการวางโครงสร้​้างพื้​้�นฐาน

ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์อีก ี รายหนึ่​่�งให้​้ความเห็​็นว่​่า กฟผ. มี​ีนโยบายส่​่งเสริ​ิมให้​้ภาคครั​ัวเรื​ือนผลิ​ิตไฟฟ้​้าจาก โซลาร์​์เซลล์​์เพื่​่�อใช้​้เองอยู่​่�แล้​้ว โดยค่​่าไฟฟ้​้าจากโซลาร์​์เซลล์​์อยู่​่�ที่​่�หน่​่วยละ 2 บาท ขณะที่​่�ค่​่าไฟฟ้​้า

จาก กฟผ. อยู่​่�ที่​่�หน่​่วยละ 5 บาท อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าหากประชาชนผลิ​ิตไฟฟ้​้า จากโซลาร์​์เซลล์​์ใช้​้เองมากขึ้​้�น ก็​็จะทํ​ําให้​้ผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าแบบปกติ​ิที่​่�ไม่​่สามารถติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์ได้​้ ต้​้องรั​ับภาระค่​่าไฟฟ้​้ามากขึ้​้�นด้​้วย

นอกจากนี้​้� ดั​ังที่​่�ได้​้กล่​่าวข้​้างต้​้นว่​่า การใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนยั​ังมี​ีข้​้อจํ​ํากั​ัดด้​้านเสถี​ียรภาพและ

ความมั่​่�นคง ดั​ังนั้​้�น การเปลี่​่�ยนผ่​่านไปใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนจึ​ึงต้​้องให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับการพั​ัฒนา โครงสร้​้างพื้​้�นฐานเพื่​่�อให้​้มั่​่�นใจได้​้ว่า ่ จะทํ​ําให้​้การใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนมี​ีเสถี​ียรภาพและความมั่​่�นคง ด้​้านพลั​ังงาน

ความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ระบุ​ุว่า ่ Thailand Taxonomy มี​ีการระบุ​ุมาตรฐานการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจ สี​ีเหลื​ือง (amber list) โดยอ้​้างอิ​ิงจากเป้​้าหมายการมี​ีส่​่วนร่​่วมที่​่�จะลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ของประเทศไทย (Nationally Determined Contribution: NDC) เนื่​่�องจากเป็​็นเป้​้าหมายที่​่�

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 37


ประเทศไทยได้​้ประกาศตามกรอบอนุ​ุสั​ัญญาสหประชาชาติ​ิว่​่าด้​้วยการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิ­

อากาศ (UNFCCC) และเป็​็ น แนวทางการดํ​ํ า เนิ​ิ น การที่​่�มี​ี ค วามเป็​็ น ไปได้ ใ้ นทางปฏิ​ิ บั​ั ติ​ิ ข อง ประเทศไทยมากที่​่�สุ​ุด หรื​ือกล่​่าวอี​ีกนั​ัยหนึ่​่�ง คื​ือ Thailand Taxonomy จั​ัดทํ​ําโดยคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงบริ​ิบท

ประเทศไทยเป็​็นหลั​ั ก และรู​ู ปแบบการปรั​ับตั​ั วต้​้ องสอดคล้​้ องกั​ั บรู​ู ปแบบการดํ​ํ าเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิ จของ ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในประเทศไทย

อย่​่างไรก็​็ตาม เนื่​่�องจากแผนพั​ัฒนากํ​ําลั​ังผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศไทยยั​ังอยู่​่�ระหว่​่างการปรั​ับปรุ​ุงข้​้อมู​ูล ให้​้เป็​็นปั​ัจจุ​ุบั​ัน และยั​ังไม่​่มี​ีกํ​ําหนดแล้​้วเสร็​็จ ส่​่งผลให้​้ยั​ังไม่​่สามารถปรั​ับปรุ​ุ งการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรม

ทางเศรษฐกิ​ิจสี​ีเหลื​ืองได้​้ สํ​ําหรั​ับกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว (green list) นั้​้�น ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ เห็​็นว่​่าอ้​้างอิ​ิงมาตรฐานจาก taxonomy ของสหภาพยุ​ุโรปอยู่​่�แล้​้ว จึ​ึงสามารถนํ​ํามาใช้ ้ได้​้ทั​ันที​ี

ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจนั้​้�นคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงผลกระทบทางสิ่​่�งแวดล้​้อม โดย

มี​ีเกณฑ์​์การคั​ัดกรองทางเทคนิ​ิค (technical screening criteria) ซึ่​่�งมี​ีการกํ​ําหนดตั​ัวเลขและ

เงื่​่�อนไขอย่​่างเป็​็นระบบ เพื่​่�อป้​้องกั​ันการฟอกเขี​ียว (greenwash) อยู่​่�แล้​้ว อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้ สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าอาจยั​ังมี​ีช่​่องว่​่าง (loophole) ให้​้เกิ​ิดการฟอกเขี​ียวได้​้ ทํ​ําให้​้ต้​้องมี​ีการปรั​ับปรุ​ุ ง Thailand Taxonomy เป็​็นระยะ ๆ

ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์จากหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานจํ​ํานวน 1 ราย ให้​้ความเห็​็นเกี่​่�ยวกั​ับ Thailand Taxonomy ว่​่าเป็​็นการจั​ัดทํ​ําตาม taxonomy ของสหภาพยุ​ุโรป และให้​้ข้​้อสั​ังเกตว่​่า กิ​ิจกรรม สี​ี แดง (กิ​ิ จกรรมที่​่�มี​ีการปล่​่ อยคาร์​์บอนสู​ูง และไม่​่ควรมี​ีการดํ​ํ าเนิ​ินการต่​่ อไป) เป็​็นกิ​ิ จกรรมที่​่� นั​ักลงทุ​ุนเริ่​่�มพิ​ิจารณาว่​่ ามี​ีความเสี่​่�ยงที่​่�จะสามารถดํ​ํ าเนิ​ินการในระยะยาวได้​้ หรื​ือไม่​่ ซึ่​่�งจะถู​ูก นํ​ําไปใช้​้ร่ว่ มกั​ับมาตรการ CBAM เพื่​่�อพิ​ิจารณาความน่​่าเชื่​่�อถื​ือในการลงทุ​ุนต่​่อไป

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ให้​้ความเห็​็นว่​่าหน่​่วยงานภาครั​ัฐควรมี​ีบทบาทในการสร้​้างระบบนิ​ิเวศที่​่�เอื้​้�อให้​้เกิ​ิด

การผลั​ั ก ดั​ั น taxonomy ที่​่�มี​ี ป ระสิ​ิ ท ธิ​ิภ าพ โดยกรมการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ู มิ​ิ อ ากาศและ สิ่​่�งแวดล้​้อม กระทรวงทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิและสิ่​่�งแวดล้​้อม ควรเป็​็นหน่​่วยงานหลั​ักในการดํ​ําเนิ​ิน­

การดั​ังกล่​่าว โดยในอนาคตอาจมี​ีการบั​ังคั​ับใช้​้กฎหมายที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพ ภู​ูมิ​ิอากาศ และใช้​้ taxonomy เป็​็นหนึ่​่�งในองค์​์ประกอบ

สํ​ํ าหรั​ับข้​้อจํ​ํ ากั​ั ดในการจั​ั ดทํ​ํ า Thailand Taxonomy ที่​่�ผ่​่านมา ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่ าสถาบั​ัน­

การเงิ​ินยั​ังไม่​่มี​ีส่​่วนร่​่วมในการดํ​ําเนิ​ินการมากเท่​่าที่​่�ควร เนื่​่�องจากมี​ีข้​้อจํ​ํากั​ัดในการสื่​่�อสารและ

ประสานงานผ่​่านหน่​่วยงานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง ทํ​ําให้​้การสื่​่�อสารอาจยั​ังไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงผู้​้�มี​ีส่ว ่ นได้​้ส่ว ่ นเสี​ีย

ทุ​ุกกลุ่​่�มอย่​่างทั่​่�วถึ​ึง ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าสถาบั​ันการเงิ​ินเป็​็นผู้​้�มี​ีส่ว ่ นได้​้ส่​่วนเสี​ียที่​่�สํ​ําคั​ัญ เนื่​่�องจาก

เป็​็นหน่​่วยงานที่​่�มี​ีความใกล้​้ชิ​ิดกั​ับภาคธุ​ุรกิ​ิจ มี​ีเครื่​่�องมื​ือในการประเมิ​ินสถานการณ์​์และสามารถ ช่​่วยเหลื​ือ ให้​้คํ​ําปรึ​ึกษาภาคธุ​ุรกิ​ิจในการปรั​ับตั​ัวได้​้ ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เสนอว่​่าสถาบั​ันการเงิ​ิน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 38


อาจพิ​ิจารณาจั​ัดกลุ่​่�มสิ​ินเชื่​่�อที่​่�ตนเองมี​ีอยู่​่� เที​ียบกั​ับกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมตาม Thailand Taxonomy ซึ่​่�ง จะช่​่วยให้​้ ธปท. มี​ีข้อ ้ มู​ูลในการปรั​ับปรุ​ุ ง Thailand Taxonomy ให้​้มีค ี วามสอดคล้​้องได้​้มากยิ่​่�งขึ้​้�น

สํ​ําหรั​ับการขยายการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจของ Thailand Taxonomy ในระยะต่​่อไป ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าอาจมี​ีความล่​่าช้​้า เนื่​่�องจากต้​้องรอนโยบายที่​่�ชั​ัดเจนจากหน่​่วยงานภาครั​ัฐ

3.2 สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์รายกลุ่​่�ม - กลุ่​่�มผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน คณะวิ​ิจั​ัยสั​ัมภาษณ์​์ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการภาคพลั​ังงาน จํ​ํานวน 3 ราย สามารถสรุ​ุ ปผลการสั​ัมภาษณ์​์ รายประเด็​็นได้​้ดั​ังนี้​้�

นิ​ิยามและความเข้​้าใจต่​่อการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานเห็​็นว่​่า taxonomy เป็​็นหลั​ักเกณฑ์​์ที่​่�ธนาคารแห่​่งประเทศไทยจั​ัดทํ​ําขึ้​้�น

เพื่​่�อกํ​ําหนดให้​้สถาบั​ันการเงิ​ินใช้​้เป็​็นกรอบในการพิ​ิจารณาการสนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินสํ​ําหรั​ับโครง­ การที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานและการขนส่​่งให้​้เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม มี​ีความโปร่​่งใส

และเป็​็นธรรมมากขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ตาม จากการสั​ัมภาษณ์​์ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน มี​ีผู้​้�ประกอบ­ กิ​ิ จ การพลั​ั ง งานหมุ​ุ น เวี​ี ย นเพี​ี ย งหนึ่​่�งรายที่​่�มี​ี ส่​่ ว นร่​่ว มในการร่​่า งหลั​ั ก เกณฑ์​์ ดั​ั ง กล่​่ า ว ขณะที่​่�

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลและผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนรายอื่​่�นไม่​่มีส่ ี ว ่ นร่​่วมต่​่อ การร่​่างหลั​ักเกณฑ์​์ดั​ังกล่​่าว ส่​่งผลให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานในภาพรวมไม่​่ทราบว่​่า taxonomy เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับตนเองอย่​่างไร รวมถึ​ึงเห็​็นว่​่าธนาคารแห่​่งประเทศไทยยั​ังไม่​่มีก ี ารบั​ังคั​ับใช้​้หลั​ักเกณฑ์​์

ดั​ังกล่​่าวกั​ับสถาบั​ันการเงิ​ินในการพิ​ิจารณาสนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินต่​่ออุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน ส่​่งผล ให้​้ ผู้​้� ประกอบกิ​ิ จ การพลั​ั ง งานส่​่ ว นใหญ่​่ ยั​ั ง ไม่​่ เ ห็​็ น ถึ​ึงแนวทางที่​่�ชั​ั ด เจนที่​่�สถาบั​ั น การเงิ​ิ น จะนํ​ํ า หลั​ักเกณฑ์​์ดั​ังกล่​่าวมาปรั​ับใช้​้อย่​่างเป็​็นรู​ู ปธรรม

สํ​ําหรั​ับประเด็​็นด้​้านการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานอย่​่างยุ​ุติธ ิ รรม เป็​็นประเด็​็นที่​่�ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน หมุ​ุนเวี​ียนรั​ับทราบและเห็​็นถึ​ึงความสํ​ําคั​ัญ โดยรวมมองว่​่าการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม คื​ือ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงประโยชน์​์ของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียทุ​ุกฝ่​่าย โดยเฉพาะประชาชน

ควรเป็​็นผู้​้�ที่​่�ได้​้รับ ั ประโยชน์​์สูงู สุ​ุดจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน นอกจากนี้​้� การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

ที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมนั้​้�นต้​้องคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงการปรั​ับตั​ัวของผู้​้�ประกอบกิ​ิจการด้​้วย หากผู้​้�ประกอบกิ​ิจการไม่​่สามารถ

อยู่​่�รอดต่​่อไปได้​้ก็​็ควรได้​้รับ ั การชดเชยและเยี​ียวยาที่​่�เหมาะสม เพราะถื​ือเป็​็นการเสี​ียสละเพื่​่�อให้​้ เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่านไปสู่​่�การใช้​้พลั​ังงานที่​่�ดี​ีและเป็​็นมิ​ิตรต่​่อโลกมากขึ้​้�น

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 39


สํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิล แม้​้จะเห็​็นว่​่าการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานเป็​็นประเด็​็นเร่​่ง

ด่​่วนที่​่�แต่​่ ละประเทศต้​้ องเร่​่งดํ​ําเนิ​ินการเพื่​่�อลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก แต่​่ การเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานมี​ีต้​้นทุ​ุนสู​ูง โดยเฉพาะประเทศที่​่�กํ​ําลั​ังพั​ัฒนาถื​ือเป็​็นกลุ่​่�มประเทศที่​่�ยั​ังไม่​่มีค ี วามพร้​้อมทั้​้�ง

เงิ​ินทุ​ุน ทรั​ัพยากร และเทคโนโลยี​ีเพื่​่�อการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานระดั​ับประเทศ ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ประกอบ­

กิ​ิจการฟอสซิ​ิลจึ​ึงคาดหวั​ังว่​่าประเทศที่​่�พั​ัฒนาแล้​้ว ในฐานะประเทศที่​่�มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก

ในปริ​ิมาณมากมาตั้​้�งแต่​่อดี​ีตก่​่อนประเทศกํ​ําลั​ังพั​ัฒนา ควรมี​ีการสนั​ับสนุ​ุนด้​้านเงิ​ินทุ​ุน ทรั​ัพยากร และเทคโนโลยี​ี สํ​ําหรั​ับกลุ่​่�มประเทศกํ​ําลั​ังพั​ัฒนา เพื่​่�อเอื้​้�อต่​่อการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานไปพร้​้อมกั​ัน โดยไม่​่ทิ้​้�งใครไว้​้ข้​้างหลั​ัง

ปั​ัญหา อุ​ุปสรรค และความท้​้าทายในการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลของภาคพลั​ังงานไทย ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลมี​ีการประกาศเป้​้าหมายความเป็​็นกลางทางคาร์​์บอนภายในปี​ี

พ.ศ. 2573 และมี​ี เ ป้​้ า หมายการปล่​่ อ ยก๊​๊ า ซเรื​ือ นกระจกสุ​ุ ท ธิ​ิเ ป็​็ น ศู​ู น ย์​์ (Net Zero) ภายในปี​ี พ.ศ. 2593 โดยใช้​้แนวทางการส่​่งเสริ​ิมการปลู​ูกป่​่าเพื่​่�อดู​ูดซั​ับก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์ และการ

เข้​้าร่​่วมเป็​็นสมาชิ​ิก Carbon Markets Club เพื่​่�อดํ​ําเนิ​ินการซื้​้�อ-ขายคาร์​์บอนเครดิ​ิต นอกจากนี้​้� ผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการพลั​ั งงานฟอสซิ​ิลเริ่​่�มมี​ีการลงทุ​ุนในธุ​ุรกิ​ิ จพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนในสั​ั ดส่​่ วนที่​่�เพิ่​่�ม

มากขึ้​้� น เพื่​่�อรองรั​ับ เรื่​่�อ งการเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานหรื​ือ การยกเลิ​ิ ก การใช้​้ พ ลั​ั ง งานฟอสซิ​ิ ล ที่​่�จะ เกิ​ิดขึ้​้�นภายใน 10–20 ปี​ีข้​้างหน้​้า

อย่​่างไรก็​็ตาม การดํ​ําเนิ​ินการดั​ังกล่​่าวเกิ​ิดจากวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์ของผู้​้�ประกอบกิ​ิจการฟอสซิ​ิลที่​่�ต้​้องการ

ดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจให้​้เป็​็นไปตามเป้​้าหมายการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในระดั​ับสากล ซึ่​่�งแตกต่​่าง จากแผนพลั​ังงานชาติ​ิ (National Energy Plan: NEP) ที่​่�กํ​ําหนดเป้​้าหมายความเป็​็นกลางทาง

คาร์​์บอนภายในปี​ี พ.ศ. 2593 และมี​ีเป้​้าหมายการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ภายใน ปี​ี พ.ศ. 2608 โดยผู้​้�ประกอบกิ​ิ จ การพลั​ั ง งานต่​่ า งเห็​็ น ตรงกั​ั น ว่​่ า แผนพลั​ั ง งานชาติ​ิ นั้​้� น ล้​้ า สมั​ั ย ไม่​่สอดคล้​้องกั​ับสถานการณ์​์ปั​ัจจุ​ุบั​ัน รวมถึ​ึงไม่​่มี​ีแนวทางด้​้านการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานสู่​่�การใช้​้

พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ชั​ัดเจน ซึ่​่�งถื​ือเป็​็นอุ​ุปสรรคสํ​ําคั​ัญที่​่�ส่​่งผลให้​้การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานไม่​่เกิ​ิดขึ้​้�น อย่​่างเป็​็นรู​ู ปธรรม

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเห็​็นว่​่า ที่​่�ผ่​่านมาประเทศไทยมุ่​่�งเน้​้นการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิล เป็​็นหลั​ัก โดยเฉพาะก๊​๊าซธรรมชาติ​ิที่​่�มีสั ี ัดส่​่วนมากที่​่�สุ​ุดในการผลิ​ิตไฟฟ้​้าและเป็​็นพลั​ังงานที่​่�มี​ีการ

ทํ​ําสั​ัญญาผู​ูกพั​ันในระยะยาว จึ​ึงทํ​ําให้​้การพิ​ิจารณาปรั​ับปรุ​ุ งแผนพลั​ังงานเป็​็นไปอย่​่างยากลํ​ําบาก ดั​ังนั้​้�นภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานต้​้องเจรจาต่​่อรองลดระยะเวลาหรื​ือลดปริ​ิมาณ การซื้​้�อขายพลั​ังงานฟอสซิ​ิลจากผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานที่​่�ได้​้ทํ​ําสั​ัญญาระยะยาวเอาไว้​้ รวมถึ​ึง

มี​ี แ นวทางในการชดเชยเยี​ี ย วยาผู้​้�ประกอบกิ​ิ จ การที่​่�ชั​ั ด เจน เพื่​่�อให้​้ ห น่​่ ว ยงานกํ​ํ า กั​ั บ ดู​ู แ ลด้​้ า น พลั​ังงานสามารถปรั​ับปรุ​ุ งแผนพลั​ังงานให้​้มี​ีสั​ัดส่​่วนการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�เพิ่​่�ม มากขึ้​้�น และเหมาะสมกั​ับบริ​ิบทของประเทศไทย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 40


ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานเห็​็นว่​่าการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานย่​่อมส่​่งผลกระทบต่​่อผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ พลั​ังงานฟอสซิ​ิลอย่​่างหลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงคาดหวั​ังในภาครั​ัฐมี​ีมาตรการในการชดเชยและ เยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ชั​ัดเจน โดยการชดเชย

และเยี​ียวยาจะต้​้องคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงถึ​ึงปั​ัจจั​ัยทางเศรษฐกิ​ิจและสั​ังคม นอกจากนี้​้� ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน

ยั​ังเสนอว่​่า ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานอาจพิ​ิจารณายกเลิ​ิกโรงไฟฟ้​้าที่​่�ผลิ​ิตจาก พลั​ังงานฟอสซิ​ิลโดยใช้​้ ประสิ​ิทธิ​ิภาพ ของโรงไฟฟ้​้าแต่​่ละแห่​่งเป็​็นเกณฑ์​์ เช่​่น หากโรงไฟฟ้​้ามี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงและสร้​้างผลตอบแทนดี​ี ก็​็ให้​้มีก ี ารเร่​่งการผลิ​ิตอย่​่างเต็​็มกํ​ําลั​ัง แต่​่หากโรงไฟฟ้​้ามี​ี

ประสิ​ิทธิ​ิภาพการผลิ​ิตตํ่​่าและสร้​้างผลตอบแทนน้​้อย ก็​็ให้​้ยกเลิ​ิกโครงการโรงไฟฟ้​้าดั​ังกล่​่าว เป็​็นต้​้น

ประเด็​็นที่​่�เ ห็​็นว่​่าเป็​็น “ความไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรม” ในโครงสร้​้างพลั​ังงานไทย ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานแสดงความคิ​ิดเห็​็นเกี่​่�ยวกั​ับปั​ัญหาโครงสร้​้างพลั​ังงาน ความไม่​่ยุติ ุ ิธรรม

ด้​้านพลั​ังงาน ตลอดจนความคาดหวั​ังต่​่อนโยบายและแนวทางในการปรั​ับปรุ​ุ งโครงสร้​้างพลั​ังงาน เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น โดยสามารถสรุ​ุ ปเป็​็นประเด็​็นความท้​้าทายได้​้ดั​ังนี้​้�

การส่​่งเสริ​ิมการแข่​่งขั​ันในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนระบุ​ุว่​่า การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการ ส่​่งเสริ​ิมการแข่​่งขั​ันในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานที่​่�โปร่​่งใสและเป็​็นธรรม โดยหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน

พลั​ังงานควรมี​ีการเปิ​ิดโอกาสให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานสามารถซื้​้�อ-ขายไฟฟ้​้าได้​้อย่​่างเสรี​ี รวมถึ​ึงส่​่งเสริ​ิมให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนสามารถเข้​้าถึ​ึงการซื้​้�อ-ขายไฟฟ้​้าในระบบ

ได้​้อย่​่างเสรี​ีและโปร่​่งใส ซึ่​่�งผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเชื่​่�อว่​่าการเปิ​ิดให้​้มีก ี ารเข้​้าถึ​ึงการ

ใช้​้ประโยชน์​์ในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานได้​้อย่​่างเสรี​ี จะทํ​ําให้​้เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานได้​้จริ​ิงใน ทางปฏิ​ิ บั​ัติ​ิ โดยผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการพลั​ั งงานยกตั​ั วอย่​่างประเทศเยอรมนี​ีที่​่�มี​ีเป้​้าหมายในการใช้​้

พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนทั้​้�งหมด 100% ซึ่​่�งภาครั​ัฐเยอรมนี​ีได้​้มีก ี ารกํ​ําหนดนโยบายการรั​ับซื้​้�อไฟฟ้​้าจาก พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ประชาชนผลิ​ิตทั้​้�งหมด เพื่​่�อเป็​็นการส่​่งเสริ​ิมให้​้ประชาชนหั​ันมาใช้​้พลั​ังงาน หมุ​ุนเวี​ียน และมี​ีส่​่วนร่​่วมในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนทราบดี​ีว่า ่ หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานมี​ีความกั​ังวล

เรื่​่�องความมั่​่�นคงและเสถี​ียรภาพพลั​ังงาน ซึ่​่�งส่​่งผลให้​้การซื้​้�อ-ขายไฟฟ้​้ายั​ังคงเป็​็นรู​ู ปแบบผู้​้�ขาย รายเดี​ียว (enhanced single buyer) แต่​่เห็​็นว่​่าเหตุ​ุผลดั​ังกล่​่าวไม่​่ควรเป็​็นข้​้ออ้​้างที่​่�ทํ​ําให้ ้ไม่​่มี​ี การเปิ​ิดโอกาสให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานสามารถซื้​้�อ-ขายไฟฟ้​้าได้​้อย่​่างเสรี​ี ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ

พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนคาดหวั​ังว่​่าหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีการปรั​ับแนวคิ​ิด (mindset) ใหม่​่ โดยหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีหน้​้าที่​่�ในการกํ​ําหนดมาตรการเพิ่​่�มเสถี​ียรภาพ

พลั​ังงานในระยะเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน เช่​่น การกํ​ําหนดมาตรการสํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 41


แสงอาทิ​ิตย์​์ที่​่�จะต้​้องมี​ีระบบแบตเตอรี่​่�ตามมาตรฐานซึ่​่�งเป็​็นที่​่�ยอมรั​ับ การจั​ัดตั้​้�งหน่​่วยงานสํ​ําหรั​ับ บริ​ิหารจั​ัดการเสถี​ียรภาพพลั​ังงานโดยเฉพาะ เป็​็นต้​้น

การพั​ัฒนานวั​ัตกรรมเพื่​่�อรองรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ผู้​้�ประกอบกิ​ิ จ การพลั​ั ง งานเริ่​่�มมี​ี แ นวทางในการพั​ั ฒ นานวั​ั ต กรรมพลั​ั ง งานใหม่​่ ๆ เพื่​่�อรองรั​ับ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน เช่​่น การพั​ัฒนานํ้​้ามั​ันเครื่​่�องบิ​ินที่​่�ลดการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล จากการ

นํ​ํานํ้​้ามั​ันใช้​้แล้​้ วในครั​ัวเรื​ือนมาผสมและพั​ัฒนาจนสามารถใช้​้เติ​ิ มนํ้​้ามั​ันเครื่​่�องบิ​ินได้​้ เป็​็นต้​้ น

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานเห็​็นว่​่านโยบายพลั​ังงานในปั​ัจจุ​ุบั​ันขาดการส่​่งเสริ​ิมการ พั​ัฒนานวั​ัตกรรมด้​้านพลั​ังงานทดแทน เพื่​่�อรองรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน โดยยกตั​ัวอย่​่างปั​ัจจุ​ุบัน ั ภาครั​ัฐไม่​่มี​ีการสนั​ับสนุ​ุนการใช้​้พลั​ั งงานชี​ีวมวลหรื​ือไบโอดี​ี เซลที่​่�เคยเป็​็นพลั​ั งงานทดแทนที่​่�มี​ี

ประสิ​ิ ท ธิ​ิภ าพ มี​ี ส่​่ ว นช่​่ ว ยลดการใช้​้ พ ลั​ั ง งานฟอสซิ​ิ ล และช่​่ ว ยกระจายรายได้ ใ้ ห้​้ กั​ั บ เกษตรกร เนื่​่�องจากพลั​ังงานชี​ีวมวลมี​ีความผั​ันผวนด้​้านราคาวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานจึ​ึง

คาดหวั​ังให้​้หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานมี​ีการสนั​ับสนุ​ุนเงิ​ินทุ​ุนให้​้แก่​่ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในการ พั​ัฒนานวั​ั ตกรรมด้​้ านพลั​ั งงานทดแทนใหม่​่ ๆ ที่​่�ลดการปล่​่ อยก๊​๊ าซเรื​ือนกระจกและเป็​็นมิ​ิตรต่​่ อ สิ่​่�งแวดล้​้อม และรองรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ

การพั​ัฒนาโครงสร้​้างพื้​้�นฐานที่​่�รองรั​ับการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนยั​ังไม่​่เห็​็นการดํ​ํ าเนิ​ินการที่​่�ชั​ัดเจนของผู้​้�ผลิ​ิ ตไฟฟ้​้าในการ

พั​ัฒนาและปรั​ับปรุ​ุ งเทคโนโลยี​ีระบบการส่​่งและระบบจํ​ําหน่​่ายไฟฟ้​้าให้​้ทั​ันสมั​ัย เพื่​่�อรองรั​ับการ

ผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�น (grid modernization) ซึ่​่�งถื​ือเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของ แผนพั​ัฒนาพลั​ังงานแห่​่งชาติ​ิ การดํ​ําเนิ​ินการที่​่�ขาดตอนและไม่​่ชั​ัดเจนดั​ังกล่​่าวส่​่งผลให้​้การผลิ​ิต ไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนไม่​่เติ​ิบโตและประชาชนไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ได้​้ ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนจึ​ึงคาดหวั​ังให้​้ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน

พลั​ังงานมี​ีมาตรการที่​่�ชั​ัดเจนในการกํ​ําหนดให้​้ผู้​้�ผลิ​ิตไฟฟ้​้าต้​้องการดํ​ําเนิ​ินการพั​ัฒนาและปรั​ับปรุ​ุ ง เทคโนโลยี​ีระบบการส่​่งและระบบจํ​ําหน่​่ายไฟฟ้​้า เพื่​่�อเพิ่​่�มศั​ักยภาพในการรองรั​ับการผลิ​ิตไฟฟ้​้า จากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนอย่​่างเป็​็นรู​ู ปธรรม

แนวทางการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของประเทศไทย ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานเห็​็นว่​่านโยบายการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนในประเทศไทยยั​ังไม่​่มี​ี ความชั​ัดเจน ซึ่​่�งเป็​็นผลจากการขาดแนวทางและแผนการส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน จนอาจ

ส่​่งผลให้​้ประเทศไทยไม่​่สามารถบรรลุ​ุเป้​้าหมายความเป็​็นกลางทางคาร์​์บอนและการปล่​่อยก๊​๊าซ

เรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ได้​้ ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานจึ​ึงคาดหวั​ังให้​้ภาครั​ัฐและหน่​่วยงาน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 42


กํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานมี​ีการจั​ัดทํ​ําแผนการส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ชั​ัดเจน เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการ

เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�เป็​็นรู​ู ปธรรมมากขึ้​้�น เช่​่น การปรั​ับปรุ​ุ งกฎหมายเพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้เกิ​ิดการแข่​่งขั​ัน ในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน การส่​่งเสริ​ิมให้​้ประชาชนสามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้อย่​่าง เสรี​ี การกํ​ําหนดแนวทางในการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกให้​้ครอบคลุ​ุมทุ​ุกอุ​ุตสาหกรรม การ

สนั​ับสนุ​ุนการพั​ัฒนานวั​ั ตกรรมด้​้ านพลั​ั งงานทดแทนที่​่�ลดการปล่​่ อยก๊​๊ าซเรื​ือนกระจก เป็​็น ต้​้ น ซึ่​่�งการดํ​ําเนิ​ินการต่​่าง ๆ จะต้​้องพิ​ิจารณาให้​้รอบด้​้านทั้​้�งในมิ​ิติ​ิเศรษฐกิ​ิจ สั​ังคม เทคโนโลยี​ี และ

กฎหมาย เพื่​่�อให้​้การจั​ัดทํ​ําแผนดั​ังกล่​่าวมี​ีความชั​ัดเจนและสามารถบรรลุ​ุเป้​้าหมายความเป็​็นกลาง ทางคาร์​์บอนและการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนยั​ังเห็​็นว่​่ากฎเกณฑ์​์และมาตรการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนในปั​ัจจุ​ุบัน ั

ไม่​่เอื้​้�อให้​้เกิ​ิดการเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน และประชาชนไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้ประโยชน์​์ จากพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนได้ ้โดยง่​่าย ซึ่​่�งส่​่ วนหนึ่​่�งเป็​็นผลจากนโยบายพลั​ั งงานที่​่�เอื้​้� อประโยชน์​์ให้​้

กลุ่​่�มผู้​้�ลงทุ​ุนพลั​ังงานฟอสซิ​ิล ที่​่�เปิ​ิดโอกาสให้​้กลุ่​่�มผู้​้�ลงทุ​ุนพลั​ังงานฟอสซิ​ิลสามารถขยายการลงทุ​ุน เพิ่​่�มเติ​ิมและทํ​ําสั​ัญญาผู​ูกพั​ันที่​่�มี​ีระยะเวลานาน ซึ่​่�งประเด็​็นดั​ังกล่​่าวเป็​็นอุ​ุปสรรคต่​่อการขยายตั​ัว

ของอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ตลอดจนการเป็​็นอุ​ุปสรรคต่​่อการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน จึ​ึง คาดหวั​ังให้​้ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานรั​ัฐมี​ีการปรั​ับปรุ​ุ งแก้ ้ไขกฎเกณฑ์​์และมาตรการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการและประชาชนสามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้ ้โดยง่​่าย ตลอดจน ภาคประชาชนจํ​ําเป็​็นต้​้องสร้​้างแรงกดดั​ันให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลยกเลิ​ิกการผลิ​ิต

ก่​่อนกํ​ําหนด (early retire) เพื่​่�อให้​้สามารถเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนและ ลดผลกระทบด้​้านราคาค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�อาจแพงขึ้​้�น

อย่​่างไรก็​็ ตาม หน่​่วยงานกํ​ํ ากั​ั บดู​ูแลด้​้ านพลั​ั งงานค่​่ อนข้​้างมี​ีความกั​ั งวลต่​่ อการส่​่ งเสริ​ิมการใช้​้ พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนในปั​ัจจุ​ุบั​ัน เนื่​่�องจากปั​ัจจุ​ุบั​ันกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศไทยมี​ีปริ​ิมาณที่​่�

เพี​ียงพออยู่​่�แล้​้ว หากมี​ีการเพิ่​่�มการผลิ​ิตพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนอี​ีกจะยิ่​่�งเป็​็นการเพิ่​่�มกํ​ําลั​ังการผลิ​ิต

ไฟฟ้​้ า ในระบบที่​่�มากขึ้​้� น พลั​ั ง งานหมุ​ุ น เวี​ี ย นจึ​ึงถู​ู ก มองว่​่ า เป็​็ น พลั​ั ง งานส่​่ ว นเพิ่​่�ม (additional energy) ที่​่�ทํ​ําให้​้กํ​ําลั​ังการผลิ​ิตพลั​ังงานไฟฟ้​้าในภาพรวมเพิ่​่�มมากขึ้​้�น และอาจส่​่งผลให้​้ราคาค่​่า ไฟฟ้​้าแพงขึ้​้�นด้​้วย ดั​ังนั้​้�น ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานจึ​ึงเสนอให้​้มี​ีการเปิ​ิดโอกาสให้​้มี​ีการส่​่งออก

พลั​ังงานไฟฟ้​้าที่​่�ผลิ​ิตในประเทศ โดยมุ่​่�งเน้​้นให้​้มีก ี ารส่​่งออกพลั​ังงานไฟฟ้​้าที่​่�ผลิ​ิตจากฟอสซิ​ิลเพื่​่�อ ให้​้ประเทศไทยสามารถเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้มากขึ้​้�น

ความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานมี​ีความกั​ังวลต่​่อการนํ​ํา Thailand Taxonomy มาใช้​้เป็​็นเกณฑ์​์ในการ พิ​ิจารณาการสนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินของสถาบั​ันการเงิ​ินให้​้กั​ับโครงการต่​่าง ๆ ในภาคอุ​ุตสาหกรรม

พลั​ังงานและการขนส่​่ง เนื่​่�องจากเกณฑ์​์ Thailand Taxonomy ถู​ูกร่​่างจากแผนพั​ัฒนากํ​ําลั​ังผลิ​ิต

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 43


ไฟฟ้​้าของประเทศไทยฉบั​ับเก่​่า (PDP 2018) ซึ่​่�งจั​ัดทํ​ําขึ้​้�นตั้​้�งแต่​่ปี​ี พ.ศ. 2561 จึ​ึงไม่​่สอดคล้​้องกั​ับ เป้​้าหมายการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ในปั​ัจจุ​ุบัน ั นอกจากนี้​้� ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการยั​ังเห็​็น

ว่​่าเกณฑ์​์ Thailand Taxonomy อาจไม่​่ถูก ู นํ​ําไปใช้​้อย่​่างจริ​ิงจั​ัง เนื่​่�องจากยั​ังไม่​่ใช่​่เกณฑ์​์เชิ​ิงบั​ังคั​ับ สํ​ําหรั​ับสถาบั​ันการเงิ​ินทุ​ุกแห่​่ง

ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ได้​้มีส่ ี ว ่ นร่​่วมในการพั​ัฒนาเกณฑ์​์ Thailand Taxonomy ให้​้ความเห็​็นเพิ่​่�มเติ​ิมว่​่า การจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ในระยะที่​่� 2 จะเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับอุ​ุตสาห­

กรรมอื่​่�น ๆ รวมทั้​้�งอุ​ุตสาหกรรมการท่​่องเที่​่�ยว เนื่​่�องจากเป็​็นอุ​ุตสาหกรรมที่​่�มี​ีความสํ​ําคั​ัญต่​่อระบบ เศรษฐกิ​ิจไทย รวมถึ​ึงปั​ัจจั​ัยด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมและการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกถื​ือเป็​็นอี​ีกปั​ัจจั​ัย

หนึ่​่�งที่​่�นั​ักท่​่องเที่​่�ยวให้​้ความสํ​ําคั​ัญมากขึ้​้�น ซึ่​่�งสะท้​้อนจากการปรั​ับตั​ัวของแพลตฟอร์​์มที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง กั​ั บการท่​่ องเที่​่�ยว เช่​่น การเพิ่​่�มมาตรฐานด้​้ านสิ่​่�งแวดล้​้ อมในข้​้อมู​ูลโรงแรมและสถานที่​่�ต่​่ าง ๆ

เพื่​่�อประกอบการตั​ัดสิ​ินใจของนั​ักท่​่องเที่​่�ยว เป็​็นต้​้น ซึ่​่�งการร่​่างเกณฑ์​์ Thailand Taxonomy ใน

ระยะที่​่� 2 คาดว่​่าจะมี​ีอุป ุ สรรคมากกว่​่า Thailand Taxonomy ในระยะที่​่� 1 เนื่​่�องจากประเด็​็นการ

จั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ันยั​ังไม่​่เป็​็นที่​่�รั​ับรู้​้�สํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในอุ​ุตสาหกรรม ท่​่องเที่​่�ยว ดั​ังนั้​้�น จึ​ึงคาดหวั​ังให้​้การเผยแพร่​่เกณฑ์​์ Thailand Taxonomy ในระยะที่​่� 1 ได้​้รับ ั ความ

ร่​่วมมื​ือจากภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานในการสื่​่�อสารและประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ เพื่​่�อ สร้​้างความรู้​้�ความเข้​้าใจให้​้กั​ับประชาชนและผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในอุ​ุตสาหกรรมอื่​่�น ๆ มากยิ่​่�งขึ้​้�น

3.3 สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์รายกลุ่​่�ม - กลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ิน คณะวิ​ิ จั​ัยสั​ั มภาษณ์​์ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ิน จํ​ํ านวน 3 ราย สามารถสรุ​ุ ปผลการสั​ั มภาษณ์​์ ได้​้ดั​ังนี้​้�

นิ​ิยามและความเข้​้าใจต่​่อการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินมี​ีความเข้​้าใจว่​่ า taxonomy หมายถึ​ึงเครื่​่�องมื​ือที่​่�ใช้ ้ในการจํ​ํ าแนก

กิ​ิจกรรมทางธุ​ุรกิ​ิจในอุ​ุตสาหกรรมต่​่าง ๆ ที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงผลกระทบด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมและการปล่​่อยก๊​๊าซ

เรื​ือนกระจก ทั้​้�งนี้​้� สถาบั​ันการเงิ​ินในภาพรวมค่​่อนข้​้างมี​ีความตื่​่�นตั​ัวและรั​ับรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับเครื่​่�องมื​ือ taxonomy จากการจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy นํ​ําโดยธนาคารแห่​่งประเทศไทย ซึ่​่�งสถาบั​ัน­ การเงิ​ินได้​้มี​ีส่​่วนร่​่วมในการแสดงความคิ​ิดเห็​็นต่​่อร่​่างดั​ังกล่​่าว

สํ​ํ าหรั​ับความเข้​้าใจในประเด็​็ นการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ิน มองว่​่าหมายถึ​ึงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานจากการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลเป็​็นการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 44


ที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความเป็​็นธรรมของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียแต่​่ละกลุ่​่�มที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงาน

แนวทางการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของประเทศไทย ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินแต่​่ละแห่​่งเริ่​่�มกํ​ําหนดเป้​้าหมายในการเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนการสนั​ับสนุ​ุนทาง

การเงิ​ินแก่​่อุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน โดยผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นว่​่าอุ​ุตสาหกรรม

พลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนเริ่​่�มมี​ีการเติ​ิ บโตมากขึ้​้�น จึ​ึงมี​ีการจั​ั ดทํ​ํ าผลิ​ิ ตภั​ั ณฑ์​์ เพื่​่�อตอบสนองต่​่ อความ

ต้​้องการของลู​ูกค้​้าที่​่�ต้​้องการใช้​้หรื​ือทํ​ําธุ​ุรกิ​ิจที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนให้​้สามารถเข้​้าถึ​ึง แหล่​่งเงิ​ินทุ​ุนได้​้

นอกจากนี้​้� ปั​ัจจุ​ุบัน ั สถาบั​ันการเงิ​ินมี​ีการจั​ัดทํ​ําแผนการปล่​่อยสิ​ินเชื่​่�อที่​่�สอดคล้​้องกั​ับแนวนโยบาย ด้​้านพลั​ังงานของประเทศ เริ่​่�มมี​ีแนวทางที่​่�จะไม่​่สนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินกั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน

ฟอสซิ​ิล โดยบรรจุ​ุในนโยบายสิ​ินเชื่​่�ออย่​่างชั​ัดเจน เช่​่น การไม่​่สนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินกั​ับโรงไฟฟ้​้า ถ่​่ านหิ​ิน การทยอยลดสั​ั ดส่​่ วนการสนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินแก่​่ โรงไฟฟ้​้าถ่​่ านหิ​ินและอุ​ุตสาหกรรม

ถ่​่านหิ​ินในพอร์​์ตสิ​ินเชื่​่�อของธนาคาร เป็​็นต้​้น โดยสถาบั​ันการเงิ​ินได้​้การดํ​ําเนิ​ินการแจ้​้งลู​ูกค้​้าโรง­

ไฟฟ้​้าถ่​่ านหิ​ินและอุ​ุตสาหกรรมถ่​่ านหิ​ินที่​่�อยู่​่�ในพอร์​์ตสิ​ิ นเชื่​่�อของตน เพื่​่�อสร้​้างความเข้​้าใจต่​่ อ

นโยบายและแนวทางของสถาบั​ันการเงิ​ินที่​่�ต้​้องการดํ​ําเนิ​ินการตามเป้​้าหมายการลดการปล่​่อย ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกที่​่�ถื​ือเป็​็นเป้​้าหมายในระดั​ับสากล

ทั้​้�งนี้​้� ลู​ูกค้​้าธุ​ุรกิ​ิจโรงไฟฟ้​้าถ่​่านหิ​ินในพอร์​์ตสิ​ินเชื่​่�อของสถาบั​ันการเงิ​ินบางราย มี​ีความกั​ังวลว่​่า

นโยบายการไม่​่ปล่​่อยสิ​ินเชื่​่�อให้​้กั​ับโรงไฟฟ้​้าถ่​่านหิ​ินและการทยอยลดสั​ัดส่​่วนสิ​ินเชื่​่�อโรงไฟฟ้​้า ถ่​่านหิ​ินในพอร์​์ตสิ​ินเชื่​่�อของสถาบั​ันการเงิ​ิน อาจสร้​้างผลกระทบต่​่อการดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจของลู​ูกค้​้า ซึ่​่�ง สถาบั​ันการเงิ​ินได้​้มีก ี ารหารื​ือร่​่วมกั​ับลู​ูกค้​้าเพื่​่�อหาแนวทางร่​่วมกั​ัน หากลู​ูกค้​้ามี​ีแผนและแนวทาง

ที่​่�ต้​้องการจะปรั​ับเปลี่​่�ยนธุ​ุรกิ​ิจจากธุ​ุรกิ​ิจพลั​ังงานฟอสซิ​ิลเป็​็นพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน สถาบั​ันการเงิ​ิน จะพิ​ิจารณาแผนการปล่​่อยสิ​ินเชื่​่�อเช่​่นเดิ​ิมเพื่​่�อให้​้ลู​ูกค้​้าสามารถปรั​ับเปลี่​่�ยนธุ​ุรกิ​ิจของตนเองได้​้

แต่​่หากลู​ูกค้​้าต้​้องการดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจเช่​่นเดิ​ิม สถาบั​ันการเงิ​ินจะมี​ีการหารื​ือกั​ับลู​ูกค้​้าถึ​ึงแนวทางใน การยุ​ุติ​ิการทํ​ําธุ​ุรกรรมกั​ับลู​ูกค้​้าให้​้เป็​็นไปตามเป้​้าหมายของสถาบั​ันการเงิ​ิน

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นว่​่าลํ​ําพั​ังการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ขั​ับเคลื่​่�อนด้​้วย กลไกของสถาบั​ันการเงิ​ินยั​ังไม่​่เพี​ียงพอ จํ​ําเป็​็นต้​้องอาศั​ัยกลไกภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแล ด้​้ านพลั​ั งงานเพื่​่�อให้​้การขั​ับเคลื่​่�อนเป็​็นรู​ู ปธรรมและมี​ีประสิ​ิ ทธิ​ิภาพ ทั้​้� งนี้​้� ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ัน­

การเงิ​ินเห็​็นว่​่านโยบายพลั​ังงานในปั​ัจจุ​ุบัน ั แม้​้มีส่ ี ว ่ นช่​่วยให้​้เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน แต่​่ยังั ขาด การคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงผลกระทบที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นกั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการฟอสซิ​ิล โดยเฉพาะผู้​้�ประกอบกิ​ิจการธุ​ุรกิ​ิจ

โรงไฟฟ้​้าถ่​่านหิ​ินหรื​ืออุ​ุตสาหกรรมถ่​่านหิ​ิน ดั​ังนั้​้�น จึ​ึงคาดหวั​ังให้​้ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแล

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 45


ด้​้านพลั​ังงานมี​ีบทบาทในการชดเชยและช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลด้​้วยเงิ​ินทุ​ุน องค์​์ความรู้​้� ตลอดจนนวั​ัตกรรมและเทคโนโลยี​ีด้​้านพลั​ังงานใหม่​่ ๆ เพื่​่�อช่​่วยให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ พลั​ังงานฟอสซิ​ิลมี​ีความพร้​้อมเพี​ียงพอที่​่�จะสามารถยุ​ุติ​ิการดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจของตนเองได้​้

ความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นว่​่าหลายประเทศทั่​่�วโลกเริ่​่�มนํ​ําหลั​ักเกณฑ์​์ taxonomy มาใช้​้เป็​็น

หลั​ักเกณฑ์​์ประกอบการพิ​ิจารณาในการดํ​ําเนิ​ินโครงการต่​่าง ๆ เพื่​่�อไม่​่ให้​้เกิ​ิดการสร้​้างผลกระทบ ต่​่อโลกอี​ีก ซึ่​่�งผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นว่​่าการจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 ซึ่​่�ง

นํ​ําโดยธนาคารแห่​่งประเทศไทย มี​ีส่​่วนช่​่วยให้​้สถาบั​ันการเงิ​ินสามารถพิ​ิจารณาสิ​ินเชื่​่�อที่​่�เป็​็นมิ​ิตร

ต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมได้​้ดี​ีขึ้�น ้ ตลอดจนสามารถป้​้องกั​ันกิ​ิจกรรมหรื​ือโครงการฟอกเขี​ียวในอุ​ุตสาหกรรม พลั​ังงานและการขนส่​่ง

ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นว่​่าการนํ​ํา Thailand Taxonomy มาปรั​ับใช้ ้ในการดํ​ําเนิ​ินงาน ของตนเอง จะส่​่ ง ผลให้​้ ส ถาบั​ั น การเงิ​ิ น ต้​้ อ งมี​ี ก ารปรั​ับ โครงสร้​้า งการทํ​ํ า งานทั้​้� ง ระบบ ทั้​้� ง การ ปรั​ับเปลี่​่�ยนแนวทางการดํ​ําเนิ​ินงานของสถาบั​ันการเงิ​ินให้​้สอดคล้​้องกั​ับ Thailand Taxonomy

การสื่​่�อสารและสร้​้างความตระหนั​ักรู้​้�ในแต่​่ละฝ่​่ายงานของสถาบั​ันการเงิ​ิน การสื่​่�อสารแนวทางการ พิ​ิจารณาสิ​ินเชื่​่�อใหม่​่กั​ับลู​ูกค้​้า ตลอดจนการสื่​่�อสาร สร้​้างความเข้​้าใจ และจั​ัดหาแนวทางในการ

แก้ ้ไขปั​ัญหาลู​ูกค้​้าที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากนํ​ํา Thailand Taxonomy มาปรั​ับใช้ ้ในการดํ​ําเนิ​ินงาน

ของสถาบั​ันการเงิ​ิน จึ​ึงคาดหวั​ังให้​้ธนาคารแห่​่งประเทศไทยมี​ีการสื่​่�อสารและสร้​้างความเข้​้าใจ

เกี่​่�ยวกั​ับ Thailand Taxonomy กั​ับสถาบั​ันการเงิ​ินมากขึ้​้�น เพื่​่�อให้​้สถาบั​ันการเงิ​ินสามารถวางแผน ในการนํ​ําหลั​ักเกณฑ์​์ดังั กล่​่าวมาปรั​ับใช้ ้ในการดํ​ําเนิ​ินงานของตนเองได้​้ ตลอดจนจั​ัดทํ​ําแนวปฏิ​ิบัติ ั ิ ในการสนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินในแต่​่ละกิ​ิจกรรมที่​่�ชั​ัดเจน เพื่​่�อให้​้สถาบั​ันการเงิ​ินนํ​ําไปปรั​ับใช้ ้ในการ ดํ​ําเนิ​ินงานได้​้ง่า ่ ยขึ้​้�น เช่​่น แนวปฏิ​ิบัติ ั ิในการพิ​ิจารณาการสนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินสํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบ­

กิ​ิ จ การพลั​ั ง งานฟอสซิ​ิ ล ที่​่�มี​ี ก ารลงทุ​ุ น ด้​้ า นเทคโนโลยี​ี ก ารกั​ั ก เก็​็ บ คาร์​์บ อน แนวปฏิ​ิ บั​ั ติ​ิ ใ นการ พิ​ิจารณายุ​ุติ​ิการทํ​ําธุ​ุรกรรมกั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลที่​่�ไม่​่มี​ีแนวทางในการลดการ ปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก เป็​็นต้​้น

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นว่​่าหลั​ักเกณฑ์​์ Thailand Taxonomy ที่​่�จั​ัดทํ​ําขึ้​้�นนั้​้�น

ขาดการคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงผลกระทบต่​่ อผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน โดยเฉพาะผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในกลุ่​่�ม กิ​ิจกรรมสี​ีเหลื​ืองและสี​ีแดงที่​่�ยั​ังไม่​่มีก ี ลไกและมาตรการรองรั​ับในการปรั​ับตั​ัวเข้​้าสู่​่�กิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียว

ซึ่​่�งอาจนํ​ําไปสู่​่�แรงต้​้านต่​่อหลั​ักเกณฑ์​์ดั​ังกล่​่าวจากกลุ่​่�มผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานได้​้ ดั​ังนั้​้�น คณะ ทํ​ํางาน Thailand Taxonomy โดยเฉพาะธนาคารแห่​่งประเทศไทย ควรมี​ีการรั​ับฟั​ังความคิ​ิดเห็​็น จากผู้​้�ประกอบกิ​ิจการอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานโดยตรง (real sector) ในฐานะผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียที่​่�

ได้​้รับ ั ผลกระทบมากที่​่�สุ​ุด เพื่​่�อให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานเห็​็นว่​่าจะสามารถปรั​ับตั​ัวเข้​้าสู่​่�กิ​ิจกรรม

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 46


สี​ีเขี​ียวได้​้อย่​่างไร แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิเพื่​่�อลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกที่​่�ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานต้​้อง

นํ​ํามาปรั​ับใช้​้เป็​็นอย่​่างไร และความเป็​็นไปได้​้ที่​่�ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการจะสามารถดํ​ําเนิ​ินการเพื่​่�อให้​้บรรลุ​ุ เป้​้าหมายการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกนั้​้�นเป็​็นอย่​่างไร

นอกจากนี้​้� ผู้​้�แทนกลุ่​่�มสถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นว่​่ าหลั​ั กเกณฑ์​์ Thailand Taxonomy ที่​่�มี​ีเป้​้าหมาย ในการยกเลิ​ิกการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลนั้​้�น ค่​่อนข้​้างขั​ัดแย้​้งกั​ับนโยบายพลั​ังงานของประเทศไทยที่​่�

ยั​ังคงกํ​ําหนดให้​้มีก ี ารใช้​้ประโยชน์​์จากพลั​ังงานฟอสซิ​ิลอยู่​่� ดั​ังนั้​้�น ธนาคารแห่​่งประเทศไทยควรมี​ี การบู​ูรณาการการทํ​ํางานร่​่วมกั​ันกั​ับหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน โดยอาจบู​ูรณาการการ

ทํ​ํางานร่​่วมกั​ับคณะกรรมการนโยบายพลั​ังงานแห่​่งชาติ​ิ (กพช.) และกระทรวงพลั​ังงาน เพื่​่�อให้​้ เห็​็นตรงกั​ันว่​่าการพั​ัฒนาแผนพลั​ังงานระดั​ับชาติ​ิจะมี​ีแนวทางในการลดการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล เป็​็ น สั​ั ด ส่​่ ว นเท่​่ า ไร ควรควบคุ​ุ ม การใช้​้ ก๊​๊ า ซธรรมชาติ​ิ ใ ห้​้ มี​ี สั​ั ด ส่​่ ว นเท่​่ า ไร ควรมี​ี ก ารเสริ​ิม สร้​้า ง

พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนให้​้มี​ีสั​ัดส่​่วนมากขึ้​้�นระดั​ับใด และควรมี​ีการจั​ัดหากลไกและแนวทางรองรั​ับ

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากการประกาศใช้​้ Thailand Taxonomy อย่​่างไร ซึ่​่�งมี​ีส่​่วนช่​่วยให้​้สถาบั​ันการเงิ​ินเห็​็นถึ​ึงประโยชน์​์ในการนํ​ํา Thailand Taxonomy ที่​่�มี​ีความสอด­

คล้​้องกั​ับแผนพลั​ังงานของประเทศมาปรั​ับใช้ ้ในการพิ​ิจารณาสิ​ินเชื่​่�อของสถาบั​ันการเงิ​ินมากขึ้​้�น ตลอดจนการจั​ัดหากลไกและแนวทางรองรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากการ ประกาศใช้​้ Thailand Taxonomy

3.4 สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์รายกลุ่​่�ม - กลุ่​่�มตั​ัวแทนแรงงาน คณะวิ​ิจั​ัยสั​ัมภาษณ์​์ผู้​้�แทนสหภาพแรงงานจากอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล จํ​ํานวน 3 ราย โดยสามารถ สรุ​ุ ปผลการสั​ัมภาษณ์​์ได้​้ดั​ังนี้​้�

นิ​ิยามและความเข้​้าใจต่​่อการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม จากการสั​ัมภาษณ์​์ตั​ัวแทนแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน พบว่​่า ตั​ัวแทนแรงงานยั​ังไม่​่ทราบถึ​ึง นิ​ิยามของ taxonomy ว่​่าหมายถึ​ึงอะไร เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับตนเองอย่​่างไร

สํ​ําหรั​ับประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม พบว่​่า ตั​ัวแทนแรงงานรั​ับรู้​้�ว่​่าหมายถึ​ึง การ

เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานจากการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลเป็​็นการใช้​้พลั​ังงานสะอาดหรื​ือพลั​ังงานทดแทน เพื่​่�อลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกและลดการสร้​้างมลภาวะทางอากาศ ซึ่​่�งการเปลี่​่�ยนผ่​่านนั้​้�นต้​้อง คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงแนวทางการเยี​ียวยาผลกระทบที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นต่​่อแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานด้​้วย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 47


อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าพนั​ักงานที่​่�รั​ับรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ส่​่วนใหญ่​่เป็​็น พนั​ักงานรุ่​่�นใหม่​่ที่​่� อายุ​ุตั้​้� งแต่​่ 20–50 ปี​ี เนื่​่�องจากพนั​ักงานรุ่​่�นใหม่​่ค่​่อนข้​้างให้​้ความสํ​ํ าคั​ั ญกั​ั บ

ผลกระทบต่​่าง ๆ ที่​่�อาจส่​่งผลต่​่อความเปลี่​่�ยนแปลงในการทํ​ํางานและสวั​ัสดิ​ิการของตนเอง รวมถึ​ึง มี​ีการติ​ิดตามอย่​่างใกล้​้ชิด ิ เกี่​่�ยวกั​ับการกํ​ําหนดแนวทางการเยี​ียวยาต่​่อพนั​ักงานจากการปรั​ับเปลี่​่�ยน โครงสร้​้างและรู​ู ปแบบการทํ​ํางานขององค์​์กร ขณะที่​่�พนั​ักงานที่​่�เริ่​่�มมี​ีอายุ​ุมากกว่​่า 50 ปี​ีขึ้�้นไป แม้​้จะรั​ับรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับเรื่​่�องการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน แต่​่เลื​ือกที่​่�จะไม่​่สนใจติ​ิดตามประเด็​็นดั​ังกล่​่าว เนื่​่�องจากไม่​่ต้​้องการเปลี่​่�ยนแปลงรู​ู ปแบบการทํ​ํางานไปจากเดิ​ิม

นอกจากนี้​้� ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์เ ห็​็ น ว่​่ า การเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานเป็​็น ประเด็​็ น ที่​่�เริ่​่�ม มี​ี ก ารรั​ับ รู้​้�ม ากขึ้​้� น ในหน่​่วยงานด้​้านนโยบาย ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน และประชาชน เนื่​่�องจากมี​ีการสื่​่�อสารจาก

ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงานที่​่�เพิ่​่�มมากขึ้​้�น ตลอดจนประเด็​็นดั​ังกล่​่าวเป็​็นกระแสทางสั​ังคมที่​่�เริ่​่�มให้​้ ความสํ​ําคั​ัญในประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานมากขึ้​้�น จึ​ึงเห็​็นว่​่าผู้​้�กํ​ําหนดนโยบายควรมี​ีความ

ชั​ัดเจนในเรื่​่�องของขอบเขตของเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน และเร่​่งสื่​่�อสารทํ​ําความเข้​้าใจต่​่อประชาชน อย่​่างทั่​่�วถึ​ึงและรอบด้​้าน

ปั​ัญหา อุ​ุปสรรค และความท้​้าทายในการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลของภาคพลั​ังงานไทย การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานและการยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิล คื​ือมาตรการสํ​ําคั​ัญเพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับสถาน­ การณ์​์ด้​้านการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพอากาศในปั​ัจจุ​ุบั​ัน โดยผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จํ​ํานวน 1 ราย กล่​่าวถึ​ึง

แนวคิ​ิดดั​ังกล่​่าวว่​่า การดํ​ําเนิ​ินนโยบายพลั​ังงานที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นส่​่วนหนึ่​่�งเป็​็นผลจากการที่​่�รั​ัฐบาลไทย มี​ีการประกาศเป้​้าหมายการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในการประชุ​ุมรั​ัฐภาคี​ีกรอบอนุ​ุสั​ัญญา­

สหประชาชาติ​ิ ว่​่าด้​้ วยการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ ครั้​้�งที่​่� 27 (COP27) ในปี​ี ค.ศ. 2022 ส่​่งผลให้​้หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน ตลอดจนผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน จํ​ําเป็​็นต้​้องปรั​ับตั​ัวและมี​ีแนวนโยบายที่​่�ชั​ัดเจนมากขึ้​้�นในการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก

ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์จํา ํ นวน 1 ราย กล่​่าวว่​่าปั​ัจจุ​ุบัน ั องค์​์กรของตนเองมี​ีการประกาศนโยบายและแนวทาง ในการดํ​ําเนิ​ินงานที่​่�สอดคล้​้องกั​ับเป้​้าหมายการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก การเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานและการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิล รวมถึ​ึงกํ​ําหนดมาตรการเพื่​่�อลดผลกระทบต่​่อพนั​ักงาน โดยมี​ีการเตรี​ียมการจั​ัดทํ​ําแผนปฏิ​ิบั​ัติ​ิการและตั้​้�งเป้​้าหมายในระยะยาวระดั​ับ 10–20 ปี​ี เพื่​่�อเป็​็น

แนวทางในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน เนื่​่�องจากหน่​่วยงานของผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เป็​็นผู้​้�นํ​ําในอุ​ุตสาหกรรม พลั​ังงานจึ​ึงมี​ีการจั​ัดทํ​ําแผนเพื่​่�อลดปริ​ิมาณการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก และจั​ัดทํ​ํายุ​ุทธศาสตร์​์ระยะ

ยาวที่​่�สอดรั​ับกั​ับเป้​้าหมายของประเทศในการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ในปี​ี ค.ศ. 2065 ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าในภาพรวมของอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานเริ่​่�มมี​ีการเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนการจั​ัดหาและ

ผลิ​ิตพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น โดยผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จํ​ํานวน 1 ราย กล่​่าวว่​่าองค์​์กรของตนเองเริ่​่�ม

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 48


มี​ีการลงทุ​ุนเพิ่​่�มขึ้​้�นในกลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเนื่​่�องจากมี​ีความต้​้องการจากผู้​้�บริ​ิโภคที่​่�เพิ่​่�ม ขึ้​้�น ซึ่​่�งองค์​์กรของผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มี​ีการจั​ัดเตรี​ียมแนวทางให้​้พนั​ักงานสามารถย้​้ายไปทํ​ํางานใน

ตํ​ําแหน่​่งงานของกลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้ โดยพนั​ักงานแต่​่ละตํ​ําแหน่​่งสามารถนํ​ําเสนอ

โครงการหรื​ือโมเดลในการทํ​ํางานของตั​ัวเองเพื่​่�อไปใช้​้ทํา ํ งานจริ​ิงในกลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจที่​่�องค์​์กรมี​ีการลงทุ​ุน

ซึ่​่�งผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าแนวทางดั​ังกล่​่าวมี​ีส่​่วนช่​่วยจู​ูงใจให้​้พนั​ักงานอยากไปทํ​ํางานในกลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจ พลั​ั ง งานหมุ​ุ น เวี​ี ย นที่​่�องค์​์ ก รมี​ี ก ารลงทุ​ุ น มากขึ้​้� น นอกจากนี้​้� องค์​์ ก รของผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ มี​ี ก าร

เตรี​ียมความพร้​้อมของพนั​ักงาน โดยการส่​่งเสริ​ิมทั​ักษะและศั​ักยภาพเพื่​่�อให้​้พนั​ักงานสามารถ

ปรั​ับตั​ัวและเปลี่​่�ยนงานได้​้ตามความสมั​ัครใจ ซึ่​่�งผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าแรงงานที่​่�น่​่าจะได้​้รับ ั ผล­ กระทบมากที่​่�สุ​ุดจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานคื​ือ ระดั​ับปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ (operation) และงานซ่​่อม บํ​ํารุ​ุ ง (maintenance)

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า แม้​้องค์​์กรจะมี​ีการเตรี​ียมการด้​้านบุ​ุคลากร เพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับ ความเปลี่​่�ยนแปลงทางธุ​ุร กิ​ิ จ แต่​่ พ นั​ัก งานยั​ั ง มี​ี ข้​้ อ กั​ั ง วลต่​่ อ แผนการดํ​ํ า เนิ​ิน การดั​ั ง กล่​่ า ว โดย คณะวิ​ิจั​ัยทํ​ําการสรุ​ุ ปความคิ​ิดเห็​็นและข้​้อกั​ังวลจากพนั​ักงานในองค์​์กรของผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ ดั​ังนี้​้�

 การเปลี่​่�ยนแปลงทางด้​้านสวั​ัสดิ​ิการและรู​ู ปแบบสั​ัญญา: เมื่​่�อพนั​ักงานเลื​ือกที่​่�จะย้​้ายไปยั​ัง ตํ​ํ าแหน่​่งงานของธุ​ุรกิ​ิจใหม่​่ขององค์​์กร ส่​่งผลให้​้สั​ัญญาจ้​้างจะเปลี่​่�ยนรู​ู ปแบบจากการจ้​้าง ประจํ​ําเป็​็นสั​ัญญาจ้​้างชั่​่�วคราวในระยะเวลา 1 ปี​ี และได้​้รับ ั สิ​ิทธิ​ิและสวั​ัสดิ​ิการที่​่�แตกต่​่างจาก

การเป็​็นพนั​ักงานประจํ​ํา จึ​ึงเกิ​ิดความกั​ังวลต่​่อความมั่​่�นคงและความก้​้าวหน้​้าทางอาชี​ีพ ทั้​้�งนี้​้� องค์​์กรของผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายมี​ีการกํ​ําหนดเงื่​่�อนไขในการย้​้ายตํ​ํ าแหน่​่งงานที่​่�สามารถ กลั​ับสู่​่�บริ​ิษั​ัทเดิ​ิมได้​้ภายใน 1 ปี​ี

 ภาระงานในภาคธุ​ุรกิ​ิจเดิ​ิมที่​่�เพิ่​่�มมากขึ้​้�น: จากการที่​่�จํ​ํานวนพนั​ักงานในส่​่วนงานเดิ​ิมลดลง

ทํ​ําให้​้ต้​้องรั​ับภาระงานมากขึ้​้�น โดยสํ​ําหรั​ับส่​่วนงานผลิ​ิตพลั​ังงานค่​่อนข้​้างได้​้รับ ั ผลกระทบจาก

การเปลี่​่�ยนผ่​่ า นของธุ​ุ ร กิ​ิ จ ค่​่ อ นข้​้ า งมาก เนื่​่�องจากพนั​ั ก งานในสายงานผลิ​ิ ต เดิ​ิ ม เริ่​่�ม มี​ี ก าร

โยกย้​้ายไปทํ​ํางานในธุ​ุรกิ​ิจใหม่​่มากขึ้​้�น ส่​่งผลให้​้พนั​ักงานที่​่�ยั​ังคงอยู่​่�ในสายงานผลิ​ิตเดิ​ิมต้​้อง รั​ับภาระงานมากขึ้​้�น

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์คาดหวั​ังให้​้ผู้​้�บริ​ิหารขององค์​์กรจั​ัดทํ​ําแนวทางสํ​ําหรั​ับบุ​ุคลากร เพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับการ เปลี่​่�ยนแปลงในธุ​ุรกิ​ิจที่​่�ชั​ัดเจนมากขึ้​้�น เช่​่น การจั​ัดหาพนั​ักงานชั่​่�วคราวทดแทนพนั​ักงานที่​่�ย้​้ายงาน

ไปยั​ังธุ​ุรกิ​ิจใหม่​่ การกํ​ําหนดเงื่​่�อนไขและสวั​ัสดิ​ิการในธุ​ุรกิ​ิจใหม่​่ที่​่�ทั​ัดเที​ียมกั​ับธุ​ุรกิ​ิจเดิ​ิม เป็​็นต้​้น นอกจากนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่านโยบายดั​ังกล่​่าวเกิ​ิดจากรั​ัฐบาล ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงคาดหวั​ังให้​้รัฐ ั บาลมี​ี

มาตรการในการเยี​ียวยาผู้​้�ที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากนโยบายดั​ังกล่​่าว โดยเฉพาะพนั​ักงานที่​่�จะต้​้อง ตกงานที่​่�ถื​ือเป็​็นผู้​้�ที่​่�จะต้​้องได้​้รับ ั การเยี​ียวยามากกว่​่ากฎหมายกํ​ําหนด เนื่​่�องจากต้​้องตกงานเพื่​่�อเป้​้า­ หมายและนโยบายของประเทศ รวมถึ​ึงรั​ัฐบาลและหน่​่วยงานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง ควรมี​ีการจั​ัดตั้​้�งกองทุ​ุน ประกั​ันความเสี่​่�ยงเพื่​่�อรองรั​ับกรณี​ีที่​่�บริ​ิษั​ัทได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านจนต้​้องปิ​ิดตั​ัวลง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 49


ประเด็​็นที่​่�เ ห็​็นว่​่าเป็​็น “ความไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรม” ในโครงสร้​้างพลั​ังงานไทย ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าโครงสร้​้างพลั​ังงานของแต่​่ละประเทศมี​ีความเหมาะสมในบริ​ิบทที่​่�แตกต่​่างกั​ัน โครงสร้​้างพลั​ังงานของประเทศไทยในปั​ัจจุ​ุบัน ั ค่​่อนข้​้างมี​ีความเหมาะสมแล้​้ว อย่​่างไรก็​็ตาม หาก

มี​ีการปรั​ับปรุ​ุ งโครงสร้​้างด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีการเร่​่งปรั​ับปรุ​ุ งโครงสร้​้างราคาค่​่าไฟฟ้​้า โดยเฉพาะ ปั​ัจจั​ัยราคาก๊​๊าซธรรมชาติ​ิที่​่�ทํ​ําให้​้ราคาค่​่าไฟฟ้​้าแพง ซึ่​่�งเป็​็นผลจากการนํ​ําเข้​้าเชื้​้�อเพลิ​ิงจากต่​่าง­ ประเทศและอั​ัตราแลกเปลี่​่�ยนเงิ​ินตราต่​่างประเทศที่​่�ทํ​ําให้ ้ไม่​่สามารถควบคุ​ุมต้​้นทุ​ุนค่​่าไฟฟ้​้าได้​้

จึ​ึงเสนอว่​่าภาครั​ัฐควรมี​ีการเร่​่งปรั​ับปรุ​ุ งโครงสร้​้างราคาค่​่าไฟฟ้​้า และเปิ​ิดเผยข้​้อมู​ูลที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับ ราคาพลั​ังงานให้​้แก่​่ประชาชนทั่​่�วไปได้​้รับ ั ทราบ

ทั้​้� ง นี้​้� สํ​ํ า หรั​ับ ประเด็​็ น การเข้​้ า ถึ​ึงพลั​ั ง งานของกลุ่​่�มเปราะบางและการสนั​ั บ สนุ​ุ น ของภาครั​ัฐ ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่านโยบายของภาครั​ัฐในปั​ัจจุ​ุบัน ั เพี​ียงพอในการช่​่วยเหลื​ือกลุ่​่�มคนที่​่�อยู่​่�ในพื้​้�นที่​่�

ห่​่างไกลให้​้เข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานได้ ้ในระดั​ับหนึ่​่�ง อย่​่างไรก็​็ตาม เขตพื้​้�นที่​่�ห่​่างไกลในต่​่างจั​ังหวั​ัดมี​ีข้​้อ จํ​ํากั​ัดทางวิ​ิศวกรรม ซึ่​่�งเป็​็นปั​ัจจั​ัยที่​่�เป็​็นอุ​ุปสรรคในการเข้​้าถึ​ึงแหล่​่งพลั​ังงานไฟฟ้​้ารู​ู ปแบบปกติ​ิ

ของประชาชนในพื้​้�นที่​่� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จึ​ึ งคาดหวั​ั งให้​้มี​ีการสนั​ับสนุ​ุน ประชากรกลุ่​่�มดั​ั งกล่​่ าวให้​้ สามารถเข้​้าถึ​ึงแหล่​่งพลั​ังงานไฟฟ้​้าจากธรรมชาติ​ิหรื​ือพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเพื่​่�อให้​้สามารถช่​่วยเหลื​ือ ตั​ัวเองได้​้

แนวทางการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของประเทศไทย ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนของหน่​่วยงานที่​่�สั​ังกั​ัดมี​ีความเพี​ียงพอและ

ทั่​่�วถึ​ึง โดยมี​ีกระบวนการประชาสั​ัมพั​ันธ์​์เพื่​่�อทํ​ําการส่​่งเสริ​ิมการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ซึ่​่�งหน่​่วยงาน มี​ีการดํ​ําเนิ​ินงานสื่​่�อสารผ่​่านช่​่องทางที่​่�หลากหลาย เช่​่น การจั​ัดสั​ัมมนา เสวนา หรื​ือรายงานข่​่าว

ผ่​่านช่​่องทางประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ของหน่​่วยงาน รวมถึ​ึงยั​ังมี​ีฝ่​่ายงานสํ​ําหรั​ับการวิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนานวั​ัต­ กรรมในหมวดพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

อย่​่างไรก็​็ตาม ในแง่​่นโยบายของภาครั​ัฐเพื่​่�อให้​้ประชาชนสามารถเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้ ้ใน ราคาที่​่�เป็​็นธรรม ควรมี​ีการพิ​ิจารณาเพิ่​่�มเติ​ิมใน 2 มิ​ิติ​ิที่​่�สํ​ําคั​ัญ ได้​้แก่​่

 ภาครั​ัฐควรมี​ีบทบาทในการเป็​็นหน่​่วยงานนํ​ําร่​่องที่​่�ศึ​ึกษาเรื่​่�องพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนอย่​่างจริ​ิงจั​ัง และขยายการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนให้​้มี​ีปริ​ิมาณที่​่�เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�นเพื่​่�อให้​้ต้​้นทุ​ุนถู​ูกลงในที่​่�สุ​ุด

 ภาครั​ัฐควรกํ​ํ าหนดนโยบายที่​่�ให้​้การสนั​ับสนุ​ุน (subsidies) แก่​่ ประชาชนเพื่​่�อเพิ่​่�มความ สามารถในการเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน และเพื่​่�อลดภาระของประชาชน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 50


ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าภาครั​ัฐควรมี​ีแนวทางในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานหรื​ือนโยบายที่​่�ชั​ัดเจนว่​่า ต้​้องการเปลี่​่�ยนผ่​่านอย่​่างไร และกํ​ําหนดระยะเวลาในการเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�ชั​ัดเจน โดยการเปลี่​่�ยนผ่​่าน

พลั​ังงานจะต้​้องวางอยู่​่�บนรากฐานของประโยชน์​์ประชาชน และความมั่​่�นคงทางพลั​ังงานไฟฟ้​้าเป็​็น

หลั​ัก และต้​้องมี​ีการกํ​ําหนดสั​ัดส่​่วนในการเปลี่​่�ยนผ่​่านไปสู่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนโดยไม่​่กระทบต่​่อ ภาระต้​้นทุ​ุนพลั​ังงาน และไม่​่กระทบต่​่อความมั่​่�นคงทางพลั​ังงาน

ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มี​ีความกั​ังวลต่​่อความมั่​่�นคงทางพลั​ังงานที่​่�จะส่​่งผลไปยั​ังราคาพลั​ังงานที่​่�อาจ

สู​ูงขึ้​้�นในกรณี​ีที่​่�เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่านไปสู่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน เนื่​่�องจากพลั​ังงานไฟฟ้​้าหรื​ือพลั​ังงาน ชนิ​ิ ด อื่​่�น ๆ เป็​็ น ต้​้ น ทุ​ุ น ของการดํ​ํ า เนิ​ิ น ชี​ี วิ​ิ ต และการผลิ​ิ ต ของภาคธุ​ุ ร กิ​ิ จ ต่​่ า ง ๆ ดั​ั ง นั้​้� น ถ้​้ า หาก การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานส่​่งผลทํ​ําให้​้ราคาพลั​ังงานแพงขึ้​้�น ย่​่อมส่​่งผลกระทบต่​่อประชาชนและ

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในภาคธุ​ุรกิ​ิจต่​่าง ๆ เป็​็นวงกว้​้าง เช่​่น กรณี​ีที่​่�ให้​้มี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านไปใช้ ้ไฟฟ้​้าจาก โซลาร์​์เ ซลล์​์ 100% จะส่​่ ง ผลกระทบต่​่ อ ความมั่​่�นคงทางพลั​ั ง งานไฟฟ้​้ า และราคาต้​้ น ทุ​ุ น ของ พลั​ังงานไฟฟ้​้า เนื่​่�องจากมองว่​่าต้​้นทุ​ุนของโซลาร์​์เซลล์​์ยั​ังสู​ูงกว่​่าพลั​ังงานอื่​่�น ๆ เป็​็นต้​้น

ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จึ​ึงมองว่​่าการเปลี่​่�ยนผ่​่านทางด้​้านพลั​ังงานต้​้องคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความมั่​่�นคงทาง

พลั​ังงานเป็​็นหลั​ัก เช่​่น ต้​้องไม่​่เกิ​ิดไฟฟ้​้าดั​ับ รวมถึ​ึงต้​้องไม่​่เกิ​ิดภาระด้​้านต้​้นทุ​ุนพลั​ังงานแก่​่ประชาชน

กล่​่าวคื​ือ “พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนอาจไม่​่ได้​้เข้​้ามาทดแทนได้​้ 100% จึ​ึงทํ​ําให้​้ต้อ ้ งมี​ีการกํ​ําหนดสั​ัดส่​่วน การใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนให้​้อยู่​่�ในระดั​ับที่​่�เหมาะสม โดยต้​้องคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงประชาชน การเข้​้าถึ​ึง ราคา และความมั่​่�นคงทางพลั​ังงาน” นอกจากนี้​้� การกระจายความเสี่​่�ยงยั​ังเป็​็นเรื่​่�องสํ​ําคั​ัญที่​่�ควรมี​ีการ­

พิ​ิจารณา โดยไม่​่ควรพึ่​่�งพาแหล่​่งพลั​ังงานใดพลั​ังงานหนึ่​่�งมากเกิ​ินไป ควรมี​ีการกระจายความเสี่​่�ยง ในทางเลื​ือกอื่​่�น ๆ เช่​่น หากมี​ีการปรั​ับเปลี่​่�ยนไปใช้​้พลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ก็​็ต้​้องมี​ีระบบกั​ักเก็​็บ หรื​ือ สํ​ํารองไฟฟ้​้าไว้​้ เนื่​่�องจากแสงแดดจะมี​ีเพี​ียงครึ่​่�งวั​ันหรื​ือ 12 ชั่​่�วโมงเท่​่านั้​้�น เป็​็นต้​้น

ความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�แทนสหภาพแรงงานจากอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน ไม่​่มี​ีความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 51


3.5 สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์รายกลุ่​่�ม - กลุ่​่�มผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงาน คณะวิ​ิจัย ั สั​ัมภาษณ์​์ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงาน จํ​ํานวน 5 ราย สามารถสรุ​ุ ปผลการสั​ัมภาษณ์​์ได้​้ดังั นี้​้�

นิ​ิยามและความเข้​้าใจต่​่อการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ระบุ​ุนิย ิ ามของ “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน” ว่​่า หมายถึ​ึงการเปลี่​่�ยนผ่​่านจากการผลิ​ิต และการใช้​้ พ ลั​ั ง งานเดิ​ิ ม ที่​่�มี​ี ก ารปล่​่ อ ยก๊​๊ า ซเรื​ือ นกระจกปริ​ิม าณมาก ไปสู่​่�การผลิ​ิ ต และการใช้​้

พลั​ังงานที่​่�ลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก หรื​ือการเปลี่​่�ยนแปลงด้​้านพลั​ังงานจากเดิ​ิมที่​่�เป็​็นพลั​ังงาน ที่​่�มี​ีความเข้​้มข้​้นคาร์​์บอนสู​ูง (high-carbon intensity) ไปสู่​่�พลั​ังงานที่​่�มี​ีความเข้​้มข้​้นคาร์​์บอนตํ่​่า (low-carbon intensity) อาจกล่​่าวโดยสรุ​ุ ปได้​้ว่า ่ เป็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านจากการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิล ไปสู่​่�การใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ทั้​้� ง นี้​้� สํ​ํ า หรั​ับ คํ​ํ า ว่​่ า “การเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานที่​่�ยุ​ุ ติ​ิ ธ รรม” จะมี​ี ค วามหมายที่​่�ครอบคลุ​ุ ม กลุ่​่�ม

ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานมากขึ้​้�น กล่​่าวคื​ือ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น

จะต้​้องคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงกลุ่​่�มผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียทุ​ุกกลุ่​่�มด้​้วยว่​่า จะทํ​ําอย่​่างไรให้​้ผู้​้�ที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจาก การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานได้​้รับ ั ความเป็​็นธรรม มี​ีทางออก มี​ีที่​่�ยื​ืน และดํ​ําเนิ​ินชี​ีวิ​ิตต่​่อไปได้​้ โดย

ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญที่​่�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มองว่​่าเราสามารถแบ่​่งระดั​ับของการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ออกเป็​็น 3 ระดั​ับ ดั​ังนี้​้�

 ความยุ​ุติ​ิธรรมต่​่อโลกหรื​ือต่​่อสภาพแวดล้​้อม กล่​่าวคื​ือ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานสามารถ

แก้ ้ไขปั​ัญหาเรื่​่�องการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate change) ได้​้หรื​ือไม่​่ เนื่​่�องจาก ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายมองว่​่าบางโครงการที่​่�ดํ​ําเนิ​ินการไปแล้​้วในช่​่วงที่​่�ผ่​่านมาไม่​่สามารถ แก้ ้ไขปั​ัญหาก๊​๊าซเรื​ือนกระจกเกิ​ินขนาดได้​้

 ความยุ​ุติ​ิธรรมต่​่อประเทศ กล่​่าวคื​ือ ภาระส่​่วนเพิ่​่�มที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานมี​ี

ความยุ​ุติธ ิ รรมต่​่อแต่​่ละประเทศหรื​ือไม่​่ โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งต่​่อประเทศยากจน เนื่​่�องจากปั​ัญหา

การเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ จากการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสะสมมาตั้​้�งแต่​่ยุ​ุคปฏิ​ิวั​ัติ​ิ อุ​ุตสาหกรรม โดยในยุ​ุคแรกนั้​้�นประเทศที่​่�มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกมั​ักเป็​็นประเทศที่​่�พั​ัฒนา

แล้​้วหรื​ือเป็​็นประเทศที่​่�รํ่​่ารวยในปั​ัจจุ​ุบัน ั เช่​่น สหรั​ัฐอเมริ​ิกา อั​ังกฤษ เยอรมั​ัน ฝรั่​่�งเศส รั​ัสเซี​ีย

สเปน ญี่​่�ปุ่​่�น เกาหลี​ีใต้​้ ฯลฯ ปริ​ิมาณก๊​๊าซเรื​ือนกระจกที่​่�สะสมอยู่​่�ในชั้​้�นบรรยากาศโลกส่​่วนใหญ่​่

จึ​ึงมาจากประเทศที่​่�พั​ั ฒ นาแล้​้ ว แต่​่ เ มื่​่�อเกิ​ิ ด ปั​ั ญ หากลั​ั บ ให้​้ ทุ​ุก ประเทศต้​้ อ งร่​่ว มมื​ื อ กั​ั น เพื่​่�อ

ลดปริ​ิมาณการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ดั​ังนั้​้�นเพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความยุ​ุติ​ิธรรม ประเทศที่​่�พั​ัฒนาแล้​้ว ควรมี​ีการช่​่วยเหลื​ือประเทศที่​่�กํ​ําลั​ังพั​ัฒนาหรื​ือประเทศยากจนในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 52


 ความยุ​ุติ​ิธรรมภายในประเทศ กล่​่าวคื​ือ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานมี​ีความยุ​ุติ​ิธรรมต่​่อประชากร

แต่​่ ละกลุ่​่�มภายในประเทศหรื​ือไม่​่ เนื่​่�องจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านส่​่ งผลกระทบต่​่ อทุ​ุกคนภายใน ประเทศ แต่​่ไม่​่ใช่​่ทุก ุ คนที่​่�จะสามารถปรั​ับเปลี่​่�ยนไปใช้​้พลั​ังงานสะอาดได้​้ เช่​่น การเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานมั​ักเอื้​้�อให้​้คนรวยสามารถปรั​ับตั​ัวได้​้ง่า ่ ยกว่​่าคนยากจน จากข้​้อจํ​ํากั​ัดด้​้านราคา หรื​ือ ผลกระทบต่​่อกลุ่​่�มแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานฟอสซิ​ิล โดยหากมี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน จากการผลิ​ิตไฟฟ้​้าด้​้วยถ่​่านหิ​ิน เป็​็นการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์หรื​ือลม แรงงาน ที่​่�อยู่​่�ในอุ​ุตสาหกรรมถ่​่านหิ​ินย่​่อมได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านอย่​่างหลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ ซึ่​่�งจะต้​้องมี​ีเวลาเพี​ียงพอให้​้แรงงานสามารถเปลี่​่�ยนผ่​่านอาชี​ีพได้​้ทั​ัน

การเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานที่​่�ยุ​ุ ติ​ิ ธ รรมจํ​ํ า เป็​็ น ต้​้ อ งคํ​ํ า นึ​ึงผลกระทบให้​้ ค รอบคลุ​ุ ม มากที่​่�สุ​ุ ด และ

ต้​้ อ งลดผลกระทบที่​่�จะเกิ​ิ ด ขึ้​้� น กั​ั บ ผู้​้�มี​ี ส่​่ ว นได้​้ ส่​่ ว นเสี​ี ย ให้ ไ้ ด้​้ ม ากที่​่�สุ​ุ ด เพื่​่�อลดการต่​่ อ ต้​้ า นจาก กลุ่​่�มผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียแต่​่ละกลุ่​่�ม ดั​ังนั้​้�นภาครั​ัฐและผู้​้�ประกอบกิ​ิจการจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีกระบวนการ

สร้​้างการมี​ีส่​่วนร่​่วมกั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียแต่​่ ละกลุ่​่�มโดยเฉพาะกลุ่​่�มแรงงาน ให้​้มี​ีความเข้​้าใจ ถึ​ึงความจํ​ําเป็​็นในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน อาจกล่​่าวโดยสรุ​ุ ปได้​้ว่​่า “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�

ยุ​ุติ​ิธรรม คื​ือ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยั่​่�งยื​ืนที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียทุ​ุกกลุ่​่�ม โดยมี​ีแนวทาง ลดผลกระทบที่​่�จะเกิ​ิดขึ้​้�นกั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียแต่​่ละกลุ่​่�ม และไม่​่ทิ้​้�งใครไว้​้ข้​้างหลั​ัง”

สํ​ํ าหรั​ับความเข้​้าใจเรื่​่�องการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมสํ​ํ าหรั​ับภาคเอกชนและประชาชน ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์รายหนึ่​่�งเห็​็นว่​่าในภาพรวม ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการเริ่​่�มมี​ีความเข้​้าใจเรื่​่�องการเปลี่​่�ยนผ่​่าน

พลั​ังงาน แต่​่เมื่​่�อพู​ูดถึ​ึงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่� “ยุ​ุติ​ิธรรม” จะเริ่​่�มไม่​่เข้​้าใจว่​่าหมายถึ​ึงอะไร

เพราะแง่​่หนึ่​่�งผู้​้�ประกอบกิ​ิจการส่​่วนใหญ่​่ยั​ังมองว่​่าการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานก็​็ถื​ือเป็​็นการถู​ูกโค่​่น

(disruption) ซึ่​่�งเกิ​ิดขึ้​้�นเป็​็นปกติ​ิในวงการธุ​ุรกิ​ิจ เช่​่น ธุ​ุรกิ​ิจกล้​้องฟิ​ิ ล์​์มก็​็ถูก ู โค่​่นด้​้วยกล้​้องดิ​ิจิ​ิตอล ฯลฯ ทํ​ําให้​้ยั​ังไม่​่มี​ีการพู​ูดถึ​ึงประเด็​็นความยุ​ุติ​ิธรรมในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน นอกจากนี้​้� ผู้​้�ให้​้­

สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่า ความไม่​่ชั​ัดเจนในมาตรการภาครั​ัฐในประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ยั​ังเป็​็นอุ​ุปสรรคสํ​ําคั​ัญต่​่อระดั​ับความรู้​้�ความเข้​้าใจในเรื่​่�องนี้​้�ของประชาชนทั่​่�วไป

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จึ​ึงเสนอในประเด็​็นความเข้​้าใจเกี่​่�ยวกั​ับ taxonomy ว่​่า หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน

พลั​ังงานต้​้องมี​ีการสื่​่�อสารต่​่อประชาชนมากขึ้​้�น เพื่​่�อให้​้ประชาชนตระหนั​ักและเห็​็นถึ​ึงความสํ​ําคั​ัญ ของเป้​้าหมายในการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ตลอดจนความจํ​ําเป็​็นของการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงาน

ปั​ัญหา อุ​ุปสรรค และความท้​้าทายในการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลของภาคพลั​ังงานไทย ปั​ัญหาประการหนึ่​่�งของการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลของภาคพลั​ังงานไทย คื​ือ ความไม่​่ชัด ั เจนของ นโยบายเพื่​่�อนํ​ําไปสู่​่�เป้​้าหมายของประเทศในการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ ซึ่​่�งภาครั​ัฐที่​่�

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 53


ไม่​่ ไ ด้​้ ร ะบุ​ุ เ ป้​้ า หมายการลดปริ​ิม าณการปล่​่ อ ยก๊​๊ า ซเรื​ือ นกระจกในแผนยุ​ุ ท ธศาสตร์​์ช าติ​ิ 20 ปี​ี

ทํ​ําให้​้การดํ​ําเนิ​ินการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลไม่​่มีแ ี นวทางการจั​ัดการที่​่�ชั​ัดเจน รวมถึ​ึงการดํ​ําเนิ​ิน­ การไม่​่มี​ีความต่​่อเนื่​่�องของนโยบาย นอกจากนี้​้� ความไม่​่ชั​ัดเจนดั​ังกล่​่าวยั​ังส่​่งผลให้​้ความร่​่วมมื​ือ ในการดํ​ําเนิ​ินงานสู่​่�เป้​้าหมายของประเทศในการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์เกิ​ิดขึ้​้�นได้​้ยาก

และยั​ังเกิ​ิดการลงทุ​ุนอย่​่างต่​่อเนื่​่�องในโครงการฟอสซิ​ิลต่​่าง ๆ ดั​ังนั้​้�นภาครั​ัฐควรให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับ ประเด็​็ น นี้​้� โดยอาจใช้​้ แ นวทางการเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งานของประเทศจี​ี น ซึ่​่�งมี​ี น โยบายยกเลิ​ิ ก

อุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิลและเปลี่​่�ยนผ่​่านสู่​่�พลั​ังงานสะอาดที่​่�ค่​่อนข้​้างชั​ัดเจน เป็​็นต้​้นแบบ ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ัน ประเทศจี​ีนมี​ีการกํ​ําหนดยุ​ุทธศาสตร์​์ความมั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงานเพื่​่�อปฏิ​ิรู​ูปการบริ​ิโภคและอุ​ุปทาน

พลั​ั ง งาน ที่​่�สอดคล้​้ อ งกั​ั บ เป้​้ า หมายการลดการปล่​่ อ ยก๊​๊ า ซเรื​ือ นกระจกสุ​ุ ท ธิ​ิเ ป็​็ น ศู​ู น ย์​์ ภ ายในปี​ี พ.ศ. 2603 (ศู​ูนย์​์ข้​้อมู​ูลเพื่​่�อธุ​ุรกิ​ิจไทยในจี​ีน, 2565)

ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าโครงการฟอสซิ​ิลในปั​ัจจุ​ุบัน ั สามารถแบ่​่งได้​้เป็​็น 2 ลั​ักษณะ ซึ่​่�งมี​ีแนวทาง ในการยกเลิ​ิกโครงการที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ดั​ังนี้​้�

 โครงการฟอสซิ​ิลใหม่​่ เป็​็นโครงการฟอสซิ​ิลที่​่�ยั​ังไม่​่มี​ีผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียได้​้รับั ผลกระทบจาก

การยกเลิ​ิกโครงการ เช่​่น ไม่​่มี​ีแรงงานได้​้รับ ั ผลกระทบ เนื่​่�องจากยั​ังไม่​่ได้​้ดํ​ําเนิ​ินการก่​่อสร้​้าง ดั​ั ง นั้​้�น การยกเลิ​ิ ก โครงการฟอสซิ​ิ ล ใหม่​่ จึ​ึ งสามารถยกเลิ​ิ ก ได้​้ ค่​่ อ นข้​้ า งง่​่ า ย โดยการแก้ ไ้ ข นโยบายและแผนพลั​ังงานชาติ​ิในระยะยาว

 โครงการฟอสซิ​ิลที่​่�ยั​ังมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการอยู่​่� หากมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการยกเลิ​ิกโครงการดั​ังกล่​่าวหรื​ือ

การให้ ้โรงไฟฟ้​้าหยุ​ุดการผลิ​ิตก่​่อนหมดอายุ​ุ (early retire) เช่​่น หากประกาศยกเลิ​ิกโรงไฟฟ้​้า

แม่​่เมาะจากเดิ​ิมที่​่�กํ​ําหนดให้​้ต้​้องผลิ​ิตไฟฟ้​้าถึ​ึงปี​ี ค.ศ. 2040 ให้​้ปิด ิ ตั​ัวลงภายในปี​ี ค.ศ. 2030

เป็​็นต้​้น จะส่​่งผลกระทบต่​่อผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียค่​่อนข้​้างมาก โดยเฉพาะผู้​้�ประกอบกิ​ิจการและ แรงงาน รวมถึ​ึงผู้​้�มี​ีส่​่วนเกี่​่�ยวข้​้องอื่​่�น ๆ

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิลอาจส่​่งผลต่​่อค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�แพงขึ้​้�น เนื่​่�องจากประเทศไทยมี​ีการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากก๊​๊าซธรรมชาติ​ิและถ่​่านหิ​ินเป็​็นหลั​ัก และมี​ีแหล่​่งทรั​ัพ­ ยากรเหล่​่านี้​้�เป็​็นของตนเอง ดั​ังนั้​้�น ภาครั​ัฐและภาคเอกชนมั​ักมี​ีความกั​ังวลว่​่าหากประเทศไทย

ยกเลิ​ิกการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากแหล่​่งวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�ตนเองมี​ีและราคาถู​ูก และหั​ันไปนํ​ําเข้​้าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบหรื​ือผลิ​ิต ไฟฟ้​้าด้​้วยพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนทั้​้�งหมดที่​่�มี​ีราคาแพง อาจส่​่งผลต่​่อภาระค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�แพงขึ้​้�นในภาพ รวมของประเทศ

การให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับประเด็​็นด้​้านความยั่​่�งยื​ืนในการพิ​ิจารณาโครงการด้​้านพลั​ังงานยั​ังเป็​็นอี​ีก หนึ่​่�งแนวทางที่​่�ช่​่วยให้​้การดํ​ําเนิ​ินยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลนั้​้�นสามารถดํ​ําเนิ​ินการได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิ­

ภาพมากยิ่​่�งขึ้​้�น โดยผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เสนอว่​่าสํ​ําหรั​ับโครงการพลั​ังงานใหม่​่ ๆ หรื​ือที่​่�ได้​้รับ ั การอนุ​ุมั​ัติ​ิ

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 54


ไปแล้​้ว ควรเพิ่​่�มประเด็​็นด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม สั​ังคม และธรรมาภิ​ิบาล (Environmental, social and

corporate governance: ESG) เข้​้าไปในเงื่​่�อนไข Force Majeure1 หรื​ือเงื่​่�อนไขในการยกเลิ​ิก

สั​ั ญ ญาเมื่​่�อพบเหตุ​ุสุ​ุด วิ​ิ สั​ั ย เช่​่ น จะยกเลิ​ิ ก สั​ั ญ ญาหากพบว่​่ า โครงการดั​ั ง กล่​่ า วจะมี​ี ก ารปล่​่ อ ย

ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในปริ​ิมาณสู​ูง หรื​ือจะยกเลิ​ิกสั​ัญญาหากพบว่​่าโครงการดั​ังกล่​่าวอาจส่​่งผลกระทบ ต่​่อชี​ีวิ​ิตและความเป็​็นอยู่​่�ของผู้​้�คนโดยรอบโครงการ เป็​็นต้​้น เพื่​่�อให้​้มั่​่�นใจได้​้ว่​่าโครงการเหล่​่านั้​้�น จะไม่​่สร้​้างผลกระทบทางลบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมอี​ีก

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์รายหนึ่​่�งเห็​็นว่​่าการประเมิ​ินคาร์​์บอนฟุ​ุตพริ้​้�นท์​์ อาจดํ​ําเนิ​ินการได้​้ยาก

ในประเทศไทย โดยเปรี​ียบเที​ียบกั​ับประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกาที่​่�การรายงานแค่​่ขอบเขตที่​่� 1 และ 2 ก็​็ไม่​่สามารถดํ​ําเนิ​ินการได้​้ง่​่าย ทํ​ําให้​้การดํ​ําเนิ​ินการในประเทศไทยก็​็ไม่​่อาจดํ​ําเนิ​ินการได้​้ง่​่าย

เช่​่นเดี​ียวกั​ัน รวมถึ​ึงการทํ​ําการทํ​ําบั​ัญชี​ีก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในระดั​ับองค์​์กร (Carbon Accounting) ยั​ังไม่​่สามารถยื​ืนยั​ันได้​้ว่​่าจะนํ​ําไปสู่​่�การลดปริ​ิมาณก๊​๊าซเรื​ือนกระจกได้​้หรื​ือไม่​่ในภาพรวมของโลก เนื่​่�องจากยั​ังมี​ีปั​ัญหาเรื่​่�องการนั​ับซํ้​้า (double counting) และมี​ีช่​่องโหว่​่อื่​่�น ๆ อี​ีกหลายประการ

แนวทางในการชดเชยและเยี​ียวยาผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ีย ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ให้​้ความเห็​็นและเสนอแนะมาตรการการชดเชยผู้​้�มี​ีส่ว ่ นได้​้ส่ว ่ นเสี​ียที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบ จากการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิล โดยแบ่​่งออกเป็​็น 2 กลุ่​่�ม ดั​ังนี้​้�

• แนวทางในการชดเชยและเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิล ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ส่​่วนใหญ่​่เห็​็นว่​่าไม่​่ควรมี​ีการชดเชยและเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิล เนื่​่�องจากเห็​็ น ว่​่ า ผู้​้�ประกอบกิ​ิ จ การฟอสซิ​ิ ล เป็​็ น ผู้​้�ไ ด้​้ รั ับ ประโยชน์​์ จ ากการสร้​้า งผลกระทบต่​่ อ สิ่​่�งแวดล้​้อม จนทํ​ําให้​้เกิ​ิดวิ​ิกฤตการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิอ ิ ากาศ ซึ่​่�งส่​่งผลต่​่อการดํ​ําเนิ​ินชี​ีวิต ิ ของ

ประชากรบนโลกในปั​ัจจุ​ุบัน ั ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เสนอว่​่าผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล

ควรได้​้รับ ั โทษปรั​ับย้​้อนหลั​ังมากกว่​่าได้​้รับ ั การชดเชยและเยี​ียวยา โดยประเมิ​ินค่​่าปรั​ับจากปริ​ิมาณ คาร์​์บอนไดออกไซด์​์ที่​่�มี​ีการปล่​่อยออกมาตั้​้�งแต่​่เริ่​่�มดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจ

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์รายหนึ่​่�งเห็​็นว่​่าการลงทุ​ุนในโครงการพลั​ังงานในประเทศไทย เป็​็น การจั​ั ดทํ​ํ าสั​ั ญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้า (Power Purchase Agreement: PPA) ซึ่​่�งมี​ีการประกั​ั นกํ​ํ าไร ทั้​้�งหมดที่​่�ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลควรได้​้รับ ั จึ​ึงถื​ือเป็​็นข้​้อกํ​ําหนดที่​่�ภาครั​ัฐและหน่​่วยงาน­

กํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการชดเชยและเยี​ียวยาต่​่อผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิล 1

Force Majeure หมายถึ​ึง เหตุ​ุสุ​ุดวิ​ิ สั​ัยที่​่�นํ​ําไปสู่​่�การบอกเลิ​ิ กสั​ั ญญาระหว่​่ างกั​ั นได้​้ ถื​ื อเป็​็นเงื่​่�อนไขมาตรฐาน

ในสั​ัญญาธุ​ุรกิ​ิจ

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 55


หากมี​ีการเร่​่งการยกเลิ​ิกการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากโครงการพลั​ังงานฟอสซิ​ิล ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เสนอ

ว่​่าภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการเจรจาต่​่อรอง และหากจะต้​้อง ชดเชยและเยี​ียวยาต่​่อผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ ก็​็ควรมี​ีการชดเชยและเยี​ียวยาที่​่�เป็​็นไปตามกรอบกฎ­ หมายและเงื่​่�อนไขในสั​ัญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้า

• แนวทางในการชดเชยและเยี​ียวยาแรงงานในกลุ่​่�มพลั​ังงานฟอสซิ​ิล ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าแรงงานที่​่�อาจได้​้รับ ั ผลกระทบจากการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลส่​่วนใหญ่​่เป็​็น แรงงานที่​่�มี​ีอายุ​ุมาก (ประมาณ 50–60 ปี​ี) ทํ​ํ าให้​้แรงงานในกลุ่​่�มนี้​้�อาจมี​ีข้​้อจํ​ํ ากั​ั ดหรื​ือปั​ัญหา

ในการยกระดั​ับทั​ักษะการทํ​ํางาน ดั​ังนั้​้�นการชดเชยหรื​ือการเยี​ียวยาควรเน้​้นด้​้านรายได้​้เป็​็นหลั​ัก เช่​่น การให้​้เงิ​ินชดเชยเยี​ียวยาจากการตกงาน การสนั​ับสนุ​ุนด้​้านการศึ​ึกษาของครอบครั​ัว (ชดเชย

ค่​่ าใช้​้จ่​่ายด้​้ านการศึ​ึกษาให้​้แก่​่ ลู​ูกของแรงงาน) การมอบสิ​ิ ทธิ​ิประโยชน์​์ในการเข้​้าถึ​ึงพลั​ั งงาน สะอาดเป็​็นกลุ่​่�มแรก ๆ ฯลฯ

นอกจากนี้​้� ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ได้​้เสนอให้​้ภาครั​ัฐควรปรั​ับโครงสร้​้างพลั​ังงานประเทศไทยจากเดิ​ิมที่​่�เน้​้น การเป็​็นฐานการผลิ​ิต (manufacturing base) ด้​้านพลั​ังงาน (นํ​ําเข้​้าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบเพื่​่�อผลิ​ิตพลั​ังงาน) เป็​็นการให้​้ความสํ​ําคั​ัญด้​้านการพั​ัฒนานวั​ัตกรรมพลั​ังงาน เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการสร้​้างงานสร้​้างอาชี​ีพ

ใหม่​่ ๆ ในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน เช่​่น กรณี​ีของรั​ัฐแคลิ​ิฟอร์​์เนี​ียที่​่�มี​ีการขั​ับเคลื่​่�อนพลั​ังงานสะอาด ผ่​่านการสร้​้างงานสร้​้างอาชี​ีพและทั​ักษะงานใหม่​่ ๆ สํ​ําหรั​ับอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานสะอาด โดยภาครั​ัฐ จะมี​ีทุน ุ สํ​ําหรั​ับการฝึ​ึกงานในกลุ่​่�มช่​่างไฟฟ้​้าหรื​ืออาชี​ีพอื่​่�นที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง เพื่​่�อสร้​้างอาชี​ีพรั​ับซ่​่อมระบบ โซลาร์​์เซลล์​์ในที่​่�พั​ักอาศั​ัย

ประเด็​็นที่​่�เ ห็​็นว่​่าเป็​็น “ความไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรม” ในโครงสร้​้างพลั​ังงานไทย • การผู​ูกขาดในโครงสร้​้างของภาคพลั​ังงานไทย ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ เ ห็​็ น ว่​่ า การจั​ั ด การพลั​ั ง งานของประเทศไทยอยู่​่�ในรู​ู ปแบบรวมศู​ู น ย์​์ ตั้​้� ง แต่​่

กระบวนการวางแผนตลอดจนการดํ​ําเนิ​ินการต่​่าง ๆ เช่​่น ความไม่​่เป็​็นธรรมของนโยบายภาครั​ัฐที่​่�

เอื้​้�อประโยชน์​์ต่อ ่ กลุ่​่�มทุ​ุนเพี​ียงบางกลุ่​่�มในการดํ​ําเนิ​ินโครงการด้​้านพลั​ังงาน อี​ีกทั้​้�งผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ

พลั​ังงานยั​ังมี​ีการล็​็อบบี้​้�นโยบายพลั​ังงานของประเทศ เพื่​่�อเอื้​้�อประโยชน์​์แก่​่ตนเองอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง อาจกล่​่าวได้​้ว่​่าประเทศไทยมี​ีการดํ​ําเนิ​ินนโยบายด้​้านพลั​ังงานเป็​็นแบบ “รั​ัฐซ้​้อนรั​ัฐ” หรื​ือการที่​่�

รั​ัฐบาลถู​ูกควบคุ​ุมโดยกลุ่​่�มทุ​ุนพลั​ังงาน ดั​ังนั้​้�นควรมี​ีการแก้ ้ไขนโยบายและปรั​ับปรุ​ุ งกฎระเบี​ียบเพื่​่�อ ไม่​่ให้​้เกิ​ิดการเอื้​้�อประโยชน์​์ต่​่อกลุ่​่�มทุ​ุนกลุ่​่�มใดกลุ่​่�มหนึ่​่�ง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 56


นอกจากนี้​้� การแข่​่งขั​ันของภาคพลั​ังงานไทยยั​ังมี​ีความไม่​่ธรรม เนื่​่�องจากการซื้​้�อ-ขายไฟฟ้​้ายั​ังคง เป็​็นรู​ู ปแบบผู้​้�ซื้​้�อรายเดี​ียว (enhanced single buyer) โดยการไฟฟ้​้าฝ่​่ายผลิ​ิตแห่​่งประเทศไทย

(กฟผ.) ซึ่​่�งภายใต้​้ระบบผู้​้�ซื้​้�อรายเดี​ียวทํ​ําให้​้การจั​ัดหากํ​ําลั​ังไฟฟ้​้าหรื​ือกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตใหม่​่ไม่​่ก่​่อให้​้

เกิ​ิดการแข่​่งขั​ัน อี​ีกทั้​้�ง กฟผ. ยั​ังเป็​็นผู้​้�ผู​ูกขาดสายส่​่ง และยั​ังมี​ีหน้​้าที่​่�ในวางแผนด้​้านพลั​ังงาน ซึ่​่�ง ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ เห็​็นว่​่า กฟผ. ไม่​่ควรดํ​ําเนิ​ินการทั้​้�งสองหน้​้าที่​่�พร้​้อมกั​ัน เนื่​่�องจากเป็​็นการรวมศู​ูนย์​์ อํ​ํานาจและส่​่งผลให้​้เกิ​ิดการกี​ีดกั​ันผู้​้�ประกอบกิ​ิจการรายอื่​่�นออกจากระบบสายส่​่ง

สํ​ําหรั​ับแนวทางการแก้ ้ไขเรื่​่�องการผู​ูกขาดในโครงสร้​้างพลั​ังงานไทย ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าประเทศ ไทยจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการปรั​ับโครงสร้​้างเพื่​่�อให้​้เกิ​ิด “ประชาธิ​ิปไตยพลั​ังงาน (Energy Democracy)” โดยเน้​้นความหลากหลายทางพลั​ังงาน โดยมี​ีแนวทางการปรั​ับโครงสร้​้างพลั​ังงาน ดั​ังนี้​้�

 เปิ​ิดให้​้มี​ีการลงทุ​ุนด้​้านพลั​ังงานแบบกระจายศู​ูนย์​์ โดยให้​้องค์​์กรปกครองส่​่วนท้​้องถิ่​่�น เช่​่น กรุ​ุ งเทพมหานคร หรื​ือเทศบาลเชี​ียงใหม่​่ ฯลฯ สามารถจั​ัดการด้​้านพลั​ังงานเองได้ ้โดยไม่​่ต้​้อง อาศั​ัยระบบส่​่วนกลาง รวมถึ​ึง กฟผ. ควรเปิ​ิดให้​้ประชาชนสามารถเข้​้าถึ​ึงระบบสายส่​่งไฟฟ้​้า ได้ ้โดยง่​่าย

 การลดวางแผนพลั​ังงานผิ​ิดพลาด ภาครั​ัฐควรลดการวางแผนที่​่�ไม่​่เป็​็นประโยชน์​์ต่​่อส่​่วนรวม

ของประเทศ โดยเฉพาะโครงการที่​่�กํ​ําลั​ังจะเซ็​็นสั​ัญญาหรื​ือโครงการที่​่�เซ็​็นสั​ัญญาไปไม่​่นานมานี้​้� ควรมี​ีกระบวนการทบทวนสั​ัญญาใหม่​่ และไม่​่ควรมี​ีการใช้​้สั​ัญญาทาสในรู​ู ปแบบของข้​้อตกลง การซื้​้�อขายไฟฟ้​้าที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นในอดี​ีต เพื่​่�อลดภาระด้​้านกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตล้​้นเกิ​ิน

 การเพิ่​่�มการแข่​่งขั​ันของผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานในตลาด ภาครั​ัฐควรเพิ่​่�มการสนั​ับสนุ​ุนแก่​่

ผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการรายใหม่​่ในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ั งงาน โดยเฉพาะพลั​ั งงานสะอาดให้​้มากขึ้​้�น ยกตั​ัวอย่​่างเช่​่นการจั​ัดทํ​ําหลั​ักสู​ูตรและการอบรมสํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการที่​่�สนใจ หรื​ือการ

เปลี่​่�ยนแปลงเกณฑ์​์ราคารั​ับซื้​้�อไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานสะอาด จากเดิ​ิมที่​่�เป็​็นรู​ู ปแบบราคาคงที่​่�หรื​ือ Feed-in Tariff เป็​็นการกํ​ํ าหนดราคาเพื่​่�อการแข่​่งขั​ัน (price-based competition) ให้​้

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการมี​ีสิ​ิทธิ​ิในการเสนอราคาขายต่​่อผู้​้�บริ​ิโภคได้​้ เพื่​่�อดึ​ึงดู​ูดผู้​้�ประกอบกิ​ิจการให้​้ หั​ันมาลงทุ​ุน หรื​ือพั​ัฒนานวั​ัตกรรมในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานสะอาดมากยิ่​่�งขึ้​้�น

• ความเหลื่​่�อมลํ้​้าด้​้านการใช้​้พลั​ังงานของผู้​้ �ใช้​้ไฟฟ้​้าในพื้​้�นที่​่�กรุ​ุ งเทพและปริ​ิมณฑล กั​ับผู้​้ �ใช้​้ไฟฟ้​้าในต่​่างจั​ังหวั​ัด

ความเหลื่​่�อมลํ้​้าด้​้านการเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานของผู้​้�ใช้​้พลั​ังงานในพื้​้�นที่​่�กรุ​ุ งเทพและปริ​ิมณฑลกั​ับผู้​้�ใช้​้ ไฟฟ้​้าในต่​่างจั​ังหวั​ัดมี​ีทั้​้�งปั​ัญหาเรื่​่�องราคาพลั​ังงานที่​่�ผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าต้​้องแบกรั​ับไม่​่เท่​่ากั​ัน และการเข้​้า ถึ​ึงระบบไฟฟ้​้าส่​่วนกลางที่​่�สามารถเข้​้าถึ​ึงได้​้แตกต่​่างกั​ัน เช่​่น ต้​้นทุ​ุนในการใช้ ้ไฟฟ้​้าที่​่�ไม่​่เท่​่ากั​ัน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 57


ระหว่​่ า งผู้​้�ใ ช้ ้ไฟในพื้​้� น ที่​่�กรุ​ุ ง เทพและปริ​ิม ณฑลถู​ูก กว่​่ า ผู้​้�ใ ช้ ้ไฟในต่​่ า งจั​ั ง หวั​ั ด จากการมี​ี ป ริ​ิม าณ ผู้​้�ใช้ ้ไฟมากกว่​่า กล่​่าวคื​ือ มี​ีตั​ัวหารภาระส่​่วนกลางมากกว่​่า ดั​ังนั้​้�นควรมี​ีนโยบายส่​่วนกลางที่​่�ทํ​ําให้​้ ผู้​้�ใช้ ้ไฟทุ​ุกคนต้​้องรั​ับภาระในส่​่วนนี้​้�อย่​่างเท่​่าเที​ียมกั​ัน

สํ​ําหรั​ับกลุ่​่�มคนที่​่�อาศั​ัยอยู่​่�ในพื้​้�นที่​่�ชนบท ยั​ังต้​้องพบกั​ับความเหลื่​่�อมลํ้​้าอี​ีกประการหนึ่​่�งคื​ือ การไม่​่

สามารถเข้​้าถึ​ึงระบบสายส่​่งไฟฟ้​้าได้​้ เนื่​่�องด้​้วย กฟผ. ไม่​่ดํา ํ เนิ​ินการติ​ิดตั้​้�งสายส่​่ง เพราะมี​ีปริ​ิมาณ

ผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าน้​้อยทํ​ําให้ ้ไม่​่คุ้​้�มค่​่าต่​่อการลงทุ​ุน ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จึ​ึงเห็​็นว่​่า ภาครั​ัฐควรมี​ีมาตรการ

อุ​ุดหนุ​ุนคนที่​่�อาศั​ัยอยู่​่�ในพื้​้�นที่​่�ชนบท อี​ีกทั้​้�งการช่​่วยให้​้คนกลุ่​่�มนี้​้�สามารถเข้​้าถึ​ึงไฟฟ้​้าได้​้ยังั เป็​็นการ ช่​่วยลดผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมจากการใช้​้ฟื​ืนในการประกอบอาหารได้​้อี​ีกด้​้วย

• ความสํ​ําคั​ัญของเทคโนโลยี​ีด้​้านพลั​ังงานในช่​่วงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ี เพื่​่�อให้​้สามารถ เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�เหมาะสมกั​ับบริ​ิบทของประเทศ ตั​ัวอย่​่างเช่​่น การพั​ัฒนาไฮโดรเจนหรื​ือ

พลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์เป็​็นพลั​ังงานทดแทนในช่​่วงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานฟอสซิ​ิล แต่​่ไฮโดรเจนที่​่�นํ​ํา มาใช้​้จะต้​้องผ่​่านกระบวนการผลิ​ิตที่​่�ไม่​่ก่อ ่ ให้​้เกิ​ิดก๊​๊าซเรื​ือนกระจกหรื​ือเป็​็นกรี​ีนไฮโดรเจน เนื่​่�องจาก

ไฮโดรเจนมี​ีโมเลกุ​ุลเล็​็กมากอาจทํ​ําให้​้เกิ​ิดการรั่​่�วไหลในระหว่​่างการขนส่​่งผ่​่านท่​่อออกสู่​่�ชั้​้�นบรรยา­

กาศได้​้ ซึ่​่�งอาจทํ​ําให้ ้ไปทํ​ําลาย OH radical2 ที่​่�เป็​็นตั​ัวแปรหลั​ักที่​่�ทํ​ําให้​้มี​ีเทนในชั้​้�นบรรยากาศถู​ูก​ กํ​ําจั​ัดออกไป ดั​ังนั้​้�นการมี​ีการรั่​่�วไหลของไฮโดรเจน (hydrogen leakage) ส่​่งผลให้​้มี​ีเทนอยู่​่�ใน

ชั้​้�นบรรยากาศนานขึ้​้�น รวมถึ​ึงพลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์ต้​้องมี​ีเทคโนโลยี​ีที่​่�มี​ีความปลอดภั​ัยมากพอถึ​ึง จะนํ​ํามาใช้ ้ได้​้ อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายไม่​่เห็​็นด้​้วยกั​ับการนํ​ําพลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์มาใช้​้ เป็​็นพลั​ังงานทางเลื​ือก

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่า เทคโนโลยี​ีการกั​ักเก็​็บและดั​ักจั​ับคาร์​์บอน (CCS/CCU) ไม่​่ว่​่าจะนํ​ํา

กลั​ับมาใช้ ้ใหม่​่หรื​ือไม่​่ ก็​็ไม่​่เหมาะสมที่​่�จะนํ​ํามาใช้​้เป็​็นเทคโนโลยี​ีที่​่�ช่ว ่ ยในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

เนื่​่�องจากการกั​ักเก็​็บก๊​๊าซคาร์​์บอนไว้​้เปรี​ียบเสมื​ือนการเก็​็บนํ้​้าเสี​ียเอาไว้ ้โดยที่​่�ไม่​่ได้​้รับ ั การบํ​ําบั​ัด จึ​ึงควรมี​ีการพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีที่​่�มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอนน้​้อยที่​่�สุ​ุดตั้​้�งแต่​่ต้​้น เพื่​่�อไม่​่ให้​้เกิ​ิดการ

กั​ักเก็​็บและสะสมก๊​๊าซคาร์​์บอนอี​ีก แต่​่ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่าเทคโนโลยี​ี CCS/CCU ยั​ังมี​ี

ความจํ​ําเป็​็นในช่​่วงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานเพื่​่�อช่​่วยลดการปล่​่อยมลพิ​ิษ และลดผลกระทบที่​่�จะ

เกิ​ิดขึ้​้�นกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม แต่​่การพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีในช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน ภาครั​ัฐจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการออก

2

“Hydroxyl Radical หรื​ือ OH เป็​็นอนุ​ุมู​ูลอิ​ิสระที่​่�มี​ีอิ​ิเลคทรอนที่​่�ไม่​่เสถี​ียรอยู่​่�ในตั​ัวเนื่​่�องจากขาดสมดุ​ุลย์​์ จนก่​่อ

ปฏิ​ิกิ​ิริย ิ ากั​ับโมเลกุ​ุลอื่​่�น ๆ ใกล้​้เคี​ียง และสร้​้างอนุ​ุมู​ูลอิ​ิสระตั​ัวใหม่​่เพิ่​่�มขึ้​้�นในทุ​ุกปฏิ​ิกิ​ิริย ิ า กลายเป็​็นโดมิ​ิโนอนุ​ุมู​ูล อิ​ิสระต่​่อเนื่​่�องเป็​็นวงกว้​้างและกระทบโครงสร้​้างโมเลกุ​ุลของสสารในชั้​้�นบรรยากาศอย่​่างมี​ีนัย ั ยะสํ​ําคั​ัญ โดยเฉพาะ

การเปลี่​่�ยนและสลายโครงสร้​้างทางเคมี​ีของ Methane จนสิ้​้�นสภาพการเป็​็นก๊​๊าซเรื​ือนกระจก” (Namprom, 2021)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 58


มาตรการหรื​ือกฎหมายที่​่�ชั​ัดเจน เพื่​่�อให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการที่​่�ต้​้องการเข้​้ามาลงทุ​ุนมั่​่�นใจได้​้ว่​่าจะ สามารถดํ​ําเนิ​ินกิ​ิจการเพื่​่�อพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีได้​้อย่​่างต่​่อเนื่​่�องและเป็​็นธรรม

• การจั​ัดตั้​้�งตลาดการซื้​้�อ-ขายคาร์​์บอนเป็​็นมาตรการบั​ังคั​ับ ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่า ปั​ัจจุ​ุบัน ั การซื้​้�อขายคาร์​์บอนเครดิ​ิตในประเทศไทย ยั​ังเป็​็นมาตรการ

สมั​ัครใจสํ​ําหรั​ับภาคเอกชนที่​่�สนใจ ดั​ังนั้​้�น เพื่​่�อเร่​่งให้​้ภาคเอกชนมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการลดการปล่​่อย ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกเร็​็วขึ้​้�น ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าภาครั​ัฐควรจั​ัดตั้​้�งตลาดการซื้​้�อ-ขายคาร์​์บอนเป็​็น มาตรการบั​ังคั​ับ เพื่​่�อเร่​่งให้​้ภาคเอกชนหั​ันมาใช้​้พลั​ังงานสะอาดมากขึ้​้�น ซึ่​่�งมี​ีส่​่วนช่​่วยเพิ่​่�มอํ​ํานาจ

การแข่​่ ง ขั​ั น ทางการค้​้ า ในตลาดโลกให้​้ ผู้​้� ประกอบกิ​ิ จ การไทย เนื่​่�องจากมี​ี ค วามตระหนั​ัก เรื่​่�อ ง คาร์​์บอนจากมาตรการของภาครั​ัฐ

แนวทางการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของประเทศไทย ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าพลั​ังงานจากแสงอาทิ​ิตย์​์เป็​็นพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�เหมาะสมกั​ับประเทศไทย เนื่​่�องจากประเทศไทยเป็​็นเขตร้​้อนและมี​ีแสงแดดปริ​ิมาณมาก แต่​่ต้​้องมี​ีเทคโนโลยี​ีอื่​่�น ๆ มาช่​่วย เสริ​ิมในช่​่วงเวลาที่​่�ไม่​่สามารถผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากโซลาร์​์เซลล์​์ได้​้ โดยเฉพาะในเวลากลางคื​ืนที่​่�มี​ีปริ​ิมาณ

การใช้ ้ไฟฟ้​้าเยอะ เช่​่น แบตเตอรี่​่�กั​ักเก็​็บไฟฟ้​้าจากการผลิ​ิตในตอนกลางวั​ัน ฯลฯ หรื​ือผลิ​ิตไฟฟ้​้า จากชี​ีวมวล เนื่​่�องจากประเทศไทยมี​ีวั​ัสดุ​ุเหลื​ือใช้​้จากการเกษตรจํ​ํานวนมาก เช่​่น การใช้​้กากอ้​้อย

ในการผลิ​ิตไฟฟ้​้า หรื​ือการใช้ ้ไม้ ้โตเร็​็วจากการปลู​ูกป่​่า ซึ่​่�งยั​ังเป็​็นการช่​่วยเพิ่​่�มรายได้ ้ให้​้แก่​่ชาวบ้​้าน ในการปลู​ูกป่​่าเพื่​่�อนํ​ํามาผลิ​ิตไฟฟ้​้า

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มองว่​่าปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีข้​้อจํ​ํากั​ัดและอุ​ุปสรรคหลายประการในการเปลี่​่�ยน ผ่​่านพลั​ังงานไปสู่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน อาทิ​ิ

 ความล่​่าช้​้าและความไม่​่ต่​่อเนื่​่�องของนโยบายภาครั​ัฐ ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าภาครั​ัฐยั​ังไม่​่

สามารถจู​ูงใจให้​้ประชาชนหั​ันไปใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้อย่​่างเหมาะสม หรื​ือทั​ันต่​่อเหตุ​ุการณ์​์ เช่​่น แผนพั​ัฒนากํ​ําลั​ังผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศ ฉบั​ับล่​่าสุ​ุด หรื​ือ PDP 2018 ระบุ​ุว่​่าในอี​ีก 20 ปี​ีข้า ้ งหน้​้า ยั​ังมี​ีการใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลเกิ​ินครึ่​่�งของปริ​ิมาณการใช้​้พลั​ังงานทั้​้�งหมด รวมถึ​ึงนโยบายภาครั​ัฐ

ยั​ั ง ไม่​่ เ อื้​้� อ ให้​้ ป ระชาชนทั่​่�วไปสามารถเข้​้ า ถึ​ึงการผลิ​ิ ต พลั​ั ง งานหมุ​ุ น เวี​ี ย นได้​้ ง่​่ า ย เช่​่ น การผลิ​ิ ต พลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์มีอุ ี ป ุ สรรคในการเข้​้าถึ​ึงจากฝั่​่� งผู้​้�ประกอบกิ​ิจการายย่​่อยและประชาชนอยู่​่�มาก ในขั้​้�นตอนของการขออนุ​ุญาต

นอกจากนี้​้� นโยบายด้​้านพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนของภาครั​ัฐไม่​่มี​ีความต่​่อเนื่​่�อง ส่​่งผลให้​้อุ​ุตสาหกรรม

พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนไม่​่เติ​ิบโต ยกตั​ัวอย่​่างกรณี​ีที่​่�รัฐ ั บาลเคยออกนโยบายสนั​ับสนุ​ุนติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์รู​ูฟ

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 59


สํ​ํ า หรั​ับ ที่​่�พั​ั ก อาศั​ั ย และกํ​ํ า หนดมาตรการ Feed-in Tariff เพื่​่�อกระตุ้​้�นให้​้ ป ระชาชนหั​ั น มาใช้​้ พลั​ังงานสะอาดมากขึ้​้�น แต่​่ไม่​่ได้​้มี​ีการประชาสั​ัมพั​ันธ์​์อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง และเมื่​่�อเกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่าน

รั​ัฐบาลนโยบายดั​ังกล่​่าวกลั​ับหยุ​ุดชะงั​ัก ดั​ังนั้​้�น รั​ัฐบาลควรมี​ีการจั​ัดทํ​ําพั​ันธสั​ัญญา (commitment) เมื่​่�อมี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านรั​ัฐบาล เพื่​่�อให้​้การดํ​ําเนิ​ินนโยบายด้​้านพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเป็​็นไปอย่​่างต่​่อ

เนื่​่�อง อี​ีกทั้​้�งหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานต้​้องปรั​ับกระบวนการทํ​ํางานเพื่​่�อรองรั​ับการเปลี่​่�ยน ผ่​่านพลั​ังงานอย่​่างไม่​่ล่า ่ ช้​้า เช่​่น การปรั​ับระบบโครงข่​่ายไฟฟ้​้าอั​ัจฉริ​ิยะ (smart grid) เพื่​่�อมารองรั​ับ พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนซึ่​่�งมี​ีส่​่วนช่​่วยสํ​ําคั​ัญในการผลิ​ิตไฟฟ้​้าอย่​่างกระจายศู​ูนย์​์มากขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ตาม ที่​่�ผ่​่านมายั​ังพบว่​่า ภาครั​ัฐยั​ังมี​ีกระบวนการปรั​ับเปลี่​่�ยนที่​่�ล่​่าช้​้า

 ความกั​ังวลต่​่อเสถี​ียรภาพด้​้านพลั​ังงานหากมี​ีการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ผู้​้�ให้​้สัมั ภาษณ์​์ เห็​็นว่​่า

หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานยั​ังมี​ีความกั​ังวลต่​่อประเด็​็นเสถี​ียรภาพของพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ซึ่​่�งอาจทํ​ําให้​้ต้อ ้ งมี​ีการใช้ ้โรงไฟฟ้​้าสํ​ํารองเพิ่​่�มมากขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ เห็​็นว่​่าปั​ัจจุ​ุบัน ั ประเทศไทยมี​ีกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตไฟฟ้​้าล้​้นเกิ​ินมากอยู่​่�แล้​้ว (มี​ีมากกว่​่าความต้​้องการของประชาชน

ถึ​ึง 0.5 เท่​่า) กลายมาเป็​็นข้​้อได้​้เปรี​ียบของประเทศไทยในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน นอกจากนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางราย มี​ีข้​้อกั​ังวลว่​่า การเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน อาทิ​ิ โซลาร์​์เซลล์​์

ในปริ​ิม าณมากอาจส่​่ ง ผลให้​้ เ กิ​ิ ด ปรากฏการณ์​์ ไ ฟฟ้​้ า ตกในช่​่ ว งเย็​็ น ของทุ​ุ ก วั​ั น (duck curve) แต่​่ภาครั​ัฐสามารถกํ​ําหนดมาตรการหรื​ือแนวนโยบายเพื่​่�อแก้​้ปั​ัญหาดั​ังกล่​่าวได้​้ เช่​่น กรณี​ีของ

รั​ัฐแคลิ​ิ ฟอร์​์เนี​ีย มี​ีการกํ​ํ าหนดอั​ั ตราค่​่ าไฟฟ้​้าที่​่�แตกต่​่ างกั​ั นในแต่​่ ละช่​่วงเวลา เพื่​่�อปรั​ับเปลี่​่�ยน พฤติ​ิกรรมของผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าและลดการเกิ​ิดไฟฟ้​้าตกในช่​่วงเย็​็น

ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการจั​ัดการกั​ับความมั่​่�นคงทางพลั​ังงานในภาพรวมขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับการบริ​ิการ จั​ัดการของหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานเพื่​่�อไม่​่ให้​้การผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนไม่​่ เป็​็นไปอย่​่างต่​่อเนื่​่�องหรื​ือขาดช่​่วง (intermittent) ซึ่​่�งกระบวนการดั​ังกล่​่าว กฟผ. มี​ีการบริ​ิหาร จั​ั ด การเป็​็น ปกติ​ิ อ ยู่​่�แล้​้ ว ผ่​่ า นการคาดการณ์​์ ป ริ​ิม าณการใช้ ้ไฟฟ้​้ า ไว้​้ ล่​่ ว งหน้​้ า และเดิ​ิ น เครื่​่�อ ง โรงไฟฟ้​้ารอเอาไว้​้ (spinning reserve) เพื่​่�อเตรี​ียมสํ​ํารองไฟฟ้​้าให้​้กั​ับประชาชน อย่​่างไรก็​็ตาม การบริ​ิหารจั​ัดการพลั​ังหมุ​ุนเวี​ียนอาจต้​้องใช้​้การคาดการณ์​์จากการพยากรณ์​์อากาศร่​่วมด้​้วย เพื่​่�อ จั​ัดสรรพลั​ังงานสํ​ํารองให้​้เหมาะสมกั​ับช่​่วงเวลาที่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนมี​ีการผลิ​ิตที่​่�ไม่​่ต่​่อเนื่​่�อง

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่าการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานไปสู่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนยั​ังมี​ีข้​้อจํ​ํากั​ัดด้​้าน ทรั​ัพยากร โดยผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่าประเทศไทยยั​ังไม่​่มี​ีความพร้​้อมในการจั​ัดการเรื่​่�อง

ห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานเพื่​่�อรองรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงาน เนื่​่�องจากระบบส่​่ งและกระจายกํ​ํ าลั​ั งไฟฟ้​้า

(transmission system) ที่​่�ใช้ ้ในการลํ​ําเลี​ียงไฟฟ้​้าของประเทศไทยไม่​่มีค ี วามแข็​็งแรงและกระจาย อย่​่างเพี​ียงพอ ดั​ังนั้​้�น การกระจายศู​ูนย์​์การผลิ​ิตพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนยั​ังเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งมาตรการที่​่�ช่​่วย

แก้ ้ไขปั​ัญหาเรื่​่�องความมั่​่�นคงของพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้ โดยภาครั​ัฐต้​้องเปิ​ิดให้​้ประชาชนเป็​็นส่​่วน หนึ่​่�งในการผลิ​ิตไฟฟ้​้า ผ่​่านกระจายการผลิ​ิตพลั​ังงานไปสู่​่�ในภาคครั​ัวเรื​ือน โดยให้​้ทุ​ุกบ้​้านหรื​ือ

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 60


คนทั่​่�วไปสามารถเข้​้าถึ​ึงสายจํ​ําหน่​่ายและสามารถทํ​ําการซื้​้�อ-ขายในเขตบ้​้านของตนเอง เช่​่น การ ลงทุ​ุนแผงโซลาร์​์เซลล์​์ และหากมี​ีกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตเกิ​ินก็​็สามารถส่​่งต่​่อให้​้แก่​่คนในบริ​ิเวณใกล้​้เคี​ียง

ได้​้ ทั้​้�งนี้​้�การเปิ​ิดระบบสายสายส่​่งและสายจํ​ําหน่​่ายให้​้เสรี​ีมากขึ้​้�นยั​ังสามารถลดการผู​ูกขาดในเรื่​่�อง พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้อี​ีกด้​้วย

 ต้​้นทุ​ุนที่​่�สู​ูงในการเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ เห็​็นว่​่าพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนต้​้อง ใช้​้เงิ​ินลงทุ​ุนที่​่�สู​ูงอย่​่างมากในการผลิ​ิตไฟฟ้​้า ส่​่งผลกระทบโดยตรงต่​่อกลุ่​่�มผู้​้�มี​ีรายได้​้น้​้อย แม้​้ว่​่า

ภาครั​ัฐจะดํ​ําเนิ​ินมาตรการ Feed-in Tariff ซึ่​่�งมี​ีส่​่วนช่​่วยกระตุ้​้�นให้​้ประชาชนหั​ันมาติ​ิดตั้​้�งโซล่​่ารู​ู ฟ สํ​ําหรั​ับที่​่�พั​ักอาศั​ัย แต่​่กลุ่​่�มผู้​้�มี​ีรายได้​้น้​้อยก็​็ไม่​่ได้​้รับ ั ประโยชน์​์จากมาตรการดั​ังกล่​่าว อี​ีกทั้​้�งหาก

ประชาชนหั​ันมาใช้​้พลั​ั งงานสะอาดมากขึ้​้�น อาจส่​่ งผลกระทบกั​ั บประชาชนที่​่�ไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึง การใช้​้พลั​ังงานสะอาดได้​้ เนื่​่�องจากต้​้องแบกรั​ับภาระส่​่วนกลางจากค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น

ดั​ังนั้​้�นภาครั​ัฐต้​้องมี​ีมาตรการเสริ​ิมในช่​่วงการเปลี่​่�ยนผ่​่านดั​ังกล่​่าว เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความเป็​็นธรรมกั​ับผู้​้�

ใช้ ้ไฟทุ​ุกราย โดยเฉพาะกลุ่​่�มผู้​้�มี​ีรายได้​้น้อ ้ ย ดั​ังกรณี​ีรัฐั แคลิ​ิฟอร์​์เนี​ียมี​ีการกํ​ําหนดกฎหมายว่​่าการ ออกนโยบายของรั​ัฐจะต้​้องส่​่งเสริ​ิมความเป็​็นธรรม รวมถึ​ึงยกระดั​ับคุ​ุณภาพชี​ีวิต ิ ของผู้​้�มี​ีรายได้​้น้อ ้ ย

และผู้​้�ด้​้อยโอกาส ดั​ังนั้​้�นนโยบายพลั​ังงานของแคลิ​ิฟอร์​์เนี​ียจึ​ึงค่​่อนข้​้างให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับการเข้​้าถึ​ึง การใช้​้ประโยชน์​์ของประชาชนอย่​่างครอบคลุ​ุม เช่​่น มาตรการการรั​ับซื้​้�อไฟฟ้​้าโซลาร์​์รู​ูฟ (Net Metering) ที่​่�เป็​็นระบบหั​ักลบกลบหน่​่วยอั​ัตโนมั​ัติ​ิระหว่​่างไฟฟ้​้าที่​่�ผลิ​ิตใช้​้เองจากโซลาร์​์เซลล์​์บน

หลั​ังคากั​ับไฟฟ้​้าที่​่�ใช้​้จริ​ิงจาก กฟน. ซึ่​่�งผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าจะจ่​่ายค่​่าไฟฟ้​้าตามจํ​ํานวนหน่​่วยไฟฟ้​้าที่​่�หั​ักลบแล้​้ว นอกจากนี้​้� ภาครั​ัฐต้​้องปรั​ับมาตรการและนโยบายในการรั​ับซื้​้�อไฟฟ้​้าจากโซลาร์​์เซลล์​์ของประชาชน

ให้​้ประชาชนสามารถเข้​้าถึ​ึงการซื้​้�อขายไฟฟ้​้า และใช้​้ประโยชน์​์จากโซลาร์​์เซลล์​์หรื​ือพลั​ังงานหมุ​ุน­ เวี​ียนอื่​่�น ๆ ได้​้ง่า ่ ย มากขึ้​้�น ตลอดจนสื่​่�อสารให้​้เห็​็นว่​่าการลงทุ​ุนในพลั​ังานหมุ​ุนเวี​ียนมี​ีความคุ้​้�มทุ​ุน เร็​็ว ก็​็ จะยิ่​่�งมี​ีส่​่วนช่​่วยดึ​ึงดู​ูดให้​้นั​ักลงทุ​ุนและประชาชนหั​ันมาใช้​้พลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนกั​ั นมากขึ้​้�น

ท้​้ายที่​่�สุ​ุดแล้​้วเทคโนโลยี​ีพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนต่​่าง ๆ จะมี​ีราคาลดลงจากความต้​้องการที่​่�เพิ่​่�มมากขึ้​้�น � วามเข้​้าใจของประชาชนเรื่​่�องพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยน ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์รายหนึ่​่�ง เห็​็นว่​่ า  ความรู้​้ ค

ประชาชนโดยทั่​่�วไปยั​ังมี​ีความกั​ั งวลต่​่ อราคาค่​่ าไฟฟ้​้าที่​่�จะแพงขึ้​้�นหากมี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านมาใช้​้ พลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยน เนื่​่�องจากประชาชนมี​ีชุ​ุดความคิ​ิ ดที่​่�ว่​่ า การเปลี่​่�ยนผ่​่านใด ๆ ย่​่อมส่​่ งผลต่​่ อ

ราคาค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�สู​ูงขึ้​้�น อี​ีกทั้​้�งประชาชนหรื​ือหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานบางส่​่วน เห็​็นว่​่าการ ใช้​้พลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนจะยิ่​่�งส่​่ งผลให้​้มี​ีกํ​ําลั​ั งการผลิ​ิ ตไฟฟ้​้าที่​่�ล้​้ นเกิ​ิ น และเป็​็นภาระค่​่ าไฟฟ้​้าต่​่ อ

ประชาชนเพิ่​่�มขึ้​้�น ดั​ังนั้​้�นภาครั​ัฐควรเร่​่งสร้​้างความรู้​้�ความเข้​้าใจกั​ับประชาชนว่​่า เหตุ​ุใดจึ​ึงจํ​ําเป็​็น ต้​้องมี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน รวมถึ​ึงการให้​้ความรู้​้�เรื่​่�องการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนไม่​่ได้​้ทํา ํ ให้​้ราคา ไฟฟ้​้าสู​ูงขึ้​้�น อี​ีกทั้​้�งยั​ังเป็​็นการทํ​ําให้​้ราคาไฟฟ้​้าถู​ูกลงจากต้​้นทุ​ุนการนํ​ําเข้​้าก๊​๊าซธรรมชาติ​ิที่​่�ลดลง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 61


นอกจากนี้​้� การส่​่งเสริ​ิมนโยบายให้​้ประชาชนเห็​็นประโยชน์​์จากการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน เช่​่น การ ออกแบบนโยบายสร้​้างพลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ชุ​ุมชน (community solar) สํ​ําหรั​ับคนต่​่างจั​ังหวั​ัด และกลุ่​่�มเปราะบาง โดยให้​้แต่​่ละชุ​ุมชนจั​ัดสรรที่​่�ดิ​ินทํ​ํากิ​ินสํ​ําหรั​ับติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์แก่​่นัก ั ลงทุ​ุนที่​่�

สนใจ จากนั้​้�นดํ​ําเนิ​ินการแบ่​่งสรรประโยชน์​์ให้​้แก่​่ชาวบ้​้าน เช่​่น หุ้​้�น หรื​ือการนํ​ําเงิ​ินเข้​้ากองทุ​ุนหมู่​่�บ้​้าน

หรื​ือการออกนโยบายเพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้เจ้​้าของอพาร์​์ทเมนท์​์หรื​ือหอพั​ักติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์ เพื่​่�อแบ่​่งสรร ประโยชน์​์ให้​้กับ ั ลู​ูกบ้​้าน และเจ้​้าของอาคารก็​็จะได้​้รับ ั กํ​ําไรจากค่​่าไฟฟ้​้าหลั​ังจากติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์ ฯลฯ ก็​็เป็​็นมาตรการที่​่�จํ​ําเป็​็นต่​่อการสนั​ับสนุ​ุนให้​้ประชาชนเห็​็นประโยชน์​์จากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มี​ีความกั​ังวลต่​่อการนํ​ํา Thailand Taxonomy ไปใช้ ้ในการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทาง เศรษฐกิ​ิจ เนื่​่�องจากผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ เห็​็นว่​่าการจั​ัดหมวดหมู่​่�ของกิ​ิจกรรมว่​่าบางกิ​ิจกรรมนั้​้�นเป็​็นมิ​ิตร

ต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมจริ​ิงหรื​ือไม่​่ เช่​่น (1) โครงการที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับก๊​๊าซธรรมชาติ​ิน่​่าจะอยู่​่�ในกลุ่​่�มสี​ีแดง

(Red) มากกว่​่า เพราะเป็​็นพลั​ังงานจากเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล แม้​้จะมี​ีการนํ​ําเทคโนโลยี​ีการกั​ักเก็​็บ และดั​ั ก จั​ั บ คาร์​์บ อน (CCS/CCU) มาใช้​้ ร่ ว ่ มด้​้ ว ยแล้​้ ว ก็​็ ต าม (2) เสนอให้​้ มี​ี ก ารระบุ​ุ เ งื่​่�อนไขใน กิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียวเพิ่​่�มเติ​ิมว่​่า โครงการสี​ีเขี​ียวจะต้​้องไม่​่สร้​้างผลกระทบทางลบด้​้านอื่​่�น ๆ เพราะผู้​้�ให้​้

สั​ัมภาษณ์​์บางราย เห็​็นว่​่าผลกระทบของ โครงการโซลาร์​์เซลล์​์ หรื​ือโครงการพลั​ังงานลม อาจส่​่ง

ผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม ทั้​้�งจากการรุ​ุ กลํ้​้าพื้​้�นที่​่�ป่​่า การเปลี่​่�ยนวิ​ิถี​ีชี​ีวิ​ิตของสั​ัตว์​์ป่​่า หรื​ือการต้​้อง ย้​้ายที่​่�ดิ​ินทํ​ํากิ​ินของชุ​ุมชน ฯลฯ นอกจากนี้​้� ภาครั​ัฐควรมี​ีการตรวจสอบกิ​ิจกรรมการลงทุ​ุนของภาค­

รั​ัฐว่​่ามี​ีลั​ักษณะเป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม (green) จริ​ิงหรื​ือไม่​่ เพราะบางโครงการที่​่�มี​ีการลงทุ​ุนยั​ัง ไม่​่ปรากฏหลั​ักฐานเชิ​ิงประจั​ักษ์​์ ที่​่�แน่​่ชั​ัดมาสนั​ับสนุ​ุนว่​่าแต่​่ละกิ​ิจกรรมนั้​้�นเป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม

นอกจากนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์รายหนึ่​่�ง เห็​็นว่​่ า Thailand Taxonomy ไม่​่ได้​้ กล่​่ าวถึ​ึงนโยบายด้​้ าน อุ​ุปสงค์​์3 (demand side) หรื​ือนโยบายที่​่�มุ่​่�งเน้​้นการปรั​ับเปลี่​่�ยนพฤติ​ิกรรม เช่​่น ภาคการขนส่​่ง

นโยบายมุ่​่�งเน้​้นไปที่​่�รถยนต์​์ไฟฟ้​้า (Electric Vehicle: EV) แต่​่ทางเลื​ือกที่​่�มั​ักจะถู​ูกมองข้​้ามคื​ือ การใช้​้จั​ักรยานหรื​ือการเดิ​ิน กล่​่าวคื​ือ แนวทางการลดการใช้​้พลั​ังงานโดยการปรั​ับเปลี่​่�ยนพฤติ​ิ­ กรรมของมนุ​ุษย์​์ไม่​่ได้​้อยู่​่�ในกรอบของการมองในเชิ​ิงการเงิ​ินสี​ีเขี​ียว (green financing)

3

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์รายหนึ่​่�งให้​้ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิ มว่​่ า นโยบายด้​้ านอุ​ุปสงค์​์ จะประกอบไปด้​้ วย (1) มาตรการการเพิ่​่�ม

ประสิ​ิทธิ​ิภาพพลั​ังงาน (Energy Efficiency: EE) คื​ือการปรั​ับปรุ​ุ งกระบวนการใช้​้พลั​ังงาน อุ​ุปกรณ์​์ ระบบ ให้ ้ใช้​้

พลั​ังงานน้​้อยลงโดยยั​ังได้​้ผลลั​ัพธ์​์ที่​่� เหมื​ือนเดิ​ิม (2) มาตรการอนุ​ุรัก ั ษ์​์ พลั​ังงาน (Energy Conservation: EC) คื​ือการหาวิ​ิธีห ี รื​ือแนวทางการลดการใช้​้พลั​ังงานลง โดยทั่​่�วไปแล้​้วมั​ักเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับพฤติ​ิกรรมของผู้​้�ใช้​้พลั​ังงาน เป็​็นหลั​ัก (Energy Catalogue, ม.ป.ป.)

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 62


ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์รายหนึ่​่�งเห็​็นว่​่าการจั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ควรขยายผลเพิ่​่�มเติ​ิมไปใน ภาคอุ​ุตสาหกรรมที่​่�มี​ีปริ​ิมาณการปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์สูงู ที่​่�นอกเหนื​ือจากภาคพลั​ังงาน

และภาคขนส่​่ง รวมถึ​ึงการขยายผลไปยั​ังกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจอื่​่�น ๆ ที่​่�มี​ีส่ว ่ นช่​่วยในการลดปริ​ิมาณ การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก เพื่​่�อสร้​้างความเข้​้าใจให้​้แก่​่ภาคการเงิ​ิน การธนาคาร ในประเด็​็นการ

ปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกที่​่�นอกเหนื​ือจากภาคพลั​ังงานและภาคขนส่​่ง เพื่​่�อให้​้กิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจ

ในกลุ่​่�มนี้​้�สามารถเข้​้าถึ​ึงบริ​ิการทางการเงิ​ินได้​้ ง่​่ายขึ้​้�น เช่​่น ภาคเกษตรที่​่�มี​ีการใช้​้พลั​ั งงานน้​้อย แต่​่การปลู​ูกพื​ืชในประเทศไทยก่​่อให้​้เกิ​ิดก๊​๊าซเรื​ือนกระจกจากมี​ีเทน โดยเฉพาะการปลู​ูกข้​้าวที่​่�มี​ี การนํ​ํานํ้​้ามาแช่​่ต้​้นข้​้าวให้​้เติ​ิบโต ซึ่​่�งก่​่อให้​้เกิ​ิดก๊​๊าซมี​ีเทน หรื​ือการทํ​ําปศุ​ุสั​ัตว์​์ ทํ​ําให้​้เกิ​ิดก๊​๊าซมี​ีเทน

เช่​่นเดี​ียวกั​ัน จากมู​ูลและการพายลมของสั​ัตว์​์ ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จึ​ึงเห็​็นว่​่า ควรมี​ีการกล่​่าวถึ​ึง การลดก๊​๊าซเรื​ือนกระจกซึ่​่�งเกิ​ิดจากก๊​๊าซมี​ีเทนในภาคการเกษตร ซึ่​่�งอาจจะต้​้องเผชิ​ิญกั​ับต้​้นทุ​ุน ที่​่�สู​ูงจากการเปลี่​่�ยนพฤติ​ิกรรมของเกษตรกร

นอกจากนี้​้� ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ เ ห็​็ น ว่​่ า Thailand Taxonomy ควรระบุ​ุ โ ครงการผลิ​ิ ต ไฟฟ้​้ า จาก เชื้​้�อเพลิ​ิงขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF) ซึ่​่�งเป็​็นเชื้​้�อเพลิ​ิงที่​่�ได้​้จากขยะมู​ูลฝอยนํ​ํามาผ่​่าน

กระบวนการ และใช้​้แทนเชื้​้�อเพลิ​ิ งถ่​่ านหิ​ินได้​้ ดี​ี ซึ่​่�งในประเทศไทยมี​ีการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิ งประเภทนี้​้� ค่​่อนข้​้างมาก (หมายเหตุ​ุคณะวิ​ิจั​ัย: Thailand Taxonomy ฉบั​ับสมบู​ูรณ์​์ ระบุ​ุชัด ั เจนว่​่า โครงการ

พลั​ังงานชี​ีวภาพที่​่�ใช้​้ขยะมู​ูลฝอยชุ​ุมชน จะไม่​่มี​ีสิ​ิทธิ​ิเข้​้าเกณฑ์​์สี​ีเหลื​ืองหรื​ือสี​ีเขี​ียว) รวมถึ​ึงเพิ่​่�ม การระบุ​ุการอนุ​ุรัก ั ษ์​์ พลั​ังงานในอาคารของภาครั​ัฐ (government buildings) โดยใน Thailand

Taxonomy ยั​ังระบุ​ุเพี​ียงอาคารพาณิ​ิชย์ห ์ รื​ืออาคารของภาคเอกชน ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าเนื่​่�องจาก

ลั​ักษณะหรื​ือความต้​้องการของอาคารไม่​่เหมื​ือนกั​ัน อาจทํ​ําให้​้วิ​ิธีก ี ารเข้​้าถึ​ึงเงิ​ินทุ​ุนแตกต่​่างกั​ัน จึ​ึงควรแยกวิ​ิธีบ ี ริ​ิหารจั​ัดการ

อี​ีกหนึ่​่�งภาคส่​่วนที่​่�ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า Thailand Taxonomy ควรระบุ​ุในเกณฑ์​์กิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียว เพิ่​่�มเติ​ิม คื​ือ บริ​ิษั​ัทจั​ัดการพลั​ังงาน (Energy Service Company: ESCO) ซึ่​่�งเป็​็นบริ​ิษั​ัทที่​่�รั​ับจ้​้าง

สํ​ํ ารวจอาคารบ้​้านเรื​ือนที่​่�มี​ีการใช้​้พลั​ั งงานจํ​ํ านวนมาก และหาวิ​ิ ธี​ีการหรื​ือเทคโนโลยี​ีที่​่� ลดการ ใช้​้พลั​ังงาน โดย ESCO เป็​็นตั​ัวเชื่​่�อมสํ​ําคั​ัญของสถาบั​ันการเงิ​ินและภาคเอกชนที่​่�ต้​้องการเงิ​ินทุ​ุน ในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน เนื่​่�องจากเป็​็นผู้​้�ที่​่�วิ​ิเคราะห์​์ความคุ้​้�มค่​่าของการใช้​้พลั​ังงาน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 63


3.6 สรุ​ุปผลการสั​ัมภาษณ์​์รายกลุ่​่�ม - กลุ่​่�มองค์​์กรพั​ัฒนาเอกชน คณะวิ​ิจั​ัยสั​ัมภาษณ์​์ผู้​้�แทนจากองค์​์กรพั​ัฒนาเอกชน/ภาคประชาสั​ังคม จํ​ํานวน 3 ราย สามารถ สรุ​ุ ปผลการสั​ัมภาษณ์​์ได้​้ดั​ังนี้​้�

นิ​ิยามและความเข้​้าใจต่​่อการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมเศรษฐกิ​ิจเขี​ียวตามนิ​ิยามเดี​ียวกั​ัน และ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์มีค ี วามเห็​็นเกี่​่�ยวกั​ับนิ​ิยาม “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม” ในทิ​ิศทางเดี​ียวกั​ัน กล่​่าวคื​ือ เป็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านจากพลั​ังงานฟอสซิ​ิลไปสู่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน และต้​้องให้​้ความสํ​ําคั​ัญ

กั​ับผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียทุ​ุกกลุ่​่�มตลอดห่​่วงโซ่​่อุต ุ สาหกรรมพลั​ังงาน โดยต้​้องพิ​ิจารณาว่​่าผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้­

ส่​่วนเสี​ียแต่​่ละกลุ่​่�มได้​้รับ ั ผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานอย่​่างไรบ้​้าง เช่​่น ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ และแรงงานเหมื​ืองถ่​่านหิ​ิน/โรงไฟฟ้​้าถ่​่านหิ​ิน อาจต้​้องสู​ูญเสี​ียธุ​ุรกิ​ิจ สู​ูญเสี​ียอาชี​ีพ ผู้​้�ประกอบ­ กิ​ิจการอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานขนาดเล็​็กที่​่�ต้​้องการเข้​้าสู่​่�อุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนอาจต้​้อง

เผชิ​ิญการผู​ูกขาดด้​้านเงิ​ินทุ​ุนและเทคโนโลยี​ีจากผู้​้�ประกอบกิ​ิจการอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานขนาดใหญ่​่ ประชาชนทั่​่�วไปอาจต้​้องรั​ับภาระค่​่าไฟฟ้​้าในช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�แพงขึ้​้�น หรื​ือประชาชนกลุ่​่�มเปราะบาง

อาจไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานในช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่านได้​้ เป็​็นต้​้น ซึ่​่�งภาครั​ัฐควรมี​ีมาตรการช่​่วย เหลื​ือ เยี​ียวยาผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบอย่​่างเหมาะสม

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการรั​ับรู้​้�ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมยั​ังอยู่​่�ใน

วงที่​่�จํ​ํากั​ัด อี​ีกทั้​้�งกระบวนการทางกฎหมายของไทยยั​ังไม่​่เอื้​้�อหรื​ือไม่​่ส่​่งเสริ​ิมให้​้เกิ​ิดการมี​ีส่​่วนร่​่วม

จากผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียมากนั​ัก ประชาชนทั่​่�วไปยั​ังไม่​่ตระหนั​ักถึ​ึงผลกระทบจากการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานที่​่�จะเกิ​ิดขึ้​้�น เนื่​่�องจากส่​่วนใหญ่​่ยั​ังให้​้ความสํ​ําคั​ัญกั​ับความอยู่​่�รอดในการดํ​ํารงชี​ีวิ​ิต ใน

ประเด็​็นนี้​้�ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า ควรมี​ีการสื่​่�อสารเป็​็นวงกว้​้างเพื่​่�อให้​้ประชาชนตระหนั​ักและเข้​้าใจ ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�อาจส่​่งผลกระทบต่​่อการดํ​ํารงชี​ีวิ​ิตให้​้มากขึ้​้�น

ปั​ัญหา อุ​ุปสรรค และความท้​้าทายในการยกเลิ​ิกโครงการฟอสซิ​ิลของภาคพลั​ังงานไทย การยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิลเป็​็นประเด็​็นที่​่�ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าควรดํ​ําเนิ​ินการอย่​่างเร่​่งด่​่วน อย่​่างไร

ก็​็ตาม ที่​่�ผ่​่านมาภาครั​ัฐยั​ังไม่​่มี​ีนโยบายการยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิล หรื​ือแนวทางการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานที่​่�ชั​ัดเจน ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิลไม่​่สามารถทํ​ําอย่​่างฉั​ับพลั​ันได้​้

เนื่​่�องจากจะส่​่งผลกระทบต่​่อความมั่​่�นคงทางพลั​ังงาน และต้​้องใช้​้ระยะเวลาดํ​ําเนิ​ินการไม่​่ตํ่​่ากว่​่า

10 ปี​ี ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เสนอว่​่าภาครั​ัฐควรจั​ัดทํ​ําแผนการยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิลที่​่�ชั​ัดเจน โดยศึ​ึกษาว่​่า พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนหรื​ือพลั​ังงานทางเลื​ือกมี​ีศั​ักยภาพเพี​ียงพอที่​่�จะทดแทนพลั​ังงานฟอสซิ​ิลหรื​ือไม่​่ ผลการศึ​ึกษาควรสามารถระบุ​ุได้​้อย่​่างชั​ัดเจนว่​่าจะยกเลิ​ิกพลั​ังงานฟอสซิ​ิลประเภทใดก่​่อน-หลั​ัง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 64


อาจจั​ัดทํ​ําเป็​็นแผนการลดสั​ัดส่​่วนพลั​ังงานฟอสซิ​ิล (phase-out plan) ที่​่�ระบุ​ุกรอบระยะเวลา

ชั​ัดเจน และเป้​้าหมายการเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเข้​้ามาแทน อี​ีกทั้​้�งภาครั​ัฐควรมี​ีมาตรการ ส่​่งเสริ​ิมผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนรายย่​่อยโดยเร็​็ว เพื่​่�อลดการผู​ูกขาดพลั​ังงาน และ

ช่​่วยให้​้ประชาชนสามารถเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานได้​้อย่​่างทั่​่�วถึ​ึงมากขึ้​้�น ซึ่​่�งจะช่​่วยให้​้สามารถทยอยเลิ​ิกใช้​้ พลั​ังงานฟอสซิ​ิลได้​้เร็​็วขึ้​้�น

นอกจากนี้​้� ภาครั​ัฐควรมี​ีการส่​่งเสริ​ิมสนั​ับสนุ​ุนให้​้มี​ีการใช้​้พลั​ังงานอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพควบคู่​่�กั​ัน ไปด้​้วย เช่​่น การจั​ัดทํ​ําหลั​ักเกณฑ์​์ในการควบคุ​ุมการใช้​้พลั​ังงานของกิ​ิจกรรมหรื​ือสถานที่​่�ต่​่าง ๆ

เพื่​่�อควบคุ​ุมไม่​่ให้​้มี​ีการใช้​้พลั​ั งงานเกิ​ิ นจํ​ํ าเป็​็น เช่​่น ส่​่ งเสริ​ิมให้​้หน่​่วยงานภาครั​ัฐเปลี่​่�ยนไปใช้​้ หลอดไฟฟ้​้าแบบประหยั​ัดพลั​ังงาน เป็​็นต้​้น

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จํ​ํานวน 1 ราย ให้​้ข้​้อมู​ูลว่​่าที่​่�ผ่​่านมาเคยมี​ีงานวิ​ิจั​ัย เรื่​่�อง “การปลดระวางถ่​่านหิ​ิน

เพื่​่�อการเปลี่​่�ยนผ่​่านที่​่�เป็​็นธรรมในประเทศไทย (Coal Phase – Out and Just Transition in Thailand)” (Greenpeace Thailand, 2564) อย่​่างไรก็​็ตาม รายงานฉบั​ับดั​ังกล่​่าวมุ่​่�งเน้​้นการ

จั​ัดทํ​ําแนวทางปลดระวางถ่​่านหิ​ินจากระบบการผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศไทยที่​่�คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความมั่​่�นคง ทางพลั​ั งงานเป็​็นสํ​ํ าคั​ั ญ แต่​่ ยั​ังไม่​่ครอบคลุ​ุมประเด็​็ นที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ั บการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ั งงานที่​่�

ยุ​ุติ​ิธรรมมากนั​ัก และผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่ าควรมี​ีการศึ​ึกษาเพิ่​่�มเติ​ิ มในประเด็​็ นที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ั บ แรงงานที่​่�อยู่​่�ในห่​่วงโซ่​่อุต ุ สาหกรรมถ่​่านหิ​ินทั้​้�งหมดด้​้วย

ประเด็​็นที่​่�เ ห็​็นว่​่าเป็​็น “ความไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรม” ในโครงสร้​้างพลั​ังงานไทย ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ส่​่วนใหญ่​่เห็​็นว่​่าปั​ัญหาโครงสร้​้างพลั​ังงานของประเทศไทยยั​ังมี​ีความไม่​่ยุติ ุ ิธรรมใน หลายประเด็​็น อาทิ​ิ

 การจั​ัดทําํ แผนพั​ัฒนากํ​ําลั​ังผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศไทย (PDP) ฉบั​ับปั​ัจจุ​ุบันั พ.ศ. 2561–2580

(สํ​ํานั​ักงานนโยบายและแผนพลั​ังงาน กระทรวงพลั​ังงาน, 2563) ยั​ังขาดกระบวนการมี​ีส่​่วนร่​่วม อย่​่ า งจริ​ิง จั​ั ง ของผู้​้�มี​ี ส่​่ ว นได้​้ ส่​่ ว นเสี​ี ย ทุ​ุก ภาคส่​่ ว น ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์เ ห็​็ น ว่​่ า ภาครั​ัฐ มี​ี อํ​ํ า นาจอนุ​ุมั​ั ติ​ิ

โครงการผลิ​ิตไฟฟ้​้าตามแผน PDP ซึ่​่�งส่​่วนใหญ่​่เป็​็นโครงการของผู้​้�ประกอบกิ​ิจการขนาดใหญ่​่ อี​ีกทั้​้�งภาครั​ัฐมั​ักมี​ีการทํ​ําสั​ัญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้ากั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการขนาดใหญ่​่ ซึ่​่�งเป็​็นสั​ัญญาที่​่� สร้​้างภาระผู​ูกพั​ันระยะยาว ก่​่อนที่​่�จะเปิ​ิดให้​้ภาคประชาชนเข้​้ามามี​ีส่​่วนร่​่วม

ผลจากการดํ​ําเนิ​ินการดั​ังกล่​่าวทํ​ําให้​้การคาดการณ์​์ปริ​ิมาณความต้​้องการใช้ ้ไฟฟ้​้าไม่​่สอดคล้​้อง กั​ั บความเป็​็นจริ​ิง ส่​่ งผลให้​้ปริ​ิมาณไฟฟ้​้าสํ​ํ ารองของประเทศอยู่​่�ในระดั​ั บที่​่�สู​ูงมากเกิ​ิ นไป ทํ​ํ าให้​้

ประชาชนต้​้องแบกรั​ับภาระค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�สู​ูงขึ้​้�นอย่​่างไม่​่เป็​็นธรรมจากค่​่าความพร้​้อมจ่​่าย (Availability Payment) ที่​่�ระบุ​ุ อ ยู่​่�ในสั​ั ญ ญา ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ เ ห็​็ น ว่​่ า ควรมี​ี ก ารทบทวนการคาดการณ์​์ ค วาม

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 65


ต้​้ องการใช้ ้ไฟฟ้​้าของประเทศใหม่​่ ควรเปิ​ิดให้​้ประชาชนเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูลหรื​ือสั​ัญญาของโครงการ

พลั​ังงานต่​่าง ๆ ซึ่​่�งจะช่​่วยให้​้เกิ​ิดความโปร่​่งใสมากขึ้​้�น โดยที่​่�ผ่​่านมาหากประชาชนต้​้องการเข้​้าถึ​ึง ข้​้อมู​ูล จะต้​้องทํ​ําเรื่​่�องขออนุ​ุญาต

 การเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานของกลุ่​่�มเปราะบางและการผู​ูกขาดพลั​ังงานของกลุ่​่�มทุ​ุนขนาดใหญ่​่ ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าที่​่�ผ่​่านมากลุ่​่�มเปราะบางเป็​็นกลุ่​่�มที่​่�ไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานได้​้อยู่​่�แล้​้ว เช่​่น ชุ​ุมชนที่​่�อยู่​่�รอบโรงไฟฟ้​้าแม่​่เมาะ ประสบปั​ัญหาไฟฟ้​้าไม่​่เสถี​ียรหรื​ือ ไฟฟ้​้าติ​ิด ๆ ดั​ับ ๆ อี​ีกทั้​้�ง ยั​ังเป็​็นกลุ่​่�มที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบด้​้านการใช้​้นํ้า ้ เนื่​่�องจากโรงไฟฟ้​้าแม่​่เมาะใช้​้นํ้า ้ จากแอ่​่งเก็​็บนํ้​้าต่​่าง ๆ

ในปริ​ิมาณมาก การที่​่�กลุ่​่�มเปราะบางไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมได้​้ เป็​็นปั​ัญหา

ที่​่�มี​ีอยู่​่�แล้​้วก่​่อนที่​่�จะมี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน หรื​ือกล่​่าวอี​ีกนั​ัยหนึ่​่�ง กลุ่​่�มเปราะบางเป็​็นกลุ่​่�มที่​่�ไม่​่

สามารถเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานอยู่​่�แล้​้ว ไม่​่ว่า ่ จะมี​ีหรื​ือไม่​่มีก ี ารเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานก็​็ตาม นอกจากนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าควรมี​ีการนิ​ิยามให้​้ชัด ั เจนว่​่ากลุ่​่�มเปราะบางคื​ือประชาชนกลุ่​่�มใดบ้​้าง และอยู่​่� ในพื้​้�นที่​่�ใด เพื่​่�อที่​่�จะได้​้จั​ัดทํ​ํามาตรการช่​่วยเหลื​ือกลุ่​่�มเปราะบางเหล่​่านี้​้�เป็​็นลํ​ําดั​ับแรก

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าภาครั​ัฐยั​ังไม่​่มี​ีนโยบายที่​่�ชั​ัดเจนว่​่าจะลดการผู​ูกขาดพลั​ังงานของกลุ่​่�มทุ​ุน

ขนาดใหญ่​่ และส่​่ งเสริ​ิมการกระจายอํ​ํ านาจการผลิ​ิ ตพลั​ั งงานไปยั​ังผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการพลั​ั งงาน

รายย่​่อยอย่​่างไร ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานรายย่​่อยมี​ีความสามารถในการ ผลิ​ิ ตไฟฟ้​้า เพี​ียงแต่​่ ต้​้องมี​ีการปรั​ับปรุ​ุ งโครงสร้​้างระบบที่​่�ส่​่ งเสริ​ิมหรื​ือเอื้​้� อให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการ

สามารถอยู่​่�รอดได้​้ โดยได้​้ยกตั​ัวอย่​่างกรณี​ีชาวบ้​้านในจั​ังหวั​ัดกระบี่​่�ที่​่�คั​ัดค้​้านการก่​่อสร้​้างโรงไฟฟ้​้า ถ่​่านหิ​ินกระบี่​่� และสนั​ับสนุ​ุนการใช้​้พลั​ังงานทางเลื​ือกทั้​้�งหมด 100% โดยชาวบ้​้านมี​ีการดํ​ําเนิ​ินการ ร่​่วมกั​ับภาคธุ​ุรกิ​ิจรายย่​่อยในพื้​้�นที่​่� เช่​่น โรงงานปาล์​์ม นํ​ําผลผลิ​ิตที่​่�เหลื​ือมาผลิ​ิตไฟฟ้​้า อย่​่างไร ก็​็ตาม ไฟฟ้​้าส่​่วนที่​่�เหลื​ือต้​้องถู​ูกทิ้​้�งไป เพราะไม่​่สามารถนํ​ําเข้​้าระบบสายส่​่งเพื่​่�อนํ​ําไปขายต่​่อได้​้

ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ยกตั​ัวอย่​่างกรณี​ีศึ​ึกษาในประเทศเยอรมนี​ี ซึ่​่�งมี​ีกลุ่​่�มนั​ักศึ​ึกษาร่​่วมกั​ันลงทุ​ุนเพื่​่�อ ทํ​ํากั​ังหั​ันลมผลิ​ิตไฟฟ้​้า โดยให้​้ชุม ุ ชนมี​ีส่​่วนร่​่วมในการกํ​ํากั​ับดู​ูแล และต่​่อมาก็​็ได้​้มีก ี ารจดทะเบี​ียน เป็​็นสหกรณ์​์ ซึ่​่�งทํ​ําให้​้ชุม ุ ชนได้​้รับ ั ประโยชน์​์จากการจ่​่ายค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�ถู​ูกลง และได้​้รับ ั เงิ​ินปั​ันผลจาก การขายไฟฟ้​้าส่​่วนที่​่�เหลื​ือด้​้วย

ดั​ังนั้​้�น หากภาครั​ัฐมี​ีนโยบายหรื​ือแนวทางที่​่�ชั​ัดเจนในการส่​่งเสริ​ิมผู้​้�ประกอบกิ​ิจการรายย่​่อย เช่​่น การสนั​ับสนุ​ุนให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนรายย่​่อยสามารถขายไฟฟ้​้ากลั​ับเข้​้าสู่​่�ระบบได้​้

หรื​ือการมี​ีมาตรการสนั​ับสนุ​ุนสิ​ินเชื่​่�อดอกเบี้​้�ยตํ่​่าให้​้แก่​่ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนรายย่​่อย

เป็​็นต้​้น ก็​็จะช่​่วยลดการผู​ูกขาดพลั​ังงาน และทํ​ําให้​้กลุ่​่�มเปราะบางมี​ีโอกาสเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงาน ได้​้มากขึ้​้�น

สํ​ํ าหรั​ับมาตรการชดเชยหรื​ือเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการพลั​ั งงานขนาดใหญ่​่นั้​้�น ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ บางส่​่วนเห็​็นว่​่าผู้​้�ประกอบกิ​ิจการกลุ่​่�มนี้​้�มี​ีศั​ักยภาพและความพร้​้อมทั้​้�งในด้​้านเงิ​ินทุ​ุน เทคโนโลยี​ี

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 66


และทรั​ัพยากรต่​่าง ๆ อยู่​่�แล้​้ว อี​ีกทั้​้�งสามารถเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูลที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงนโยบาย

ได้​้รวดเร็​็วกว่​่าผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียกลุ่​่�มอื่​่�น ๆ การชดเชยหรื​ือเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการกลุ่​่�มนี้​้�จึ​ึงควร ดํ​ําเนิ​ินการเป็​็นลํ​ําดั​ับท้​้าย และควรเป็​็นการช่​่วยเหลื​ือในประเด็​็นอื่​่�นที่​่�ไม่​่ใช่​่ด้​้านเงิ​ินทุ​ุน เช่​่น การ ช่​่วยเหลื​ือด้​้านแรงงาน

 คณะกรรมการในหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานยั​ังขาดผู้​้�แทน/ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญจากภาค­ ประชาสั​ังคมหรื​ือองค์​์กรอิ​ิสระ ส่​่งผลให้​้การตรวจสอบระบบโครงสร้​้างพลั​ังงานทั้​้�งหมดยั​ังไม่​่มี​ี ความสมดุ​ุลระหว่​่างผู้​้�ประกอบกิ​ิจการกั​ับภาคประชาชนมากนั​ัก

 กฎหมายไทยยั​ังมี​ีช่​่องว่​่างที่​่�เอื้​้�อให้​้เกิ​ิดความไม่​่เป็​็นธรรมในโครงสร้​้างพลั​ังงาน เช่​่น พระ­

ราชบั​ัญญั​ัติ​ิการไฟฟ้​้าฝ่​่ายผลิ​ิตแห่​่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 (พ.ร.บ. กฟผ.) กํ​ําหนดให้​้จั​ัดตั้​้�งการ

ไฟฟ้​้าฝ่​่ายผลิ​ิตแห่​่งประเทศไทย (กฟผ.) ขึ้​้�นโดยมี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ เพื่​่�อผลิ​ิต จั​ัดส่​่ง จํ​ําหน่​่าย หรื​ือ

ดํ​ําเนิ​ินงานต่​่าง ๆ ที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับพลั​ังงานไฟฟ้​้า ซึ่​่�งการดํ​ําเนิ​ินงานดั​ังกล่​่าวอาจก่​่อให้​้เกิ​ิดการละเมิ​ิด

สิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชน เช่​่น มาตรา 28 และ 29 ใน พ.ร.บ. กฟผ. ให้​้อํ​ํานาจ กฟผ. ในการใช้​้สอยหรื​ือเข้​้า ครอบครองที่​่�ดิ​ินเพื่​่�อสํ​ํารวจระบบไฟฟ้​้า เดิ​ินสายส่​่งไฟฟ้​้าลงบนพื้​้�นที่​่�ของประชาชน ประกาศเขต

การเดิ​ินสายไฟฟ้​้า และรื้​้�อถอนโรงเรื​ือนหรื​ือทํ​ําลายสิ่​่�งปลู​ูกสร้​้าง ซึ่​่�งก่​่อนดํ​ําเนิ​ินการ กฟผ. จะทํ​ํา การแจ้​้งให้​้เจ้​้าของหรื​ือผู้​้�ครอบครองทรั​ัพย์​์สิ​ินรั​ับทราบล่​่วงหน้​้า เป็​็นต้​้น

แนวทางการสนั​ับสนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของประเทศไทย ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์เห็​็นว่​่าการลงทุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนในไทยส่​่วนใหญ่​่ยังั เป็​็นการลงทุ​ุนของผู้​้�ประกอบ­ กิ​ิจการขนาดใหญ่​่ (utility scale) อี​ีกทั้​้�งระบบการซื้​้�อขายไฟฟ้​้ายั​ังเอื้​้�อประโยชน์​์ให้​้กั​ับผู้​้�ประกอบ­ กิ​ิจการกลุ่​่�มนี้​้�มากกว่​่าผู้​้�ประกอบกิ​ิจการรายย่​่อย

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่ าการส่​่ งเสริ​ิมพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนควรมุ่​่�งเน้​้นการส่​่ งเสริ​ิมผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการ พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนรายย่​่อยให้​้มากขึ้​้�น โดยเฉพาะการส่​่งเสริ​ิมให้​้เกิ​ิดผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน

หมุ​ุนเวี​ียนในระดั​ับชุ​ุมชน อี​ีกทั้​้�งควรส่​่งเสริ​ิมประเภทของพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนให้​้มีค ี วามหลากหลาย มากขึ้​้� น นอกจากนี้​้� ภาครั​ัฐ ควรปรั​ับ ปรุ​ุ ง แผน PDP โดยเฉพาะการพั​ั ฒ นาโครงสร้​้า งพื้​้� น ฐาน สํ​ํ าหรั​ับ พลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยน การพั​ัฒนาระบบโครงข่​่ายไฟฟ้​้าอั​ั จฉริ​ิยะ (smart grid) ตลอดทั้​้� ง

ห่​่วงโซ่​่ของระบบ รวมถึ​ึงการสนั​ับสนุ​ุนให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนรายย่​่อยสามารถ

ขายไฟฟ้​้ากลั​ับเข้​้าสู่​่�ระบบได้​้ หรื​ือการมี​ีมาตรการสนั​ับสนุ​ุนสิ​ินเชื่​่�อดอกเบี้​้�ยตํ่​่าให้​้แก่​่ผู้​้�ประกอบ­ กิ​ิ จการพลั​ั งงานหมุ​ุนเวี​ี ยนรายย่​่อย ดั​ั งที่​่�ได้​้ กล่​่ าวแล้​้ วข้​้างต้​้ น ก็​็ จะช่​่วยให้​้การส่​่ งเสริ​ิมพลั​ั งงาน หมุ​ุนเวี​ียนมี​ีความก้​้าวหน้​้ามากยิ่​่�งขึ้​้�นด้​้วย

ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์จํา ํ นวน 1 ราย เห็​็นว่​่าไม่​่ควรส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากขยะ เนื่​่�องจากมี​ีข้อ ้ กั​ังวลดั​ังนี้​้�

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 67


 การเลื​ือกพื้​้�นที่​่�ตั้​้�งของโรงไฟฟ้​้าพลั​ังงานขยะในไทย ปั​ัจจุ​ุบันั สามารถตั้​้�งที่​่�ใดก็​็ได้​้ โดยไม่​่มีกี าร พิ​ิจารณาความเหมาะสมของผั​ังเมื​ือง

 ปั​ัจจุ​ุบั​ันการสร้​้างโรงไฟฟ้​้าพลั​ังงานขยะทุ​ุกขนาดไม่​่ต้​้องมี​ีการประเมิ​ินผลกระทบสิ่​่�งแวดล้​้อม

ทํ​ําเพี​ียงประมวลหลั​ักการปฏิ​ิบั​ัติ​ิ (Code of Practice: CoP) เท่​่านั้​้�น ซึ่​่�งผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า

ยั​ังไม่​่เพี​ียงพอ เนื่​่�องจากโรงไฟฟ้​้าพลั​ังงานขยะมี​ีผลกระทบอย่​่างมากต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม ก่​่อให้​้เกิ​ิด ความเสี่​่�ยงต่​่อมลพิ​ิษทั้​้�งทางอากาศ แหล่​่งดิ​ิน แหล่​่งนํ้​้า และผลกระทบต่​่อชุ​ุมชน

 ผลกระทบที่​่�เกิ​ิ ดจากการสร้​้างโรงไฟฟ้​้าพลั​ั งงานขยะในพื้​้�นที่​่�ที่​่�ไม่​่เหมาะสม แก้ไ้ ขได้​้ ยาก

เช่​่น กรณี​ีโรงไฟฟ้​้าพลั​ังงานขยะที่​่�เขตอ่​่อนนุ​ุช กรุ​ุ งเทพฯ ซึ่​่�งเป็​็นพื้​้�นที่​่�เมื​ืองที่​่�มี​ีชุ​ุมชนอยู่​่�อาศั​ัย มี​ีปั​ัญหาเรื่​่�องกลิ่​่�น และปั​ัจจุ​ุบั​ันก็​็ยั​ังไม่​่สามารถแก้ ้ไขได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ

ความคิ​ิดเห็​็นต่​่อ Thailand Taxonomy กั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ 1 ราย เห็​็นว่​่า การจั​ัดทํ​ําและเผยแพร่​่ฉบับ ั ร่​่างของ Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1

ในเดื​ือนมกราคม 2566 เป็​็นภาษาอั​ังกฤษ ทํ​ําให้​้ประชาชนทั่​่�วไปไม่​่สามารถอ่​่านเข้​้าใจได้​้ทั้​้�งหมด และไม่​่สามารถให้​้ความเห็​็นในช่​่วงรั​ับฟั​ังความคิ​ิดเห็​็นได้​้ (หมายเหตุ​ุคณะวิ​ิจั​ัย: ต่​่อมาในเดื​ือน มิ​ิถุน ุ ายน พ.ศ. 2566 ธปท. ได้​้จั​ัดทํ​ํา Thailand Taxonomy ฉบั​ับภาษาไทย เผยแพร่​่ทางเว็​็บไซต์​์ ของ ธปท. แล้​้ว หากเป็​็นฉบั​ับสมบู​ูรณ์​์ภายหลั​ังจากที่​่�ปิ​ิดช่​่วงรั​ับฟั​ังความคิ​ิดเห็​็น)

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่ าการจั​ั ดทํ​ํ า Thailand Taxonomy ให้​้ความสํ​ํ าคั​ั ญกั​ั บภาคธุ​ุรกิ​ิ จค่​่ อนข้​้าง

มาก แต่​่ยั​ังขาดการสร้​้างความรู้​้�ความเข้​้าใจให้​้กั​ับประชาชน และเห็​็นว่​่าควรสร้​้างการมี​ีส่​่วนร่​่วม กั​ั บ ประชาชน และเพิ่​่�มการสื่​่�อสารให้​้ ป ระชาชนตระหนั​ัก และเห็​็ น ความสํ​ํ า คั​ั ญ ของ Thailand Taxonomy มากขึ้​้�น

ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ เ ห็​็ น ว่​่ า ควรรวมภาคอุ​ุ ต สาหกรรมการผลิ​ิ ต ไว้ ใ้ น Thailand Taxonomy ด้​้ ว ย เนื่​่�องจากภาคอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตมี​ีการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิลหลากหลายประเภท และยั​ังไม่​่ได้​้

มี​ีการระบุ​ุหรื​ือเปิ​ิดเผยข้​้อมู​ูลชั​ัดเจนว่​่ามี​ีการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงประเภทใดบ้​้าง และใช้ ้ในปริ​ิมาณมากน้​้อย

เพี​ียงใด ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่าอุ​ุตสาหกรรมปู​ูน อุ​ุตสาหกรรมเหล็​็ก อุ​ุตสาหกรรมปิ​ิโตรเคมี​ี

ควรเป็​็ น อุ​ุ ต สาหกรรมกลุ่​่�มแรกที่​่�จะต้​้ อ งมี​ี ก ารเปลี่​่�ยนผ่​่ า นพลั​ั ง งาน (หมายเหตุ​ุ ค ณะวิ​ิ จั​ั ย : การพั​ัฒนา Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 เน้​้นเฉพาะกิ​ิจกรรมในภาคพลั​ังงานและขนส่​่งเท่​่านั้​้�น โดยเกณฑ์​์สํ​ําหรั​ับอุ​ุตสาหกรรมอื่​่�น ๆ จะได้​้รับ ั การพั​ัฒนาในระยะต่​่อไป)

ในประเด็​็นการจั​ัดกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจใน Thailand Taxonomy ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เห็​็นว่​่า ไม่​่ควรจั​ัดให้ ้โรงไฟฟ้​้าพลั​ังงานขยะอยู่​่�ในกลุ่​่�มกิ​ิจกรรมสี​ีเขี​ียว เนื่​่�องจากมี​ีผลกระทบด้​้านสั​ังคมและ

สิ่​่�งแวดล้​้อมสู​ูงมาก แม้​้ว่​่าจะมี​ีการจั​ัดการที่​่�ดี​ีก็​็ตาม (หมายเหตุ​ุคณะวิ​ิจั​ัย: Thailand Taxonomy

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 68


ระยะที่​่� 1 ฉบั​ับสมบู​ูรณ์​์ ได้​้ จั​ัดกลุ่​่�มโรงไฟฟ้​้าพลั​ั งงานขยะเป็​็น “สี​ี แดง” ตามข้​้อเสนอแนะของ

แนวร่​่ว มการเงิ​ิน ที่​่�เป็​็น ธรรมประเทศไทย ต่​่ อ ร่​่า ง Thailand Taxonomy) นอกจากนี้​้� การจั​ั ด

กลุ่​่�มกิ​ิจกรรมสํ​ําหรั​ับพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนนั้​้�น แม้​้ว่​่าจะมี​ีการปล่​่อยคาร์​์บอนตํ่​่า แต่​่ก็​็ต้​้องพิ​ิจารณา ผลกระทบอื่​่�น ๆ ที่​่�อาจเกิ​ิดขึ้​้�นได้​้ เช่​่น โรงไฟฟ้​้ากั​ังหั​ันลม แม้​้จะเป็​็นเทคโนโลยี​ีพลั​ังงานสะอาด

แต่​่ อาจส่​่ งผลกระทบกั​ั บชุ​ุมชนรอบพื้​้�นที่​่�โครงการ เช่​่น ประเด็​็ นเรื่​่�องการใช้​้พื้​้�นที่​่�ก่​่ อสร้​้าง หรื​ือ

พลั​ังงานชี​ีวมวลที่​่�ใช้​้วั​ัสดุ​ุจากการเกษตร อาจส่​่งผลกระทบกั​ับระบบนิ​ิเวศได้​้ เป็​็นต้​้น นอกจากนี้​้�

ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์กั​ังวลว่​่ าผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการพลั​ั งงานฟอสซิ​ิลขนาดใหญ่​่ จะอ้​้ างเรื่​่�องการลงทุ​ุนใน โครงการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนส่​่วนน้​้อย เป็​็นการฟอกเขี​ียวหรื​ือบั​ังหน้​้าการเดิ​ินหน้​้าผลิ​ิตพลั​ังงานจาก เชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิลต่​่อไป

ผู้​้�ให้​้สั​ั มภาษณ์​์ไม่​่เห็​็นด้​้ วยอย่​่างยิ่​่�งที่​่� Thailand Taxonomy ระบุ​ุว่​่ ากิ​ิ จกรรมที่​่�มี​ีผลกระทบต่​่ อ

สิ่​่�งแวดล้​้อมแต่​่มีก ี ารจั​ัดทํ​ํามาตรการเยี​ียวยาหรื​ือฟื้​้� นฟู​ู สามารถจั​ัดเป็​็นกิ​ิจกรรม “สี​ีเขี​ียว” ได้​้ และ เห็​็นว่​่าธุ​ุรกิ​ิจหรื​ือกิ​ิจกรรมที่​่�จะอยู่​่�ในกลุ่​่�มสี​ีเขี​ียวนั้​้�นต้​้องเป็​็นกิ​ิจกรรมที่​่�ไม่​่มีผ ี ลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม เลย หรื​ือมี​ีผลกระทบน้​้อยที่​่�สุ​ุด นอกจากนี้​้� ควรมี​ีการบั​ังคั​ับใช้​้กฎหมายเพิ่​่�มเติ​ิมเพื่​่�อรั​ับประกั​ันว่​่า

หากกิ​ิจกรรมในกลุ่​่�มสี​ีเขี​ียวส่​่งผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม ต้​้องมี​ีมาตรการเยี​ียวยาหรื​ือฟื้​้� นฟู​ูอย่​่าง ยุ​ุติ​ิธรรมด้​้วย

3.7 สรุ​ุปประเด็​็น และข้​้อเสนอแนะของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย คณะวิ​ิจัย ั เห็​็นว่​่า ข้​้อเสนอแนะของผู้​้�มี​ีส่ว ่ นได้​้เสี​ียกลุ่​่�มต่​่าง ๆ ดั​ังสรุ​ุ ปข้​้างต้​้น สามารถจํ​ําแนกได้​้เป็​็น 3 ประเภท เมื่​่�อนํ​ํามาเปรี​ียบเที​ียบกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรม ได้​้แก่​่ 1. ข้​้อเสนอแนะ ที่​่�ไม่​่สอดคล้​้องกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม 2. ข้​้อเสนอแนะที่​่�แตกต่​่างกั​ันเนื่​่�องจาก

ความแตกต่​่างของสมมติ​ิฐานหรื​ือมุ​ุมมอง และ 3. ข้​้อเสนอแนะที่​่�สอดคล้​้องกั​ันและสอดรั​ับกั​ับ หลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม โดยมี​ีรายละเอี​ียด ดั​ังนี้​้�

1. ข้​้อเสนอแนะที่​่� ไม่​่สอดคล้​้องกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม คณะวิ​ิ จั​ั ย พบว่​่ า ผู้​้�มี​ี ส่​่ ว นได้​้ เ สี​ี ย บางรายได้​้ ห ยิ​ิ บ ยกข้​้ อ เสนอแนะที่​่�ไม่​่ ส อดคล้​้ อ งกั​ั บ หลั​ั ก การ

เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม เนื่​่�องจากปฏิ​ิเสธความจํ​ําเป็​็นของการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน โดยมี​ี ข้​้อเสนอแนะ 2 ข้​้อที่​่�เข้​้าข่​่ายดั​ังกล่​่าว ดั​ังนี้​้�

• ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ 1 รายจากหน่​่ ว ยงานภาครั​ัฐ เห็​็ น ว่​่ า ประเทศไทยไม่​่ ส ามารถยกเลิ​ิ ก การใช้​้

พลั​ังงานฟอสซิ​ิลได้​้เลย โดยให้​้เหตุ​ุผลว่​่าไทยจํ​ําเป็​็นต้​้องใช้​้ก๊า ๊ ซธรรมชาติ​ิควบคู่​่�ไปกั​ับพลั​ังงาน หมุ​ุนเวี​ียน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 69


• ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน 1 ราย เสนอให้​้มี​ีการเปิ​ิดโอกาสให้​้มี​ีการส่​่งออกพลั​ังงานไฟฟ้​้าที่​่�

ผลิ​ิตในประเทศ โดยเฉพาะไฟฟ้​้าที่​่�ผลิ​ิตจากเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล เพื่​่�อลดสั​ัดส่​่วนเชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิล ที่​่�ใช้ ้ในประเทศ จะได้​้สามารถเพิ่​่�มสั​ัดส่​่วนการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนในประเทศ

ได้​้มากขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ดี​ี ข้​้อเสนอนี้​้�เท่​่ากั​ับยื​ืดระยะเวลาดํ​ําเนิ​ินกิ​ิจการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากฟอสซิ​ิล ต่​่อไป แทนที่​่�จะค่​่อย ๆ ลดลง ซึ่​่�งขั​ัดแย้​้งกั​ับนิ​ิยามของ “การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน”

2. ข้​้อเสนอแนะที่​่�แตกต่​่างกั​ัน เนื่​่�องจากความแตกต่​่างของสมมติ​ิฐานหรื​ือมุ​ุมมอง คณะวิ​ิจั​ัยสั​ังเกตว่​่า ข้​้อเสนอแนะหลายประการของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียหลายรายมี​ีความแตกต่​่างกั​ัน

เนื่​่�องจากใช้​้สมมติ​ิฐาน มุ​ุมมอง หรื​ือจั​ัดลํ​ําดั​ับความสํ​ําคั​ัญ (priority) แตกต่​่างกั​ัน ข้​้อเสนอแนะ เหล่​่านี้​้�สามารถจํ​ําแนกได้​้เป็​็น 4 ประเด็​็นหลั​ัก ดั​ังรายละเอี​ียดต่​่อไปนี้​้�

นิ​ิยาม “ความมั่​่�นคงทางพลั​ังงาน” ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จากหน่​่วยงานภาครั​ัฐ และตั​ัวแทนแรงงานอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล โดยรวมมองว่​่า

รั​ัฐจํ​ําเป็​็นต้​้องรั​ักษาความมั่​่�นคงทางพลั​ังงานในระดั​ับสู​ูง เนื่​่�องจากหากกํ​ําลั​ังการผลิ​ิตไม่​่เพี​ียงพอ กั​ับความต้​้องการ ก็​็อาจจะส่​่งผลให้​้เกิ​ิดสถานการณ์​์ไฟดั​ับเป็​็นวงกว้​้าง (blackout) อี​ีกทั้​้�งความ­ มั่​่�นคงทางพลั​ังงานยั​ังช่​่วยส่​่งเสริ​ิมความสามารถในการแข่​่งขั​ันทางเศรษฐกิ​ิจของประเทศ

ในขณะเดี​ี ย วกั​ั น ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้ า นพลั​ั ง งานและตั​ั ว แทนองค์​์ ก รพั​ั ฒ นาเอกชนโดยรวมมองว่​่ า

ความมั่​่�นคงทางพลั​ั ง งานควรอยู่​่�ในมื​ื อ ของประชาชน ชุ​ุ ม ชน และผู้​้�ประกอบกิ​ิ จ การรายย่​่ อ ย มากกว่​่ าระบบรวมศู​ูนย์​์ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน โดยรั​ัฐควรปฏิ​ิ รู​ูปโครงสร้​้างพลั​ั งงานเพื่​่�อกระจายอํ​ํ านาจใน การผลิ​ิตพลั​ังงานมากขึ้​้�น

ประเด็​็น “ความยุ​ุติ​ิธรรม” ของโครงสร้​้างราคาพลั​ังงานปั​ัจจุ​ุบั​ัน ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์จากหน่​่วยงานภาครั​ัฐบางรายมองว่​่ า โครงสร้​้างราคาพลั​ั งงานปั​ัจจุ​ุบั​ันคํ​ํ านึ​ึงถึ​ึง ความเป็​็นธรรมอยู่​่�แล้​้ว โดยยกตั​ัวอย่​่างเช่​่น การทํ​ําสั​ัญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้า (PPA) ซึ่​่�งนั​ับเป็​็นการ

ประกั​ันรายได้​้ของผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ ช่​่วยทํ​ําให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการมั่​่�นใจและสร้​้างความเชื่​่�อมั่​่�นให้​้กับ ั

นั​ักลงทุ​ุนเพื่​่�อเข้​้ามาลงทุ​ุนในประเทศเพิ่​่�มขึ้​้�น ในขณะที่​่�ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงานและตั​ัวแทนองค์​์กร พั​ัฒนาเอกชนมองประเด็​็นเดี​ียวกั​ันว่​่าไม่​่เป็​็นธรรม เนื่​่�องจากสั​ัญญา PPA เป็​็นสั​ัญญาผู​ูกมั​ัดระยะ

ยาวที่​่�ตั้​้�งอยู่​่�บนการคาดการณ์​์ความต้​้องการใช้ ้ไฟฟ้​้าสู​ูงเกิ​ินจริ​ิงไปมาก ส่​่งผลให้​้เกิ​ิดการสร้​้าง โรงไฟฟ้​้าและลงนามในสั​ั ญญา PPA มากเกิ​ิ นจริ​ิง ซึ่​่�งส่​่ งผลให้​้ผู้​้�บริ​ิโภคแบกรั​ับต้​้ นทุ​ุนมากเกิ​ิ น ความจํ​ําเป็​็นโดยไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรม

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 70


เทคโนโลยี​ี ต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต และทางเลื​ือกในช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ตั​ัวอย่​่างข้​้อเสนอแนะที่​่�แตกต่​่างกั​ันในประเด็​็นนี้​้�ได้​้แก่​่ • ต้​้ น ทุ​ุ น การผลิ​ิ ต : ตั​ั ว แทนแรงงานในอุ​ุ ต สาหกรรมฟอสซิ​ิ ล มองว่​่ า ต้​้ น ทุ​ุ น ของโซลาร์​์เ ซลล์​์

ยั​ังสู​ูงกว่​่าต้​้นทุ​ุนของพลั​ังงานอื่​่�น ๆ ในขณะที่​่�ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงานบางรายมองว่​่า ต้​้นทุ​ุน

การผลิ​ิ ตของโซลาร์​์เซลล์​์ สามารถแข่​่งขั​ันได้​้ กั​ับพลั​ั งงานฟอสซิ​ิลแล้​้ ว รั​ัฐไม่​่มี​ีความจํ​ํ าเป็​็น ที่​่�จะต้​้องอุ​ุดหนุ​ุนพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน (ผ่​่านรู​ู ปแบบ เช่​่น ค่​่า Adder) อี​ีกต่​่อไป แต่​่ควรเปิ​ิดให้​้ ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนแข่​่งขั​ันอย่​่างเสรี​ี

• พลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์: ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายมองว่​่า พลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์ต้​้องมี​ีเทคโนโลยี​ีที่​่�มี​ี

ความปลอดภั​ัยมากพอถึ​ึงจะนํ​ํามาใช้ ้ได้​้ ขณะที่​่�ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายไม่​่เห็​็นด้​้วยกั​ับการนํ​ํา พลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์มาใช้​้เป็​็นพลั​ังงานทางเลื​ือกในไทย (หมายเหตุ​ุ: พลั​ังงานนิ​ิวเคลี​ียร์​์ไม่​่อยู่​่�ใน นิ​ิยามกิ​ิจกรรมของ Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1)

• เทคโนโลยี​ีกั​ักเก็​็บและดั​ักจั​ับคาร์​์บอน: ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเห็​็นว่​่า เทคโนโลยี​ีการกั​ักเก็​็บ และดั​ักจั​ับคาร์​์บอน (CCS/CCU) ไม่​่ว่​่าจะนํ​ํากลั​ับมาใช้ ้ใหม่​่หรื​ือไม่​่ ไม่​่เหมาะสมที่​่�จะนํ​ํามาใช้​้ เป็​็นเทคโนโลยี​ีที่​่�ช่ว ่ ยในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน เนื่​่�องจากเปรี​ียบเสมื​ือนการเก็​็บนํ้​้าเสี​ียเอาไว้​้

โดยที่​่�ไม่​่ได้​้รับ ั การบํ​ําบั​ัด จึ​ึงควรมี​ีการพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีที่​่�มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอนน้​้อยที่​่�สุ​ุด

ตั้​้�งแต่​่ต้​้น เพื่​่�อไม่​่ให้​้เกิ​ิดการกั​ักเก็​็บและสะสมก๊​๊าซคาร์​์บอนอี​ีก ขณะที่​่�ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางราย เห็​็นว่​่าเทคโนโลยี​ี CCS/CCU ยั​ังมี​ีความจํ​ําเป็​็นในช่​่วงการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน (หมายเหตุ​ุ: Thailand Taxonomy ระยะที่​่� 1 ยอมรั​ับการใช้​้เทคโนโลยี​ี CCS/CCU ในการลดการปล่​่อย

ก๊​๊าซเรื​ือนกระจก แต่​่จะมี​ีการพั​ัฒนาเกณฑ์​์เพิ่​่�มเติ​ิมสํ​ําหรั​ับบางกิ​ิจกรรม อาทิ​ิ การผลิ​ิตไฟฟ้​้า จากเชื้​้�อเพลิ​ิงก๊​๊าซหมุ​ุนเวี​ียน ในลํ​ําดั​ับต่​่อไป)

• การผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากเชื้​้�อเพลิ​ิงขยะชุ​ุมชน: ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญบางรายมองว่​่า Thailand Taxonomy

ควรรั​ับรองการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากขยะมู​ูลฝอย (Refuse Derived Fuel: RDF) ว่​่าเป็​็นกิ​ิจกรรม “สี​ีเขี​ียว” เนื่​่�องจากใช้​้แทนถ่​่านหิ​ินได้​้ดี​ี ขณะที่​่�ตั​ัวแทนองค์​์กรพั​ัฒนาเอกชนเห็​็นว่​่าไม่​่ควร

ยอมรั​ับ เนื่​่�องจากโครงการลั​ักษณะนี้​้�ในไทยส่​่งผลกระทบสู​ูงมากทางสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

และปราศจากกลไกกํ​ํากั​ับดู​ูแลที่​่�ดี​ีพอ (หมายเหตุ​ุคณะวิ​ิจั​ัย: Thailand Taxonomy ฉบั​ับ­ สมบู​ูรณ์​์ ระบุ​ุชั​ัดเจนว่​่า โครงการลั​ักษณะนี้​้�จะไม่​่มี​ีสิ​ิทธิ​ิเข้​้าเกณฑ์​์สี​ีเหลื​ืองหรื​ือสี​ีเขี​ียว)

การชดเชยและเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิจการฟอสซิ​ิล ในเมื่​่�อการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานโดยนิ​ิยามหมายถึ​ึงการทยอยยกเลิ​ิกแหล่​่งผลิ​ิตไฟฟ้​้าที่​่�ใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิง

ฟอสซิ​ิล (phase-out) การชดเชยและเยี​ียวยาผู้​้�ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิลจึ​ึงเป็​็นประเด็​็น

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 71


ที่​่�ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียให้​้ความสํ​ําคั​ัญค่​่อนข้​้างมาก โดยผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียทุ​ุกกลุ่​่�มมองค่​่อนข้​้างตรงกั​ันถึ​ึง

มาตรการช่​่วยเหลื​ือ แรงงาน ในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล แต่​่มี​ีมุ​ุมมองที่​่�แตกต่​่างกั​ันมากในประเด็​็น การชดเชยหรื​ือเยี​ียวยา ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ ในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล

ผู้​้�ให้​้สัม ั ภาษณ์​์ที่​่�เป็​็นผู้​้�ดํ​ําเนิ​ินนโยบายบางรายเห็​็นว่​่า การคํ​ํานวนต้​้นทุ​ุนที่​่�แท้​้จริ​ิงในการเปลี่​่�ยนผ่​่าน­

พลั​ั งงาน ต้​้ องรวมถึ​ึงต้​้ นทุ​ุนในการเยี​ียวยาผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการพลั​ั งงานด้​้ วย และเห็​็นว่​่ าประเทศ

ที่​่�มี​ีการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในระดั​ับสู​ูง (หรื​ือเป็​็นประเทศที่​่�เคยใช้​้พลั​ังงานฟอสซิ​ิลในระดั​ับสู​ูง

มาก่​่อน และมี​ีการขยายฐานการผลิ​ิตไปในต่​่างประเทศ) ควรมี​ีส่​่วนในการชดเชยหรื​ือเยี​ียวยา

ผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการในประเทศกํ​ํ าลั​ั งพั​ัฒนา ซึ่​่�งปล่​่ อยก๊​๊ าซเรื​ือนกระจกน้​้อยกว่​่ าและช้​้ากว่​่ า ทั้​้� งนี้​้�

การชดเชยหรื​ือ เยี​ี ย วยาจากต่​่ า งประเทศดั​ั ง กล่​่ า ว ควรนํ​ํ า มาจั​ั ด สรรในการช่​่ ว ยเหลื​ื อ เยี​ี ย วยา ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการในไทยอย่​่างเป็​็นธรรม เช่​่น SMEs ควรมี​ีแต้​้มต่​่อหรื​ือได้​้รับ ั การชดเชยเยี​ียวยา มากกว่​่าบริ​ิษั​ัทขนาดใหญ่​่ เป็​็นต้​้น

ผู้​้�ใ ห้​้ สั​ั ม ภาษณ์​์ที่​่� มาจากสถาบั​ั น การเงิ​ิ น และผู้​้�ประกอบกิ​ิ จ การพลั​ั ง งาน มี​ี มุ​ุ ม มองคล้​้ า ยกั​ั น ว่​่ า

ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีบทบาทในการชดเชยและช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ประกอบ­ กิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลด้​้วยเงิ​ินทุ​ุน องค์​์ความรู้​้� ตลอดจนนวั​ัตกรรมและเทคโนโลยี​ีด้​้านพลั​ังงาน ใหม่​่ ๆ เพื่​่�อช่​่วยให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลมี​ีความพร้​้อมเพี​ียงพอที่​่�จะสามารถยุ​ุติ​ิการ ดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจของตนเองได้​้

ในทางตรงกั​ันข้​้าม ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงานส่​่วนใหญ่​่เห็​็นว่​่า รั​ัฐไม่​่ควรมี​ีการชดเชยและเยี​ียวยา ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลเลย เนื่​่�องจากผู้​้�ประกอบกิ​ิจการฟอสซิ​ิลเป็​็นผู้​้�ได้​้ประโยชน์​์จาก การสร้​้างผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม จนทํ​ําให้​้เกิ​ิดวิ​ิกฤตการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิอ ิ ากาศ ซึ่​่�งส่​่งผล

ต่​่อการดํ​ําเนิ​ินชี​ีวิ​ิตของประชากรโลกในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์บางรายเสนอว่​่าผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ ในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิลควรได้​้รับ ั โทษปรั​ับย้​้อนหลั​ังมากกว่​่าได้​้รับ ั การชดเชยและเยี​ียวยา โดย ประเมิ​ินค่​่าปรั​ับจากปริ​ิมาณคาร์​์บอนไดออกไซด์​์ที่​่�มี​ีการปล่​่อยออกมาตั้​้�งแต่​่เริ่​่�มดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจ

อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์ที่​่�เป็​็นผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงานรายหนึ่​่�งเห็​็นว่​่า เนื่​่�องจากการจั​ัดทํ​ํา สั​ัญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้า เท่​่ากั​ับรั​ัฐตกลงประกั​ันกํ​ําไรทั้​้�งหมดที่​่�ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิลควร ได้​้รับ ั ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานจึ​ึงจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการชดเชยและเยี​ียวยาต่​่อ

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานฟอสซิ​ิล หากมี​ีการเร่​่งการยกเลิ​ิกการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากโครงการพลั​ังงาน

ฟอสซิ​ิล (early retire) ก่​่อนวั​ันหมดอายุ​ุที่​่�ตกลงในสั​ัญญา ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เสนอว่​่าภาครั​ัฐ และหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานจํ​ําเป็​็นต้​้องมี​ีการเจรจาต่​่อรอง และหากจะต้​้องชดเชยและ

เยี​ียวยาต่​่ อผู้​้�ประกอบกิ​ิ จการ ก็​็ ควรมี​ีการชดเชยและเยี​ียวยาที่​่�เป็​็นไปตามกรอบกฎหมายและ เงื่​่�อนไขในสั​ัญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้า

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 72


3. ข้​้อเสนอแนะที่​่�สอดคล้​้องกั​ัน และสอดรั​ับกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม คณะวิ​ิจั​ัยเห็​็นว่​่า ข้​้อเสนอแนะของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียหลายประเด็​็นมี​ีความสอดคล้​้องกั​ัน และสอดรั​ับ

กั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่​่�ยวกั​ับ taxonomy และ การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม คณะวิ​ิจั​ัยจํ​ําแนกข้​้อเสนอแนะที่​่�เข้​้าข่​่ายดั​ังกล่​่าวโดยใช้​้หลั​ัก­ เกณฑ์​์การจั​ัดหมวดหมู่​่�ดั​ังนี้​้�

• จํ​ําแนกประเภทความยุ​ุติธ ิ รรมที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ออกเป็​็น 4 ประเภท ได้​้แก่​่

ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการกระจาย (distributional justice), ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงกระบวนการ (procedural justice), ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรั​ับรู้​้� (recognition justice) และ ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงสมานฉั​ันท์​์ (restorative justice)

• จํ​ําแนกและจั​ัดหมวดหมู่​่�ประเด็​็นที่​่�สํ​ําคั​ัญสํ​ําหรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานพลั​ังงานในบริ​ิบท ของประเทศไทย เป็​็น 3 หมวดหมู่​่� ได้​้แก่​่ การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาคพลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�

ได้​้รับ ั ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน, การปฏิ​ิรู​ูปโครงสร้​้างพลั​ังงานให้​้มีค ี วามยุ​ุติธ ิ รรมมากขึ้​้�น และ การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

ข้​้อเสนอแนะของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียสรุ​ุ ปได้​้ดั​ังแสดงในตารางที่​่� 6 โดย (ภาครั​ัฐ) หมายถึ​ึง ผู้​้�ดํ​ําเนิ​ิน

นโยบายหรื​ือหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน, (แรงงาน) หมายถึ​ึง ตั​ัวแทนแรงงานในอุ​ุตสาห-

กรรมฟอสซิ​ิล, (ผู้​้�ประกอบการ) หมายถึ​ึง ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน, (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) หมายถึ​ึง ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงาน, (การเงิ​ิน) หมายถึ​ึง สถาบั​ันการเงิ​ิน และ (เอ็​็นจี​ีโอ) หมายถึ​ึง ตั​ัวแทน

องค์​์ กรพั​ัฒนาเอกชน ส่​่ วน ตั​ั วเอน หมายถึ​ึง ข้​้อเสนอแนะที่​่�ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ เสี​ี ยอย่​่างน้​้อย 3 กลุ่​่�ม เห็​็นตรงกั​ัน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 73


ตารางที่ 5 สรุ​ุ ปประเด็​็นข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ีย จํ​ําแนกตามประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่านและประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม ประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาค พลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั

ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน

การปฏิ​ิรู​ู ปโครงสร้​้างพลั​ังงาน

การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ให้​้มี​ีความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น

ที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่าน: ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการกระจาย (distributional justice) การส่​่งเสริ​ิมการปรั​ับตั​ัวเพื่​่�อ

รองรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน • (ภาครั​ัฐ, การเงิ​ิน, เอ็​็นจี​ีโอ)

ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแล ด้​้านพลั​ังงานควรสนั​ับสนุ​ุนด้​้าน เงิ​ินทุ​ุน องค์​์ความรู้​้� นวั​ัตกรรม และเทคโนโลยี​ีด้​้านพลั​ังงาน

ต่​่อผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน ฟอสซิ​ิลให้​้มี​ีความพร้​้อมต่​่อ การยุ​ุติ​ิการดํ​ําเนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจ

• (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐควร

สนั​ับสนุ​ุนการพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ี เพื่​่�อการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�

เหมาะสมกั​ับบริ​ิบทของประเทศ เช่​่น การพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ี

ไฮโดรเจนเพื่​่�อใช้​้เป็​็นพลั​ังงาน

ทดแทนในช่​่วงการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงาน

• (แรงงาน) ผู้​้�ประกอบกิ​ิจพลั​ังงาน ฟอสซิ​ิลควรมี​ีการจั​ัดทํ​ําแนวทาง เพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับการเปลี่​่�ยนแปลง ในธุ​ุรกิ​ิจที่​่�ชั​ัดเจนมากขึ้​้�น เช่​่น การจั​ัดหาพนั​ักงานชั่​่�วคราว ทดแทนพนั​ักงานที่​่�ย้​้ายงาน ไปยั​ังธุ​ุรกิ​ิจใหม่​่ของ

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ การกํ​ําหนด

เงื่​่�อนไขและสวั​ัสดิ​ิการในธุ​ุรกิ​ิจ ใหม่​่ที่​่�ทั​ัดเที​ียมกั​ับธุ​ุรกิ​ิจเดิ​ิม เป็​็นต้​้น

ค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�เป็​็นธรรม

การส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนแบบกระจายศู​ูนย์​์

• (ภาครั​ัฐ, แรงงาน) ภาครั​ัฐควร

• (ภาครั​ัฐ, ผู้​้�ประกอบการ, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ, เอ็​็นจี​ีโอ)

ปรั​ับปรุ​ุ งโครงสร้​้างราคาค่​่าไฟฟ้​้า โดยคํ​ํานึ​ึงถึ​ึงความสมดุ​ุลระหว่​่าง ต้​้นทุ​ุนของผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ พลั​ังงานและค่​่าใช้​้จ่​่ายของ ประชาชน

• ความเหลื่​่�อมลํ้​้าในการเข้​้าถึ​ึง

ไฟฟ้​้า(แรงงาน, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐควรปรั​ับปรุ​ุ งระบบ

สายส่​่งไฟฟ้​้าที่​่�กระจายการ

เข้​้าถึ​ึงการใช้ ้ไฟฟ้​้าของประชาชน กลุ่​่�มเปราะบาง

• (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐควร

มี​ีนโยบายลดความเหลื่​่�อมลํ้​้า

ในการเข้​้าถึ​ึงการใช้ ้ไฟฟ้​้า โดย

เฉพาะผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าในกรุ​ุ งเทพหรื​ือ

เขตเมื​ือง กั​ับผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้าในชนบท

การส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตไฟฟ้​้าพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนแบบ

กระจายศู​ูนย์​์ โดยภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแล

ด้​้านพลั​ังงานควรเปิ​ิดให้​้ประชาชนผลิ​ิตไฟฟ้​้าได้​้อย่​่างเสรี​ี กํ​ําหนดให้​้มี​ีตลาดการซื้​้�อ-ขายไฟฟ้​้าจากผู้​้�ผลิ​ิตรายย่​่อย และพั​ัฒนาระบบโครงข่​่ายไฟฟ้​้าอั​ัจฉริ​ิยะ (smart grid) ตลอดห่​่วงโซ่​่ระบบไฟฟ้​้า

การส่​่งเสริ​ิมการปรั​ับตั​ัวเพื่​่�อการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน • (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ, เอ็​็นจี​ีโอ) กํ​ําหนดมาตรการสนั​ับสนุ​ุน

สิ​ินเชื่​่�อดอกเบี้​้�ยตํ่​่าแก่​่ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน รายย่​่อยให้​้สามารถเข้​้าสู่​่�อุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

• (ผู้​้�ประกอบการ) หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน

ควรสนั​ับสนุ​ุนเงิ​ินทุ​ุนแก่​่ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการฟอสซิ​ิลในการ พั​ัฒนานวั​ัตกรรมด้​้านพลั​ังงานทดแทนที่​่�ลดการปล่​่อย ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกเพื่​่�อรองรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

(ภาระต้​้นทุ​ุนการใช้ ้ไฟฟ้​้าไม่​่

เท่​่ากั​ัน การไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึง ระบบสายส่​่งไฟฟ้​้า)

การส่​่งเสริ​ิมการแข่​่งขั​ัน

ในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน • (เอ็​็นจี​ีโอ) ภาครั​ัฐต้​้องปรั​ับปรุ​ุ ง

โครงสร้​้างระบบไฟฟ้​้าที่​่�ส่​่งเสริ​ิม

ให้​้ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานราย ย่​่อยสามารถแข่​่งขั​ันได้​้ เช่​่น

การปรั​ับปรุ​ุ งระบบสายส่​่งเพื่​่�อ รองรั​ับการส่​่งไฟที่​่�ผลิ​ิตโดย ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการรายย่​่อย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 74


ประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาค พลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั

ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน

การปฏิ​ิรู​ู ปโครงสร้​้างพลั​ังงาน ให้​้มี​ีความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น

การชดเชยเยี​ียวยาผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้อง

การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม ความมั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงาน

ในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล

• (ผู้​้�ประกอบการ, แรงงาน, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ)

• (แรงงาน, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐ

หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรกํ​ําหนด

ควรกํ​ําหนดมาตรการชดเชยและ

มาตรการสํ​ําหรั​ับผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์

เยี​ียวยาด้​้านรายได้​้ การศึ​ึกษา

ที่​่�ต้​้องมี​ีระบบกั​ักเก็​็บและการสํ​ํารองไฟฟ้​้า

ของคนในครอบครั​ัว และการ

• (แรงงาน, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน

เข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานใหม่​่ ต่​่อแรงงาน

พลั​ังงานควรกระจายการผลิ​ิตไฟฟ้​้าจากแหล่​่งพลั​ังงาน

ที่​่�ตกงานจากการเปลี่​่�ยนผ่​่าน

หมุ​ุนเวี​ียนที่​่�หลากหลาย เพื่​่�อลดความเสี่​่�ยงด้​้านพลั​ังงาน

พลั​ังงาน

• (แรงงาน, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน

• (แรงงาน) ภาครั​ัฐควรมี​ีการ

พลั​ังงานควรพั​ัฒนาระบบเพื่​่�อจั​ัดการเสถี​ียรภาพของการ

จั​ัดตั้​้�งกองทุ​ุนประกั​ันความเสี่​่�ยง

ใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน โดยการพยากรณ์​์ความต้​้องการใช้​้

เพื่​่�อรองรั​ับการปิ​ิดตั​ัวของบริ​ิษั​ัท

ไฟฟ้​้าให้​้สอดคล้​้องกั​ับการพยากรณ์​์อากาศ เพื่​่�อการ

ที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบจากนโยบาย

จั​ัดสรรพลั​ังงานสํ​ํารองให้​้เหมาะสมกั​ับช่​่วงเวลาที่​่�พลั​ังงาน

การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานให้​้

หมุ​ุนเวี​ียนมี​ีการผลิ​ิตที่​่�ไม่​่ต่​่อเนื่​่�อง (intermittent)

สามารถจ่​่ายเงิ​ินชดเชยแก่​่ พนั​ักงานได้​้

• (แรงงาน, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) การปรั​ับพฤติ​ิกรรมของผู้​้�ใช้ ้ไฟฟ้​้า จากพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน โดยการกํ​ําหนดอั​ัตราค่​่าไฟฟ้​้าที่​่�

• (ภาครั​ัฐ) ประเทศที่​่�มี​ีการปล่​่อย

แตกต่​่างกั​ันในแต่​่ละช่​่วงเวลา เพื่​่�อป้​้องกั​ันปรากฏการณ์​์

ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในระดั​ับสู​ูงควร

ไฟฟ้​้าตกในช่​่วงเย็​็น (duck curve)

หรื​ือเป็​็นประเทศที่​่�เคยใช้​้พลั​ังงาน ฟอสซิ​ิลในระดั​ับสู​ูงมาก่​่อน

ควรมี​ีส่​่วนในการชดเชยหรื​ือ

การส่​่งเสริ​ิมการเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

เยี​ียวยาต่​่อผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ีย

• (แรงงาน, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐควรกํ​ําหนดนโยบาย

ที่​่�ได้​้ผลกระทบจาก

ที่​่�ให้​้การสนั​ับสนุ​ุน (subsidies) แก่​่ประชาชนเพื่​่�อเพิ่​่�ม

การเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน

ความสามารถในการเข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานสะอาดได้​้ และเพื่​่�อ ลดภาระของประชาชนในการเปลี่​่�ยนผ่​่านไปสู่​่�พลั​ังงาน

หมุ​ุนเวี​ียน รวมถึ​ึงเพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความเป็​็นธรรมกั​ับผู้​้�ใช้ ้ไฟ ทุ​ุกราย โดยเฉพาะกลุ่​่�มผู้​้�มี​ีรายได้​้น้อ ้ ย

• (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน

พลั​ังงานควรมี​ีนโยบายส่​่งเสริ​ิมให้​้กลุ่​่�มเปราะบางสามารถ เข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้ อาทิ​ิ การออกแบบนโยบาย สร้​้างพลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ชุ​ุมชน (community solar)

สํ​ําหรั​ับประชาชนในชนบทและกลุ่​่�มเปราะบาง หรื​ือการ ออกนโยบายเพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้เจ้​้าของอพาร์​์ทเมนท์​์หรื​ือ หอพั​ักติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์ เพื่​่�อแบ่​่งสรรประโยชน์​์ ให้​้กั​ับลู​ูกบ้​้าน ฯลฯ

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 75


ประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาค พลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั

ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน

การปฏิ​ิรู​ู ปโครงสร้​้างพลั​ังงาน ให้​้มี​ีความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น

การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม การปรั​ับปรุ​ุ งนโยบายและแผนพลั​ังงานชาติ​ิ • (ผู้​้�ประกอบการ, แรงงาน, เอ็​็นจี​ีโอ) ภาครั​ัฐและ

หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีการจั​ัดทํ​ํา

แผนการส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ชั​ัดเจน รวมถึ​ึง

ปรั​ับปรุ​ุ งแผนพลั​ังงานชาติ​ิหรื​ือ PDP ที่​่�ให้​้ความสํ​ําคั​ัญ

กั​ับการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนผ่​่าน

พลั​ังงานที่​่�เป็​็นรู​ู ปธรรมมากขึ้​้�น เช่​่น การปรั​ับปรุ​ุ งกฎหมาย เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้เกิ​ิดการแข่​่งขั​ันในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน

การกํ​ําหนดแนวทางในการลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ให้​้ครอบคลุ​ุมทุ​ุกอุ​ุตสาหกรรม การสนั​ับสนุ​ุนการพั​ัฒนา นวั​ัตกรรมด้​้านพลั​ังงานทดแทน

• (ภาครั​ัฐ, เอ็​็นจี​ีโอ) ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน พลั​ังงานควรมี​ีการปรั​ับปรุ​ุ งกฎระเบี​ียบ กฎเกณฑ์​์เพื่​่�อ รองรั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านไปสู่​่�พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน อาทิ​ิ

การปฏิ​ิรู​ูปนโยบายการใช้​้ที่​่�ดิ​ิน เพื่​่�อจั​ัดพื้​้�นที่​่�สํ​ําหรั​ับธุ​ุรกิ​ิจ

พลั​ังงานชี​ีวมวลให้​้อยู่​่�ในพื้​้�นที่​่�เดี​ียวกั​ัน ซึ่​่�งเป็​็นการช่​่วยลด การขนส่​่งวั​ัตถุ​ุดิ​ิบทางการเกษตรอั​ันเป็​็นสาเหตุ​ุหนึ่​่�ง ที่​่�ก่​่อให้​้เกิ​ิดมลพิ​ิษ

• (ผู้​้�ประกอบการ, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐและหน่​่วยงาน

กํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีมาตรการส่​่งเสริ​ิมการใช้​้

พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�มากขึ้​้�น อาทิ​ิ การจั​ัดตั้​้�งตลาดการ ซื้​้�อ-ขายคาร์​์บอนและกํ​ําหนดให้​้เป็​็นมาตรการบั​ังคั​ับ สํ​ําหรั​ับภาคเอกชน

• (แรงงาน) ภาครั​ัฐควรมี​ีบทบาทในการเป็​็นหน่​่วยงาน นํ​ําร่​่องที่​่�ศึ​ึกษาเรื่​่�องพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนอย่​่างจริ​ิงจั​ัง และขยายการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนให้​้มี​ีปริ​ิมาณ ที่​่�เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�นเพื่​่�อให้​้ต้​้นทุ​ุนถู​ูกลงในท้​้ายที่​่�สุ​ุด

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 76


ประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาค พลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั

ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน

การปฏิ​ิรู​ู ปโครงสร้​้างพลั​ังงาน

การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ให้​้มี​ีความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น

ที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่าน: ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงกระบวนการ (procedural justice) การปรั​ับปรุ​ุ งนโยบายและ แผนพลั​ังงานชาติ​ิ

• (ผู้​้�ประกอบการ, ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ)

ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแล ด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีกระบวนการ ทบทวนสั​ัญญาซื้​้�อขายไฟฟ้​้า

(PPA) หรื​ือการเจรจาต่​่อรองลด

ระยะเวลาและปริ​ิมาณการซื้​้�อขาย พลั​ังงานฟอสซิ​ิลจาก

ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงาน

ที่​่�ได้​้ทํ​ําสั​ัญญาระยะยาวไว้​้แล้​้ว

รวมถึ​ึงมี​ีแนวทางในการชดเชย เยี​ียวยาต่​่อผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ ที่​่�ชั​ัดเจน

การส่​่งเสริ​ิมการแข่​่งขั​ัน

การส่​่งเสริ​ิมการมี​ีส่​่วนร่​่วมของประชาชน

ในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน • (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐควรเปิ​ิดให้​้ มี​ีการลงทุ​ุนด้​้านพลั​ังงานแบบ กระจายศู​ูนย์​์ โดยให้​้องค์​์กร

ปกครองส่​่วนท้​้องถิ่​่�นสามารถ

จั​ัดการด้​้านพลั​ังงานเองได้ ้โดย ไม่​่ต้​้องอาศั​ัยระบบส่​่วนกลาง

รวมถึ​ึงการไฟฟ้​้าฝ่​่ายผลิ​ิตควร

เปิ​ิดให้​้ประชาชนสามารถเข้​้าถึ​ึง การใช้​้ประโยชน์​์จากระบบ

• (ผู้​้�ประกอบการ, แรงงาน, เอ็​็นจี​ีโอ) ภาครั​ัฐและ

หน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงานควรมี​ีการจั​ัดทํ​ํา

แผนการส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ชั​ัดเจนและคํ​ํานึ​ึงถึ​ึง การมี​ีส่​่วนร่​่วมของประชาชน เช่​่น การปรั​ับปรุ​ุ งกฎหมาย เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้เกิ​ิดการแข่​่งขั​ันในอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงาน การปรั​ับกฎเกณฑ์​์ให้​้ประชาชนและผู้​้�ประกอบกิ​ิจการ รายย่​่อยสามารถผลิ​ิตพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้ ้โดยง่​่าย • (ผู้​้�ประกอบการ, แรงงาน, เอ็​็นจี​ีโอ) รั​ัฐบาลควร

มี​ีการจั​ัดทํ​ําพั​ันธสั​ัญญา (commitment) เมื่​่�อมี​ีการ เปลี่​่�ยนผ่​่านรั​ัฐบาล เพื่​่�อให้​้การดํ​ําเนิ​ินนโยบายด้​้าน

สายส่​่งไฟฟ้​้าได้ ้โดยง่​่าย

• (เอ็​็นจี​ีโอ) ภาครั​ัฐควรเปิ​ิดให้​้

ประชาชนเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูลหรื​ือสั​ัญญา ของโครงการพลั​ังงานต่​่าง ๆ

ซึ่​่�งจะช่​่วยให้​้เกิ​ิดความโปร่​่งใสใน กระบวนการจั​ัดทํ​ําแผนพั​ัฒนา

กํ​ําลั​ังผลิ​ิตไฟฟ้​้าของประเทศไทย หรื​ือ PDP และการตรวจสอบ ระบบโครงสร้​้างพลั​ังงาน

พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนเป็​็นไปอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง

• (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) การส่​่งเสริ​ิมให้​้ประชาชนเห็​็นถึ​ึง

ประโยชน์​์ของพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน ภาครั​ัฐควรเร่​่งสร้​้าง ความรู้​้�ความเข้​้าใจกั​ับประชาชนว่​่า เหตุ​ุใดจึ​ึงจํ​ําเป็​็น

ต้​้องมี​ีการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน รวมถึ​ึงการให้​้ความรู้​้� เรื่​่�องการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนไม่​่ได้​้ทํ​ําให้​้ราคา

ไฟฟ้​้าสู​ูงขึ้​้�น ซึ่​่�งมี​ีส่​่วนช่​่วยให้​้ราคาไฟฟ้​้าถู​ูกลงจาก ต้​้นทุ​ุนการนํ​ําเข้​้าก๊​๊าซธรรมชาติ​ิที่​่�ลดลง

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 77


ประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาค พลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั

ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน

การปฏิ​ิรู​ู ปโครงสร้​้างพลั​ังงาน ให้​้มี​ีความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น

การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน

ที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่าน: ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรับ ั รู้​้ � (recognition justice) และ ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงสมานฉั​ันท์​์ (restorative justice)

การปรั​ับปรุ​ุ งนโยบายและแผน พลั​ังงานชาติ​ิ

• (นโยบาย) ภาครั​ัฐควรมี​ีการ

คํ​ํานวณต้​้นทุ​ุนการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานที่​่�รวมต้​้นทุ​ุนในการ

เยี​ียวยาผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง

เพื่​่�อสะท้​้อนต้​้นทุ​ุนการเปลี่​่�ยนผ่​่าน พลั​ังงานที่​่�แท้​้จริ​ิง

• (เอ็​็นจี​ีโอ) ควรมี​ีการนิ​ิยาม

การส่​่งเสริ​ิมการเข้​้าถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียน • (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ) ภาครั​ัฐและหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้าน

พลั​ังงานควรมี​ีนโยบายส่​่งเสริ​ิมให้​้กลุ่​่�มเปราะบางสามารถ เข้​้าถึ​ึงพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนได้​้ อาทิ​ิ การออกแบบนโยบาย สร้​้างพลั​ังงานแสงอาทิ​ิตย์​์ชุ​ุมชน (community solar)

สํ​ําหรั​ับประชาชนในชนบทและกลุ่​่�มเปราะบาง หรื​ือการ ออกนโยบายเพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้เจ้​้าของอพาร์​์ทเมนท์​์หรื​ือ หอพั​ักติ​ิดตั้​้�งโซลาร์​์เซลล์​์ เพื่​่�อแบ่​่งสรรประโยชน์​์ ให้​้กั​ับลู​ูกบ้​้าน ฯลฯ

กลุ่​่�มเปราะบางที่​่�ชั​ัดเจน เพื่​่�อ กํ​ําหนดมาตรการช่​่วยเหลื​ือ

กลุ่​่�มเปราะบางได้​้อย่​่างเหมาะสม หมายเหตุ​ุ: “ภาครั​ัฐ” หมายถึ​ึง ผู้​้�ดํ​ําเนิ​ินนโยบาย หรื​ือหน่​่วยงานกํ​ํากั​ับดู​ูแลด้​้านพลั​ังงาน;

“ผู้​้�ประกอบการ” หมายถึ​ึง ผู้​้�ประกอบกิ​ิจการพลั​ังงานทุ​ุกประเภท; “การเงิ​ิน” หมายถึ​ึง สถาบั​ันการเงิ​ิน;

“แรงงาน” หมายถึ​ึง ตั​ัวแทนแรงงานในอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล; “ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ” หมายถึ​ึง ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านพลั​ังงาน; “เอ็​็นจี​ีโอ” หมายถึ​ึง ตั​ัวแทนองค์​์กรพั​ัฒนาเอกชน

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 78


4. ข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบาย จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่​่�ยวกั​ับ taxonomy และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม (Just

Energy Transition) (บทที่​่� 2) ประกอบการสั​ังเคราะห์​์ข้อ ้ คิ​ิดเห็​็นและข้​้อเสนอแนะต่​่อการพั​ัฒนา Thailand Taxonomy และการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติธ ิ รรม ของผู้​้�มี​ีส่ว ่ นได้​้เสี​ีย 6 กลุ่​่�ม จากการ สั​ัมภาษณ์​์เชิ​ิงลึ​ึก (บทที่​่� 3) ในบทนี้​้� คณะวิ​ิจั​ัยจั​ัดทํ​ําข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายว่​่าด้​้วย การพั​ัฒนา Thailand Taxonomy ที่​่�สอดคล้​้องกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม โดยใช้​้ขั้​้�นตอน

เช่​่ น เดี​ี ย วกั​ั บ การจั​ั ด หมวดหมู่​่�ข้​้ อ เสนอแนะของผู้​้�มี​ี ส่​่ ว นได้​้ เ สี​ี ย ที่​่�สอดคล้​้ อ งกั​ั น และสอดรั​ับ กั​ั บ หลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรมในบทที่​่� 3 ดั​ังต่​่อไปนี้​้�

 จํ​ําแนกประเภทความยุ​ุติธิ รรมที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน ออกเป็​็น 4 ประเภท ตาม ผลการทบทวนวรรณกรรม ได้​้แก่​่ ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการกระจาย (distributional justice),

ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงกระบวนการ (procedural justice), ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรั​ับรู้​้� (recognition justice) และ ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงสมานฉั​ันท์​์ (restorative justice)

 จํ​ําแนกและจั​ัดหมวดหมู่​่�ประเด็​็นพิ​ิจารณาในการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม

ในบริ​ิบทของประเทศไทย ที่​่�ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ียให้​้ความสํ​ําคั​ัญ เป็​็น 3 หมวดหมู่​่�หลั​ัก ได้​้แก่​่ การ ชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องในภาคพลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน, การปฏิ​ิรู​ูปโครงสร้​้างพลั​ังงานให้​้มีค ี วามยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น และ การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อ สั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

จากการสั​ังเคราะห์​์ตามขั้​้�นตอนข้​้างต้​้น คณะวิ​ิจั​ัยสรุ​ุ ปข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบายในตารางที่​่� 6

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 79


ตารางที่ 6 สรุ​ุ ปข้​้อเสนอแนะเชิ​ิงนโยบาย การพั​ัฒนา Thailand Taxonomy ที่​่�สอดคล้​้องกั​ับหลั​ักการเปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงานที่​่�ยุ​ุติ​ิธรรม ประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องใน

ภาคพลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน

การปฏิ​ิรู​ู ปโครงสร้​้างพลั​ังงานให้​้มี​ี ความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น

การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�

รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่าน: ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการกระจาย (distributional justice) (ประเด็​็นเชิ​ิงนโยบายดั​ังกล่​่าว

อยู่​่�นอกขอบเขตของ Thailand Taxonomy)

• ควรกํ​ําหนดกลไกทบทวนนิ​ิยามกิ​ิจกรรม

ควรมี​ีกลไกทบทวนและประเมิ​ินผลการทํ​ํา

เร่​่งด่​่วนของปั​ัญหา climate change

ลบอย่​่างมี​ีนัย ั สํ​ําคั​ัญ” (Do No Significant

ในภาคพลั​ังงานให้​้สอดคล้​้องกั​ับความ เช่​่น กิ​ิจกรรม “สี​ีเหลื​ือง” อย่​่างน้​้อย

ควรไม่​่เกิ​ินเส้​้น “Below 2 Degrees”

แทนที่​่�จะยึ​ึดตามเส้​้น “NDC” ของไทย • Thailand Taxonomy ควรระบุ​ุเกณฑ์​์

“สี​ีเขี​ียว” สํ​ําหรั​ับบริ​ิษั​ัทจั​ัดการพลั​ังงาน

ตามหลั​ักเกณฑ์​์ “การไม่​่สร้​้างผลกระทบเชิ​ิง Harm: DNSH) และข้​้อกํ​ําหนด “มาตรการ ขั้​้�นตํ่​่าในการป้​้องกั​ันผลกระทบทางสั​ังคม” (Minimum Social Safeguards: MSS) เป็​็นระยะ ๆ สํ​ําหรั​ับโครงการพลั​ังงาน

หมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ใช้​้ Thailand Taxonomy

(Energy Service Company: ESCO)

ซึ่​่�งเป็​็นตั​ัวเชื่​่�อมสํ​ําคั​ัญของสถาบั​ันการเงิ​ิน และภาคเอกชนที่​่�ต้​้องการเงิ​ินทุ​ุนในการ เปลี่​่�ยนผ่​่านพลั​ังงาน เนื่​่�องจากเป็​็นผู้​้�ที่​่�

วิ​ิเคราะห์​์ความคุ้​้�มค่​่าของการใช้​้พลั​ังงาน ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่าน: ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงกระบวนการ (procedural justice) (ประเด็​็นเชิ​ิงนโยบายดั​ังกล่​่าว

อยู่​่�นอกขอบเขตของ Thailand Taxonomy)

• คณะทํ​ํางาน Thailand Taxonomy ควรเสาะแสวงการมี​ีส่​่วนร่​่วมจาก

ภาคส่​่วนต่​่าง ๆ ที่​่�หลากหลาย รวมทั้​้�ง ผู้​้�ประกอบการอุ​ุตสาหกรรมฟอสซิ​ิล สถาบั​ันการเงิ​ิน และภาคประชาชน

ในการพั​ัฒนาหรื​ือทบทวน Thailand Taxonomy

ควรเพิ่​่�มการอ้​้างอิ​ิง หลั​ักการชี้​้�แนะแห่​่ง

สหประชาชาติ​ิว่​่าด้​้วยธุ​ุรกิ​ิจกั​ับสิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชน (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) ในข้​้อกํ​ําหนด MSS เนื่​่�องจาก UNGPs

รวมแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิว่​่าด้​้วยการมี​ีส่​่วนร่​่วมของ ผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย

• เพิ่​่�มการอ้​้างอิ​ิง หลั​ักการชี้​้�แนะแห่​่ง สหประชาชาติ​ิว่​่าด้​้วยธุ​ุรกิ​ิจกั​ับสิ​ิทธิ​ิ

มนุ​ุษยชน (United Nations Guiding

Principles on Business and Human Rights: UNGPs) ในข้​้อกํ​ําหนด MSS

เนื่​่�องจาก UNGPs รวมแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิว่​่าด้​้วย การมี​ีส่​่วนร่​่วมของผู้​้�มี​ีส่​่วนได้​้เสี​ีย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 80


ประเภทความยุ​ุติ​ิธรรม การชดเชยผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องใน

ภาคพลั​ังงานฟอลซิ​ิลที่​่�ได้​้รับ ั ผลกระทบช่​่วงเปลี่​่�ยนผ่​่าน

การปฏิ​ิรู​ู ปโครงสร้​้างพลั​ังงานให้​้มี​ี ความยุ​ุติ​ิธรรมมากขึ้​้�น

การส่​่งเสริ​ิมพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�

รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อสั​ังคมและสิ่​่�งแวดล้​้อม

ประเด็​็นการเปลี่​่�ยนผ่​่าน: ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงการตระหนั​ักรับ ั รู้​้ � (recognition justice) และ ความยุ​ุติ​ิธรรมเชิ​ิงสมานฉั​ันท์​์ (restorative justice) (ประเด็​็นเชิ​ิงนโยบายดั​ังกล่​่าว

ควรเพิ่​่�มการอ้​้างอิ​ิง หลั​ักการชี้​้�แนะแห่​่ง

Taxonomy)

(United Nations Guiding Principles on

อยู่​่�นอกขอบเขตของ Thailand

สหประชาชาติ​ิว่​่าด้​้วยธุ​ุรกิ​ิจกั​ับสิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชน Business and Human Rights: UNGPs) ในข้​้อกํ​ําหนด MSS เนื่​่�องจากมี​ีแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ว่​่าด้​้วยการประเมิ​ินความเสี่​่�ยง ด้​้านสิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชน

• ควรเน้​้นยํ้​้าและรณรงค์​์ให้​้ผู้​้�ดํ​ําเนิ​ิน โครงการเห็​็นความสํ​ําคั​ัญของกา

รดํ​ําเนิ​ินการตามหลั​ักเกณฑ์​์ DNSH และข้​้อกํ​ําหนด MSS

• ควรส่​่งเสริ​ิมให้​้ผู้​้�ประกอบการใช้​้

“ผู้​้�ประเมิ​ินภายนอก” (third party)

ในการ 1. กลั่​่�นกรองกิ​ิจกรรม/โครงการ/ บริ​ิษั​ัท ตาม Thailand Taxonomy

2. จั​ัดทํ​ํา “แผนการปรั​ับปรุ​ุ งการดํ​ําเนิ​ิน งานเพิ่​่�มเติ​ิม” และ 3. เผยแพร่​่รายงาน

ดั​ังกล่​่าวต่​่อสาธารณะ ในรู​ู ปแบบที่​่�เข้​้าถึ​ึง ได้​้ง่า ่ ยและไม่​่มี​ีค่​่าใช้​้จ่​่าย

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 81


บรรณานุ​ุกรม Aldy, J. E. (2012, January). Retrieved from A

Climate Bonds Initiative. (2023). About us.

Preliminary Review of the American Recovery

Retrieved from https://www.climatebonds.

and Reinvestment Act’s Clean Energy

net/about.

Package: https://media.rff.org/archive/files/

Climate Bonds Initiative. (n.d.). Climate Bonds

sharepoint/WorkImages/Download/RFF-

Taxonomy. Retrieved from https://www.

DP-12-03.pdf.

climatebonds.net/standard/taxonomy.

Andrew, R. M. (2021). The Global Carbon

Climate Bonds Initiative. (2021, May). Notice on

Project’s fossil CO2 emissions dataset [Data

Issuing the Green Bond Endorsed Projects

set]. Retrieved from Zenodo: https://doi.

Catalogue (2021 Edition). Retrieved from

org/10.5281/zenodo.5569235.

https://www.climatebonds.net/files/files/

ASEAN Briefing. (2023, January 2). Indonesia’s

the-Green-Bond-Endorsed-Project-Catalogue2021-Edition-110521.pdf.

Just Energy Transition Partnership: Impacts for the Green Economy. Retrieved from

Climate Bonds Initiative. (2022). Global green

https://www.aseanbriefing.com/news/

indonesias-just-energy-transition-partner​

ship/#:~:text=The%20first%20JETP%20was%​ 20made,countries%20to%20receive%20a%20

taxonomy development, alignment, and implementation. Retrieved from https://www.

climatebonds.net/files/reports/cbi_taxo​ nomy_ukpact_2022_01f.pdf.

JETP.

Garcia-Garcia, P., Carpintero, O., และ Buendia,

Becca Wilgosh, Alevgul H. Sorman และ Iñaki

L., (2020), “Just energy transitions to low

Barcena, When two movements collide:

carbon economies: a review of the concept

Learning from labour and environmental

and its effects on labour and income”,

struggles for future Just Transitions.

Energy Research & Social Science, 70.

(Futures: Volume 137, 2022). Retrieved from

https://doi.org/10.1016/j.futures.2022.​ 102903.

Retrieved from https://www.sciencedirect.

com/science/article/abs/pii/S2214629620​ 302395?via%3Dihub.

Ben Cahill และ Mary Margaret Allen, Just

European Union. (n.d.). EU taxonomy for

Transition Concepts and Relevance for

sustainable activities. Retrieved from https://

Climate Action (Washington, DC: Just

finance.ec.europa.eu/sustainable-finance/

Transition Initiative, June 2020). Retrieved

tools-and-standards/eu-taxonomy-sustain​

from https://justtransitioninitiative.org/just-

able-activities_en.

transition-concepts-and-relevance-forclimate-action/.

European Commision. (n.d.). International

Platform on Sustainable Finance. Retrieved

Carley, S. และ Konisky, D.M., (2020), “The

from https://finance.ec.europa.eu/sustain​

justice and equity implications of the clean

able-finance/international-platform-sustain​

energy transition”, Nature Energy, 5: 569–577

able-finance_en.

Retrieved from https://www.nature.com/ articles/s41560-020-0641-6.

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 82


Hans, W. S. (2018, June 5). A review of the

IPCC, 2022: Climate Change 2022: Impacts,

looking ahead, and drawing conclusions for

Working Group II to the Sixth Assessment

Adaptation, and Vulnerability. Contribution of

German energy transition: taking stock, the Middle East and North Africa. Retrieved

Report of the Intergovernmental Panel on

from https://link.springer.com/content/

Climate Change [H.-O. Pörtner, D.C. Roberts,

pdf/10.1007/s41825-018-0010-2.pdf.

M. Tignor, E.S. Poloczanska, K. Mintenbeck, A. Alegría, M. Craig, S. Langsdorf, S. Löschke, V.

IEA . (2020). Germany 2020 Energy Policy

Möller, A. Okem, B. Rama (eds.)]. Cambridge

Review. Retrieved from https://iea.blob.core.

University Press. เข้​้าถึ​ึงจาก https://www.ipcc.

windows.net/assets/60434f12-7891-4469-

ch/report/ar6/wg3/.

b3e4-1e82ff898212/Germany_2020_Energy_ Policy_Review.pdf.

IPSF Taxonomy Working Group. (2021). Common

Ground Taxonomy – Climate Change Mitig­

IEA. (2020, May). Renewables 2020: Analysis

ation. Retrieved from https://finance.ec.

and forecast to 2025. Retrieved from https://

europa.eu/system/files/2021-12/211104-​ipsf-

iea.blob.core.windows.net/assets/1a24f1fe-

c971-4c25-964a-57d0f31eb97b/Renewables_​ 2020-PDF.pdf.

common-ground-taxonomy-instructionreport-2021_en.pdf.

IRENA. (2020, June). RENEWABLE ENERGY

IEA. (2021, October). Recommendations of the

PROSPECTS: SOUTH AFRICA. Retrieved from

Global Commission on People-Centred Clean

https://www.irena.org/-/media/Files/IRENA/

Energy Transitions. Retrieved from https://

Agency/Publication/2020/Jun/IRENA_

www.iea.org/reports/recommendations-of-

REmap_South_Africa_report_2020.pdf?rev=4

the-global-commission-on-people-centred-

c91c220ae4b441dbbfaf1ce36c2d3ec.

clean-energy-transitions.

Jens, M. (2017, August 24). How Power Shapes

IEA. (2022, September). An Energy Sector

Energy Transitions in Souteast Asia: A complex

Roadmap to Net Zero Emissions in Indonesia.

governance challenge.

Retrieved from https://iea.blob.core.windows.

net/assets/b496b141-8c3b-47fc-adb2-90740​ Just Transition Alliance, Just Transition eb0b3b8/AnEnergySectorRoadmaptoNetZero

Principles (2023). Retrieved from https://

International Labour Organization (ILO), Social

Kanni, W. (2022, July 27). Realising Vietnam’s

2018), https://www.ilo.org/ilc/ILCSessions/

Realising Vietnam’s Just Energy Transition.

EmissionsinIndonesia.pdf.

jtalliance.org/what-is-just-transition/

Dialogue and Tripartism (Geneva: ILO, March

Just Energy Transition. Retrieved from

previous-sessions/107/reports/reports-to-

Katherine, K. (2022, December 7). Just Energy

the-conference/WCMS_624015/lang-en/

Transition Partnerships: An opportunity to

index.htm.

leapfrog from coal to clean energy. Retrieved

from International Institute for Sustainable Development (IISD): https://www.iisd.org/

articles/insight/just-energy-transitionpartnerships.

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 83


Katherine, K. (2022, November ). The need for

“Transition

Policy

for

Climate

Change

Mitigation.” United Nations Framework

Just Energy Transition Partnerships to

Convention on Climate Change (UNFCCC),

support leapfrogging fossil gas to a clean

renewable energy future. Retrieved from

Just Transition of the Workforce, and the

https://www.iisd.org/system/files/2022-11/

Creation of Decent Work and Quality Jobs

just-energy-transition-partnerships.pdf.

(Bonn, Germany: October 2016), https:// unfccc.int/documents/9500; and I

NATIXIS. (2021, November). The new geography

of taxonomies: A Global Standard-setting

Tony Mazzochi. (1993). A Superfund for

com/api-website-feature/files/download/​

อ้​้างใน Leslie Nguyen, “A Beginner’s Guide to

Race. Retrieved from https://gsh.cib.natixis. 12087/the_new_geography_of_taxonomies_ final_version_november__2021_natixis_gsh.

Workers. Earth Island Journal, 9(1), 40–41 a Just Transition,” Currents: A Student Blog:

University of Washington (May 2022).

pdf.

Retrieved from https://smea.uw.edu/currents/​ a-beginners-guide-to-a-just-transition/.

NATIXIS. (2021, December 16). New Geography

of Taxonomies: The EU-China Taxonomy.

The People’s Bank of China. (2021, April). Green

api-website-feature/files/download/12134/

Edition). Retrieved from http://www.pbc.gov.

Retrieved from https://gsh.cib.natixis.com/

Bond Endorsed Projects Catalogue (2021

eu-china_taxonomy.pdf.

cn/goutongjiaoliu/113456​/113469/4342400/2 021091617180089879.pdf.

Noel Healy และ John Barry, “Politicizing Energy

Justice and Energy System Transitions: Fossil

UN Climate Change Conference UK 2021

Energy Policy 108 (September 2017): 451–459.

Transition Internationally (2021). Retrieved

Fuel Divestment and a ‘Just Transition’,”

(COP26), Supporting the Conditions for a Just

Retrieved from doi:10.1016/j.enpol.2017.06.014.

from https://ukcop26.org/supporting-theconditions-for-a-just-transition-internationally/.

Oliver Johnson et al., Assessing the Gender and

Social Equity Dimensions of Energy Tran­

United Nations: Climate Action webpage, Causes

Institute, March 2020). Retrieved from

Retrieved from https://www.un.org/en/

sitions (Stockholm: Stockholm Environment

and Effects of Climate Change (2023).

https://www.sei.org/publications/assessing-

climatechange/science/causes-effects-

the-gender-and-social-equity-dimensions-of-

climate-change .

energy-transitions/.

UNRISD. (2018). Mapping Just Transition(s) to a

Organisation for Economic Cooperation and

Low-Carbon World. Retrieved from https://

Development. (n.d.). Sustainable finance

d3da1k6uo8tbjf.cloudfront.net/36e34b62b0c5-11ed-877c-0e12be5f970b?response-

definitions and taxonomies in China.

Retrieved from https://www.oecd-ilibrary.

content-disposition=inline%3B%20filename%​

org/sites/5abe80e9-en/index.html?itemId=/

3D%222018-UNRSD%20Mapping%20just%20

content/component/5abe80e9-en.

transition%20to%20a%20low%20carbon%20

world.pdf%22%3B%20filename%2A%3DUTF-

Our World in Data. (2021). Annual CO2

8%27%272018-UNRSD%2520.

emissions from coal. Retrieved from https://

ourworldindata.org/grapher/annual-co2-coal

World Bank, Just Transition for All webpage.

?tab=chart&country=SEN~ZAF~IND~IDN~VNM.

Retrieved from https://www.worldbank.org/ en/topic/extractiveindustries/justtransition.

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 84


World Bank. (2020, Jume). Developing a

ธนาคารแห่​่ ง ประเทศไทย. (n.d.). บทสรุ​ุ ป ผู้​้� บ ริ​ิห าร.

Retrieved from https://www.bot.or.th/

national green taxonomy: A World Bank Guide. Retrieved from https://documents1.

worldbank.org/curated/en/953011593410​ 423487/pdf/Developing-a-National-Green-

landscape/green/executive-summary/.

ธนาคารแห่​่งประเทศไทย. (n.d.). มาตรฐานการจั​ั ด

กลุ่�่มกิ​ิ จกรรมทางเศรษฐกิ​ิ จที่​่� คํ​ํานึ​ึ งถึ​ึ งสิ่​่� งแวดล้​้อม

Taxonomy-A-World-Bank-Guide.pdf.

(Taxonomy). Retrieved from https://www.bot.

World Bank. (2022). status of countries’ net

or.th/landscape/green/directions/taxonomy/

zero target, 2021. Retrieved from https://

ธนาคารแห่​่ ง ประเทศไทย. (2565, กุ​ุ ม ภาพั​ั น ธ์​์ ) .

www3.weforum.org/docs/WEF_Energy_

ภู​ูมิ​ิทั​ัศน์​์ ใหม่​่ภาคการเงิ​ินไทยเพื่​่�อเศรษฐกิ​ิ จดิ​ิ จิ​ิทั​ัล

Transition_Index_2022.pdf.

และการเติ​ิ บ โตอย่​่างยั่​่� ง ยื​ืน. Retrieved from

World Economic Forum. (2022, June 19). Jobs in

https://www.bot.or.th/landscape/files/ consultation-paper-th.pdf.

renewable energy are growing in the US – here are the highlights. Retrieved from

ธนาคารแห่​่ ง ประเทศไทย. (2565, ธั​ั น วาคม 26).

https://www.weforum.org/agenda/2022/07/

เอกสารรั​ับฟั​ั งความคิ​ิ ดเห็​็น ร่​่างมาตรฐานการจั​ั ด

renewable-energy-jobs-us/.

กลุ่�่มกิ​ิ จกรรมทางเศรษฐกิ​ิ จที่​่� คํ​ํานึ​ึ งถึ​ึ งสิ่​่� งแวดล้​้อม

World Economic Forum. (2022, May 11). Why

(Thailand Taxonomy). Retrieved from https://

www.bot.or.th/Thai/SustainableBanking/

justice must prevail as the world transitions to clean energy. Retrieved from https://www.

Documents/Thailand_Taxonomy_phase_1.pdf.

weforum.org/agenda/2022/05/accelerating-

สํ​ํานั​ักนโยบายและแผนพลั​ังงาน, สถานการณ์​์การผลิ​ิต

just-energy-transition/.

ไฟฟ้​้าจากเชื้​้�อเพลิ​ิงชนิ​ิดต่​่าง ๆ (2564) เข้​้าถึ​ึงได้​้จาก

Zinecker A., Gass, P., Gerasimchuck, I., Jain, P.,

https://opendata.nesdc.go.th/dataset/

Moerenhout, T., Suharsono, Y.O.A.R., and

natural-gas-share-in-power-generation-in-

Beaton, C., (2018), “Real People, Real Change

gwh.

– Strategies for just energy transitions”,

Inter­ n ational Institute for Sustainable

Develop­m ent: Manitoba. Retrieved from

https://www.iisd.org/system/files/public​ ations/real-people-change-strategies-justenergy-transitions.pdf.

แนวทางการจั ดกลุ่มกิ จกรรมเศรษฐกิ จเขียวตามนิยามเดี ยวกั นเพื่อส่ งเสริมการเปลี่ ยนผ่านพลั งงานที่ ยุติธรรม 85


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.