สไลด์นำเสนอ ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2563

Page 1

“ธนาคารไทย ใส่ใจกี่คะแนน ปี 3” สรุปผลการประเมินนโยบายของสถาบันการเงินใน ประเทศไทย ตามเกณฑ์ Fair Finance Guide ประจาปี ค.ศ. 2020 มกราคม 2564

แนวร่วม Fair Finance Thailand


แนะนา Fair Finance Guide International

ดัชนี และ เครื่องมือ สาหรับผู้บริโภคและภาคประชาสังคม ในการ เจรจาต่อรอง รณรงค์ ส่งเสริม และมีส่วนร่วมกับภาครัฐและสถาบัน การเงิน เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของ สถาบันการเงิน โดยประเมินเนื้อหานโยบายและแนวปฏิบัติในการ ลงทุนและการให้บริการทางการเงินของสถาบันการเงิน เปรียบเทียบ กับมาตรฐานสากลด้านความยั่งยืนที่เกี่ยวข้อง 2


สมาชิกแนวร่วม Fair Finance 9 ประเทศ ก่อนไทย

3


แนวร่วม Fair Finance Thailand ➢ แนวร่วม Fair Finance Thailand ริเริ่มในปี พ.ศ. 2561 ประกอบด้วย บจก. ป่า สาละ เป็นผู้จัดทารายงานประเมินสถาบันการเงินรายปี และองค์กรภาคประชาสังคม ชั้นนาระดับโลกและในประเทศอีก 4 องค์กร ที่สนใจขับเคลื่อนการเงินที่เป็นธรรม

4


ตัวอย่างงานของแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย กรณีศึกษา ความท้าทายของ การปล่อยสินเชื่อ เขื่อน: ไซยะบุรี และเซเปียน-เซ น้าน้อย

เว็บไซต์ fairfinancethailand.org เว็บไซต์ fair-debt.org

5


รายชื่อธนาคารที่ได้รับการประเมินนโยบาย เริ่มปี พ.ศ. 2561

เริ่มปี พ.ศ. 2563

6


หัวข้อหลักที่ใช้ในการประเมิน 2. กลุ่มหัวข้อรายอุตสาหกรรม

1.กลุ่มหัวข้อรายประเด็น • การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (26) • การทุจริตคอร์รัปชัน (12) • ความเท่าเทียมทางเพศ (15) • สิทธิมนุษยชน (12) • สิทธิแรงงาน (15) • (ใหม่) สุขภาพ (16) • ธรรมชาติ (15) • ภาษี (17)

• อาวุธ (15) 3. กลุ่มหัวข้อการดาเนินงานภายใน • • • •

การคุ้มครองผู้บริโภค (21) การขยายบริการทางการเงิน (13) การตอบแทน (12) ความโปร่งใสและความรับผิด (24)

7


แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่ เอกสารนโยบายที่สถาบันการเงินเปิดเผยต่อ สาธารณะ ณ 30 กันยายน 2563 ประกอบด้วย: - รายงานประจาปี - รายงานความยั่งยืน (Sustainability report) หรือ รายงานความ รับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ (CSR Report) - แบบฟอร์ม 56-1 (รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) - ข้อมูลหรือเอกสารบนเว็บไซต์ - แถลงการณ์สาธารณะ - จดหมายข่าว 8


สรุปเกณฑ์ประเมิน 2020 เทียบกับ 2018 1. หัวข้อใหม่ “สุขภาพ” 16 คะแนน สาหรับนโยบายของบริษัทที่สถาบันการเงินลงทุน หรือให้การสนับสนุนทางการเงิน (หมายความว่าธนาคารต้องประกาศว่าลูกค้าต้องมี นโยบายเหล่านี้ ก่อนที่ธนาคารจะลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน) อาทิ – บริษัทป้องกันไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือ กระบวนการผลิตของบริษัท (ตามหลักความรอบคอบ - precautionary principle) – บริษัทเคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการผลิตและใช้สารพิษและสารอันตรายตามที่ ระบุใน Stockholm Convention (ว่าด้วย Persistent Organic Pollutants - POPs) – บริษัทเคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการค้าสารเคมีและของเสียเคมี ตามข้อตกลง Basel Convention – บริษัทลดการปล่อยสารอันตรายออกสู่ผิวดิน น้า และอากาศ ด้วยการใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุดที่มี (best available technologies - BAT) – บริษัทจากัดการใช้สารเคมีที่มีข้อสงสัยในงานวิจัยวิทยาศาสตร์ว่าอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และถ้าใช้ก็ใช้อย่างระมัดระวังที่สุด (ตามหลักความรอบคอบ) 9


สรุปเกณฑ์ประเมิน 2020 เทียบกับ 2018 (ต่อ) 2. องค์ประกอบใหม่ในหัวข้อเดิม อาทิ – การชดเชยก๊าซเรือนกระจก (CO2 compensation) ได้รับการรับรองตามมาตรฐานระดับสากล – สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระบบอาวุธอัตโนมัติรุนแรง (lethal autonomous weapons systems : LAWS) รวมถึงส่วนประกอบที่ออกแบบมาสาหรับ LAWS – สถาบันการเงินมีกลไกรับเรื่องร้องเรียน จากลูกค้าและบุคคลที่ไม่ใช่ลูกค้า

3. องค์ประกอบในหัวข้อเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ค่อนข้างมาก อาทิ – สถาบันการเงินมีนโยบายที่คานึงถึงความอ่อนไหวทางเพศ (gender-sensitive policy) ซึ่งไม่ ยอมรับการเลือกปฏิบัติทางเพศทุกรูปแบบ (zero tolerance policy) ในการจ้างงานและการ ทางาน รวมถึงความเสียหายทางจิตวิทยา และการคุกคามทางวาจา กายภาพ และทางเพศ – บริ ษั ท เคารพในสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนทุ ก ข้ อ ตามหลั ก การชี้ แ นะว่ า ด้ ว ยธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของ องค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights) 10


หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินสถาบันการเงินเฉพาะกิจ • เนื่องจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 3 แห่ง มีลักษณะการดาเนินธุรกิจที่แตกต่างจาก ธนาคารพาณิชย์ จึงยกเว้นบางหมวดในการให้คะแนน 1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ไม่ใช้หมวด สุขภาพ ธรรมชาติ และ อาวุธ เนื่องจากธนาคารไม่มีการให้บริการทางการเงินแก่ธุรกิจ 2. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ไม่ใช้หมวด อาวุธ เนื่องจากไม่มีการ ให้บริการทางการเงินแก่ธุรกิจใดๆ นอกเหนือจากภาคอสังหาริมทรัพย์ 3. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธนาคาร เอสเอ็มอี) ไม่ใช้หมวด การคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากไม่มีการให้บริการทาง การเงินแก่ลูกค้ารายย่อย • การจัดอันดับคะแนนระหว่างธนาคารจะใช้วิธีเปรียบเทียบเฉพาะร้อยละ (%) เท่านั้น เพื่อให้เปรียบเทียบได้ 11


ธนาคารที่ประเมิน ปี 2563 ชื่อธนาคาร ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารออมสิน* ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร* ธนาคารอาคารสงเคราะห์* ธนาคารทีเอ็มบี ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ธนาคารทิสโก้ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย* * สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ

ตัวอักษรย่อ BBL SCB KTB KBANK GSB BAY BAAC GHB TMB KKP TISCO SMEB

สินทรัพย์ ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2563 (ล้านบาท) 3,354,860.57 3,176,186.94 3,163,305.38 2,987,209.35 2,888,579.88 2,323,328.54 2,074,808.55 1,300,890.63 1,201,457.97 356,865.63 257,601.44 105,859.68 12


ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่ เอกสารนโยบายที่สถาบันการเงินเปิดเผยต่อ สาธารณะ ณ 30 กันยายน 2563 ประกอบด้วย: - รายงานประจาปี - รายงานความยั่งยืน (Sustainability report) หรือ รายงานความ รับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ (CSR Report) - แบบฟอร์ม 56-1 (รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) - ข้อมูลหรือเอกสารบนเว็บไซต์ อที่มีธนาคารเคยได้ x ข้คะแนนในปี 2019 - แถลงการณ์สาธารณะ ข้อที่มีธนาคารได้ - จดหมายข่าว x คะแนนเป็นครั้งแรก ในปี 2020

13


สรุปคะแนนรวม ปีที่ 3 - ธนาคารพาณิชย์

14


สรุปคะแนนรวม ปีที่ 3 - สถาบันการเงินเฉพาะกิจ

15


เปรียบเทียบอันดับธนาคารพาณิชย์ ปี 2563 อันดับ 2563 อันดับ 2562 อันดับเพิ่ม/ลด คะแนน 2563 คะแนนเพิ่ม/ลด 1 38.9% +72.0% 1 2 22.4% +42.7% 7 3 21.8% +28.4% 5 4 21.2% +4.2% 2 5 20.6% -0.5% 3 6 16.9% -1.9% 4 7 16.1% +0.5% 9 8 15.9% -0.9% 6

16


เปรียบเทียบอันดับสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ปี 2563 อันดับ 2563 อันดับ 2562 อันดับเพิ่ม/ลด คะแนน 2563 คะแนนเพิ่ม/ลด 1 22.1% ปีแรก 2 15.4% ปีแรก 3 11.0% ปีแรก 4 9.0% ปีแรก -

17


เปรียบเทียบผลการประเมิน 2019 กับ 2020 1. ธนาคารพาณิชย์ที่ได้คะแนนสูงสุด 5 อันดับแรก แข่งขันกันจัดทาและ เปิดเผยนโยบายต่อสาธารณะ 2. ธนาคารจานวนมากขึ้นประกาศนโยบายสนับสนุนสิทธิมนุษยชน และ สิทธิแรงงาน แต่แนวปฏิบัติยังไม่ชัดเจน 3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารออมสิน มี นโยบายด้านความยั่งยืนที่ค่อนข้างทัดเทียมกับธนาคารพาณิชย์ 4. ธนาคารมีพัฒนาการด้าน “การขยายบริการทางการเงิน” และ “การ คุ้มครองผู้บริโภค” อย่างต่อเนื่อง 5. ธนาคารไทยโดยรวมยังไม่มีการประกาศนโยบายสินเชื่อ (credit policy) และรายการสินเชื่อต้องห้าม (exclusion list) ที่ชัดเจน ขณะที่ธนาคาร ทีเอ็มบีก้าวเป็นผู้นาในประเด็นนี้ 18


นโยบายเด่นของธนาคาร Top 5 หมวด

ข้อ 1

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

2

นโยบาย

TMB

ประกาศเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกไม่ต่ากว่า 20% จากปีฐาน (สอดคล้องกับเป้าหมายการลดของประเทศไทยภายใต้ขอ้ ตกลงปารีส ) การส่ารวจหรือด่าเนินการเหมืองถ่านหิน และสินเชือโครงการโรงไฟฟ้าถ่าน หิน อยูใ่ นรายการธุรกิจทีธนาคารจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน

KTB

BBL

SCB

(exclusion list) 3

ประกาศว่าจะจ่ากัดการสนับสนุนอุตสากรรมขุดเจาะน่ามันและก๊าซธรรมชาติ ไว้ไม่เกิน 10% ของพอร์ตสินเชือทังหมด

คอร์รัปชัน

4

ประกาศว่าธนาคารจะไม่มกี ิจกรรมใดๆ ทีเกียวข้องกับล็อบบียิสต์

ความเท่าเทียมทางเพศ

5

ประกาศเป้าหมายว่าจะรักษาสัดส่วนของสตรีในต่าแหน่งผู้บริหารให้มมี ากกว่า 40%

KBANK

19


นโยบายเด่นของธนาคาร Top 5 (ต่อ) หมวด

สุขภาพ

ข้อ

6

นโยบาย

ก่าหนดว่าลูกค้าต้องต้องรับผิดชอบในการหลีกเลียง หรือลดความเสียงและ ผลกระทบทีอาจเกิดจากการปฏิบัติงานหรือผลิตภัณฑ์ อย่างสอดคล้องตาม

TMB

KTB

BBL

SCB

KBANK

หลักความรอบคอบ (Precautionary Principle) 10

เปิดเผยสถิติการรับเรืองร้องเรียนประจ่าปีแยกตามช่องทางรับเรืองร้องเรียน และเปิดเผยผลการติดตามเรืองร้องเรียน

การคุ้มครองผู้บริโภค

11

ประกาศว่ามีการอบรมทังพนักงานและตัวแทนของธนาคาร ในประเด็นการ ให้บริการลูกค้าอย่างเป็นธรรม (Market Conduct)

การขยายบริการทางการเงิน

12

มีบัญชีเงินฝากพืนฐานทีไม่เก็บค่าธรรมเนียมการเปิดบัญชี

การคุ้มครองผู้บริโภค และความ โปร่งใสและความรับผิด

20


นโยบายเด่นของธนาคาร Top 5 (ต่อ) หมวด

นโยบาย

ข้อ

7

ประกาศน่าหลักการชีแนะด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การ สหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and

TMB

KTB

BBL

SCB

KBANK

Human Rights: UNGP) มาใช้ในการด่าเนินงาน หากการย้ายถินฐานไม่สามารถหลีกเลียงได้ ก่าหนดว่าลูกค้าต้องส่ารวจเพือ ระบุบุคคลทีมีความจ่าเป็นต้องย้ายถินฐาน ท่าความเข้าใจถึงผลกระทบทีอาจ

สิทธิมนุษยชน 8

เกิดขึน ก่าหนดกรอบการให้ค่าตอบแทน ให้ได้รับความยินยอมโดยสมัครใจ

โดยได้ขอ้ มูลล่วงหน้า (Free, Prior, and Informed Consent : FPIC) จากผู้ ทีต้องย้ายถินฐาน นโยบายค่าตอบแทน

9

การจ่ายค่าตอบแทนหรือโบนัสกรรมการ /ผู้บริหาร/พนักงานตังอยูบ่ นเกณฑ์ อืนนอกเหนือจากธุรกิจ

21


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

เกณฑ์หมวดนี้มุ่งประเมินการมีส่วนร่วมในการลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศจากการดาเนินงานทั้งทางตรงและทางอ้อมของธนาคาร เช่น การตั้งเป้าหมายใน การลดส่วนแบ่งในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การมีนโยบายสินเชื่อที่สนับสนุนให้ธุรกิจ เปลี่ยนจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

12

19

8

10

15

16

18

TMB – รายการสินเชื่อต้องห้าม รวมการค้าไม้จากป่าดิบ ชื้นปฐมภูมิ (primary tropical moist forest), โรงไฟฟ้า ถ่านหิน เหมืองถ่านหิน, จากัดสินเชื่ออุตสาหกรรมน้ามัน 22 และก๊าซธรรมชาติไม่เกิน 10% ของสินเชื่อธุรกิจ


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: การทุจริตคอร์รัปชัน ได้คะแนนเท่ากันเกือบทุกธนาคารจากการปฏิบัติตามกฎหมายฟอกเงิน และประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์การรับฝากเงินหรือการรับเงินจากประชาชน

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

2

3

4

5

6

TMB, KTB, SCB – ธนาคารไม่มี กิจกรรมใดๆ กับล็อบบี้ยิสต์ (lobbyists) 23


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: ความเท่าเทียมทางเพศ เกณฑ์ในหมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารสะท้อนถึงคุณค่าความเท่าเทียมในบริบทของเพศ โดย ความเท่าเทียมทางเพศ หมายถึง การมีสิทธิ ความรับผิดชอบ และโอกาสที่เท่าเทียมกันโดย ไม่มีข้อกาหนดด้านเพศ โดยมีนโยบายที่คาดหวัง อาทิ การมีนโยบายไม่ยอมรับการล่วง ละเมิดทางเพศ (zero tolerance policy) นโยบายรับประกันการมีส่วนร่วมของสตรีใน คณะกรรมการบริษัท และมาตรการส่งเสริมให้สตรีได้เข้าสู่ตาแหน่งผู้บริหารระดับสูง

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

2

5

9

TMB - ธนาคารมีความตั้งใจส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ ในกลุ่มพนักงาน โดยมีเป้าหมายที่จะรักษาสัดส่วนของ ผู้หญิงในตาแหน่งผู้บริหารของธนาคารให้มีมากกว่าร้อยละ 40 24


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: สุขภาพ • เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารส่งเสริมให้บริษัทลูกค้ามีมาตรการ ป้องกันไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดย ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตของบริษัท (ตามหลักความรอบคอบ precautionary principle) เคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศสาคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ • ปี 2563 เป็นปีแรกที่มีการให้คะแนนในหมวดนี้ โดยมีธนาคารทีเอ็มบี เพียงธนาคารเดียวที่ได้คะแนน และได้คะแนน 1 จาก 14 ข้อ ในประเด็น ที่ระบุว่าลูกค้าต้องรับผิดชอบในการหลีกเลี่ยง หรือ ลดความเสี่ยงและ ผลกระทบที่อาจเกิดจากการปฏิบัติงานหรือผลิตภัณฑ์ สอดคล้องตาม หลัก Precautionary Principle 25


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: สิทธิมนุษยชน เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะว่าด้วย ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights - UNGP) และมีกลไกติดตามตรวจสอบให้ลูกหนี้ธุรกิจ ของธนาคารปฏิบัติตามหลักการชี้แนะด้วย

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

7

8

9

TMB - กาหนดว่าบริษัทลูกค้าต้องมีมาตรการป้องกันความขัดแย้ง เรื่องสิทธิในที่ดินทากิน และใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยการใช้ กระบวนการปรึกษาหารืออย่างมีความหมายกับชุมชนท้องถิ่น และ ได้รับความยินยอมโดยสมัครใจโดยได้ข้อมูลล่วงหน้า (free, prior, and informed consent - FPIC) ในประเด็นที่เกี่ยวกับชนพื้นเมือง 26


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: สิทธิแรงงาน เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิแรงงานสอดคล้องกับคาประกาศของ องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization) ว่าด้วยหลักการ และสิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทางาน นอกจากนี้ เกณฑ์การประเมินยังครอบคลุมนโยบายด้าน สิทธิแรงงานของบริษัทที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคารด้วย

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

2

9

10

4

5

KTB - นาหลัก ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work มาเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการคัดเลือกคู่ค้าของธนาคาร KBANK - กาหนดให้ลูกค้าสินเชื่อโครงการมีนโยบายอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย รวมถึงมีระบบการตรวจสอบติดตามกระบวนการรับเรื่องร้องเรียน 27 ตามมาตรฐานกฎหมายแรงงานอย่างเคร่งครัด


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: ธรรมชาติ เกณฑ์หมวดนี้ประเมินนโยบายเกี่ยวกับธุรกิจที่ ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงิน เกณฑ์หลาย ข้อมุ่งเน้นให้ธนาคารมีนโยบายสินเชื่อเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมที่สุ่มเสี่ยงต่อการสร้างผลกระทบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น อุตสาหกรรมทราย น้ามัน และการค้าพืชและสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ที่อยู่ใน รายการแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส (CITES)

เกณฑ์ที่ได้คะแนน: 3

5

7

10

6

TMB – สินเชื่อต้องห้าม รวมการผลิต/การค้าผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ขัดต่อรายการ ต้องห้ามในระดับสากล เช่น ยา สารเคมีที่ใช้ในการกาจัดแมลง สารเคมีกาจัดวัชพืช polychlorinated biphenyl (PCB) สัตว์ป่าหรือผลิตภัณฑ์ตามที่ระบุใน Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora: CITES และ IUCN Red List of Threatened Species, บริษัทลูกค้าป้องกันและแก้ไขการคุม คามของพันธุ์ต่างถิ่นตามที่กาหนดใน IUCN Invasive Species 28


กลุ่มหัวข้อคาบเกี่ยว: ภาษี เกณฑ์หมวดนี้ประเมินกลไกและกระบวนการการดาเนินงานของธนาคารและนโยบาย เกี่ยวกับธุรกิจที่ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงิน รวมถึงธุรกรรมในประเทศเขตปลอด ภาษีเพื่อป้องกันการหลบเลี่ยงภาษีของธุรกิจ

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

2

3

5

7

KKP – ประกาศว่า “ธนาคารจะไม่ใช้โครงสร้างทางภาษีที่มีวัตถุประสงค์หลักเพียงเพื่อขจัด หรือ ลดภาระภาษีผ่านการวางแผนหรือโครงสร้างการดาเนินงานที่ซับซ้อนอันจะก่อให้เกิดการ หลีกเลี่ยงภาษี อีกทั้งไม่ใช้ประโยชน์จากช่องว่างทางกฎหมายภาษีในการดาเนินธุรกิจหรือใช้ กฎหมายภาษีที่ไม่สอดคล้องต่อหลักการและเจตนาของกฎหมายภาษีทั้งธุรกรรมในประเทศและ ต่างประเทศ” 29


กลุ่มข้อหัวรายอุตสาหกรรม: อาวุธ เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายไม่ให้การ สนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมอาวุธ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยง สูงที่จะเกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชัน การฟอกเงิน และ การก่อการร้าย

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

2

3

4

5

6

7

9

10

TMB – สินเชื่อต้องห้าม รวมธุรกิจ controversial weapons: อาวุธที่ส่งไปยังประเทศที่มี ชื่อใน UN/EU Embargo, ไม่ยอมรับการส่งอาวุธและระบบส่งอาวุธ ระบบลาเลียงทาง การทหาร และสินค้าทางทหารอืน่ ๆ ไปยังประเทศที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง ประเทศที่รัฐล้มเหลวหรือเปราะบาง และประเทศที่อ่อนไหวต่อการทุจริตคอร์รัปชั่น

11

13

14

30


กลุ่มหัวข้อการดาเนินงานภายใน: การคุ้มครองผู้บริโภค

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

2

3

4

7

9

10

11

13

14

15

16

18

19

20

21

12 31


กลุ่มหัวข้อการดาเนินงานภายใน: การขยายบริการทางการเงิน

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

2

3

4

5

8

9

11

12

13

7

KBANK และ KTB – มีบริการ เงินฝากที่ไม่คิดค่าธรรมเนียมใน การเปิดบัญชี 32


กลุ่มหัวข้อการดาเนินงานภายใน: การตอบแทน เกณฑ์หมวดนี้มุ่งเน้นการเปิดเผยโครงสร้างค่าตอบแทน และนโยบายการจ่ายโบนัสที่ไม่เอือ้ ต่อการสร้างแรงจูงใจที่ไม่เหมาะสมแก่พนักงานและผู้บริหาร

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

7

9

10

11

SCB: ค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงจะพิจารณาโดยใช้ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ตัวเงินคิดเป็นร้อยละ 40 KBANK: ค่าตอบแทนของผู้บริหารพิจารณาจากผลประกอบการและตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ตัวเงิน เช่น ความพึง พอใจของลูกค้า ความพึงพอใจของพนักงาน การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก TISCO: คุณภาพของสินเชื่อและการให้บริการที่เป็นธรรม เป็นปัจจัยสาคัญในการประเมินผลงานของ พนักงานในธุรกิจลูกค้ารายย่อย

33


กลุ่มหัวข้อการดาเนินงานภายใน: ความโปร่งใสและความรับผิด

เกณฑ์หมวดนี้มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลสาคัญ อาทิ รายชื่อบริษัทที่ธนาคารเข้าไปลงทุน ปล่อยสินเชื่อเกิน $10 ล้าน พอร์ตสินเชื่อแบ่งตามอุตสาหกรรม สถิติการออกเสียง เป็นต้น

เกณฑ์ที่ได้คะแนน:

1

16

17

18

19

20

21

22

23

TMB - มีการรายงานประเด็นหลักที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกล่าวถึง ประจาปี 2562 ในรายงานความยั่งยืน 34


ดาวน์โหลดรายงานการประเมินฉบับเต็มได้ที่ https://fairfinancethailand.org/news/2021/2020-policyassessment-report/

35


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.