หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน พฤษภาคม 2554

Page 1



“....ในป ใ หม นี้ ข า พเจ า จึ ง ปรารถนาอย า งยิ่ ง ที่ จ ะเห็ น คนไทย มี ค วามสุ ข ถ ว นหน า กั น ด ว ยการให คื อ ให ค วามรั ก ความเมตตากั น ใหน้ําใจไมตรีกัน ใหอภัยกัน ใหการสงเคราะห อนุเคราะหกัน โดยมุงดี มุ ง เจริ ญ ตอ กั น ดวยความบริสุท ธิ์ และจริ ง ใจ ทุกคน ทุก ฝา ย จะได สามารถรวมมือ รวมความคิดอานกัน สรางสรรคความสุข ความเจริญ มั่นคง ใหแกตน แกประเทศชาติ อันเปนสิ่งที่แตละคนตองการใหสําเร็จผล ไดดังที่ตั้งใจปรารถนา...” พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ พ.ศ.๒๕๕๔


หาพฤษภาคมอุดมผล ชาวไทยตางพากันมั่นภักดี นับตั้งแตวันพระองคดํารงสวัสดิ์ พระทรงเปนลนเกลาของชาวไทย ทรงดํารงทศพิธวิจิตรศรี พระทรงเปนพอหลวงปวงประชา เปนประดุจโพธิ์ทองผองพิลาส เปรียบประดุจขวัญหลาทั่วฟาดิน เปนเทพเจาเหลาราษฎรขวัญชาติชื่น ประดุจแกวมณีโชติที่โปรดปราน ตามพระราชโองการสนั่นถิ่น โดยธรรมแทเปนนิตยประสิทธิ์ความ พระคุณงามนามประเทืองเรืองวิจิตร ตางประณตพจนพรอมนอมพรชัย ขอคุณพระไตรรัตนจรัสศรี โปรดคุมครองฉัตรมงคลผลศรัทธา ขอมวลฉัตรในพระองคจงสวัสดิ์ นพปฎลเศวตฉัตรจรัสนาน

ฉัตรมงคลเวียนมาตามราศี องคภูมีนวมินทรปนชาติไทย เฉลิมฉัตรแหงประเทศเขตวิสัย เปนขวัญใจเจาชีวิตเปนนิตยมา พระบารมีเลิศวิไลไรกังขา ตางศรัทธาพระองคจํานงจินต พระปรีชาสามารถทั้งศาสตรศิลป ประดุจปนแหงกษัตริยชัชวาล อยางราบรื่นพระเกียรติไกลอยางไพศาล ทุกดวงมาลยเทิดพระคุณมีบุญงาม เราจะครองแผนดินถิ่นสยาม สมพระนามมหาราชศรีชาติไทย ทั่วทุกทิศไทยเทศเขตวิสัย รมเย็นในเศวตฉัตรวัฒนา เทพทั่วฟาธาตรีที่ปรารถนา ใหสถาพรสวัสดิ์ชัชวาล สุขสมบัติในพระองคจงไพศาล ทั่วทุกกาลสิริสวัสดิ์พิพัฒนเทอญ

ดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ขาพระพุทธเจา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


สิบเจ็ดพฤษภาคมอุดมค่า วันประสูติตรัสรู้เชิดชูใจ ตรงวันเพ็ญเดือนหกโลกสวัสดิ์ บ้างจัดแต่งอามิสจิตเบิกบาน บ้างจัดแต่งชุดขาวเพริดพราวใส บ้างใส่บาตรกรวดน้ําตามอุรา บ้างสัมมาอรหังระวังจิต บ้างไหว้พระเก้าวัดชัชวาล อาจมีบ้างยังงงและหลงใหล เปรียบเหมือนบัวอยู่ในใต้โคลนตม วิสาขบูชาเวียนมานี้ ดําเนินตามสายกลางตั้งศรัทธา ดําเนินชีวิตปกติไม่วิปริต สิ่งเสพติดมัวเมาไม่เข้าเคียง ขอคุณพระไตรรัตน์จรัสศรี โปรดคุ้มครองชาวพุทธสุดปัญญา

วิสาขบูชาพาสดใส และวันได้สันติปรินิพพาน ต่างแต่งจัดบูชาพาสืบสาน บ้างสุขศานต์ปฏิบัติด้วยศรัทธา สะอาดใจด้วยศีลธรรมนําสิกขา บ้างภาวนาสวดมนต์ผลโอฬาร บ้างประสิทธิ์ยุบพองตรองสังขาร บ้างบวชเรียนกรรมฐานงานมงคล ยังตามใจกิเลสไร้เหตุผล อาจจะจมเป็นเหยื่อเพื่อเต่าปลา ควรเปรมปรีด์พุทธธรรมที่ล้ําค่า เห็นคุณค่าเชิดชูรู้พอเพียง ไม่คบมิตรเป็นพาลผลาญชื่อเสียง รักชื่อเสียงวงศ์สกุลพูนปัญญา เทพทั่วฟ้าธาตรีทุกทิศา เป็นสัมมาทิฐินิรันดร์เทอญ

พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


สวัสดี สมาชิกข่าวทหารอากาศทุกท่าน วันที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น ๑๒ ค่ํา เดือน ๖ ปีขาล เป็นวันประวัติศาสตร์ สําคัญวันหนึ่ง คือ วันพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมรสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ กั บ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ อย่ า งเป็ น ทางการ โดยเปิ ด เผยเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ก่ พ ระบรมวงศานุ ว งศ์ คณะทูตานุทูต และประชาชนทั่วไป และทรงจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายของไทย ซึ่งแสดงถึงพระราชจริยา ในการดําเนินพระองค์ตามระบอบประชาธิปไตย ต่อมาในวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ซึ่งถือเป็นวันฉัตรมงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระราชินีสิริกิต์ เป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินี และ หลังจากที่ทรงได้รับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์เมื่อครั้งทรงผนวช ก็ ทรงได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ พระบรมราชินีนาถ มาจนกระทั่งปัจจุบัน ในเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๔ นี้ ครม.อนุมัติวันหยุดพิเศษ ให้วันจันทร์ที่ ๑๖ เป็ นวันหยุดราชการ เพื่อให้หยุดยาวต่อเนื่องถึง ๕ วัน ตั้งแต่วันพืชมงคลที่ ๑๓ พ.ค. ถึงวันวิสาขบูชาที่ ๑๗ พ.ค. โดยหวังที่จะช่วย สนับสนุนให้เกิดการท่องเที่ยวภายในประเทศ เพื่อช่วยฟื้นฟูอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวให้เม็ดเงินไหลเข้าสู่ ระบบเศรษฐกิจ บรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนและภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว หลังจาก ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์บ้านเมืองและภัยธรรมชาติในช่วงปีที่ผ่านมา ในโอกาสวันวิสาขบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๖ (อังคารที่ ๑๗ พ.ค.) เป็นวันสําคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่มีการประสูติ ตรัสรู้ และ ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า เวียนมาบรรจบในวันและเดือนเดียวกันคือวันเพ็ญเดือนวิสาขะ หวังว่าพวกเรา ชาวพุทธศาสนิกชน จะได้คํานึงถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ ด้วยใจสักการะเป็นที่สูงสุดพร้อมกัน ภาพจากปกในฉบับนี้ อ่านรายละเอียดได้จาก...เรื่อง...เครื่องบินขับไล่ JAS-39 C/D Gripen กองทัพอากาศ แอฟริกาใต้ จะได้รับทราบถึงปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาของการพัฒนาระบบอาวุธที่นํามาติดตั้งกับเครื่องบินขับไล่ Gripen ที่แอฟริกาใต้พัฒนาขึ้นมาใช้เอง...เรื่อง ทฤษฎีชัยชนะด้วยการทิ้งระเบิด สะท้อนให้เห็นอีกรูปแบบหนึ่ง ของการได้มาซึ่งชัยชนะอย่างน่าสนใจ...เรื่อง TSUNAMI จะได้รับทราบสาเหตุของการเกิด ขนาด และความรุนแรง ของคลื่นสึนามิ ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ซ่อนเร้นอย่างน่าที่จะศึกษา และนอกจากนี้ ยังมีเรื่องประจําฉบับอีกมากมาย เชิญพลิกอ่านตามอัธยาศัย บรรณาธิการ


ตามรอย ในป พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๘ องค ก าร อาหารและเกษตรแห ง สหประชาชาติ ได ข อ พระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเหรียญ ทอง อะกริโคลา ซึ่งเปนเหรียญที่จัดทําขึ้นเพื่อ เทิดทูนเกียรติผูนําประเทศและสังคมที่มีบทบาท โดดเด น ในการเกษตรและการพั ฒ นาชนบท ตลอดจนการเสริ ม อุ ด มการณ ข ององค ก าร อาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ พระบาทสมเด็ จพระเจ า อยูหัว ภูมิพ ล อดุ ล ยเดช ทรงเป น หนึ่ ง ในผู นํ า เพี ย งไม กี่ ค น ในโลกที่ไดรับเกียรตินี้ ทามกลางทูตานุทูตที่เฝาถวายชัยมงคล เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๘ ผูอํานวยการใหญขององคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ ดร.ชาค ดิอูฟ ไดทูลเกลาทูลกระหมอม ถวายเหรียญอะกริโคลาเทิดพระเกียรติ พรอมทั้งอานสารเทิดพระเกียรติ ความตอนหนึ่งวา

“...พระองค ท รงเป น กษั ต ริ ย เ กษตร ด ว ยเหตุ นี้ เขตพระราชฐานจึ ง กลายเป น โรงเรียนฝกชาวไรชาวนาและชาวประมง ผูปลูกปาและทํามาหากินในปาอยางดีเลิศ...”


เหรี ย ญอะกริ โ คลาเทิ ด พระเกี ย ติ นี้ มี พ ระบรมสาทิ ส ลั ก ษณ นู น ต่ํ า อยู ด า นหน า เป น พระบรม สาทิสลักษณพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในรูปลักษณที่คุนตาคนไทยยิ่งนัก คือทรงกลองถายรูปและ กางแผนที่ จารึกพระปรมาภิไธยและคําวา “กาญจนาภิเษกแหงรัชสมัย” สวนดานหลังแสดงพระบรม สาทิสลักษณพระองคทานในนาขาวลอมรอบดวยพสกนิกรชาวไทย มีจารึกวา “การพัฒนาอยางยั่งยืน เพื่ออนาคตอันมั่นคง”

ดว ยหลั ก แห ง การพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น เพื่ อ อนาคตอั น มั่ น คง พระบาทสมเด็ จ พระเจา อยู หั ว มิ ใ ช เพียงแตทรงรับทราบสภาพปญหาที่เกิดขึ้นกับราษฎรของพระองคในทุกทองถิ่น แตยังไดทรงทุมเทพระองค ในการคนควาทดลอง วิ จั ย ห า พั น ธุ พื ช พั น ธุ สั ต ว ใ หม ๆ เพื่ อ ประสิทธิภาพการผลิต ทางการเกษตร โดย มุงเนนที่จะใหเกษตรกร สามารถนํ า ไปปฏิ บั ติ ไดจริงๆ นับเปนพัฒนา แบบบู ร ณาการ คื อ ครอบคลุมตั้งแตสภาพ พื้ น ผิ ว ดิ น แหล ง น้ํ า ไปจนถึงการหาตลาด


พระบาทสมเด็จ พระเจา อยูหั ว ทรงแสดงใหทุก ฝา ยเห็ น อย า งชั ดแจง ว า การพั ฒ นาการเกษตร ตามแนวพระราชดําริ คือการทําใหเกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได รวมทั้งมีลูทางหารายไดอื่นเพิ่ม ดวยการ ลดคาใชจายในการผลิต ใชโคกระบือเปนแรงงานมากกวาเครื่องจักร ปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อปรับปรุงดิน ใชปุยหมักและสารธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิต การกําจัดแมลงหรือศัตรูพืช การผลิตกาซชีวภาพ และการ นําวัสดุธรรมชาติในทองถิ่นมาประดิษฐหรือประกอบเปนสินคาเพื่อเสริมรายได อันเปนที่รูจักกันในปจจุบัน วา การเกษตรแบบยั่งยืน เคยมีพระราชดํารัสในเรื่องนี้วา “...การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือความพอมีพอกิน พอใชของประชาชนสวนใหญเปนเบื้องตนกอน โดยใชวิธีการและอุปกรณที่ประหยัดแตถูกตอง ตามหลักวิชาการ เมื่อไดพื้นฐานที่มั่นคงพรอมพอสมควรและปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริม ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลําดับตอไป หากมุงแตจะทุมเทสรางความเจริญ ยกเศรษฐกิจใหรวดเร็วแตประการเดียว โดยไมใหแผนปฏิบัติการสัมพันธกับสภาวะของประเทศ และของประชาชนโดยสอดคลองดวย ก็จะเกิดความไมสมดุลในเรื่องตางๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเปน ความยุงยาก ลมเหลวไดในที่สุด...” พระปรีชาสามารถนั้น เปนที่ประจักษแลวแกชาวโลก (ขอมูล : สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)


นกกระจิบ

พระทูลกระหมอมแกว เกินหกสิบปแลวที่กรํากราน ครองแผนดินโดยธรรมเปนตํานาน ดวยบุญญาธิการพระจักรี กลอนบทนี้ ผู เ ขี ย นถื อ เป น “วรรคทอง” ที่ จั บ ใจ ติ ด หู ติ ด ตา จึ ง จดจารท อ งจํ า ด ว ยความ ชื่นชมผูแตง อดุล จันทรศักดิ์ ศิลปนแหงชาติ สาขา วรรณศิลป เรียงรอยไวใน ดอกไมสีเหลือง ในหนังสือ รวมบทกวี ณ กาลเวลา อดุ ล จั น ทรศั ก ดิ์ แต ง กลอนบทนี้ เ มื่ อ กั น ยายน ๒๕๔๙ เพื่ อ เป น บทอาศิ ร พาทสดุ ดี พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว “วารครองราชย ครบหกสิ บ พรรษาศรี ” เนื่ อ งจากพระองค ท รง ครองราชยเมื่อป ๒๔๘๙ คือเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ สมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว อานั น ทมหิ ด ล เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจ า ฟ า ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ซึ่ ง มี พ ระชนมายุ เ พี ย ง

๑๙ พรรษา จึ ง เสด็ จ ขึ้ น ครองราชสมบั ติ สื บ ราชสั น ติ ว งศ ใ นวั น เดี ย วกั น นั้ น แต เ นื่ อ งจากยั ง ทรงมี พระราชภารกิ จ ด า นการศึ ก ษา จึ ง ต อ งทรงอํ า ลา ประชาชนชาวไทย เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น กลั บ ไป ศึกษาตอ ณ มหาวิทยาลัยแหงเดิม คือมหาวิทยาลัย โลซานน ประเทศสวิตเซอรแลนด ในเดือนสิงหาคม ๒๔๘๙ ในครั้ ง นี้ ท รงเลื อ กศึ ก ษาวิ ช ากฎหมาย และวิชารัฐศาสตรแทนสาขาวิชาวิทยาศาสตรที่ทรง ศึกษาอยูเดิม

อดุล จันทรศักดิ์


ฉะนั้น วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙ จึงเปนวัน ครบ ๖๐ ป แหงการครองราชย และพสกนิกรชาวไทย ก็ ไ ด ร ว มเฉลิ ม ฉลองและแสดงความจงรั ก ภั ก ดี แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว กันไปแลวอยาง นาปลื้มปติ ภาพที่ทุกคนสวมเสื้อเหลืองมารวมกัน ยังตรึงตาตรึงใจตลอดมา อยา งไรก็ต าม เนื่ อ งจากพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัวเสด็จนิวัตประเทศไทยเมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓ เพื่อทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจสําคัญยิ่ง (นอกเหนือจากพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็ จ พระบรมเชษฐาธิ ร าช และพระราชพิ ธี ราชาภิ เ ษกสมรส – ๒๘ เมษายน ๒๔๙๓) คื อ พระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก เมื่อ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ฉะนั้น เมื่อ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓ คือเมื่อ ป ที่ แ ล ว จึ ง เป น วั น ครบ ๖๐ ป แห ง วั น พระบรมราชาภิเษก กิเลน ประลองเชิง ไดนําบทกลอน ดอกไม สีเหลือง มาลงไวในหนังสือพิมพไทยรัฐ ฉบับประจํา วั น เสาร ที่ ๔ ธั น วาคม ๒๕๕๓ คอลั ม น ชั ก ธงรบ โดยเริ่มตนวา

อังคาร กัลยาณพงศ

“คนเขียนกลอนไมวาจะเริ่มหัดเขียน ถูกคอน ว า กลอนประตู หรื อ ที่ เ ขี ย นได ไ พเราะพริ้ ง พราย จนถูกเรียกวา กวี ลวนแตมีความฝนที่จะเขียนบท อาศิรพาทสดุดี ถวายพระเจาอยูหัว ตอนวัยรุน ผูเขียนจําได นิตยสารวิทยาสาร ของอาจารยเปลื้อง ณ นคร เคยมีการประชัน บท อาศิรพาทระหวางรุนใหญกับรุนใหญ ระดับอังคาร กัลยาณพงศ เนาวรัตน พงษไพบูลย ครั้งหนึ่ง

เนาวรัตน พงษไพบูลย

หนาหนึ่ง “ไทยรัฐ” วันนี้ เราคงคุนกับสํานวน รพินทร พันธุโรทัย สวนใหญเปนคําฉันท ศัพทแสง บาลีสันสกฤต ฟงคําและฟงเสียงสงางาม ลื่นไหล แตถาจะหาความหมาย หลายคนตองใช พจนานุกรมเปนตัวชวย หลายท านเลื อกใช กลอน...ภาษาธรรมดา สื่อความไดทันที แตจะหาบทที่ไพเราะลึกซึ้งเหมือน บทดอกไม สี เ หลื อ ง ในหนั ง สื อ รวมบทกวี ณ กาลเวลา อดุล จันทรศักดิ์ เรียงรอยไว เมื่อกันยายน ๒๕๔๙ คงไมคอยมีนัก


กรอบเวลาของกลอนบทนี้ เขียนเมื่อ “วาร ครองราชยครบหกสิบพรรษาศรี” ในหลวงเริ่ม ครองราชยเมื่อป ๒๔๘๙ ถึงปนี้ก็นับเปน ๖๔ ป แตถา นับถึงวันพระบรมราชาภิเษกถึงปนี้ก็นับได ๖๐ ป.... อานกลอนบทนี้ ก็ใชได “ลงตัวและพอดี” โดยนัยที่ ๒ เชนกัน ผูเขียนขออนุญาตนํามาถายทอดไวดังตอไปนี้ จากนั้ น ก็ เ ป น กลอนบทดอกไม สี เ หลื อ ง ซึ่งผูเขียนคอลัมนนี้ขออนุญาตทั้ง อดุล จันทรศักดิ์ และกิ เ ลน ประลองเชิ ง ขอนํ า มาลงซ้ํ า (เพราะ เดิ ม ผู เ ขี ย นจํ า ได เ ฉพาะบทที่ ขึ้ น ต น คอลั ม น นี้ “พระทูลกระหมอมแกว...”)

๕ พฤษภาคมนี้ เป น วั น ฉั ต รมงคล เมื่ อ ๖๑ ปกอน มีพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก ซึ่งเปน พระราชพิธีโบราณ ตั้งแตพระราชพิธีรับน้ําศักดิ์สิทธิ์ จากราชบัณฑิตและพราหมณที่พระที่นั่งอัฐทิศ และ พระราชพิธีที่พราหมณไดทูลเกลาฯ ถวายเครื่องราช กกุธ ภัณฑตลอดจนเครื่ องราชูปโภคและพระแสง อัษฎาวุธที่พระที่นั่งภัทรบิฐ จนกระทั่งพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวมีพระราชปณิธานพระราชทานแกปวง ชนชาวไทยวา “เราจะครองแผ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” กลอนบทนี้ยังเหมาะสมกับวาระนี้ เชนกัน

UดอกไมสีเหลืองU

นั่นคือสีเหลืองใดในแผนดิน แตมเหลืองแตงเหลืองอยูเรียงราย นั่นคือริ้วขบวนใดในแผนดิน นั่นคือแววใดในดวงตา นั่นคือเสียงใดที่ดาลสดับ ราวสีของดอกไมกลางสายตะวัน นั่นคือสีเหลืองแหงแรงจงรัก บอกเลาสัญลักษณความภักดี นั่นคือขบวนไพรฟาขาแผนดิน นั่นคือแววตาจรัสชัชวาล พระทูลกระหมอมแกว ครองแผนดินโดยธรรมเปนตํานาน หลารอน ธ ราวธารระริน เหน็บหนาวเพียงไหนในชีวี

ระบายสีมิรูสนิ้ ไมขาดสาย ใดคือความหมายในนครา จึงหยาดรินแรงโสมนัสสา ไยมาแรมคืนอยูตื้นตัน ไมรูศัพทแตรูถึงสีสัน เฉิดฉันชวงฟาเต็มธาตรี เหมือนทอถักความรูสึกทุกเสนสี ถวายใจพระจักรีนิรันดรกาล มิรูสึกรูสิ้นที่สบื สาน รอคอยพระภูบาลดวยหวงใย เกินหกสิบปแลวที่กรํากราน ดวยบุญญาธิการพระจักรี ดับรอน ณ แผนดินทุกถิ่นที่ ธ คือแสงสุริยศรีใหอุนทรวง


จึงมีความหมายในตาซื่อ เหมือนคืนแรมเหลือดาวเพียงหนึ่งดวง ธ คือบุญของแผนดินประดับดาว ทรงงานหนักยาวนานคือการอุทิศ มาอยูใกลเหมือนไดรองละอองบาท เสียง-ทรงพระเจริญนิรันดรไป วางดอกไมสีเหลืองเบื้องพระบาท ถวายบทอาศิรพาทสดุดี

เปนสื่อวาหัวใจรักในหลวง ดาวก็ชวงสองฉายใหรูทิศ ดวยเรื่องราวแหงมหาภารกิจ ดวยทศพิธราชธรรมน้ําพระทัย ตาจะหยาดหยดฉ่ําซึมน้ําใส คือเสียงใจซึ่งจงรักพระจักรี วารครองราชยครบหกสิบพรรษาศรี ที่ทรงครองแผนดินนี้มาโดยธรรม

แมกระทั่งปนี้ ปที่รัฐบาลจัดเตรียมงานเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวจะทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา โดยกําหนดขอบเขตของการจัดงาน ตั้ง แต ๑ ม.ค. – ๓๑ ธ.ค.๒๕๕๔ ชื่อ งานว า “งานเฉลิม พระเกี ยรติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ าอยูหัว เนื่องในโอกาสพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔” และมีชื่อภาษา อังกฤษวา “The Celebration on the Auspicious Occasion of His Majesty the King 7 Cycle Birthday Anniversary 5 December 2011” กลอนบทนี้ก็ยังสื่อความจากใจปวงชนชาวไทยไดอีกเชนกัน

ถึ ง วั น นั้ น ผู เ ขี ย นจะท อ งจํ า เป น บทอาขยานทั้ ง หมด ด ว ยความสํ า นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระองค ""


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) “เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

(ตอจากฉบับที่แลว) กองทหารบกรถยนตร แ ต ชั้ น เดิ ม ก อ นไป ในงานพระราชสงครามจนถึ ง จั ง หวั ด มาร เ ซลนี้ , จัดเปน 1 กองใหญ ในบัง คับบัญชา นายรอยเอก หลวงรามฤทธิรงค ; กองใหญแบงการบังคับบัญชา ทหารออกเปน 8 กองยอย. แตครั้นเมื่อจะตองยาย จากตําบลนี้เพื่อไปฝกหัดตามตําบลตางๆ, จึ่งได แยกแบงกันใหมีหัวนาบังคับบัญชาตําบลที่แยกไป นั้น ดังนี้ :ทหาร 6 กองยอย (¾ ของทหารในกองรถยนตร ทั้ ง หมด) ขึ้ น อยู ใ นบั ง คั บ บั ญ ชานายร อ ยเอก หลวงรามฤทธิรงค. อีก สวน 1 ทหาร 2 กองยอย (¼ ของทหาร ในกองรถยนตร ทั้ ง หมด) ขึ้ น อยู ใ นบั ง คั บ บั ญ ชา นายรอยโท แมน เหมะจุฑา.

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม เมื่อไดจัดการแบงการบังคับบัญชากันเสร็จ แลว, จึ่งไดเดินทางจากจังหวัดมารเซลไปยังโรงเรียน การรถยนตร.

พระวรวงศเธอพระองคเจาจรูญศักดิ์กฤดากร


โรงเรียนการรถยนตรดูรดัง ก อ ง ท ห า ร ร ถ ย น ต ร ใ น บั ง คั บ บั ญ ช า นายรอยเอก หลวงรามฤทธิรงคไดยายจากจังหวัด มารเซลมาอยูเมืองดูรดัง (Dourdan), ซึ่งเปนที่ตั้ง โรงเรียนการรถยนตรเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม,พ.ศ.2461. มี ม หาอํ า มาตย เ อก พระวรวงศ เ ธอ พระองค เ จ า จรู ญ ศั ก ดิ์ ก ฤดากร อรรคราชทู ต สยามประจํ า กรุงปารีส, นายพันโท หมอมเจาอมรทัต. นายพันโท หมอมเจาฉัตรมงคล, และขาราชการสถานทูตบางนาย มาคอยรับทหารอยูที่สถานี. โรงเรียนการรถยนตรที่ตําบลดูรดังนี้, ขึ้นอยู ในกองพาหนะทหารบกที่ 19 ในบังคับนายพันตรี ลุกาต (Commandant Lucat), นายรอยเอก ลา คลอตต (Capitaine Laclotte) เปนผูอํานวยการโรงเรียน.

นายรอยโท แมน เหมะจุฑา

ที่อยูและอาหารการกิน ที่อยู ข องทหารเปนโรงไม ย กพื้น ชั่วคราว, อากาศเดินไดสดวกดี, มีเตียงนอน(ไมกระดาน), หมอน, ผาหมนอนประจําอยูพรอมตามที่ซึ่งทหารนอน, นอกจากตัวเลือดที่คอยรบกวนอยูแลวก็นับวาเปน ที่พอใจ.

นายสิบ ไดอยูตึกถาวรมีหองนอนพรอม. นายทหารมี ตึ ก อยู พิ เ สษอี ก หลั ง หนึ่ ง , มีหองนอนพรอมนับวาสดวกสบายดี. อาหารการกินในตําบลนี้, กินอาหารอยางฝรั่ง ไมมีการฝดเคีองอยางใด. โรงเรียนการรถยนตรเมืองลิออง กองทหารในบังคับ นายรอยโท แมน เหมะจุฑา ซึ่งออกเดินจากจังหวัดมารเซล, ไดถึงสถานีจังหวัด ลิออง(Lyon) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม,พ.ศ.2461. โรงเรียนการรถยนตรที่จังหวัดลิอองนี้, แบง ออกเปน 2 แห ง ๆหนึ่ ง เปนที่ ทํ า การและที่ อ ยู ข อง ทหาร, อีกแหง 1 เปนที่เลาเรียน,หางจากกันประมาณ 1 กิโลเมตร. สถานที่ทําการและที่อยู ตั้งอยูที่ปอมเกาๆ ปอมหนึ่งชื่อวาวังซิอา (Vancia) เปนปอมที่ไดสราง ขึ้นกวา 40 ปแลว, ในเวลานี้ที่เรียกวาปอมก็เพราะ ยังมีคูและกองมูลดินเหลือทิ้งอยู. ที่ เ ล า เ รี ย น ตั้ ง อ ยู ที่ ป อ ม แ ซ ร เ ม นั ซ (Sermenaz) ,เปนปอมที่เล็กมากและเกา, ที่เรียกวา ปอมก็เชนเดียวกับปอมวังซิอาเหมือนกัน. โรงเรียนการรถยนตรที่จังหวัดนี้, ขึ้นอยูใน บังคับนายพันตรี ลุกาต ซึ่งเปนผูอํานวยการทั่วไป, นายรอยเอก ดุ นวาเยซ (Capitaine Du Noyez) เปนผูอํานวยการโรงเรียน. ที่อยูและอาหารการกิน นายทหารแยกยายกันพักตามบานในหมูบาน ริลลิเออซ (Rillieux) เพราะไมมีที่ในบริเวณโรงทหาร.


นายสิบอยูภายในปอม, มีบานเปนตึกถาวร กันเปนหองๆ มีหองนอนเรียบรอย. พลทหารอยูภายในปอมเปนโรงไมยกพื้นที่ สรางขึ้นชั่วคราว, มีเตียง, ที่นอน, ผาหมนอนพรอม. อาหารการกินไมมีอัตคัดฝดเคืองอยางใด. ในระหวางที่ทหารทําการฝกหัดขับรถยนตร อยูที่เมืองดูรดัง และเมืองลิอองนั้น, ไดมีการปลูก ไขรากสาดใหญ, และฝกหัดใสนากากกันไอพิษดวย, เมื่อใสนากากเรียบรอยแลวตองลงไปอยูในอุโมง ใตดินประมาณ 5 นาที. มีเจานาที่ยิงปนดวยไอพิษ ตลอดเวลา, เพื่อตรวจดูวาทหารเขาใจวิธีใสนากาก หรือยัง. การฝกหัดสั่งสอน การฝ ก หั ด สั่ ง สอนของโรงเรี ย นรถยนตร ทั้ง 2 ตําบลนั้น มีขอสําคัญดังนี้ :การฝ ก หั ด - ขั บ รถยนตร เ ปนเส น ตรง, เลี้ยว, หยุด, ถอยหลัง, เปลี่ยนกําลังเร็ว, ขับรถใน ภูมิประเทศที่กันดาร, ขับรถขึ้นลงภูเขา, เดินทางไกล เปนขบวน; ทั้งนี้ฝกหัดดวยรถชนิดบรรทุกของขนาด ตางๆ. การสั่ ง สอน - ให รู จั ก การเปนไปของ เครื่องยนตรที่ใช ตลอดจนการแกไขสิ่งที่ชํารุด. เมื่อไดเลาเรียนจบตามหลักสูตรที่กําหนด ไวแลว, เจานาที่ฝรั่งเศสจึ่งจัดการสอบความรู; ผูใด สอบไดๆ รับใบประกาศนียบัตรเปนพลขับรถยนตร, สวนผูที่สอบตกคงทําการฝกหัดตอไปจนชํานาญ แลวเขาสอบใหม. พระเฉลิมอากาศ

ผลของการฝกหัดและเลาเรียนในโรงเรียน การรถยนตร เมื อ งลิ อ องนั บ ว า ได ดํ า เนิ น ไปตาม หลักสูตรและกําหนดเวลา, เจานาที่ฝรั่งเศสชมเชย มาก ในการที่ทหารไทยเลาเรียนไดโดยรวดเร็ว. เมื่ อ ทหารที่ อ ยู ที่ เ มื อ งดู ร ดั ง และลิ อ อง ไดฝกหัดและเรียนจบหลักสูตรจนสอบความรูสําเร็จ แลว, ซึ่งนับวาจะไปรับราชการสนามรบได, จึ่งได จัดการแบงกําลังทหารในกองทหารบกรถยนตรให เหมาะกับอัตราศึก, กองใหญแบงเปน 3 กองยอย, อยูในบังคับบัญชานายรอยเอก หลวงรามฤทธิรงค แตผูเดียว. จัดใหนายรอยโท ศรี สุขะวาที เปนผูบังคับ กองยอยที่ 1, นายรอยโท เพิ่ม อุณหะสูตร เปนผูบังคับ กองยอยที่ 2, นายรอยโท แมน เหมะจุฑา เปนผูบังคับ กองยอยที่ 3. เมื่อเรียบรอยแลว กองยอยที่ 1 และ กองย อ ยที่ 2 จึ่ ง เริ่ ม เดิ น ทางโดยรถไฟไปกรุ ง แวร ไซลยส (verseilles) ในวันที่ 16 กันยายน,พ.ศ.2461. กรุงแวรไซลญสนี้, เปนที่ตั้งคลังฐานทัพ ทั่วไปของกองรถยนตรฝรั่งเศส. ทหารกองรถยนตร ทุก คนก อนไปสนามรบจะตอ งผ า นที่ ตําบลนี้กอน เพื่อรับอาวุธ, หมวกเหล็ก,ฯลฯ สําหรับราชการ สนามโดยจําเพาะ. กิจที่กระทําทีก่ รุงแวรไซลญส นับจากเมืองนี้ไป, ทหารทุกคนจะตอง เคลื่อนที่ยายไปทําการในสนามซึ่งใกลเขตอันตราย ยิ่งขึ้น, จึ่งไดใหทหารรับอาวุธเครื่องแตงกายที่จะ ออกไปทํ า การในสนามจากคลั ง กองรถยนตร , มีสิ่งของที่ทหารไดรับจายดังนี้:-


ปนเล็กสั้น, หมวกเหล็ก, แวนตาใสขับรถยนตร, ผาพันคอกันหนาว, เสื้อขนสัตวกันหนาว, ถุงมือ, รองเทาหนัง. ในเวลาบายวันที่ 17 กันยายน, พระเจา วรวงศ เ ธอ พระองค เ จ า จรู ญ ศั ก ดิ์ ก ฤดากร อรรคราชทูตสยามประจํากรุงปารีส, พรอมดวย นายพันโท หมอมเจาอมรทัต, ไดเสด็จมาเยี่ยม ทหาร. ครั้นถึงเวลารับประทานอาหารเจานาที่ฝรั่งเศส ไดจัดรถยนตรมารับทหารไปยังโรงรับประทาน, เมื่อ เสร็จจากการทานอาหารแลวไดพาไปดูภาพยนตร และรับทหารกลับคายเมื่อภาพยนตรเลิกแลว. เวลาเชาวันที่ 18 กันยายน, มีการตรวจพล, นายพลตรี พระยาพิชัยชาญฤทธิ์ เปนประธาน. เมื่อ เสร็จจากการตรวจพลแลวนายพลตรี พระยาพิชัย ชาญฤทธิ์ ไดสั่งสอนและตักเตือนทหารใหรําลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณ, เตือนใหรําลึกถึงนาที่ซึ่งทหาร จะตองกระทํา, และใหระวังรักษาเกียรติยศ; ครั้นแลวจึ่งไดมีการเดินสวนสนามอีกครั้งหนึ่งนับวา เปนเสร็จการ.

การเคลื่อนทหารจากกรุงแวรไซลญส การยายทหารจากกรุงแวรไซลญสนี้, แบง เปน 2 ชุ ด ๆหนึ่ ง ไปก อ น,ส ว นอี ก ชุ ด หนึ่ ง ซึ่ ง มาถึ ง แวร ไ ซลญส ที ห ลั ง ต อ งรอรั บ เครื่ อ งแต ง ตั ว ให เสร็จเรียบรอยกอนจึ่งยายตามไป. ในเวลาบายวันที่ 18 กันยายนนี้เองเริ่มเดินทาง. ทหารขึ้ น รถไฟที่ ส ถานี ม ะโลต ( Malot) จังหวัดแวรไซลญส. มีพระวรวงศเธอ พระองคเจา จรูญศักดิ์ฯ, นายพลตรี พระยาพิชัยชาญฤทธิ์, มาคอยรับทหารอยู ณ ที่นั้น. รถไฟออกเดินจากแวรไซลญสออมทางทิศ เหนือของกรุงปารีส,ผาน นวาซี เลอ เซก (Noisy le Sec). การเดินทางรถไฟคราวนี้ไมมีผูใดทราบถึง เวลาและตําบลที่จะหยุดโดยแนนอนเลย, เพราะ เปนรถพิเศษตองหยุดตามทางบอยๆ, บางครั้งหยุด ตั้ง 4-5 ชั่วโมงก็มี, เชนที่นวาซี เลอ เซก เปนตน. วันที่ 19 กันยายน, รถไฟถึงสถานี ซัง ปารรส เลส โวดส ( St.Parres les Vaudes ). การเดินทาง ครั้ ง นี้ ถึ ง รถจะเดิ น ช า ในเวลาเดิ น ทางฝนตกก็ ดี , ทหารก็ไดมาถึงโดยสวัสดิภาพ. ทหารที่มาครั้งหลัง ถึงวันที่ 24 กันยายน,พ.ศ. 2461. วิลลมวาเยนน (ในเขตสนามรบ) เมื่ อ รถไฟได ม าถึ ง สถานี ซั ง ปารรส เลส โวดส แลว, นายรอยเอกปโรต (Capitaine Pirot) เปน ผูคอยมารับรอง. นายร อยเอกผูนี้ และนายพันตรี สเตนบอก (Commandant Stenbock) ผูบังคับการ กรมรถยนตรที่ 1 ของกรมบัญชาการกองทัพบก, ได มาเปนผูชวยจัดการรถยนตร.


เมื่อไดเดินกองทหารและขนสัมภาระ จาก สถานีไปถึงวิลลมวาเยนน (Villemoyenne) แลว, ทหารตองไปพักอยูตามบานราษฎรเปนแหงๆไป, มีปลอกที่นอนซึ่งตองหาฟางบรรจุเอง, กับแครไม สําหรับนอนจายไปใหดวย. การบั ง คั บ บั ญ ชาขึ้ น อยู กั บ นายพั น ตรี สเตนบอก ผูบังคับการกรมรถยนตรที่ 1, นายรอยเอก ปโรต เปนผูชวยสําหรับการรถยนตรโดยตลอด. ที่อยูและอาหารการกิน ที่อยู - ทหารแยกกันอยูตามบาน,โดยมาก มักจะเปนฉางเขา, หรือโรงเลี้ยงสัตวที่ไมมีสัตวอยู, มีนายสิบบังคับบัญชาทุกบาน, เจาของบานพอใจ ในการที่ทหารไทยไดเขาไปอยูในบานเขามาก. การกิน - ทหารไทยเราตองทําการหุงตมเอง, สวนเสบียงนั้นตองขนจากคลังเสบียงที่เมืองตรวาส (Troyes) โดยรถยนตรทุกๆวัน, การหุงตมใชรถครัว ชนิดพวงรถยนตรได. การฝกหัดสั่งสอน ตามที่ทหารในกองรถยนตรไดรับความฝกหัด สั่งสอนที่เมืองดูรดังและลิอองแลวนั้น, นับวาเปน การฝกหัดอยางสามัญ การฝกหัดทั้ง 2 แหงมิไดสอบ แบบเดียวกัน มีตางกันบาง, แลวยังมีบางสิ่งซึ่งไมใช ระเบี ย บแบบเดี ย วกั น กั บ ที่ ใ ช อ ยู ใ นกรมรถยนตร ที่ 1. นอกจากนั้นยังตองฝกหัดการลําเลียงตางๆ อีก, เพราะฉนั้นตองมาฝกหัดทบทวนเพื่อใหลงระเบียบ และใหทหารมีความชํานาญยิ่งขึ้น, จะไดปฏิบัติการ ธรรม

ในสนามได โ ดยเรีย บร อ ย. ครั้น เมื่ อ ทหารมี ค วาม ชํานาญแลวจึ่งไดเริ่มลงมือทําการและเคลื่อนทัพ ไปอยูที่อื่นอีก, โดยใชรถยนตรซึ่งรัฐบาลฝรั่งเศสจาย ใหตามกําหนดรถยนตรที่จะไปทําการในสนาม. พระเฉลิมอากาศ

สรูปรวมความ. ผลแหงการที่กรุงสยามได เขาที่ชุมนุมสันติสมาคม, ก็คือไดเพิ่มพูลความมั่นคง ในอิศระภาพของชาติไทยซึ่งตั้งแตบัดนี้ไป ไดเขาหมู อาริยชาติทั้งหลาย,โดยมีสิทธิเทียมทันเสมอหนากับ เขาทุ ก ประการ,ซึ่ ง เปนข อ ที่ ไ ทยเราควรยิ น ดี แ ละ ภูมิ์ใจเปนอันมาก. ดังมีพระราชดํารัสเมื่อวันเฉลิม พระชนมพรรษาที่ลวงมาแลววา, “การที่เราไดเขา เปนสมาชิกแหง สมาคมอัน มีนาที่ จะปกครองโลก โดยความยุติธรรมเชนนี้,ยอมเปนขอควรยินดีและ ภูมิ์ใจอยูบาง.” ไทยเราใชแตควรยินดีเทานั้น,ควรจะ เพิ่ ม ความป ติ ป ราโมทย ใ นพระป ญ ญาบุ ญ บารมี และรํ า ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ เปนล น เกล า ลนกระหมอมดวย,เพราะการที่ชาติเรามีความเจริญ รุงเรืองไดดังนี้ ก็เพราะพระองคผูเปนพระมหากษัตริย ของเราไดทรงชักนําไปโดยพระปรีชาญาณอันล้ําเลิด ที่สอดสองเล็งเห็นการโดยรอบคอบ,หาผูเสมอเหมือน มิได.ดวยความรูสึกดังนี้,จงพากันถวายพระพรให ทรงพระเจริ ญ สิ ริ ส วั ส ดิ์ พิ พั ฒ มงคลพระชนมายุ ยั่งยืนนาน,เสด็จอยูปกครองสยามราชอาณาจักร ใหมีความเจริญยิ่งขึ้นไปทุกวันเทอญ. หมอมเจาไตรทศประพันธ

(อานตอฉบับหนา)


ร.ท.วรรณลพ ลําพูลนอย (ตอจากฉบับที่แลว) ในเรื่ อ งของการก อ การร า ยด ว ยอาวุ ธ อานุภาพทําลายลางสูง (WMD) ที่สามารถนํามาใช ในการกอการรายวา เมื่อมีการใชสารเหลานี้กอการราย แล ว จะมี อ ะไรเป น สิ่ ง บ ง ชี้ ห รื อ สิ่ ง บอกเหตุ ที่ จ ะ สั ง เกตได ว า อาจมี ก ารก อ การร า ยด ว ยสารเคมี ชีวภาพ กัมมันตรังสี (CBRN) กรณีการกอการรายดวยอาวุธอานุภาพ ทําลายลางสูง (WMD) Â ตัวบงชี้เหตุการณที่อาจเกิดจากสารเคมี - สัตว / นก ปลา ตาย ไมใชแคสัตวถูกยิง ตายหรือรถชนตายตามปกติเปนครั้งคราว แตเปน การตายของสัตวทั้งสัตวปา สัตวเลี้ยงทั้งเล็กและ ใหญ นก ปลาตายในบริเวณเดียวกันเปนจํานวนมาก - การขาดแคลนแมลงในธรรมชาติ ปกติใน พื้นที่นั้นจะมีแมลงตางๆ ในธรรมชาติอยูมากมาย

แตเกิดมีนอยผิดปกติหรือแทบจะหาแมลงไมไดเลย แสดงวาผิดสังเกตแลว - มีกลิ่นแปลกๆ ไมรูวากลิ่นอะไร อาจเปน กลิ่นแปลกๆ เชน กลิ่นหอมของผลไม หรือดอกไม ซึ่งบริเวณนั้นไมมีผลไมหรือดอกไมชนิดนั้นอยู ซึ่ง ไมเขากับลักษณะแวดลอมของพื้นที่เลย เชน กลิ่นฉุน ของกระเทียม กลิ่นอัลมอนด กลิ่นฟางตัดใหม เปนตน - มีคนตายหรือคนปวยจํานวนมาก พบผูปวย ที่มีอาการ เชน คลื่นไส สับสน หายใจลําบาก ชักกระตุก เหงื่อออก เยื่อตาขาวอักเสบ (ตาแดง อาการเนื่องจาก ไดรับสารที่ทําลายระบบประสาท) ผิวหนังเปนผื่น (แดงเนื่องจากสารที่ทําใหผิวหนังพุพองและตาย) - รู ป แบบการตาย ผู เ สี ย ชี วิ ต มี แ นวโน ม จะอยูในทิศทางใตลม หรือถาอยูในอาคารจะเกิด โดยผานระบบปรับอากาศ - ตุ ม ผื่ น มี ค นจํ า นวนมากเป น ตุ ม น้ํ า ใส ไมสามารถอธิบายที่มาได เปนตุม(คลายผึ้งตอย) หรือเปนผื่นคัน ถาเปนคนสองคนตามปกติไมเกี่ยว


- หยดของเหลวแปลกปลอม ถาฝนไมตก แต ก ลั บ พบว า มี ห ยดน้ํ า มั น ๆ เหมื อ นแผ น ฟ ล ม มันๆ หลายจุดก็เปนสิ่งผิดปกติที่นาใหความสนใจ ไมนอย - พื้นที่ดูเปลี่ยนไป เชน มีการตายของวัชพืช หรือการเหี่ยวเฉาของตนไม พุมไมตางๆ โดยไมมี ความแห ง แล ง มาก อ นเลย หรื อ พู ด ง า ยๆ ว า อยู ๆ มันก็เหี่ยวตายไป คลายโดนฉีดยาฆาหญาแตไมปรากฏ วามีการฉีดยาฆาหญามากอน - มี ก ลุ ม ควั น หรื อ เมฆลอยในระดั บ ต่ํ า มี ลั ก ษณะควั น คล า ยเมฆหมอกลอยต่ํ า ๆ ทั้ ง ๆ ที่ ลักษณะอากาศขณะนั้นไมนาจะมีเมฆหรือหมอก ลอยต่ําอยางนั้น เชน ตอนกลางวัน เปนตน - พบเศษโลหะแปลกปลอม พบวา มีวั ตถุ ที่มีลักษณะคลายระเบิดหรืออาวุธสงครามที่เราก็ ไมสามารถหาที่มาของมันได โดยเฉพาะอยางยิ่ง วัตถุเหลานั้นมีของเหลวบรรจุอยู Â ตัวบงชี้เหตุการณที่อาจเกิดจากสารชีวภาพ - คน / สัตวปวยหรือตายเปนจํานวนมาก ผิดปกติ อาจเกิดไดหลายรูปแบบตางๆ กันโดยอาจ เกิดจากเสียชีวิตหรือปวยในระยะเวลาหลายชั่วโมง จนถึงหลายวันหลังเกิดเหตุการณ ระยะเวลาที่สังเกต เห็นอาการขึ้นอยูกับสารชีวภาพที่ใช - การฉีดพนสเปรยแบบผิดปกติหรือนอกตาราง การปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งเวลาตอนกลางคืน และในที่โลง - อุปกรณฉีดพนสเปรยที่ถูกทิ้งไว อุปกรณ อาจไมมีกลิ่นผิดปกติอะไรเลย

บริเวณรังสี หรือ วัตถุกัมมันตรังสี Â ตั ว บ ง บอกเหตุ ก ารณ ที่ อ าจเกิ ด จากสาร กัมมันตรังสี - สั ญ ลั ก ษณ ส ารกั ม มั น ตรั ง สี พบภาชนะ บรรจุมีสัญลักษณ “ใบพัด ๓ แฉก” ที่แสดงถึง ความสามารถในการแผรังสีติดอยู - เศษซากโลหะแปลกปลอม พบวั ต ถุ ที่ มี ลักษณะคลายระเบิดหรืออาวุธสงครามและไมสามารถ บอกที่มาได - วัตถุปลดปลอยความรอน เปนวัตถุที่รอน หรื อ ดู เ หมื อ นว า จะปลดปล อ ยความร อ นได โ ดย ไมพบวามีแหลงใหพลังงานความรอน - วัตถุที่สองประกาย สารกัมมันตรังสีบางชนิด สามารถปลดปลอยหรือทําใหเกิดการเปลงแสงได ใหระวัง - คน/สัตวเจ็บป วย ในสถานการณปกติที่ ไมนาจะมีอะไรผิดปกติแตกลับมีคนหรือสัตวเจ็บปวย จํานวนมากผูบาดเจ็บหรือหรือเสียชีวิตอาจเกิดขึ้น ภายในระยะเวลาไม กี่ ชั่ ว โมงหรื อ หลายวั น หรื อ


หลายสัปดาห หลังเกิดเหตุการณโดยระยะเวลาที่ เกิดอาการขึ้นอยูกับชนิดของสารกัมมันตรังสีและ ปริ ม าณรั ง สี ที่ ไ ด รั บ อาการที่ แ สดงคื อ การเกิ ด ผื่นแดงและอาเจียน สิ่งที่กลาวมานี้เปนเพียงสิ่งบอกเหตุเบื้องตน กวางๆ เทานั้น ซึ่งตองอาศัยการสังเกตและตองเปน คนรอบคอบในเรื่องตางๆ พอสมควร จึงจะสามารถ มองเห็ น ความผิ ด ปกติ ไ ด เมื่ อ เห็ น ความผิ ด ปกติ เกิดขึ้นตามที่ไดกลาวมาแลวและแนใจวาอาจเปน การใชสารเคมี สารชีวะ หรือสารกัมมันตรังสีกระทํา แลว สิ่งแรกที่จะตองทําสําหรับผูประสบเหตุการณ ก็คือตองถือหลักการปองกันอันตรายที่กลาวไวแลว คือ ๑. ตองพยายามหลีกเลี่ยงพื้นที่นั้นไมจําเปน อย า เข า ไปในพื้ น ที่ เ กิ ด เหตุ นั้ น แล ว ให รี บ แจ ง กั บ เจาหนาที่ผูรับผิดชอบทันที ๒. ในกรณี ที่จํา เปน ตอ งเขาไปในบริเ วณ นั้น จะดวยเหตุใดก็แลว แตใหยึดหลัก ขอที่ ๒ คือ ต อ งรู จั ก การป อ งกั น ตนเองให ป ลอดภั ย เสี ย ก อ น ด ว ยอุ ป กรณ ใ นการป อ งกั น ซึ่ ง ในเรื่ อ งอุ ป กรณ ปองกันนี้จะกลาวถึงในโอกาสตอไป ๓. หลั ง จากเข า พื้ น ที่ เ กิ ด เหตุ แ ล ว สิ่ ง ที่ จําเปนตองทําตอไปก็คือ การชะลางความเปนพิษ ออกจากรางกายซึ่งก็เปนเรื่องทางเทคนิคพอสมควร ก็จะขอกลาวถึงรายละเอียดในโอกาสตอไป สําหรับ บุค คลทั่ ว ไปแล ว ในเบื้ องต น ถ า ไม รู จ ะทํ า อย า งไร งายๆ ก็คืออาจใชน้ําสะอาดหรือน้ําสบูชะลางความ เปนพิษในเบื้องตนกอน แถมประหยัดและไดผลดี พอสมควรดวย

ทีนี้ เ รามาลองดูวิ ธีดํ า เนิ น การในเบื้อ งต น กรณีเกิดอุบัติภัยจากสารเคมีดูบางวาเราจะปฏิบัติ อยางไร เมื่อเราเปนผูพบเห็นเหตุการณเปนคนแรก Â การดํ า เนิ น การเบื้ อ งต น กรณี เ มื่ อ เกิ ด อุบัติภัยจากสารเคมี เมื่อเราเปนผูพบเห็นเหตุการณเปนคนแรก ในการเกิ ดอุ บั ติเ หตุ บ นท อ งถนนไม วา จะเป น การ หกรั่วไหลของสารเคมี เพลิงไหมหรือการระเบิดของ สารเคมีในระหวางการขนสงก็ตาม สิ่งที่ทานควรทําก็คือ ๑. มองหาผูบาดเจ็บหรือหมดสติในบริเวณ ที่เกิดเหตุอยางระมัดระวังในระยะห างอยางนอย ๕๐ เมตร ทางดานเหนือลม เมื่อประเมินสถานการณ แล ว เห็ น ว า สามารถเข า ช ว ยเหลื อ ผู บ าดเจ็ บ หรื อ หมดสติ ไ ด โ ดยไม เ สี่ ย งอั น ตรายใดๆ ก็ ใ ห รี บ เคลื่อนยายผูปวยใหไปอยูในที่มีอากาศบริสุทธิ์ทันที แตถาไมมั่นใจในความปลอดภัยหรืออันตรายที่จะ เกิดขึ้นกับตนเองแลว ก็อยาเสี่ ยงเพราะถ าเขาไป ชวยแลวเราไดรับอันตรายมันจะไมคุมและเปนการ เพิ่ ม จํ า นวนผู ป ว ยอี ก คนซึ่ ง จะเป น การเพิ่ ม ภาระ ใหกับหนวยกูภัยที่จะมาชวยเหลือในภายหลัง เมื่อ ไมมั่นใจความปลอดภัยก็ใหปฏิบัติตามขอตอไป ๒. รี บ แจ ง หน ว ยปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ท อ งที่ ทันทีหรือถานึกไมออกวาจะแจงหนวยไหน ก็ใหแจง กับเจาหนาที่ตํารวจกอนก็ไดแลวใหขอมูลที่จําเปน แกเจาหนาที่ที่จําเปน เชน - สถานที่เกิดเหตุที่แนนอน - ประเภทของรถบรรทุกหรือรูปรางลักษณะ ของภาชนะที่บรรจุสารเคมี


- สั ญ ลั ก ษณ ห รื อ ป า ยที่ บ อกถึ ง ชนิ ด ของ สารเคมี - หมายเลขสหประชาชาติ (UN Number) เปนตัวเลข ๔ หลัก ที่ติดอยูกับภาชนะหรือติดอยู ขางรถ - ชื่ อ บริ ษั ท ขนส ง และหมายเลขโทรศั พ ท ฉุกเฉินที่ติดอยูขางรถ - มี เ พลิ ง ไหม ห รื อ สารเคมี รั่ ว ไหลหรื อ ไม โดยใหสังเกตจากกลุมควันหรือกลิ่น - มีผูบาดเจ็บหรือไม - สภาพแวดลอมใกลเคียง เชน อยูใกลกับ โรงเรียน ชุมชน โรงพยาบาล เปนตน

สารที่ระเบิดได้

สารไวไฟ

สารมีฤทธิ์ระคายเคือง

๓. อยาจอดรถในที่ที่เปนทางผานของสารที่ รั่วไหล อยาขับรถผานกลุมควันสารเคมีและใหระลึก อยูเสมอวายานพาหนะเปนแหลงกําเนิดประกายไฟ อาจจะทําใหสถานการณเลวรายยิ่งขึ้น ๔. ถ า พบว า มี ก ารรั่ ว ไหลของสารเคมี ล ง ท อ ระบายน้ํ า คู ค ลอง ควรแจ ง ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม แก หนวยงานที่รับผิดชอบตอไป ๕. หามเหยียบย่ําบนสารเคมีที่รั่วไหล ๖. ห า มเป ด ท า ยรถของยานพาหนะที่ ประสบภัยเนื่องจากอาจมีไอระเหยของสารเคมีที่ มีค วามเข ม ขน สูง รั่ ว ไหลออกมาอี ก อาจทํา ใหเ กิด อันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได

สารกัดกร่อน

สารกัมมันตภาพรังสี

สารออกซีไดช์ซิ่ง (ช่วยให้ไฟลุก)

สารพิษ

สารอันตราย

สารที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม


๗. หามทําใหเกิดประกายไฟใดๆ ในบริเวณ จุ ด เกิ ด เหตุ เนื่ อ งจากอาจจะมี ไ อระเหยของสาร บางชนิดที่ติดไฟไดในบริเวณนั้น ๘. ถาทําไดใหกั้นเขตอันตรายในเบื้องตน ไวกอน ในรัศมีประมาณ ๗๕ เมตร เพื่อความปลอดภัย ของผู อื่ น และเพื่ อ ให เ ป น พื้ น ที่ ที่ เ พี ย งพอสํ า หรั บ เจา หนา ที่ปฏิ บัติการฉุก เฉิ น ที่ จ ะเข า มาระงับเหตุ ในภายหลัง แตถามีไฟไหมดวยใหเพิ่มระยะกั้นเขต อันตรายเปน ๑๕๐ เมตร แตการกั้นเขตนี้เจาหนาที่ ที่ปฏิบัติงานอาจเปลี่ยนแปลงไดตามสถานการณ ๙. ป ด การจราจรผ า นจุ ด เกิ ด เหตุ แ ละ แจ ง เตื อ นประชาชนให เ ตรี ย มอพยพเคลื่ อ นย า ย จากบริเวณที่กลุมกาซหรือไอระเหยของสารเคมีที่ หนาแนนเคลื่อนที่ผาน (อันนี้เปนหนาที่ของเจาหนาที่ หรือทีมงานปฏิบัติการฉุกเฉินของบานเมือง) จากบทความจะเห็นไดวา ไมวาจะเปนการ กอ การรา ยด ว ยอาวุ ธ ที่ มี อานุ ภาพทํา ลายล า งสู ง (WMD) หรือเกิดจากอุบัติภัยจากสารเคมีหรือวัตถุ อั น ตราย ซึ่ ง หากเกิ ด ขึ้ น แล ว ล ว นแต ส ร า งความ เสี ย หายกับ ชีวิ ต และทรัพ ย สิน ของประชาชนเป น จํานวนมาก และยังสรางความตื่นตระหนกหวาดกลัว ใหกับประชาชนอีกดวยรัฐบาลเองก็ตองเสียงบประมาณ คาใชจายในอันที่จะตองเยียวยารักษาฟนฟูสิ่งตางๆ ใหกลับมาสูสภาพปกติเปนจํานวนมาก เหตุการณ ตางๆ เหลานี้ลวนแลวแตไมมีใครอยากใหเกิดขึ้น แต เ หตุ ก ารณเ หล า นี้ จ ะไม เ กิ ดขึ้น เลยหรือ เกิดขึ้ น ก็สามารถแกไขหรือรองรับสถานการณในเบื้องตน ไดจนทําใหเหตุการณไมลุกลามบานปลายใหญโต ขึ้นในภายหลัง ถาพวกเราทุกคนรวมมือชวยเหลือ

เปนหูเปนตาใหกับเจาหนาที่บานเมืองหรือหนวยงาน ของตนเอง สังคมของเราก็จะปลอดภัย สํ า หรั บ หน ว ยงานของกองทั พ อากาศที่ มี เจ า หน า ที่ ค อยดู แ ลและรั บ ผิ ด ชอบในด า นนี้ คื อ แผนกปฏิบัติการนิวเคลียร ชีวะ เคมี กองวิทยาศาสตร ศูนยวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีการบินและ อวกาศ กองทัพอากาศ ซึ่งเจาหนาที่ของเราพรอมที่ จะปฏิบัติงานเพื่อใหเกิดความปลอดภัยไมวาจะเปน ในเรื่ อ งของการก อ การร า ยด ว ยอาวุ ธ อานุ ภ าพ ทําลายลางสูง (WMD) สารเคมี สารชีวะ หรือสาร กัมมันตรังสี หรือเกี่ยวกับอุบัติภัยจากสารเคมีและ วัตถุอันตราย ซึ่งหากเกิดเหตุการณขึ้นในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของกองทัพอากาศก็สามารถแจงเหตุไดที่ ศปก.ทอ. ๐๒-๕๓๔๑๗๐๐ หรือ ศปรภ.ดอนเมือง ๐๒-๕๓๔๕๔๖๑ และที่ ศวอ.ทอ. ๐๒-๕๓๔๘๙๐๙ สําหรับหนวยงานรับผิดชอบในทองที่เกิดอุบัติเหตุ อื่นๆ ก็สามารถโทรเบอรฉุกเฉินไดดังนี้ - เกิดเหตุใน กทม. โทร ๑๙๙ - ศูนยอุบัติภัย กทม. โทร ๑๕๕๕ - กรมควบคุมมลพิษ โทร ๑๖๕๐, ๐๒-๒๙๘๒๔๐๔ - ตํารวจทางหลวง โทร ๑๑๙๓ - ตํารวจทางดวน โทร ๑๕๔๓ - เหตุเกี่ยวกับสารกัมมันตรังสี ในเวลาราชการแจง สนง.ปรมาณูเพื่อสันติ โทร ๐๒-๕๙๖๗๖๙๙ นอกเวลาราชการโทร ๐๘๙-๒๐๐๖๒๔๓ หวังเปนอยางยิ่งวาทุกทานคงจะพอไดรับ ความรู บ า งไม ม ากก็ น อ ยและได รู จั ก หน ว ยงาน


ในกองทัพอากาศของเราที่ดูแลรับผิดชอบในเรื่องที่ เกี่ยวกับอาวุธทําลายลางสูง (WMD) และเรื่อง อุ บั ติ ภั ย จากสารเคมี แ ละวั ต ถุ อั น ตราย ถึ ง แม ว า เราจะมี ค วามพร อ มที่ จ ะปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ให กองทัพอากาศเกิดความปลอดภัยจากสารเคมี ชีวะ ธรรม

และสารกัมมั น ตรั ง สีเ พีย งใดก็ต าม เราก็ไมอยาก ให เ กิ ด เหตุ ก ารณ เ หล า นี้ ใ นเขตรั บ ผิ ด ชอบของ กองทั พ อากาศ เพราะถ า ไม มี เ หตุ ก ารณ เ หล า นี้ เกิดขึ้นในเขตกองทัพอากาศก็แสดงวากองทัพอากาศ ของเรานั้นยังเปนเขตที่ปลอดภัยที่สุด แอนฟิลด์

หลังจากที่พวกเราชาว ทอ. ไดทํางานกันมาอยางเหน็ดเหนื่อย วันนี้กระผมขอนํา เว็บไซตดีๆ ที่ชวยใหเราๆ ทานๆ ไดผอนคลายหายรอน รับรองวาหากลองคลิ๊กเขาไปดู ในเว็บไซตแลว เราจะรูวาในประเทศไทยยังมีสิ่งดีๆ อีกมากมาย เว็ บ ไซต นี้ คื อ http://thai.tourismthailand.org เป น เว็ บ ไซต ข องการ ทองเที่ยวแหงประเทศไทย ซึ่งในเว็บไซตนี้ เราสามารถทราบไดวาจังหวัดไหนมีอะไร นาสนใจ รวมไปถึงที่พักและรานอาหารที่ขึ้นชื่อของจังหวัดนั้น อีกทั้งยังบอกเสนทาง การเดินทางพรอมสภาพดินฟาอากาศใหเราไดทราบอีกดวย และที่สําคัญในหนาแรก ของเว็บไซต ยังบอกถึงเทศกาลหรือประเพณีสําคัญที่จัดในเดือนนั้นๆ อีกดวย ลองเขาไป ดูนะครับ แลวจะรูวาเมืองไทยยังมีดีอีกมากมาย "


ปชส.สวบ.ทอ.

พล.อ.ต.ธีระภาพ เสนะวงษ์ ผอ.สวบ.ทอ.

น.อ.บริบูรณ์ ไทยานันท์ รอง ผอ.สวบ.ทอ.

M ประวัติเวชศาสตรการบินในประเทศไทย ในป พ.ศ.๒๔๗๘ กรมอากาศยานไดแยกตัวออกจากกองทัพบกเปนกรมทหารอากาศและไดมีการ จัดตั้งหมวดเสนารักษขึ้นปฏิบัติหนาที่ตรวจคัดเลือกและตรวจสมรรถภาพนักบินและไดจัดสงแพทยไปศึกษา ดูงานดานเวชศาสตรการบินจาก ประเทศในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ในปตอมาเมื่อกรมทหารอากาศได ยกฐานะขึ้นเปนกองทัพอากาศ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ นั้น หมวดเสนารักษ ไดรับการปรับฐานะขึ้น เปน “กองเสนารักษกองทัพอากาศ” กองเสนารั ก ษ ก องทั พ อากาศได รั บ การปรั บ ฐานะขึ้ น เป น กรมแพทย ท หารอากาศ เมื่ อ วั น ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๑ และมีการจัดตั้ง “แผนกที่ ๔” ขึ้น ใหมีหนาที่รับผิดชอบงานเวชกรรมการบิน เปนการเฉพาะ ซึ่งวันนี้ถือไดวาเปนวันกําเนิดของหนวยงานเวชศาสตรการบินในประเทศไทย ตอมากิจการ เวชศาสตรการบินมีความเจริญรุดหนาไปเปนอยางมาก โดยแผนกที่ ๔ ไดรับการยกฐานะเปน “กองเวชกรรม การบิน” เมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๔ และไดรับการสนับสนุนตามโครงการชวยเหลือทางทหารของ สหรั ฐ อเมริ ก า ทํ า ให ไ ด รั บ ทั้ ง อุ ป กรณ แ ละโอกาสในการเข า รั บ การศึ ก ษาอบรมหลั ก สู ต รต า งๆ ของ กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา


กองเวชศาสตรการบินไดรับการยกฐานะเปน “สถาบันเวชศาสตรการบิน” สังกัด กรมแพทย ทหารอากาศ เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๙ ตอมาตามพระราชกฤษฏี ก าแบ ง ส ว นราชการและกํ า หนดหน า ที่ ข อง สวนราชการกองทัพอากาศ กองทัพไทย กระทรวง กลาโหม พ.ศ.๒๕๕๒ ซึ่งอาศัยอํานาจตามความใน พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการ กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ ไดจัดโครงสรางสวนราชการกองทัพอากาศ ใหม ใหสถาบันเวชศาสตรการบินเปนหนวยขึ้นตรง กองทั พ อากาศอยูใ นส ว นกิ จ การพิเ ศษ ตั้ ง แต วั น ที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๒ เปนตนไป โดยกองทัพอากาศกําหนดให วันที่ ๑ เมษายน เปน วันสถาปนาสถาบัน เวชศาสตรการบินกองทัพอากาศ สถาบันเวชศาสตรการบินกองทัพอากาศ ดําเนินการปฏิบัติภารกิจ โดยแบงเปน ๑. การตรวจและควบคุมสุขภาพผูทํ าการในอากาศ มีการตรวจสุขภาพเพื่อคัดเลือก การตรวจ สุขภาพเปน ประจําตามระยะเวลา ตลอดจนการใหการรักษาพยาบาลและติ ดตามผลการรักษาที่ถูกตอง เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อประสิทธิผลและความปลอดภัยของภารกิจการบินนั่นเอง

๒. การฝกอบรมสรีรวิทยาการบิน ใหความรู ฝกอบรม และไดรับประสบการณแกผูปฏิบัติงาน ในอากาศและผู เ กี่ ย วข อ ง รวมถึ ง ผลกระทบที่ มี ต อ การทํ า งานของร า งกายมนุ ษ ย อั น เนื่ อ งมาจาก สภาพแวดลอมในการบิน รวมทั้งวิชาการดานการแพทยที่เกี่ยวของ


๓. การชวยเหลือกูภัยผูประสบภัยจากอากาศยานอุบัติเหตุ ไดจัดเตรียมบุคลากรและอุปกรณ เพื่อรองรับสถานการณดังกลาวไดพรอมตลอด ๒๔ ชั่วโมง ในเขตที่ตั้ง อีกทั้งยังจัดใหมีชุดชวยเหลือ-กูภัย ผูประสบภัยจากอากาศยานอุบัติเหตุ เคลื่อนที่ไปยังสถานที่ที่มีความตองการและตามสถานการณอีกดวย

๔. การลํ า เลี ย งผู ป ว ยทางอากาศ เป น การเคลื่ อ นย า ยผู ป ว ยไปรั บ การรั ก ษาพยาบาลยั ง สถานพยาบาลที่มีความเหมาะสมและมีขีดความสามารถสูงกวาอยางรวดเร็วและปลอดภัย ทั้งในกิจการ ทางทหารอันเปนการบาดเจ็บจากการสูรบและกิจการทางพลเรือน หรือผูประสบภัยจากอุบัติภัยขนาดใหญ ของประเทศหลายครั้งที่ผานมา ๕. การผลิตบุคลากรดานเวชศาสตรการบิน โดยการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ใหมีความรู ความชํานาญในหลักสูตรตางๆ เชน หลักสูตรแพทยเวชศาสตรการบิน หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลเวชศาสตรการบิน หลักสูตรสรีรวิทยาการบิน ๖. การสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ โดยเปนสวนหนึ่งของคณะกรรมการสอบสวนอากาศยาน อุบัติเหตุของ ทอ. ในการหาสาเหตุที่เกี่ยวของกับดานการแพทย


ประชุมวิชาการ “การลําเลียงผูปวยทางอากาศ ในสถานการณฉุกเฉิน”

การเดินทางไปรับผูปวย ณ ประเทศมาเลเซีย


ปชส.บน.๗ จากการตอนรับอยางอบอุนของชาวสีเทาทหารอากาศ ทานผูมีเกียรติ ตลอดจนสื่อมวลชนทุกแขนง ตอเครื่องบิน SAAB AEW/B จํานวน ๒ ลํา ที่บินเดินทางมาถึงสนามบินกองบิน ๗ สุราษฎรธานี ดวยความ ปลอดภัย เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓ และเครื่องบิน Gripen 39 C/D จํานวน ๖ ลํา ที่บินลัดฟาจาก ประเทศสวีเดน มาถึงกองบิน ๗ หลังวันสถาปนากองบิน ๗ ครบรอบ ๒๙ ป เพียงสัปดาหเดียว คือในวันอังคาร ที่ ๒๒ ก.พ.๕๔ ซึ่งเปนไปตามโครงการจัดหาเครื่องบินขับไลอเนกประสงคที่ทันสมัยทดแทนเครื่องบินขับไล แบบที่ ๑๘ ก/ข (F-5 B/E) ในระยะที่ ๑ จํานวน ๖ เครื่อง พรอมอะไหล อุปกรณ การฝกอบรม การจัดเตรียม โครงสรางพื้นฐาน และอาคารสถานที่ ระหวางป ๒๕๕๑ ถึงป ๒๕๕๕ วงเงินรวมทั้งสิ้น ๑๙,๐๐๐.- ลานบาท โดยใชงบประมาณของกองทัพอากาศที่ไดรับการจัดสรรตามปกติ ประจําป นั้น


พลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ ผูบัญชาการทหารอากาศ ใหการตอนรับนักบินและเครื่องบิน Gripen 39 C/D จํานวน ๖ เครื่อง ของกองทัพอากาศตามโครงการจัดซื้อเครื่องบิน Gripen 39 C/D ระยะที่ ๑ เดินทางถึงประเทศไทย เมื่อคืนวันอังคารที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ ณ ฝูงบิน ๗๐๑ กองบิน ๗ จังหวัดสุราษฎรธานี นาวาอากาศโท จักรกฤษณ ธรรมวิชัย ผูบังคับฝูงบิน ๗๐๑ กองบิน ๗ กลาวถึงภารกิจภายหลัง จากที่เครื่องบิน Gripen 39 C/D ของกองทัพอากาศ เดินทางมาถึงกองบิน ๗ สุราษฎรธานีวา ในชวง ๒-๓ สัปดาหแรก เจาหนาที่ของกองทัพอากาศที่ผานการ ฝกอบรมการซอมบํารุงเครื่องบิน Gripen 39 C/D ใน หลักสูตร Gripen Type Conversion Course (GTCC) และการฝกงานในหนาที่ On-The-Job Training (OJT) จากประเทศสวีเดน จะเขาทําการตรวจสอบการทํางาน ของอุปกรณและระบบตางๆ ทั้งอุปกรณที่ ติดตั้งอยูบน ตั ว เครื่ อ ง และอุ ป กรณ ส นั บ สนุ น ภาคพื้ น ก อ นที่ จ ะ ทดสอบการทํางานของระบบทั้งหมดที่ภาคพื้น (System Check & Ground Test) เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการ ดังกลาว นักบินจะทําการทดสอบ Taxi บนทางขับ และ การทดสอบ High-Speed Taxi บนทางวิ่ง เพื่อตรวจสอบ ขั้นสุดทายกอนที่จะทําการบินจริงในเที่ยวแรก ในสวนของนักบิน นั้ น จะเข ารั บการฝ กอบรม ภาควิชาการและการฝกบิน ในเครื่ อ งฝ ก บิ น จํ า ลอง Mission Trainer (MT) เพื่อ เตรียมความพรอมสําหรับ การทําการบิน โดยในวัน อังคารที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เครื่องบิน Gripen 39 C/D ของกองทั พอากาศ ได ขึ้ น


ทําการบินเปนเที่ยวแรกจากสนามบินกองบิน ๗ อันเปนการเริ่มตนกระบวนการในการทดสอบภาคอากาศ (Functional Check & Flight Test) ซึ่งคาดวาจะเสร็จสิ้นไดภายในตนเดือนเมษายน Ê การทําการบินครั้งแรกของเครื่องบิน Gripen 39 D ณ กองบิน ๗ จังหวัดสุราษฎรธานี เครื่องบิน Gripen 39 D หมายเลข ๗๐๑๐๔ วิ่งขึ้นจากสนามบินกองบิน ๗ สูทองฟาปกษใต ในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๐๑๐ และกลับมาลงสนามในเวลา ๑๑๑๑ โดยมี นาวาอากาศโท จักรกฤษณ ธรรมวิ ชั ย ผู บั ง คั บ ฝู ง บิ น ๗๐๑ เป น นั ก บิ น นั บ เป น อี ก หนึ่ ง หน า ประวั ติ ศ าสตร ก ารบิ น ที่ สํ า คั ญ ของ กองทัพอากาศ พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง เสนาธิการทหารอากาศ ในฐานะประธานกรรมการบริหาร โครงการจัดซื้อเครื่องบิน GRIPEN 39 C/D เปนผูแทนกองทัพอากาศ พรอมดวยนายทหารชั้นผูใหญใน โครงการใหการตอนรับคณะนักบินและลูกเรือ เครื่องบิน SAAB 340 AEW และ SAAB 340 B เมื่อวันจันทร ที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓ ณ บริเวณลานจอดเครื่องบินหนาอาคารสนับสนุนการบิน กองบิน ๗ สุราษฎรธานี

น.ท.นภรักษ แสงเงิน ผูบังคับฝูงบิน ๗๐๒ กลาวถึง การปฏิบัติภารกิจของ ฝูงบิน ๗๐๒ หลังจาก เครื่องบิน Saab 340 B/AEW เดินทางเขาที่ตั้ง กองบิน ๗ เรียบรอยแลว ฝูงบิน ๗๐๒ ไดเริ่มเตรียมความพรอม ในด า นต างๆ เพื่ อให สามารถปฏิ บัติภารกิ จตามที่ ไดรั บมอบหมายได โดยในช วงเดื อน ม.ค.-มี .ค.๕๔ นั้ น ฝู งบิ น ๗๐๒ มี ภารกิ จที่ สํ า คัญ ๒ ประการ คื อ ประการแรกนั้ น นั ก บิน ของ ทอ. ไดทํ า การฝ ก บิ น Final Route/AEW Training กับครูการบินของบริษัท Saab และครูการบินของกองทัพอากาศสวีเดน ซึ่งการบิน ดังกลาวเปนการฝกบินตอเนื่องจากการฝกบินในประเทศสวีเดน โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหนักบินมีความชํานาญและมีประสบการณในการทําการบินกับเครื่องบิน Saab 340 B/AEW เพิ่มมากขึ้น ภารกิจที่สําคัญอีกอยางหนึ่งหลังจากที่เครื่องบิน Saab 340 AEW เดินทางถึงประเทศไทยแลว คือการทดสอบระบบตางๆ ของเครื่องบิน Saab และการทดสอบการทํางานรวมกับอุปกรณตางๆ ที่


กองทัพอากาศจัดหามาในโครงการฯ จัดซื้อเครื่องบิน Gripen และหลังจากทําการฝกบินกับนักบินของ ประเทศสวีเดนเสร็จแลวนักบินของฝูงบิน ๗๐๒ จะทําการฝกบินตามระเบียบการฝกบินของฝูงบินตอไป จากการปฏิบัติการดังกลาว จะทําใหเครื่องบิน Gripen 39 C/D ทั้ง ๖ เครื่อง มีความพรอม ปฏิบัติการไดภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๔ และสอดคลองกับแผนการปลดประจําการของเครื่องบิน F-5 ที่กองบิน ๗ จังหวัดสุราษฎรธานี พรอมกันนี้ขีดความสามารถการแจงเตือนในอากาศ หรือ Early warning ระบบควบคุมและสั่งการ พรอมระบบ Data link ซึ่งกองทัพอากาศไดรับมอบเพิ่มเติม จะชวยเสริม ขี ด ความสามารถของกองทั พ อากาศในภาคใต ใ ห มี ขี ด ความสามารถเท า เที ย มกั บ ประเทศรอบบ า น ตามยุทธศาสตรการปองกันประเทศ

ปจจุบนั กองบิน ๗ มีผูบังคับบัญชา ประกอบดวย - น.อ.สฤษดิพ ์ ร สุนทรกิจ - น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์ - น.อ.ธัชชัย อัจฉริยาการุณ - น.อ.สมใจ ชัยวงษ

ผบ.บน.๗ รอง ผบ.บน.๗ (๑) รอง ผบ.บน.๗ (๒) เสธ.บน.๗

วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ ที่ผานมา เปนวันคลายวันสถาปนากองบิน ๗ ครบรอบ ๒๙ ป ณ ที่ตั้ง อ.พุนพิน จ.สุราษฎรธานี เปนปที่ชาวกองบิน ๗ มีความสุขมากที่สุดที่ไดมีโอกาสตอนรับทั้งเครื่องบิน SAAB AEW/B และเครื่องบิน Gripen 39 C/D ซึ่งตอจากนี้ไป เมื่อไดทําการฝกนักบินจนมีขีดความสามารถ เพียงพอ ก็พรอมจะปฏิบัติภารกิจในการปองกันประเทศได เปนการสรางกําลังทางอากาศไวเปนรากฐาน ดานความมั่นคงใหมีอยางตอเนื่อง และจะเปนประโยชนแกประเทศชาติ ในการรักษาอํานาจอธิปไตยให มั่นคง ยั่งยืนตอไป


น.อ.หญิง รศ.ดร.ทิพยรัตน สีเพชรเหลือง

“สืบสานปณิธานสู่การดํารงความเป็นสถาบันที่ทรงคุณค่าและสง่างาม” โรงเรียนนายเรืออากาศไดกอตั้งขึ้นจากวิสัยทัศนอันกวางไกลของบุพการีกองทัพอากาศ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ ที่ไดเล็งเห็นวาในการพัฒนากําลังทางอากาศของชาติใหเขมแข็งนั้น จะตองมีโรงเรียน นายเรืออากาศเปนสําคัญ ดังนั้น นับตั้งแตเริ่มกอตั้งขึ้นที่ตึกเหลือง (ปจจุบันเปนที่ตั้งกรมสวัสดิการทหารอากาศ) เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๔๙๖ เปนตนมา โรงเรียนนายเรืออากาศได ผ ลิ ต นายทหาร สัญญาบัตร เพื่อเปนกําลังพล หลัก ให กับหนว ยงานต า งๆ ของกองทั พ อากาศ รวม ทั้ ง สิ้ น ๖,๔๕๕ คน โดยที่ กําลังพลดังกลาวนี้ นอกจาก ปฏิบัติหนาที่ในกองทัพอากาศ แล ว ส ว นหนึ่ ง ยั ง ได อ อกไป ปฏิ บั ติง านและสร า งประโยชน ใ ห กั บ ประเทศชาติ ใ นหน ว ยงานต า งๆ ทั้ ง ของภาครั ฐ ภาคเอกชน และ รัฐวิสาหกิจ อยางตอเนื่อง จึงกลาวไดวาตลอดชวงระยะเวลา ๕๘ ปที่ผานมา โรงเรียนนายเรืออากาศไดดํารงภารกิจในการฝก ศึกษาอบรมใหกับนักเรียนนายเรืออากาศ เพื่อเปนนายทหารสัญญาบัตรที่มีคุณภาพ มีความรู มีคุณธรรม


มีความเปนผูนํา และเปนทหารอากาศอาชีพอยางแทจริง โดยมีการพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงาน อยูเสมอเพื่อใหตอบสนองนโยบายของรัฐ และกองทัพ ตลอดจนกาวทันตอการเปลี่ยนแปลงในยุคตางๆ ที่เกิดขึ้น ดังเชนในปจจุบัน ในดานการบริหารจัดการ โรงเรียนนายเรืออากาศไดมุงมั่นพัฒนาสูการเปน “Smart Academy” ซึ่งหมายถึง การเปนองคกรที่มุงเนนคุณภาพ ดวยการใชความรูและปญญาเปนฐาน ในการดําเนินงาน เพื่อใหโรงเรียนนายเรืออากาศเปนไปตามวิสัยทัศนที่วาดฝนไวคือ การเปน “สถาบันหลัก ในการผลิตผูนําและแหลงองคความรูดานการบินของชาติ”

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ โกมุทานนท ผบ.รร.นอ.

พล.อ.ต.วัธน มณีนัย รอง ผบ.รร.นอ.

พล.อ.ต.ถาวร มณีพฤกษ รอง ผบ.รร.นอ.

พล.อ.ต.อารมย ปถวี เสธ.รร.นอ.


เพื่อใหภาพแหงความฝนปรากฏขึ้นจริงอยางเปนรูปธรรม แนวคิดนโยบายการพัฒนา และแผนการ ปฏิบัติงาน จึงไดจัดทําขึ้นเพื่อรองรับวิสัยทัศนนี้ ดังที่ พลอากาศโท สฤษดิ์พงษ โกมุทานนท ผูบัญชาการ โรงเรียนนายเรืออากาศคนปจจุบัน ไดนําเสนอรูปแบบแนวคิดในการพัฒนาโรงเรียนนายเรืออากาศไว เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติงานใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนี้ ล้ําเลิศวิชาการ ลักษณะทหารดีเยี่ยม เปี่ยมคุณธรรม

นายทหารสัญญาบัตรที่สําเร็จ จากโรงเรียนนายเรืออากาศ

หล่อหลอมพัฒนา สง่า เท่ เป็นคนดี มีความรู้

นักเรียนนายเรืออากาศ

ฝกศึกษาอบรม “โรงเรียนนายเรืออากาศจะต้องเป็น สถาบันที่ทรงคุณค่าและสง่างาม”

โรงเรียนนายเรืออากาศ

จากรู ป แบบแนวคิ ด ดั ง กล า วจะเห็ น ได ว า เพื่ อ ให ไ ด น ายทหารสั ญ ญาบั ต รหลั ก ของกองทั พ ที่ พึงประสงคจะตองมีการหลอหลอมและพัฒนาตั้งแตยังเปนนักเรียนนายเรืออากาศ ใหมีคุณลักษณะสําคัญ คือ “สงา เท เปนคนดี มีความรู” หมายถึง การเปนผูที่มีความสงางามในภาพลักษณ บุคลิกภาพ และการ ปรากฏกายที่เหมาะสมกับเปนสุภาพบุรุษทหารอากาศ สามารถสรางความประทับใจกับผูพบเห็นทั้งในการ กระทําและความคิด เปนคนดี มีความประพฤติดี และมีความรูความสามารถในวิชาที่จะไปปฏิบัติงานเปน อยางดี อยางไรก็ตามในการมีคุณลักษณะนี้ไดนั้น นักเรียนนายเรืออากาศเองจะตองตระหนักวาตนเปน บุคคลสําคัญ เปนทรัพยากรที่มีคุณคาของกองทัพ จึงตองมีความสนใจใสใจกับการเรียนรูในทุกขั้นตอน ไมประมาท และทํางานดวยความรอบคอบไตรตรองอยางแทจริง จึงทําใหกระบวนการพัฒนานักเรียน นายเรืออากาศเปนไปอยางสมบรูณ การสรางใหเกิดคุณลักษณะดังกลาวกับนักเรียนนายเรืออากาศไดนั้นจุดเริ่มตนที่สําคัญไดแก “โรงเรียนนายเรืออากาศ” ที่จะตองสรางสรรคกระบวนการที่ถูกตอง เหมาะสม และทันตอยุคสมัยอยูเสมอ และที่ สํา คั ญ คื อ จะต องดํ า รงไว ซึ่ ง ปณิ ธ านหลั ก คื อ “โรงเรี ย นนายเรื ออากาศจะต องเป น สถาบั น ที่ ทรงคุณคาและสงางาม” ความมี “คุณคา” ของโรงเรียนนายเรืออากาศ ประกอบไปดวยสิ่งที่มีคุณคาหลายประการ ที่สําคัญคือ “ทรัพยากรอันทรงคุณคา” ทั้งดานบุคลากรครูอาจารยที่มีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะ สาขาวิชา การมีอุปกรณเครื่องมือและหองปฏิบัติการที่เหมาะสมและทันสมัย เชน อุโมงคลม เครื่องฝกบิน จําลอง เปนตน นอกจากนั้นคุณคานี้ยังอยูกับการเปน “แหลงรวมองคความรู” ทางวิชาการและเทคโนโลยี


ดานการบินและอากาศยานที่สําคัญของประเทศ ดังนั้น ศักยภาพของโรงเรียนนายเรืออากาศจึงไมเปนเพียง แคสอนให กับนั กเรียนนายเรืออากาศเทานั้น แต ยังสามารถสนั บสนุ นกองทัพ เหล าทัพ อื่น สังคม และ ประเทศชาติไดอีกดวย เชน การเปนโครงการนํารองในการวิจัยและพัฒนาใหกับกรมสายวิทยาการของ กองทัพ เปนตน สําหรับความ “สงางาม” นั้นไดแก การที่โรงเรียนนายเรืออากาศมีอาคารสถานที่และภูมิทัศนที่ สวยงาม เปนระเบียบเรียบรอย สะอาดสะอาน สงางามสมภาคภูมิกับการเปนสถาบันหลักหนึ่งเดียวของ กองทัพ ความสงางามนี้ยังปรากฏอยูที่ขาราชการ บุคลากร และนักเรียนนายเรืออากาศในหลายลักษณะ เชน การแตงกายเรียบรอยถูกระเบียบ ประพฤติตนตามวินัยทหาร การเปนแบบอยางที่ดีใหกับนักเรียน นายเรืออากาศ นอกจากนั้นความสงางามยังสะทอนออกมาจากความรูสึกภาคภูมิใจของทุกคนที่ไดมีสวน รวมปฏิบัติงานเพื่อพัฒนานักเรียนนายเรืออากาศ ซึ่งความภูมิใจนี้สามารถเกิดขึ้นไดกับบุคลากรทุกระดับ แมแตบุคลากรที่คอยอํานวยความสะดวกใหการบริการดานตางๆ กับนักเรียนนายเรืออากาศ ซึ่งมีความ ภูมิใจวาตนไดทําหนาที่สําคัญ เชน ไดทํากับขาว ซักผา ขับรถ หรือตัดผมใหกับนักเรียนนายเรืออากาศ ซึ่ง วันหนึ่งอาจเปนผูบัญชาการทหารอากาศหรือบุคคลสําคัญของกองทัพในอนาคต ความสงางามจากความ ภาคภูมิใจนี้จึงปรากฏออกมาขณะที่ปฏิบัติหนาที่ของตนนั่นเอง จากการดํารงปณิธานหลักของโรงเรียนนายเรืออากาศดังกลาวนี้ไว ทําใหผลผลิตที่ไดจากโรงเรียน นายเรืออากาศมีคุณลักษณะที่สําคัญคือ ล้ําเลิศวิชาการ ลักษณะทหารดีเยี่ยม เปยมคุณธรรม อันเปน คุณลักษณะที่แสดงถึงความพรอมในการเปนนายทหารสัญญาบัตรหลักของกองทัพ เปนกําลังทางอากาศ ของชาติที่เขมแข็ง เชนนี้สืบทอดกันมารุนตอรุนตราบเทาที่โรงเรียนนายเรืออากาศยังดํารงความสถาบันหลัก ในการผลิตกําลังพลใหกับกองทัพอากาศ

“จากปณิธานสืบสานสู่ความคิด สง่าเท่เป็นคนดีมีวิชาการ จากผู้ตาม พี่เลี้ยง ผู้นํา สู่ผู้บังคับบัญชา ขอเป็นแหล่งองค์ความรู้คู่สาขา อีกสถาบันผลิตผู้นําล้ําเกินใคร ยุทธศาสตร์อาจกําหนดตามสมัย

เพื่อผลิตนักรบฟ้าผู้กล้าหาญ ลักษณะทหารดีเยี่ยมเปี่ยมคุณธรรม เรืออากาศในวันนี้จึงกล้าแกร่ง อากาศยานและการบินถิ่นนภา จากวันวานวันนี้สู่อนาคต แต่สิ่งหนึ่งที่ควรคงดํารงไว้

นั่นคือให้

เรืออากาศเป็นสถาบันที่ทรงคุณค่าและสง่างาม...”


… คิดเชิงบวก (๑) ... ที่ บั น ไดทางขึ้ น ห า งสรรพสิ น ค า แห ง หนึ่ ง เด็กนอยแตงตัวมอมแมมนั่งอยูขางขันเลอะเทอะ ใบใหญ ที่มีเหรียญบาท ๓–๔ เหรียญ ขางๆ มีปาย กระดาษเขียนไววา ... กรุณาชวยผมดวย ผมตาบอด ... ชายวัยกลางคนเดินผานมา เขาลวงกระเปาหยิบ เศษเงินใสในขัน พรอมหยิบปายขึ้นมาพลิกดานหลัง เขียนขอความลงไป และวางไวที่เดิม หลายชั่วโมง ผานไป เขาเดินกลับมาอีกครั้ง พบวามีผูคนชวยกัน บริจาคเงินใหกับเด็กนอยมากมาย เด็กนอยจําเสียง เดินของเขาได จึงถามวาคุณลุงทําอยางไรหรือครับ จึงมีคนใหเงินผมเยอะเลย ลุงไมไดทําอะไรหรอก เพียงแตลุงเขียนขอความที่หนูอยากพูดไวที่ปายวา “วั น นี้ ค งเป น วั น ที่ ส ดใสงดงาม แต เ สี ย ดายผม ไมสามารถมองเห็นอะไรไดเลย” คุณลุงตอบ ขอสอนใจเราในเรื่องนี้ก็คือ แมความหมาย จะเหมื อ นเดิ ม ขอเพี ย งเรากล า ที่ จ ะคิ ด แตกต า ง ในเชิงบวก กลาที่จะเผชิญกับความเปนจริงในอีก

ดานหนึ่งของชีวิตดวยความหวัง จะมีคนจํานวนมาก ที่มีความรูสึกดีๆ ไปกับเราดวย เมื่ อ ได รั บ ความกรุ ณ าให เ ขี ย นเรื่ อ งลงใน หนังสือขาวทหารอากาศ โดยใหคิดชื่อคอลัมนเอาเอง ผู เขี ยนคิ ด ทบทวนอยู น าน ในที่ สุ ด ก็ ล งเอยกั บ ชื่ อ “ขอบฟาคุณธรรม” เพราะมีคําที่กลาวถึงฟา ซึ่งเกี่ยวของ กับทหารอากาศโดยตรง และคําวาคุณธรรมซึ่งเปน คํ า ที่ ยิ่ งใหญ จนมี วลี ที่ ว า “คุ ณธรรม ค้ํ าจุ นโลก” เพราะโลกใบนี้ทั้งใหญทั้งหนัก อะไรที่ค้ําจุนโลกได คงจะแข็งแรงมาก อีกประการหนึ่ง เวลานั่งเครื่องบินในระยะ สูงๆ เราก็จะมองเห็นแตขอบฟาเทานั้น เราบินเขาหา ขอบฟาอยูตลอดเวลา ผูเขี ยนจึง ไดเอาเปา หมาย ของคอลัมนนี้ติดไวที่ขอบฟาวา รูจักพอ ซื่อตรง รับผิดชอบ เพราะผูเขียนคิดเอาเองวา ถาคุณธรรม ค้ํ า จุ น โลกได จ ริ ง ๆ คํ า สามคํ า นี้ น า จะค้ํ า จุ น กองทั พ อากาศที่ เ รารั ก ได เ ป น อย า งดี คอลั ม น นี้ กําลังพาพวกเราทุกคนบินเขาหาขอบฟาคุณธรรม ดวยกัน


คงตองตกลงรวมกันกอนวา เรื่องราวที่จะ เกิดขึ้นใน คอลัมนนี้ในโอกาสตอๆ ไป จะมีหลักการ ที่สําคัญอยูสามประการ คือ < เป น เรื่ อ งราวที่ เ ราจะมองโลก และ ร ว มกั น คิ ด ถึ ง สิ่ ง ต า งๆ ในเชิ ง บวก เพราะมี เ รื่ อ ง เชิงลบที่เราตองพบเจอมากพอแลวในแตละวัน < เปนเรื่องดีๆ ที่เรามองไปขางหนา พรุงนี้ เดือนหนา ปหนา เปนหลัก เพราะเรามีอดีตที่ขมขื่น เยอะแลว ไมตองคิดถึงอนาคตที่ขื่นขมอีกก็ได < เป น เรื่ อ งที่ เ ราอยากจะแก ไ ขที่ ตั ว เรา ไมเอะอะโวยวาย โทษคนอื่น เพราะทุกครั้งที่เราชี้นิ้ว ไปโทษคนอื่นหนึ่งนิ้ว เราก็ชี้สามนิ้วโทษตัวเองอยูดี แลวจะไปแกไขคนอื่นทําไมใหเสียเวลา ผูเขียนเริ่มตนดวยหัวขอ คิดเชิงบวก ดวย เหตุผลวา การคิดเชิง บวก เป นกุ ญแจสํา คัญของ การเปลี่ยนแปลง กระบวนการคิดของมนุษย ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานการณ เมื่อมุมมองเปลี่ยนไป สิ่งตางๆ จะเปลี่ยนตาม เคยมี บริ ษัท ขายรองเท าแห ง หนึ่ง ประสบ ปญหายอดขายตกต่ํามาก ผูบริหารจึงสงเซลสแมน มื อ ดี ค นหนึ่ ง ไปที่ แ อฟริ ก าเพื่ อ บุ ก เบิ ก ตลาด แต ไมกี่สัปดาหหลังจากนั้น เขาไดรับรายงานวาไมคุมคา ที่จะลงทุนในตลาดนี้ เพราะผูคนมากกวาเกาสิ บ เปอรเซนตยังเดินเทาเปลา ไมใสรองเทา...แลวใคร จะซื้อ เจาของบริษัทไมมั่นใจในรายงานนัก จึงสง เซลสแมนหนาใหมคนหนึ่งไปดูอีกทีวาจริงหรือไม ที่มีคนไมใสรองเทามากมายขนาดนั้น ไมนานตอมา เขาไดรับรายงานวา เปนโอกาสทองของบริษัทเรา แลว เพราะมีคนมากกวาเกาสิบเปอรเซนตยังไมมี รองเทาใส ถาเราอธิบายถึงความจําเปนในการใส รองเทาใหเขาเขาใจ เราจะไดตลาดใหญมาก และ ธรรม

เราควรใชโอกาสนี้สร างชื่อยี่หอของเราดวย นี่คือ ที่มาของสัญลักษณเครื่องกีฬายี่หอหนึ่งที่โดงดังอยู ในโลกขณะนี้ บอยครั้งเราจะไดยินการสนทนาของเพื่อน ขาราชการเกี่ยวกับงานการบาง ขอของใจดานสวัสดิการ ตางๆ บาง การพิจารณาบําเหน็จ หรือ การโยกยาย บาง สารพัดเรื่องราวที่มีกองทัพอากาศเปนจําเลย ผูเขียนเคยถามตัวเองวา ผูเขียนควรจะจัดความคิด ในสมองผู เ ขี ย นอย า งไรดี ผู เ ขี ย นถึ ง จะทํ า งานได อยางมีความสุข และสนุกกับการทํางาน วั น หนึ่ ง ขณะนั่ ง รถไปทํ า งานด า นถนน พหลโยธิน ผูเขียนสังเกตวามีสถาบันการศึกษาของ กองทัพอากาศหลายสถาบัน ทั้งโรงเรียนจาอากาศ โรงเรียนผูบังคับหมวด โรงเรียนผูบังคับฝูง โรงเรียน เสนาธิการทหารอากาศ โรงเรียนนายทหารอากาศ อาวุโส วิทยาลัยการทัพอากาศ เลยมาอีกหนอยมี วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ และโรงเรียนนายเรือ อากาศ ตั้งอยูสองขางทางของถนนสายนี้ ทหารอากาศ ที่เปนนายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวน เกือบทุกคนตองเคยผานการศึกษาจากสถาบันเหลานี้ คนละสองหรือสามสถาบันหรือมากกวานั้น รวมทั้ง ตั ว ผู เ ขี ย นด ว ย แล ว สถาบั น เหล า นี้ ก็ ไ ม เ คยเก็ บ คาเลาเรียนจากใครเลย ผูเขียนลงรถเดินเขาไปที่ กองบัญชาการกองทัพอากาศ ที่ซึ่งจายเงินเดือนให ผูเ ขีย นและคนอื่น ๆ ครบถว นทุก เดือนไมเ คยขาด กองทัพอากาศใหความรู ใหปจจัยในการดํารงชีวิต กับผูเขียนตลอดมา ผูเขียนจึงตั้งใจวา ผูเขียนคงจะ ไม เ รี ย กร อ งอะไรจากกองทั พ อากาศอี ก พอแล ว ผูเขียนจะทํางานดวยความซื่อตรงและรับผิดชอบใน หน า ที่ ใ ห ดี ที่ สุ ด จะได แ ค ไ หนไม รู แต ผู เ ขี ย นจะ พยายาม


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒) (ตอจากฉบับที่แลว) ๕๘. เหรียญพระธาตุขามแกน สรางโดย ศิษย ทอ. เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๑ ลักษณะของ เหรี ย ญ เป น เหรี ย ญสี่ เ หลี่ ย มทรงกระบอกตั ด มุ ม ดานหนาเปนรูปพระธาตุขามแกน โดยมีรูปเทวดา ๒ องค อยู ทั้งสองขางของยอดพระธาตุ ขา งซา ย ของรู ป พระธาตุ ฯ มี ตั ว หนั ง สื อ “เมตตา กรุ ณ า” และขางซายมีตัวหนังสือ “มุทิตา อุเบกขา” สวน ขางลางมีตัวหนังสือ “พระธาตุขามแกน”

สําหรับดานหลังตรงกลางเปนรูปพระเจดีย โดยมี รู ป เทวดา ๒ องค อยู ทั้ ง สองข า งของยอด พระเจดี ย ข า งซ า ยของรู ป พระเจดี ย มี ตั ว หนั ง สื อ “ทาน ศี ล ” และข า งขวามี ตั ว หนั ง สื อ “สมาธิ ป ญ ญา” ส ว นข า งล า งมี ตั ว หนั ง สื อ “ศิ ษ ย ทอ. สรางถวาย ๑ ต.ค.๔๑” เหรี ย ญพระธาตุ ข ามแก น นี้ จั ด สร า งเป น ๒ เนื้อดวยกันคือ เนื้อทองเหลือง และเนื้อทองแดง รมดํา


๕๙. พระผงที่ ร ะลึ ก ครบรอบ ๙๙ ป ครูบาอิน สรางโดย ศิษย ทอ. เมื่อเดือนกุมภาพันธ ๒๕๔๓ ลั ก ษณะของพระเป น รู ป ไข เ นื้ อ ผงสี ข าว ดานหนาเปนรูปพระสังกัจจายนประทับบนดอกบัว รอบองคพระดานขางมีตัวหนังสือ “ที่ระลึกครบรอบ ๙๙ ป ครู บ าอิน อิ น โท วั ดฟ า หลั่ ง เชี ย งใหม กุ ม ภาพั น ธ ๒๕๔๓” และข า งล า งมี ตั ว หนั ง สื อ ธรรมชาติ

“ศิ ษ ย ทอ. สร า งถวาย” และที่ พิ เ ศษก็ คื อ ที่ดานหนาขององคพระ มีเสนเกศา และชิ้นจีวรของ ครูบาอิน อินโท ติดอยูดวย ส ว นด า นหลั ง ตรงกลางเป น รู ป นางกวั ก นั่งบนแทน โดยขางบนมีตัวอักขระลานนาโบราณ และขางลางมีตัวเลข “๔๙๙๙”

(อานตอฉบับหนา)


พ.อ.อ.จํานงค ศรีโพธิ์

(ตอจากฉบับที่แลว) ระบบอาวุ ธ อากาศ–สู –พื้ น ที่ จ ะนํ า มา ติดตั้งกับเครื่องบินขับไล JAS-39 C/D กองทัพอากาศ แอฟริ ก าใต ได มี ก ารพั ฒ นาชุ ด ประกอบนํ า วิ ถี Umbani Guidance Kit ซึ่งสามารถนําติดตั้งประกอบ เข า กั บ ระเบิ ด มาร ค 81 ขนาด 250 ปอนด ระเบิด มารค 82 ขนาด 500 ปอนด แ ล ะ ร ะ เ บิ ด ม า ร ค 83 ขนาด 1,000 ปอนด ซึ่งจะ ทํ า ใ ห ร ะ เ บิ ด ธ ร ร ม ด า กลายเป น ระเบิ ด นํ า วิ ถี ที่ มี ค วามแม น ยํ า สู ง และ สามารถร อ นไปโจมตี เ ป า หมายที่ อ ยู ห า งไกลถึ ง 120 กิโลเมตร หรือโจมตีเปาหมายที่อยูขางลาง เปนมุมตรงดิ่ง 90 องศา นักบินสามารถใชระเบิด นําวิถีติดตั้งชุดประกอบนําวิถี Umbani ตอเปาหมาย

ไดทุกสภาพกาลอากาศ และสามารถใชอาวุธไดทั้ง เวลากลางวันและกลางคืน Umbani เปนชุดประกอบนําวิถีราคาถูก ประกอบดวยระบบนําวิถี INS/GPS เหมือนกับ ระเบิดนําวิถี JDAM ของสหรัฐอเมริกา และถาหาก ตองการเพิ่มความแมนยําสามารถติดตั้งระบบนําวิถี

Imaging Infrared ; IIR ซึ่งมีขีดความสามารถจดจํา ภาพเปาหมายโดยอัตโนมัติ (Automatic Target Recognition ;ATR) และถาหากจะทําการใชอาวุธ ต อ เป าหมายระยะไกลสามารถเพิ่ ม ชุ ด ป ก


เพิ่ ม ระยะทางและเครื่ อ งยนต ขั บ เคลื่ อ นเพิ่ ม เข า กับระเบิด จะทําใหนักบินสามารถปลดอาวุธโจมตี เปาหมายที่อยูหางไกลออกไปถึง 120 กิโลเมตร ขึ้นอยูกับรูปแบบ (configuration) ของระบบอาวุธ

และถาหากติดตั้ง Extended Range (ER) Module นักบินจะสามารถปลดระเบิดนําวิถีเขาโจมตีเปาหมาย ที่อยูหางไกลออกไปถึง 200 กิโลเมตร ความแมนยํา ของระเบิดนําวิถี Umbani เมื่อใชการนําวิถีเขาสู เปาหมายดวยเลเซอรหรืออินฟราเรดจะตกหางจาก เปาหมายในรัศมีต่ํากวา 3 เมตร เครื่องบินขับไล Gripen สามารถใชระเบิดนําวิถี Umbani เพื่อโจมตี เป า หมายข า ศึ ก ในการปฏิ บั ติ กิ จ เฉพาะที่ สํ า คั ญ อาทิเชน - การตอตานทางอากาศเชิงรุก (Offensive Counter – Air) โจมตีโรงเก็บเครื่องบิน ทางวิ่ง และ เครื่องบินที่ลานจอด - การขั ด ขวางทางอากาศในพื้น ที่ ก ารรบ (Battlefield Interdiction) โจมตีที่ตั้งหนวยปองกัน

ภัย ทางอากาศ ฐานยิ งจรวดนํา วิถีพื้น –สู–อากาศ และหนวยสงกําลังบํารุง - การขั ด ขวางทางอากาศในพื้ น ที่ ก ารรบ ทางลึก (Deep battlefield interdiction) โจมตีอาคาร และโรงกลั่น - การสนับสนุน ทางอากาศโดยใกลชิด (Close Air Support) สนั บ สนุ น หน ว ยกํ า ลั ง พื้นดิน และการยิงของ ปนใหญสนาม ระเบิ ดนํ าวิ ถี Umbani เคยไดรับการ ทดสอบกั บ เครื่ อ งบิ น ขับไล cheetah และ Mirage F.1 โดยแผนงานทดสอบตอไปจะเปนการ ทดสอบกับเครื่องบินฝกไอพน แบบ ฮอวค 120 การพั ฒ นาระบบอาวุ ธ แบบใหม ข อง กองทั พ อากาศแอฟริ ก าใต โ ดยมี วั ต ถุ ป ระสงค จ ะ นํามาติดตั้งใชงานกับเครื่องบินขับไล JAS-39 C/D มีความลา ชา และมีคาใช จายในการพัฒ นาสูง ขึ้น รวมทั้งมีความยุงยากในการนํามาติดตั้งเนื่องจาก ไมใชระบบอาวุธมาตรฐานที่จะสามารถนํามาติดตั้ง กับเครื่องบินขับไล Gripen เหมือนกับกองทัพอากาศ ตางประเทศและกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศ สาธารณรัฐเชค และกองทัพอากาศฮังการี ซึ่งในอดีต ประจํ า การด ว ยเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล จ ากค า ยรั ส เซี ย ไดสั่งซื้อระบบจรวดนําวิถีอากาศ–สู–อากาศ และ อากาศ–สู –พื้ น มาตรฐานกองทั พ นาโตและ


กองทัพสหรัฐฯ มาติดตั้งใชงาน กั บ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล Gripen ในขณะที่ ก องทั พ อากาศไทย สามารถติดตั้งระบบอาวุธนําวิถี อากาศ–สู–อากาศ ที่มีอยูแล ว ไดเชนเดียวกัน แตกตางจากกรณี ของกองทั พอากาศแอฟริ ก าใต ซึ่งระบบอาวุธนําวิถีอากาศ–สู– อากาศ ที่มีติดตั้งใชงานอยูกับ เครื่องบินขับไล Cheetah C/D เปนระบบอาวุธที่แอฟริกาใตพัฒนาขึ้นมาใชงานเอง จึ ง ไม ส ามารถนํ า มาติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล Gripen และอาวุธบางแบบ อาทิเชน จรวดนําวิถี อากาศ–สู–อากาศ พิสัยปานกลาง แบบ R–Darter ระยะยิงไกล 60 กิโลเมตร มีขอมูลว าแอฟริกาใต พั ฒ นาขึ้ น มาโดยอาศั ย พื้ น ฐานและเทคโนโลยี จรวดนําวิถี แบบ Derby ของอิสราเอล ซึ่งปจจุบัน สถานภาพใกล จ ะหมดอายุ ก ารใช ง านแล ว และ กองทัพอากาศแอฟริกาใตไมมีโครงการจะนํามา ติดตั้งกับเครื่องบินขับไล Gripen C/D จึงขายใหกับ กองทัพอากาศบราซิลเพื่อนําไปติดตั้งกับเครื่องบิน ขับไล F-5M ดั ง นั้ น เพื่ อ การอุ ด ช อ งว า งในระหว า งที่ รอโครงการพั ฒ นาระบบอาวุ ธ ที่ จ ะนํ า มาติ ด ตั้ ง ใชงานกับเครื่องบินขับไล Gripen ใหเสร็จสมบูรณ กองทัพอากาศแอฟริกาใตจึงไดสั่งซื้อระบบอาวุธ จากตางประเทศเพื่อนําติดตั้งใชงานเปนการชั่วคราว โดยในป 2551 ไดสั่งซื้อจรวดนําวิถีอากาศ–สู– อากาศ พิสัยใกล แบบ IRIS–T จาก Diehl BGT Defence

IRIS-T ติดตั้งปลายปก

รวมทั้งไดจัดซื้อหมวกบิน Integrated HelmetMounted Display (IHMD) แบบ Cobra เพื่อให นักบินใชงานรวมกับจรวดนําวิถี IRIS-T ในการใช อาวุ ธ เข า ต อ ตี เ ป า หมายในอากาศได อ ย า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยกองทั พ อากาศแอฟริ ก าใต ไ ด รับมอบจรวดนําวิถีเมื่อป 2552 และเครื่องบิน Jas-39 C/D มีความพรอมในการปฏิบัติภารกิจดวย จรวดนําวิถีดังกลาวในปเดียวกัน สํ า หรั บ ระบบอาวุ ธ นํ า วิ ถี อ ากาศ–สู –พื้ น เมื่อ 2553 กองทัพอากาศแอฟริกาใตไดสั่งซื้อระบบ นําวิถีดวยเลเซอร แบบ Paveway II จากบริษัท Raytheon ประเทศสหรัฐฯ เพื่อนํามาติดตั้งเขากับ ระเบิ ด ขนาด มาร ค 82 ขนาด 500 ปอนด และ มารค 83 ขนาด 1,000 ปอนด เพื่อเปลี่ยนระเบิด ธรรมดาใหกลายเปนระบบอาวุธ “smart” เปน ระเบิดนําวิถี GBU–12 Paveway II ขนาด 500 ปอนด และ GBU-16 Paveway II ขนาด 1,000 ปอนด ตามลําดับ ระเบิดนําวิถี Paveway II เปนระบบอาวุธ ที่มีความแมนยําสูง ตกหางจากเปาหมายในรัศมี


3.6 ฟุตเทานั้น สําหรับการนําวิถีใหกับระเบิดนําวิถี ดวยเลเซอร Paveway II กองทัพอากาศแอฟริกาใต ไดจัดหากระเปาะชี้เปาแบบ Rafael Zeiss Litening III มาติดตั้งกับ Jas–39 C/D และในปนี้กําหนดจะไดรับ ระบบ Paveway II จากบริษัทผูผลิต บริษัท Saab ไดออกแบบและสรางเครื่องบิน ขับไล Gripen เพื่อตอบสนองความตองการของ กองทัพอากาศสวีเดนในการนํามาใชปฏิบัติภารกิจ ในบทบาทที่สําคัญ 3 ประการ ไดแก การบินรบใน อากาศ การโจมตี เ ป าหมายภาคพื้ น และการบิน ลาดตระเวนทางอากาศ ในบทบาทการบิ น ลาดตระเวนทางอากาศ กองทัพอากาศแอฟริกาใต สั่ ง ซื้ อ กระเปาะลาดตระเวนทางอากาศ แบบ Digital Joint Reconnaissance Pod (DJRP) จํานวน 4 กระเปาะ จากบริษัท Thales Optronics ประเทศอั ง กฤษเมื่ อ กรกฎาคม 2552 และได รั บ กระเปาะ DJRP ระบบแรกเมื่อตุลาคม 2553 เพื่อ นํามาติดตั้งทดสอบการใชงานกับเครื่องบินขับไล JAS-39 C/D

ในการแข ง ขั น ฟุ ต บอลโลกครั้ ง ล า สุ ด เมื่ อ ป 2553 ซึ่ ง แอฟริ ก าใต เ ป น เจ า ภาพ ระหว า ง เดื อ นมิถุ น ายน–กรกฎาคม 2553 ในช ว งเวลานั้ น กองทัพอากาศแอฟริกาใตไดรับมอบ JAS–39D 9 เครื่อง และ JAS-39C 6 เครื่อง เขาประจําการ Jas-39 C/D จํ า นวน 11 เครื่ อ ง และอากาศยานแบบอื่ น ๆ อี ก 40 เครื่อง ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ปองกันภัย ทางอากาศและรักษาความปลอดภัยในระหวางการ แข ง ขั น ฟุ ต บอลโลก ตามแผนยุ ท ธการที่ มี ชื่ อ ว า Operation Kgwele อากาศยานแบบอื่นๆ ที่เขารวม ปฏิบัติหนาที่ในการรักษาความปลอดภัยทางอากาศ ไดแก เครื่องบินฝกไอพน Hawk 120 12 เครื่อง เครื่องบินฝกใบพัด PC-7 MKII จํานวน 12 เครื่อง เฮลิคอปเตอร A109M จํานวน 14 เครื่อง และ เฮลิคอปเตอร BK 117 อีกจํานวนหนึ่ง ภัยคุกคามจากทางอากาศซึ่งอาจจะเกิดขึ้น ในชวงการแขงขันฟุตบอลโลก มาจากการจี้บังคับ เครื่องบินโดยสารเพื่อกอวินาศกรรมสนามกีฬาที่ใช แขงขันหรือเปาหมายอื่นๆ ถาหากเรดารตรวจพบวา มีอากาศยานบินออกนอก ภารกิจในการแขงขันฟุตบอลโลก เสนทางบินหรือพยายาม เล็ดลอดการตรวจจับของ เรดาร เ ข า มายั ง สนาม แข ง ขั น หรื อ เขตชุ ม ชน อากาศยานของ กองทัพ อากาศที่เ ข าร ว ม ปฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาความ ปลอดภั ย จะเข า สกั ด กั้ น แ ล ะ บั ง คั บ ใ ห เ ป ลี่ ย น


เสนทางบินโดยการพิจารณาวาจะใชอากาศยาน แบบขึ้นอยูกับภัยคุกคามที่จะเกิดขึ้น โดยเครื่องบิน ขับไล JAS-39C/D จะเขาสกัดกั้นพรอมติดตั้งอาวุธ ขึ้นไปดวย โดย JAS-39 C มีปนใหญอากาศและ จรวดนําวิถี แบบ IRIS-T และ JAS-39 D มีเฉพาะ จรวดนําวิถี แบบ IRIS-T บทบาทของ JAS-39 C/D ของกองทัพอากาศ แอฟริกาใต ใน Operation Kgwele ทําการบินปฏิบัติ ภารกิจลาดตระเวนรบรักษาเขต (Combat Air Patrol) ประมาณ 347 เที่ยวบิน เพื่อทําหนาที่รักษา ความปลอดภั ย ให กั บ การแข ง ขั น ฟุ ต บอลโลก 64 นั ด ผู บั ญ ชาการทหารอากาศแอฟริ ก าใต Lieutenant General Carlo Gagiano ไดพูดถึง ประสิทธิภาพของระบบเรดาร PS-05/A ของ เครื่องบินขับไล Gripen วา เปนเรดารที่มีประสิทธิภาพ ยอดเยี่ยม สามารถทําการตรวจจับอากาศยานทีบ่ นิ อยูในระดับเพดานบินระยะต่ําในพื้นที่ซึ่งพวกเขา คิดวาสามารถรอดพนจากการตรวจจับของเรดาร ภาคพื้นและเรดารของอากาศยาน นักบินจะรายงาน เปาหมายที่ตรวจพบไปยังศูนยรักษาความปลอดภัย ผานเครือขาย LINK ZA เพื่อเขาทําการสกัดกั้น มี ร ายงานว า ในช ว งการแข ง ขั น ฟุ ต บอลโลกที่ แอฟริกาใต ระบบปองกันภัยทางอากาศสามารถ ตรวจจับอากาศยานเปาหมายที่ไมยอมปฏิบัติตาม ธรรม

กฎการรั ก ษาความปลอดภั ย จํ า นวน 65 เครื่ อ ง ซึ่ง รวมถึงเครื่องบินโดยสารจํ า นวนหนึ่ง มี การส ง อากาศยานเขาทําการสกัดกั้น 51 เปาหมาย อากาศยาน 9 เครื่อง บินหนีไป ตํารวจรวบตัวนักบินที่ทําผิดกฎ ที่สนามบิน 43 คน ผู บั ญ ชาการทหารอากาศแอฟริ ก าใต กลาวถึงการพัฒนาระบบอาวุธสําหรับนํามาติดตั้ง กับเครื่องบินขับไล JAS-39 C/D วา กองทัพอากาศ แอฟริกาใตกําลังพิจารณาอาวุธนําวิถีอากาศ–สู– อากาศ พิสัยไกล แบบ Beyond Visual Range AAM (BVR) แตเนื่องจากคาใชจายในการดําเนินการ ติดตั้งเขากับเครื่องบินขับไลสูงมาก และงบประมาณ จํากัด จึงอาจจะเลือกจรวดนํ าวิถีอากาศ–สู–อากาศ ซึ่งสามารถติดตั้งกับเครื่องบิน Gripen ไดอยูแลว (อาทิเชน จรวดนําวิถี AIM–120 AMRAAM, Meteor) บริษัท Denel Dynamics กับบราซิลอยูระหวาง ทําการพัฒนาจรวดนําวิถี A-Darter ภายใตชื่อ โครงการ Project Assegaai และคาดหวังวาจะทํา การพัฒนาจรวดนําวิถี BVRAAM นําวิถีดวยเรดาร ขึ้ น มาใช ง านเอง ซึ่ ง รู จั ก กั น ในชื่ อ จรวดนํ า วิ ถี T–Darter กองทั พ อากาศแอฟริ ก าใต จ ะได รั บ มอบ เครื่องบินขับไล JAS-39 C/D ครบ ๒๖ เครื่อง ตาม จํานวนที่จัดหาเขาประจําการในป ๒๕๕๕ MM

ข้อมูลอ้างอิง : stratsisincite.wordpress.com/.../south-africas-airforce-becomes-more-lethal www.defenseindustrydaily.com/South Africa, Brazil to develop A-Darter SRAAM www.defenceweb.co.za/SAAF buys Thales pods for Gripen Umbani Precision-guided bomb kit


น.อ.ประยุทธ เปยมสุวรรณ กิ ว ลิ โ อ ดู เ อ เป น นายทหารที่ ช อบพู ด ตรงไปตรงมา กอนสงครามโลกครั้งที่ ๑ แมวาเขา จะเปนนายทหารปนใหญแตเขาก็ไดรับมอบหมาย ให เ ป น ผู บั ง คั บ บั ญ ชาในหน ว ยกํ า ลั ง ทางอากาศ คนแรกของอิต าลี ซึ่ง ในป ค.ศ.๑๙๑๑ ไดทํ า การ ทิ้ ง ระเบิ ด ทางอากาศครั้ ง แรกของโลกในลิ เ บี ย ในชวงสงครามโลกครั้งที่ ๑ กิวลิโอ ดูเอ ไดวิพากษ วิ จ ารณ ก ารปฏิ บั ติ ก ารของกองทั พ อิ ต าลี อ ย า ง รุ น แรง เป น เหตุ ใ ห เ ขาต อ งขึ้ น ศาลทหารและถู ก จําคุก อยางไรก็ตามในเวลาตอมา การสอบสวน เรื่องความพายแพที่คาโปเรทโตของกองทัพอิตาลี ได พิ สู จ น ว า ดู เ อ คิ ด ถู ก ต อ งและเขาก็ พ น จาก ขอกลาวหา หลังสงคราม ดูเอ ไดรับการแตงตั้งยศ เป น พลเอก และในป ค.ศ.๑๙๒๑ เขาได ตี พิ ม พ หนังสือเรื่อง “The Command of the Air” ซึ่งเขา ไดทํานายวา “สงครามในอนาคต การปองกัน (ตั้งรับ)

อาจจะถูกพิสูจนวามีประสิทธิภาพเหนือกวาการรุก และสงครามจะรุนแรงชั่วรายอีกครั้งในสงครามสนาม เพลาะ” ปญหานี้จะถูกแกไขไดดวยการกอตั้งเหลา ทหารอากาศที่ เ ป น อิ ส ระจากเหล า ทั พ อื่ น ซึ่ ง จะ ปฏิ บั ติ ก ารทิ้ ง ระเบิ ด ศู น ย ก ลางการผลิ ต และการ ขนส ง ของข า ศึ ก และทํ า ลายขวั ญ ของประชาชน อย า งกว า งขวางซึ่ ง จะทํ า ให ป ระชาชนบี บ บั ง คั บ รัฐบาลของพวกเขาใหเจรจาเพื่อสันติภาพ สิ่งนี้จะ บรรลุผลไดดวยเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ติดอาวุธอยางดี ที่จะปดกวาดปูเสนทางเขาสูเปาหมาย อีกฟากหนึ่งของมหาสมุทร บิลลี มิทเชล (ค.ศ.๑๘๗๙-๑๙๓๖) ซึ่งเปนผูปฏิบัติการทางอากาศ ของอเมริ กั น ในแนวรบตะวั น ตกช ว งสุ ด ท า ยของ สงครามโลกครั้งที่ ๑ ไดเรียกรองใหจัดตั้งกองกําลัง ทางอากาศที่ แ ข็ ง แกร ง บิ ล ลี มิ ท เชล มี ค วามคิ ด เปนของตนเอง กิวลิโอ ดูเอ เขียนหนังสือเปนภาษา


อิตาเลียนและตองใชเวลามากในการแปล อยางไร ก็ตาม เปนที่แนนอนวาการพัฒนาแนวความคิดการ ทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตรและเครื่องบินทิ้งระเบิด ขนาดหนั ก แบบ B-17 ได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากดู เ อ ในช ว งเวลานั้น เป น ช ว งที่ ก ารพั ฒ นาด า นการบิ น ก า วหน า มาก และก็ ถู ก ผลั ก ดั น เข า สู ก ารตลาด พลเรือนใหความสนใจมากเรื่องเครื่องบินโดยสาร ธรรม B-17

แตการออกแบบเครื่องบินทิ้งระเบิดและเครื่องบิน โดยสาร มีความแตกตางกันมาก ความตองการของ ทั้ ง สองแบบเหมื อ นกั น คื อ ต อ งการบรรทุ ก ให ไ ด น้ํ า หนั ก มากที่ สุ ด ที่ ค วามเร็ ว สู ง สุ ด พิ สั ย ไกลสุ ด สิ่ ง นี้ เ ป น การเริ่ ม ต น ที่ ดี เ รื่ อ งความต อ งการของ เครื่องบินทิ้งระเบิด ในชวงเวลานั้น เครื่องบินขับไล เปนแบบปกสองชั้นผิวปกเปนผาใบและที่นั่งนักบิน เปด สวนเครื่องบินโดยสารและเครื่องบินทิ้งระเบิด เปนแบบปกชั้นเดียว ลําตัวเปนโลหะ และสามารถ เก็บฐานลอได ในการฝกซอมรบที่มีขึ้นในสหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ.๑๙๓๔ เครื่องบินทิ้งระเบิดสามารถเจาะ ผานแนวปองกันเขาหาเปาหมายไดครั้งแลวครั้งเลา ในชวงเวลานั้น กอนที่เรดารจะถูกประดิษฐขึ้น ทุกคน มี ค วามรู สึ ก ว า เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล ค วรจะมี ค วามเร็ ว ที่เหนือกวาเครื่องบินทิ้งระเบิดประมาณ ๔๐-๕๐%

เพื่อที่จะสามารถไลตามเครื่องบินทิ้งระเบิดไดทัน แต ใ นช ว งเวลานั้ น เครื่ อ งบิ น ทิ้ ง ระเบิด มี ค วามเร็ ว ใกล เ คี ย งกั บ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล ที่ มี ป ก สองชั้ น ผิ ว ป ก ผาใบ การฝกซอมรบเปนการพิสูจนทฤษฎีของการ ทํ า สงครามว า สามารถกระทํ า ได จ ริ ง หรื อ ไม จ ริ ง และผลสรุ ป ของการโจมตี ส มมติ นี้ ก็ ค อ นข า งจะ ไมผิดพลาดคือ “เครื่องบินทิ้งระเบิดสามารถเจาะ ผานเขาไปไดเสมอ(Bomber could always get through)” ในเดือน พ.ย.๑๙๓๒ นายสเตนเลย บั ล ด วิ น อดี ต นายกรั ฐ มนตรี อั ง กฤษได ก ล า วใน สภาผูแทนราษฎรวา “ขาพเจาคิดวาผูคนในทองถนน ต า งรู ดี ว า ไม มี กํ า ลั ง ทางอากาศใดจะสามารถ ปกปองพวกเขาจากการถูกทิ้งระเบิดได เครื่องบิน ทิ้งระเบิดสามารถเจาะผานเขาไปไดเสมอ” สิ่ ง ที่ น า ประหลาดใจคื อ คํ า กล า วของ นายบัลดวิน มีผลในทางตรงขาม สองปหลังจากที่ เขาได ก ล า วเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งบิ น ทิ้ ง ระเบิ ด รั ฐ บาล อังกฤษไดแตงตั้ง “คณะกรรมาธิการทิซารด” เพื่อ สํารวจดานการปองกันทางอากาศ ผลลัพธที่ไดจาก การศึกษาอยางหนึ่งคือการก อตั้งเครือขายเรดาร และระบบบั ญชาการและควบคุมของกองบั ญชาการ เครื่องบินขับไล ซึ่งสุดทายก็สามารถทําใหอังกฤษ ปลอดภั ย จากการถู ก เยอรมั น ยึ ด ครองได สิ่ ง ที่ นาประหลาดใจอีกอยางคือทุกคนรูดีวากําลังทาง อากาศของฝ า ยเยอรมั น มี ข นาดใหญ โ ตเพี ย งใด ดังนั้นประชาชนจึงเรียกรองใหจัดหาเครื่องบินใหมี จํ า นวนที่ ทั ด เที ย มกั บ ฝ า ยเยอรมั น แต ป ระชาชน ไมเขาใจวาเครื่องบินทิ้งระเบิดกับเครื่องบินขับไล แตกต า งกั น อย า งไร พวกเขาเพี ย งต อ งการเรื่ อ ง


จํานวนที่มากกวา รัฐบาลอังกฤษรูดีวากองทัพอากาศ อังกฤษตกอยูในฐานะลําบากที่จะทําการทิ้งระเบิด สนามบิ น ทุ ก สนามบิ น และทุ ก เป า หมายที่ มี ค า ในเยอรมนี และดังนั้นจึงมีความคิดที่ดีกวาคือการ ผันเงินบางสวนมาปองกันอังกฤษจากการทิ้งระเบิด ของเยอรมัน และเนื่องจากเครื่องบินขับไลมีราคา ถูกกวาเครื่องบินทิ้งระเบิด จึงเปนการงายสําหรับ รัฐบาลอังกฤษที่จะทําใหชาวอังกฤษรู สึกมี ความ สุขใจและมีการปองกันประเทศที่สมบูรณ เยอรมั น พยายามทิ้ ง ระเบิ ด เป า หมายใน สเปนโดยไมมีการบินคุมกันและก็ไดเรียนรูวาตอง ลงทุนสูงมาก เมื่อสงครามโลกครั้ง ๒ เริ่มขึ้นอังกฤษ ไดพยายามปฏิบัติภารกิจทิ้งระเบิดในเวลากลางวัน และก็ตองพบกั บ การสู ญเสี ย อย า งหนัก สงคราม เกาะอั ง กฤษเป น การทิ้ ง ระเบิ ด ทางยุ ท ธศาสตร แมวาจะไมไดเล็งเปาหมายไปที่ขวัญของประชาชน ความคิดที่ยอดเยี่ยมมากคือเยอรมันพยายามที่จะ บีบใหเครื่องบินขับไลอังกฤษขึ้นมาตอสูบนทองฟา การทิ้ ง ระเบิ ด และการต อ สู ข องเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล จะสามารถทําลายกองบัญชาการเครื่องบินขับไล อังกฤษได หรืออยางนอยก็ทําใหออนแอลงได และ จากนั้นอังกฤษก็จะไมสามารถปองกันการรุกของ เยอรมั น ทางภาคพื้ น ได แม ว า ในทางทฤษฎี จ ะ เลิ ศ เลอแต ใ นทางปฏิ บั ติ ก ลั บ ไม เ ป น เช น นั้ น กองทั พอากาศเยอรมันใกลที่จะบรรลุวัตถุประสงค ที่ ตองการแล วแม ว า จะตอ งเสีย หายอย า งหนัก แต ความเสียหายอยางหนักที่ประสบอยูนั้นไมสามารถ ยอมรั บ ได และดั ง นั้ น เยอรมั น จึ ง ต อ งยกเลิ ก แผนการยึดครองเกาะอังกฤษ

เรื่ อ งราวความล ม เหลวของเยอรมั น ใน สงครามเกาะอั ง กฤษทํ า ให อ เมริ กั น เกิ ด ความคิ ด บางอยาง เยอรมันมีความคิดวาตองไดชัยชนะอยาง รวดเร็วในการทําสงครามภาคพื้นดิน นั่นหมายถึง การใชกําลังทางอากาศสนับสนุนภาคพื้นดินอยาง ใกล ชิ ด การบิ น ระดั บ ทิ้ ง ระเบิ ด ให ค วามแม น ยํ า ไมเพียงพอ ดังนั้นเยอรมันจึงเกิดความคิดเรื่องการ ดํา ลงทิ้ ง ระเบิ ด ซึ่ง เป น ความคิ ด ของ เออร เ นสท อู เ ด ซึ่ง ในเวลานั้น เขาดํา รงตํ า แหน ง ผูต รวจสอบ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล ในตอนเริ่ ม แรกความคิด ของเขา ไมไดรับความชื่นชมเทาไรนัก แตตอมาพลอากาศเอก วอลเทอร วี เ ยอร ผู บั ญ ชาการทหารอากาศ เยอรมั น คนแรก(ค.ศ.๑๙๓๓-๑๙๓๖)ก็ ย อมรั บ ความคิ ด นี้ แ ละเครื่ อ งบิ น สตู ก า(เจยู -๘๗)ก็ ถู ก สรางขึ้น แตพลอากาศเอกวีเยอรเปนนายทหารที่ เฉลีย วฉลาด เขารูดีวาจุดหมายปลายทางในการ ธรรม Ural Bomber

ขยายอํานาจของเยอรมันคือสหภาพโซเวียต และ ตองใชกําลังทหารเทานั้นไมใชการเมือง ใครก็ตามที่ ไดอานหนังสือ “Mein Kampf” ของฮิตเลอร จะได ขอสรุปที่เหมือนกันทุกคน แตพลอากาศเอกวีเยอร เขาใจมากกวาคนอื่น เขาเขาใจเรื่องการทหารที่ตอง เขาทําสงครามดวย อยางนอยก็เรื่องกําลังทางอากาศ ที่ จํ า เป น ต อ งมี เ ครื่ อ งบิ น ทิ้ ง ระเบิ ด พิ สั ย ไกล ซึ่ ง


เขาเรียกมันวา “เครื่องบินทิ้งระเบิดอูราล(Ural Bomber)” เครื่องบินทิ้งระเบิดยังสามารถปฏิบัติการ ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต อ อั ง กฤษทั้ ง การโจมตี โดยตรงและปฏิบัติการโจมตีเสนทางการสงกําลังบํารุงทางทะเล ดังนั้น จากป ค.ศ.๑๙๓๕ พลอากาศเอก วีเยอรไดพยายามพัฒนาการสรางเครื่องบินทิ้งระเบิด และทําสัญญากับบริษัทจุงเคอรและดอรเนียรเพื่อ พั ฒ นาเครื่ อ งบิ น เจยู -๘๙ (Ju-89)และ ดี โ อ-๑๙ (Do-19) สิ่งนี้เปนการกระทําที่ขัดแยงกับความคิด ของทั้งฮิตเลอรและพลอากาศเอกเกอริงผูซึ่งเชื่อมั่น ในเรื่องการใชกําลังทางอากาศสนับสนุนภาคพื้น อยางใกลชิดมากกวา อยางอื่น ตน ป ค.ศ.๑๙๓๖ เครื่อ งบิ น ต น แบบของทั้ ง เจยู -๘๙ และ ดี โ อ-๑๙ ก็เริ่มทําการบินแมวาเครื่องยนตจะมีกําลังที่ออน เกินไปและไมเหมาะสมที่จะใชกับเครื่องบินทิ้งระเบิด แตก็มีความรูสึกวาขอบกพรองดังกลาวจะถูกแกไข ได ทั น เวลา อย า งไรก็ ต าม ในเดื อ น มิ . ย.๑๙๓๖ พลอากาศเอกวี เ ยอร เ สี ย ชี วิ ต จากเครื่ อ งบิ น ตก เครื่ อ งบิ น ที่ ส ร า งขึ้ น มี ส มรรถนะปานกลางแต ที่ สําคัญคือเจาของโครงการเสียชีวิตแลว นั่นหมายถึง โครงการดังกลาวตองยุติลงดวย หลังจากสงคราม เกาะอั ง กฤษและเริ่ ม สงครามในแอตแลนติ ค ฝา ยเยอรมั น พยายามที่ จ ะพั ฒ นาเครื่ อ งบิ น แบบ he-177 (เครื่องบินแบบ ๔ เครื่องยนตแตมี ๒ ใบพัด) และดัดแปลงเครื่องบินแบบ FW-200 ซึ่งใชใน สายการบิ น ที่ ค อ นข า งประสบความสํ า เร็ จ เป น ธรรมชาติ

เครื่องบินลาดตระเวนและทิ้งระเบิดพิสัยไกล ผลลัพธ ก็เ หมือนกับ การแกป ญ หาเฉพาะหนา ทั่วๆ ไป คื อ เครื่ อ งบิ น ทั้ ง สองแบบไม ป ระสบความสํ า เร็ จ ใน สนามรบ ผู สั ง เกตการณ ช าวอเมริ กั น ในอั ง กฤษ มองเห็นความลมเหลวของทั้งอังกฤษและเยอรมัน แต ก็ ค งยื น ยั น ในความเชื่ อ ว า เครื่ อ งบิ น ทิ้ ง ระเบิ ด แบบ B-17 สามารถเจาะผ า นเขา หาเปา หมายได แม ว า จะต อ งเผชิ ญ หน า กั บ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล ฝ า ย ตรงขามก็ตาม เหตุผลที่อยูเบื้องหลังความเชื่อนี้คือ ประเด็ น ทางเทคนิ ค หลายประการ ประการแรก B-17 ถู ก ออกแบบมาให ส ามารถดู แ ลตั ว เองได ในรุ น แรกๆ B-17 สามารถบิ น ที่ ร ะยะสู ง มากกว า ๒๕,๐๐๐ ฟุต ซึ่งสูงกวากระสุนจากปนตอสูอากาศยาน และความคลองตัวของเครื่องบินขับไลในสมัยนั้น จะลดลงอยางมากที่ความสูงระดับนั้น B-17 สามารถ ติดตั้งปนกล ๑๐ ถึง ๑๔ กระบอก(ขึ้นอยูกับรุนของ เครื่ อ งบิ น )พร อ มลู ก เรื อ ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ได พ ร อ มกั น นั่ น คื อ เหตุ ผ ลที่ เ รี ย กเครื่ อ งบิ น นี้ ว า “ปอมบิน(Flying Fortress)” เครื่องบินจะบิน เกาะกันเปนหมูบินซึ่งปนทุกกระบอกจะสามารถใช ยิงไดตลอดเวลาและสามารถทิ้งระเบิดไดพรอมกัน B-17 ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งเล็ ง แบบนอร เ ดน(Norden Bombsight) สําหรับเล็งเปาหมายที่ทันสมัยที่สุด ในโลก และความแมนยําของเครื่องเล็งทิ้งระเบิดนี้ ก็สามารถหยุดอุตสาหกรรมของเยอรมนีได ""


กขอ.คปอ. TSUNAMI ชื่อนี้มาจากภาษาญี่ปุน ตรงกับ คําภาษาอังกฤษคือ “HARBOR WAVE” (TSU = Harbor/nami=wave) ใชเรียกคลื่นยักษใตทะเล ซึ่งแตกตางจากคลื่นโดยทั่วๆ ไปกลาวคือ จะมีชวง ค ลื่ น ที่ ย า ว ม า ก ตั้ ง แ ต ป ร ะ ม า ณ ๘๐-๒๐๐ กม.และ สามารถเคลื่ อ นตั ว ออกจากแหลงกําเนิด ข า มมหาสมุ ท รเป น ระยะพั น ๆ กม. จะ ประกอบด วยหลายๆ คลื่นตามกันไป และ คลื่ น แรกจะไม ใ ช ค ลื่ น ที่ ใ ห ญ ที่ สุ ด ในทะเลเปด “สึนามิ” จะมีความเร็วไดถึง ๕๐๐ ไมล/ชั่วโมง ซึ่งความเร็วนี้ เกือบเทากับเครื่องบิน Jet เลยทีเดียว สวนใหญของ

คลื่ น จะอยู ใ ต ท อ งน้ํ า ซึ่ ง ลึ ก ลงไปได ถึ ง ประมาณ ๑๐๐ ไมล แตยอดของคลื่นที่อยูเหนือพื้นน้ําจะสูง ประมาณ ๒-๖ ฟุต หรือไมเกิน ๒ เมตร ความรุนแรงหรือ อันตรายจะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อคลื่นนี้เคลื่อนตัวเขาไป

ในเขตน้ําตื้นโดยเฉพาะบริเวณไหลทวีปที่มีความชัน คลื่นนี้ จะถูกดันใหระดับน้ําสูงขึ้นอยางรวดเร็วและ


จะมีแรงปะทะอยางมหาศาลยิ่งพื้นที่ที่มีความชัน มาก ความรุนแรงก็จะมากตามไปดวย หากโหมเขา ปะทะชายฝงซึ่งเปนที่ราบต่ํา ยอดคลื่นจะสูงประมาณ ๑๐-๒๐ เมตร แตถาบริเวณที่โหมเขาปะทะมีลักษณะ แหว ง เว า เป น แหลมหรือ เป น เกาะ ความแรงและ ความเร็วของคลื่นสามารถดันน้ําในบริเวณนั้นให กลายเปนคลื่นขนาดใหญที่อาจสูงตั้งแต ๓๐ เมตร หรือมากกวา (คลื่นใหญที่สุดอาจสูงถึง ๑๐๐ เมตร) ดั ง นั้ น ผู ที่ แ ล น เรื อ อยู ใ นทะเลเป ด บริ เ วณที่ เ กิ ด “สึนามิ” จึงแทบไมรูสึก หรือมองเห็นเลยนอกจาก จะไดรับแจงขาวเทานั้น ซึ่งเมื่อไดรับทราบขาว จะตอง ไมกลับเขาฝงและสําหรับเรือที่จอดอยูบริเวณชายฝง เมื่ อ ได รั บ การแจ ง เตื อ นควรรี บ ออกจากฝ ง เข า สู ทะเลลึ ก ให เ ร็ ว ที่ สุ ด จึ ง จะปลอดภั ย เนื่ อ งจาก โมเมนตั ม ของคลื่ น มี ม าก สึ น ามิ จึ ง เคลื่ อ นตั ว ไป ไดไกล โดยจะสูญเสียพลังงานเพียงเล็กนอยเทานั้น ป ๑๙๖๐ มีแผนดินไหวที่นอกฝงชิลีทําใหเกิด “สึนามิ” ขึ้ น แล วใช เวลาในการเดิ นทางประมาณ ๒๒ ชม. ในระยะทาง ไกลถึง ๑๐,๐๐๐ ไมลพรอมกับคราชีวิต ชาวญี่ปุนไปถึง ๑๕๐ คน ª สาเหตุการเกิด “สึนามิ” “สึนามิ” มีสาเหตุการเกิดไดหลายๆ ประการ ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้ ๑. ภูเขาไฟระเบิด(VOLCANI CERUPTIONS) จากการระเบิดของภูเขาไฟ KRAKATAO ในอินโดนีเซีย ป ค.ศ.๑๘๘๓ กอใหเกิดคลื่นยักษ เคลื่อนตัวเขาสู ฝงประเทศอินโดนีเซีย กอใหเกิดความเสียหายของ ชีวิต ในเหตุการณนี้มากกวา ๓๖,๐๐๐ คน

๒. แผ น ดิ น ถล ม หรื อ แผ น ดิ น เลื่ อ น (LANDSLIDES) ตามแนวรอยเลื่อนของแผนดินไหว โดยเฉพาะแนวที่ อ ยู ใ นทะเลเมื่ อ เกิ ด แผ น ดิ น ไหว ใตทะเลในบริเวณที่เรียกวา SUBDUCTION ZONES (ส ว นที่ ยุ บ ตั ว ) ซึ่ ง แผ น ดิ น เคลื่ อ นซ อ นสอดใต ดั น เปลื อ กโลกชั้ น นอกขึ้ น หรื อ LITHOSPHERE พลิ ก กลั บ เอาส ว นที่ ห นั ก กว า ลงเปลี่ ย นส ว นที่ เบากวาขึ้นแทน มีบริเวณ SUBDUCTION ZONES อยูหลายแหง เชน นอกชายฝงชิลี นิการากัว เม็กซิโก และ อินโดนีเซีย ที่สรางความเสียหายในทศวรรษ ที่ผานมา ในแปซิฟกมีสึนามิเกิดขึ้น ๑๗ ครั้ง ตั้งแต ค.ศ.๑๙๙๒-๑๙๙๖ ๓. แผนดินไหว (Earthquakes) เปนอีก อย า งหนึ่ง ที่ ทํ า ให เ กิด คลื่ น “สึน ามิ ” ได โ ดย แผ น ดิ น ไหวนี้ จ ะเกิ ด ในท อ งทะเล,มหาสมุท รหรื อ บริเวณชายฝงที่มีน้ําลึก โดยมีขนาดตั้งแต ๖.๒ ริคเตอร ขึ้นไป เชนเมื่อวันที่ ๑๗ ก.ค.๔๑ ไดเกิดแผนดินไหว ในทองทะเลทางตอนเหนือของปาปวนิวกินี ประเทศ ฟ ลิ ป ป น ส ทํ า ให เ กิ ด คลื่ น ยั ก ษ สึ น ามิ โ ถมถล ม ปาปวนิวกินีสรางความสูญเสียทรัพยสินและชีวิต มนุษยเปนจํานวนมาก ๔. อุ ก กาบาตหรื อ ดาวหางพุ ง ชนโลก (Impacts by asteroids or comets) เหตุการณนี้ ยังไมเคยมีใครเห็นจริงๆ นอกจากที่เกิดในภาพยนตร เรื่อง Deep impacts แตจากการจําลองเหตุการณ ดวยคอมพิวเตอรตามที่ฮอลลี่วูดนําเสนอในภาพยนตร นั้น คลื่นยักษขนาดนั้นทําใหเกาะแมนฮัตตันราบเรียบ ได นักวิทยาศาสตรที่ Los Alamos คํานวณวาหาก อุ ก กาบาตขนาดเส น ผ า ศู น ย ก ลาง ๓ ไมล ตกลง


ในกลางแอตแลนติ ก จะเกิ ด คลื่ น ยั ก ษ ก ระทบ ฝ ง ตะวั น ออกแล ว เลยลึ ก เข า ไปในเทื อ กเขา Appalachians และอาจเลยไปถึงฝรั่งเศส/โปรตุเกส ª แนวแผนดินไหวของโลก คื อ บริ เ วณที่ เ คยเกิ ด แผ น ดิ น ไหวในอดี ต มักอยูตรงรอยตอของแผนเปลือกโลก และสามารถ แบงออกเปนแนวใหญๆ ไดดังนี้ แนวที่หนึ่ง เปนแนวที่ลอมรอบมหาสมุทร แปซิ ฟ ก เริ่ ม จากชายฝ ง ตะวั น ตกของอเมริ ก าใต เรื่อยขึ้นไปทางเหนือ ตามชายฝงทวีปอเมริกาเหนือ แลวผานแหลมคัมชัตกาลงมา ผานประเทศญี่ปุน แลวแยกออกเปนสองแนว คือสวนหนึ่งจะผานลง มาทางหมู เกาะมาเรี ยนมา และอีก สว นหนึ่งผา น ลงมาทางเกาะฟลิปปนส หมูเกาะนิวกินีเรื่อยลงไป จนถึ ง ประเทศนิ ว ซี แ ลนด แล ว มี แ นวต อ ไปจนถึ ง ปลายแหลมอเมริกาใตซึ่งเปนจุดเริ่มตนแผนดินไหว ในแนวนี้มีแผนดินไหวมากที่สุดในโลก คือ ประมาณ ๙๐ เปอรเซ็นต แนวที่สอง เรียกวาแนวบริเวณแอลไพนหิมาลัย แนวนี้เริ่มตนตั้งแตหมูเกาะชวา ผานสุมาตรา ขึ้นไปทางเหนือ ผานหมูเกาะอันดามันดานตะวันตก ของพมา อินเดียตอนเหนือ ปากีสถาน ตุรกี อิตาลี ไปจนถึงยุโรป แนวที่ ส าม เริ่ ม ตั้ง แต ขั้ว โลกเหนื อ ลงมา ผานเกาะไอซแลนด เรื่อยลงมาผานกลางมหาสมุทร แอตแลนติกลงไปจนถึงขั้วโลกใต นอกจากแนวที่ กล า วมาแล ว นี้ ก็ ยั ง มี แ ผ น ดิ น ไหวที่ เ กิ ด ขึ้ น เป น จุดๆซึ่งรวมกับแนวที่สอง และแนวที่สามดวยแลว ก็มีเพียง ๑๐ เปอรเซ็นตเทานั้น

ª รอยเลื่อนของประเทศไทย สําหรับประเทศไทยนั้นแนวรอยเลือ่ นสวนใหญ อยูในภาคเหนือ และดานตะวันตกของประเทศ แต มีร อยเลื่ อ นบางแห ง เท า นั้ น ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ แผ น ดิ น ไหว เช น รอยเลื่ อ นแพร รอยเลื่ อ นแม ท า รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนระนอง เปนตน (รายละเอียดดูไดจาก http://tmd.motc.go.th/quake/e-source.html)

ª ขนาดและความรุนแรงของคลื่นสึนามิ สึนามิจะมีขนาดและความรุนแรงมากนอย เพียงใดนั้น ขึ้นอยูกับองคประกอบหลายประการ ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้


๑. แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ตองมีขนาดใหญ ตั้งแต ๖.๒ ริคเตอรขึ้นไป ๒. ปรากฏการณดังกลาว จะตองเกิดขึ้นใน ทะเล มหาสมุทร หรือ บริเวณชายฝงเทานั้น ๓. ความลึกของทองทะเล มหาสมุทรหรือ บริเวณชายฝงยิ่งลึกมากทําใหคลื่นเคลื่อนตัวไดเร็ว ยิ่งขึ้นโดยมีสูตรคํานวณดังนี้คือ c = √dg โดย c คือ ความเร็วของคลื่น d คือ ความลึก g คือ แรงดึงดูดของโลก ตัวอยางเชน สึนามิ ที่เกิดขึ้นในมหาสมุทร แปซิฟกที่มีความลึก ๔,๐๐๐ เมตร จะเคลื่อนตัวดวย ความเร็ว ๒๐๐ เมตร/วินาที หรือ กวา ๗๐๐ กม./ชั่วโมง

๔. ลักษณะของพื้นมหาสมุทร พื้นทะเล และชายฝ ง ที่ ค ลื่ น สึ น ามิ เคลื่ อ นตั ว เข า ไปปะทะ หากคลื่นนี้เคลื่อนตัวเขาสูเขตน้ําตื้น ซึ่งเปนบริเวณ ไหลทวีปที่มีความชัน บริเวณที่มีลักษณะเวาแหวง เปนแหลมหรือเปนเกาะคลื่นนี้จะถูกดันใหระดับน้ํา สูงขึ้นอยางรวดเร็ว และมีแรงปะทะมหาศาล ยิ่งชันมาก ยิ่งมีความรุนแรงมาก ดังนั้นพอจะสรุปไดวา สึนามิ เปนภัยเงียบ ที่ ซ อ นเร น เกิ ด จากที่ ห นึ่ ง แต อ าจจะเคลื่ อ นตั ว ไป ทํา ลายอีก ที่ หนึ่ ง ซึ่ง ยากต อการป องกัน ป จจุบัน นี้ นั ก ธรณี วิ ท ยากํ า ลั ง หาวิ ธี พ ยากรณ แ ผ น ดิ น ไหว ภู เ ขาไฟระเบิ ด นั ก ดาราศาสตร ยั ง คงเฝ า ท อ งฟ า สําหรั บนักอุตุนิยมวิทยา ยัง ทํางานอย างตอเนื่อง เพื่อบริการปวงชนชาวโลก ขอใหภาคภูมิใจในความ เปนนักอุตุนิยมวิทยา เอกสารอางอิง : EARTHQUAKES TSUNAMIS SURF ′S UP

- ร.อ.สุกิจ เย็นทรวง (ร.น.)กรมอุตุนิยมวิทยา - ผภอ.กขอ.คปอ. - DANIEL PENDICK


นวีร เมื่ อ ๑๖ มกราคม วั น ครู ผู เ ขี ย นได รั บ คํา ทั ก ทายทางโทรศั พ ท จ ากผู ที่คุน เคยวา สวัส ดี วันครู จึงคิดยอนถึงเมื่อปใหม เราใชคําวา สวัสดี ปใหม เปนคําทักทายอยางทั่วถึง และยังใชคําวา สวัสดี เปนคําทักทายไดทุกโอกาส ทําใหระลึกถึง ทา นผู คิ ด คํ า นี้ และนํ า คํ า นี้ ไ ปใช อ ย า งแพร ห ลาย โดยเริ่มจากสถานีวิทยุกระจายเสียง นิสิตจุฬาลงกรณ มหาวิท ยาลัย และแพร ห ลายไปอยา งกว า งขวาง ทั่วประเทศ เพราะเปนคําที่กะทัดรัด กินความหมาย กว า ง ท า นผู นี้ คื อ พระยาอุ ป กิ ต ศิ ล ปสาร (นิ่ ม กาญจนาชีวะ) พระยาอุ ป กิ ต ศิ ล ปสาร เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๔๒๒ และถึงแกอนิจกรรมเมื่อ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๔๘๔ แมทานจะเดนดาน งานหนั ง สื อ แต ก็ ไ ด ชื่ อ ว า เป น นั ก หลั ก ภาษาไทย มากกวาเปนนักประพันธ เพราะวาทานคือผูที่แตง และเรียบเรียงตําราสยามไวยากรณขึ้น เพื่อแสดง ปาฐกถาอบรมครูที่สามัคยาจารยสมาคม และใช สอนนิสิตอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และไดปรับปรุงเรื่อยมาจนเปนตําราไวยากรณไทย ๔ เลม ที่ ผูเ ขี ย นยึดถื อเปน หลั ก ภาษาไทยและใช

ถายทอดแกคนรุนหลังตอมา คือ อักขรวิธี วาดวย ลักษณะตัวอักษร วิธีประสมตัวอักษร ลักษณะการ ใชอักษร การอานและการเขียน วจีวิภาค วาดวย ลักษณะคําไทย ลั กษณะคําบาลีและสันสกฤตใน คําไทย ชนิดของคํา การใชถอยคํา การใชคําราชาศัพท วากยสั ม พั น ธ ว า ด ว ยประโยคต า งๆ การใช เครื่องหมายวรรคตอน และโวหารการเรียงความ ยอความ ฉันทลักษณ วาดวยการแตงคําประพันธ ทั้ง กลอน โคลง รา ย ลิ ลิ ต กาพย ฉัน ท และเพลง ตาง ๆ


ตํ า ราสยามไวยากรณ นี้ เ ขี ย นด ว ยภาษา ง า ยๆ อธิ บ ายละเอี ย ดและยกตั ว อย า งประกอบ ทํ า ให ผู อ า นเข า ใจจากตั ว อย า งมากขึ้ น เมื่ อ ใดที่ ผูสอนจะอธิบายใหผูที่มีปญหาวา ยอความจะยอ อยางไร สั้นยาวแคไหนจึงจะดี ผูสอนมักจะยกตัวอยาง จากสยามไวยากรณ ต อนที่ ว า ด ว ยการย อความ ความวา “ขอสําคัญของการยอเรื่องก็คือ เอาเรื่องราว มากๆ มาแต ง เสี ย ใหม ใ ห สั้ น กว า เดิ ม ให ยิ่ ง น อ ย เท า ใดยิ่ ง ดี แต ต อ งพยายามบรรจุ เ นื้ อ ความให ไดมากเทาใดก็ยิ่งดีดุจกัน การยอนี้ไมมีขอบเขตวา ยอลงไปเทาไรจึงจะเหมาะ เพราะเรื่องบางเรื่องมี ขอความที่เปนพลความมากก็ยอลงไปไดมาก แต บางเรื่อ งมีใ จความมาก เชน เรื่ อ งที่เ ขายอ มาเสี ย ครั้งหนึ่งแลว หรือเรื่องที่ผูแตงคิดเอาแตใจความมา แตงไว เรื่องเชนนี้ ยอยาก”

นอกจากตําราภาษาไทยสยามไวยากรณ แล ว พระยาอุ ปกิ ต ศิ ล ปสารยั ง มีผ ลงานวรรณคดี อี ก หลายเรื่ อ ง โดยใช น ามปากกาต า งๆ กั น เช น อนึ ก อ.น.ก. คํ า ชู ชี พ อุ นิ ก า สามเณรนิ่ ม และ พระมหานิ่ม เทาที่ยังมีปรากฏในปจจุบันคือวรรณคดี เรื่อง สงครามภารตคํากลอน ชุมนุมนิพนธ อ.น.ก. คําประพันธบางเรื่อง คําประพันธโคลงสลับกาพย และบทความและปาฐกถาตาง ๆ เกี่ยวกับวรรณคดี และการใชภาษา ในคํ า ประพั น ธ บ างเรื่ อ ง มี เ รื่ อ งหนึ่ ง ซึ่งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจะรูจักและตอง เรียนรู คือเรื่องพอแมรังแกฉัน ซึ่งเปนเรื่องของการ เลี้ยงลูกโดยตามใจลูกทุกอยาง ทําใหลูกเสียคน เสีย ทรัพยสินหมดตัว และหมดอนาคต ถือเปนการรังแก ลู ก เป น หลั ก การเลี้ ย งลู ก ที่ ไ ม ถู ก ต อ ง และ เป น แนวความคิ ด ที่ ใ ช ไ ด จ นถึ ง ป จ จุ บั น นี้ เนื้ อ เรื่ อ ง กล า วถึ ง เศรษฐี ที่ เ ลี้ ย งดู ลู ก โดยตามใจทุ ก อย า ง จ า งครู ม าสอน ถ า ลู ก ไม ช อบก็ เ ปลี่ ย นครู เ รื่ อ ยไป จนกระทั่งไดครูที่ลูกชอบ คือครูที่ “ศิษยจะรูเทาไรไมธุระ ชื่อเสียงจะเสียไปก็ไมขาม ศิษยผูใดตั้งหนาพยายาม สอนใหตามแตรักสมัครเรียน” และศิษยก็ “อยูจําเนียรจิตใหญไรวิชา” ในที่ สุ ด เมื่ อ เศรษฐี สิ้ น ชี วิ ต ลู ก ก็ ใ ช ท รั พ ย สมบั ติ จนหมดตัว ทํามาหากินไมได กลายเปนขอทาน จนได ซินแสสั่งสอน จึง “ลูกเศรษฐีฟงวาน้ําตาหลั่ง ตอบเสียงดังพอแมรังแกฉัน”


และสรุปเรื่องวา “ดังเศรษฐีรักบุตรสุดสวาท บุตรอุบาทวมิไดรักสมัครหมาย เอาแตใจใฝตามความสบาย พอแมตายก็เพราะตรมระทมใจ ยังมิหนําซ้ําวาดากระดูก หาวาถูกพอแมรังแกได” เรื่องนี้จึงเปนเรื่องเตือนใจพอแมบางคนที่เลี้ยงดูลูก โดยตามใจมากเกินไป และใชไดทุกสมัย ทานผูแตง จึ ง เป น ได ทั้ ง ครู ข องลู ก และครู ข องพ อ แม รวมทั้ ง ครูของทุกๆ คนดวย

ท่านเจ้าข้า! พ่อแม่รังแกฉัน ฉันทําผิดคิดระยํากลับค้ําชู

เขาใฝ่ฝันฟูมฟักฉันอักขู จะว่าผู้รักลูกถูกหรือไร?

ส ว นคํ า ว า สวั ส ดี ซึ่ ง ท า นนํ า มาใช เ ป น คนแรกนั้น เนื่องจากแตเดิมคนไทยยังไมมีการใช คําทักทายเปนแบบฉบับ บางคนอาจทักวาไปไหนมา หรือกินขาวหรือยัง หรือไมทักทายกันเลย ในสมัย รัชกาลที่ ๗ เจาหนาที่วิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการ

(กรมประชาสัมพันธ) ไดใชคําวา ราตรีสวัสดิ์ เมื่อ จบการกระจายเสี ย งเวลากลางคื น โดยแปลจาก ภาษาอังกฤษ Good Night แตคนสวนใหญไมเห็นดวย เพราะควรเปนคํากลางๆ ใชไดทุกเวลา คณะกรรมการ ชําระปทานุกรม กระทรวงธรรมการ ซึ่งทานเปนผูหนึ่ง ในคณะนี้ ได เ สนอให ใ ช คํ า ว า สวั ส ดี ซึ่ ง แปลว า ความงาม ความดี ความเจริญรุงเรือง ความปลอดภัย (ภาษาบาลีวา โสตถิ ภาษาสันสกฤตวา สวัสติ) ครั้น เมื่อทานไปสอนที่คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๖ ทานก็ไดเอาไปใช และเป น ที่ แ พร ห ลายในหมู นิ สิ ต และต อ มาเมื่ อ ๒๒ ม.ค.๒๔๘๖ ยุ ค บํ า รุ ง วั ฒ นธรรมเพื่ อ ความ กาวหนาของชาติ รัฐบาลสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม มอบให ก รมโฆษณาการ(กรมประชาสั ม พั น ธ ) ออกขาวใหใชคํานี้เปนคําทักทายผูกมิตรไมตรีกัน และนิยมใชตลอดมาจนปจจุบันนี้ อนึ่ง มีผูนําคําวาสวัสดีไปใชเปนชื่อเฉพาะ หลายชื่ อ ที่ กํ า ลั ง “เฟ อ ง” อยู เ ดี๋ ย วนี้ คื อ ชื่ อ ของ หนั ง สื อ “ธรรมสวั ส ดี ” ของเสถี ย รธรรมสถาน ที่ บ างคนอาจได รั บ แจกที่ ส ถานี ร ถไฟฟ า แถว ศู น ย ก ารค า สยาม ทั้ ง นี้ ด ว ยความหมายที่ ดี ง าม ของคําวา สวัสดี นั่นเอง ก อ นที่ ท า นจะเป น อาจารย ที่ จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัยนั้น ทานศึกษาทางธรรมะมามาก คือ หลังจากที่สําเร็จการศึกษาขั้นตนจากวัดบางประทุนนอก แลว ก็ไดบรรพชาเปนสามเณรและอุปสมบทเปน พระภิกษุที่วัดสุทัศนเทพวราราม ศึกษาพระธรรมวินัย จนไดเปรียญ ๖ ประโยค ครั้น พ.ศ.๒๔๔๓ เขาสอบไล ไดวิชาครูประโยคมัธยมศึกษา(ป.ม.) ทั้งที่ยังเปน


บรรพชิต และไดสอนหนังสือที่โรงเรียนสวนกุหลาบ โรงเรียน ฝกหัดอาจารยบานสมเด็จเจาพระยา ตอมา พ.ศ.๒๔๔๗ จึงได ลาสิ ก ขาบท เข า รั บ ราชการในตํา แหนง ตา งๆ เชน ข า หลวง ตรวจการศึกษา ขาราชการกระทรวงธรรมการ พนักงานกรมราชบัณฑิตย ปลัดกรมตํารา หัวหนาการพิมพแบบเรียนของ กรมวิ ช าการ หั ว หน า แผนกอภิ ธ านสยาม ได เ ลื่ อ นยศและ บรรดาศักดิ์จนเปนอํามาตยเอก พระยาอุปกิตศิลปสาร ความรู และประสบการณ ง านของท า น ทํ า ให ท า นถ า ยทอดวิ ช าได อยางดี เปนครูที่สมบูรณ ถาจะกลาวถึงความเปนครูหรืออาจารยของพระยา อุ ป กิ ต ศิ ล ปสารแล ว ท า นเป น ด ว ยชี วิ ต จิ ต ใจและวิ ญ ญาณ ศิษยเคารพเปนอยางยิ่ง ทานสอนอยางมีหลักการและเหตุผล ผูเรียนแมเพียงแตเรียนจากตําราของทานก็จะยึดแนวความคิดของทานเปนแนวทางปฏิบัติตอมา ทานเอง ก็ภูมิใจในความเปนครูของทาน เมื่อจะสิ้นชีวิต ทานไดอุทิศโครงกระดูกใหมหาวิทยาลัยแพทยศาสตรศิริราช ดวยคํากลาววา ฉันเปนครู ตายแลวก็ขอเปนครูตอไป ฉะนั้น ทานจึงสรางบุคลากรที่มีอนาคตกาวไกล โดยเฉพาะอยางยิ่งครูภาษาไทยไวมากมาย สมดังที่เนาวรัตน พงษไพบูลย กลาวบูชาครูไวในกลอนเกาๆ วา

ครูจึงเป็นนักสร้างผู้ใหญ่ยิ่ง สร้างคนจริงสร้างคนกล้าสร้างคนเก่ง สร้างคนให้ได้เป็นตัวของตัวเอง ขอมอบเพลงนี้มาบูชาครู ในเดือนนี้ เดือนพฤษภาคม ซึ่งเปนทั้งเดือนที่ทานเกิดและเดือนที่ทานถึงแกอนิจกรรม(ครบ ๗๐ ป) ผูเขียนจึงขอนําเสนอเรื่องราวบางสวนของทาน ดวยใจที่นอมรําลึกถึงทานอยูตลอด ดังกลอนไหวครูของ เนาวรัตน พงษไพบูลย (บทใหม เมื่อ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๔) วา

ขอไหว้ครูรู้คดิ รู้ผิดชอบ ให้รู้รอบรู้ลึกรู้ศึกษา สิ่งรอบข้างเป็นครูอยู่ทุกครา สํานึกว่า วันทุกวันคือวันครูฯ


อ.วารุณี


 Across

Ä Down

1. You don’t push that door, you have to …..…. or use your force to move its position. 3. ………. is the state or quality of being beautiful. 5. Look at the …….., The airplane is over your head. 7. Let’s go jogging in the park, shall ….….? 8. You can use …………. to refer to cheap ornaments, clothes, or other items which you think are of bad quality. 9. Would you buy me a frying pan in the ……. or cooking section ? 12. I may win the first prize of ….…. because my grandson gave me 3 numbers in his hand. 14. If you are in a crowded public place you must be careful with your ………. or you don’t have any money to spend all of this month. 16. Opposite of “he” 17. She didn’t get any of ………. or any thing, money from her husband after he died. 19. Nuntha is still smart because now she can be the last top ten students or .……. level of class. 21. We want to listen to the real story, don’t tell …….. a lie. 23. An abbreviation for “a master of ceremonies” 24. An abbreviation for “Lieutenant” 25. Somchai often tells us the untrue stories because he loves …….. . 27. I guess the drama that I watch must ……. with happiness.

1. To ……. on means to “wear”. 2. Add …………. sugar not much in my coffee, please. 3. Lee made his effort not to …………. during World Football 2010., because he doesn’t want to be in debt. 4. A dog will bite you anytime you step on his ……… . 5. A ……….. is composed of subject, verb or an object. 6. Let go for a walk, will ……. ? 9. I ……. to be an instructor, but now I completely stop. 10. ……. of your business to force him to marry Sunee. 11. My daughter is on a diet, so she ………. 2 kilometres. 13. Please don’t punish those students, because I let ……. clean a toilet already. 14. …….. you mind if I smoke here ? 15. The evening of to day 18. These days it rains cats and dogs because of a ……. season. 20. …..…. is a colourless gas that is the lightest and commonest element in the universe. 22. One of a flight of steps 26. We usually have lunch at ……. or midday. 28. The same as No.31 Across 30. A pinky or black animal with short legs and not much hair on its skin, we feed it for meat.


 Across

Ä Down

29. To make something to be slightly wet. 31. She is very busy so she has ……. time to go shopping. 33. In the rainy season, you should take an umbrella with you ……. you’ll get wet. 34. There are 60 minutes in one ……..…. (an abbreviation). 36. My house is near an office but …..…. is very far away. 38. My friends often …..….. me, or make me feel fear of ghost. 41. …….. what time will you leave for Europe? 42. A, ……. the 43. …….. is very good postman because of his studious and his good manner. 44. …….. is smaller than city, but it is larger than village. 46. You can not ask for a ……. or a lower price of items in a department store. 48. I have interviewed him and he seems very ………. or enthusiastic guy. 49. Your room is in a ….…. means untidy state. 50. The ……….. shirts world like to have the revising constitution. 51. A woman who has a job to look after a child or children in a family.

32. Almost of women love to drink …… juice. 35. A fact or situation which explains why it happens or what causes it to happen. 37. Lately there were the terrible events in Silom ……. (abbreviation) 38. Spoon comes with …….. 39. To …….. means to bury. 40. A : …….. do you make him study hard? B : I promise him to buy the new mobile phone. 42. Which one do you love to join, airforce, navy or ……..? 43. This car belongs to John or it is ……… . 45. ……… of my friends works as a doctor at Siriraj hospital. 46. A container that you put rubbish in 47. A donkey

(เฉลยอยูหนา ๗๕)


ครูภาษาพาที

ศูนยภาษา

สวั ส ดี ค่ ะ ท่ า นผู้ อ่ า นหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศทุ ก ท่ า น บทความตอนที่ แ ล้ ว เราได้ ท บทวน ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเรื่อง Present Simple Tense กันไป ท่านผู้อ่านคงยังพอจํากันได้บ้างนะคะ ตอนนี้เราก็มาทบทวนกันต่อในเรื่องของ Past Simple Tense การใช้ (Usage) ÙPast Simple Tense ใช้กับการกระทําซึ่งเกิดขึ้นและจบลงแล้วในอดีต โดยปกติมักจะมี “คําบอกความเป็นอดีต” รวมอยู่ในประโยคด้วย เช่น yesterday, last week, last year, ago หรือ ตัวเลข พ.ศ. หรือ ค.ศ. ที่เป็นอดีต ตัวอย่างประโยค He got up late yesterday. เขาตื่นสายเมื่อวานนี้ They flew to London last month. พวกเขาบินไปลอนดอนเมื่อเดือนที่แล้ว His father died ten years ago. พ่อของเขาเสียชีวิตเมื่อ 10 ปีที่แล้ว The war broke out in 1941. สงครามเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1941 Ùใช้กริยาช่องที่ 2 กับประธานทุกตัว ประโยคบอกเล่า ประโยคคําถาม ประโยคปฏิเสธ Did I walk? I didn’t walk. I walked. You walked. Did you walk? You didn’t walk. We walked Did we walk? We didn’t walk. They walked. Did they walk? They didn’t walk. He walked. Did he walk? He didn’t walk. She walked. Did she walk? She didn’t walk. It walked. Did they walk? It didn’t walk.


*****ข้อควรระวัง เกี่ยวกับการเติม -ed ที่คํากริยา 1. คําลงท้ายด้วย e อยู่แล้ว ให้เติมเพียง d เช่น love - loved 2. คําลงท้ายด้วย y เปลี่ยน y เป็น i ก่อนเติม ed เช่น study - studied เว้นแต่เมื่อหน้า y เป็น สระ (vowel) เติม ed ได้ทันที เช่น play - played 3. คําพยางค์เดียว มีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว ต้องเพิ่มตัวสะกดอีกตัวหนึ่ง เช่น stop stopped 4. คําสองพยางค์ ซึ่งพยางค์หลังมีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว ถ้าลงเสียงหนัก (stressed) ที่พยางค์หลัง ก็ต้องเพิ่มตัวสะกด เช่น control-controlled, occur-occurred, refer-referred คําแสดงอดีต โดยปกติจะวางไว้ท้ายประโยค เช่น yesterday เมื่อวานนี้ yesterday morning เมื่อเช้าวานนี้ yesterday afternoon เมื่อบ่ายวานนี้ yesterday evening เมื่อเย็นวานนี้ last night เมื่อคืน, คืนก่อน last week เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว, สัปดาห์ก่อน last month เมื่อเดือนที่แล้ว last Monday เมื่อวันจันทร์ที่แล้ว last April เมื่อเดือนเมษายนที่แล้ว in April ในเดือนเมษายน (ที่ผ่านมา) in 1941 ใน ค.ศ. 1941 a minute ago เมื่อครู่นี้ a moment ago เมื่อครู่นี้ a week ago เมื่อสัปดาห์หนึ่งมาแล้ว three days ago เมื่อสามวันมาแล้ว an hour ago เมื่อหนึ่งชั่วโมงที่ผ่านมา two months ago เมื่อสองเดือนมาแล้ว a year ago เมื่อปีหนึ่งมาแล้ว years ago เมื่อหลายปีมาแล้ว *****ข้อสังเกต ประโยคที่มีคําแสดงความถี่ ความบ่อย เช่น always, sometimes, every day, every week อาจเป็น past ได้ ถ้ามีคําแสดงอดีตรวมอยู่ในประโยคด้วย ตัวอย่างประโยค He went to school every day last month. เดือนที่แล้วเขาไปโรงเรียนทุกวัน


He always got up early last year. เมื่อปีที่แล้ว (ปีกลายนี้) เขาตื่นเช้าเสมอ Ken was seldom late. เคนสายนาน ๆ ครั้ง They were never busy. พวกเขาไม่เคยมีธุระยุ่งเลย คําแสดงอดีต นอกจากเป็นคําหรือกลุ่มคําแล้ว อาจเป็นประโยคที่มีกริยาเป็นอดีตก็ได้ เช่น He went to school every day when he was young. เมื่อเขายังเด็กเขาไปโรงเรียนทุกวัน Irregular Verbs คือกริยาที่ไม่เติม –ed ในช่องที่ 2 หรือช่องที่ 3 แต่มีรูปเปลี่ยนไปหรืออาจคงรูปเดิม เช่น go - went – gone, cut – cut – cut เป็นต้น คํากริยาสามช่องที่มักพบบ่อย ๆ ในข้อสอบ ECL กริยาช่อง ๑ ยังไม่เปลี่ยนรูป (infinitive) be begin blow break buy do drink drive eat fall find fly go have hear know leave lose make meet sleep

กริยาช่อง ๒ (past simple) was/were began blew broke bought did drank drove ate fell found flew went had heard knew left lost made met slept

กริยาช่อง ๓ (past participle) been begun blown broken bought done drunk driven eaten fallen found flown gone had heard known left lost made met slept

ความหมาย (meaning) เป็น อยู่ คือ เริ่มต้น (ลม)พัด แตก หัก ซื้อ ทํา ดื่ม ขับ (รถ) กิน ตก พบ บิน ไป มี ได้ยิน รู้ ละทิ้ง ออกจาก หลงทาง สูญหาย ทํา พบ นอนหลับ


กริยาช่อง ๑ ยังไม่เปลี่ยนรูป (infinitive) speak take tell think understand wear

กริยาช่อง ๒ (past simple) spoke took told thought understood wore

กริยาช่อง ๓ (past participle) spoken taken told thought understood worn

ทําแบบฝึกหัดและตรวจคําตอบได้จากคําเฉลยข้างท้ายค่ะ Choose the correct answer a, b, c, or d. 1. My head _____ for an hour yesterday. a. ached b. aches c. aching d. ache 2. He _____ the letter last Monday. a. answering b. answered c. answers d. answer 3. The heavy traffic ____ us late. a. make b. made c. making d. to make 4. Jane forgot to lock the door. a. don’t remember b. doesn’t remember c. didn’t remember d. isn’t remember 5. I __________ wait a long time to see the doctor yesterday. a. have to b. had to c. ought to d. don’t 6. She ____ go to the party last night. a. was not b. isn’t c. doesn’t d. didn’t

ความหมาย (meaning) พูด นําไป บอก คิด เข้าใจ สวมใส่


7. The students ____ yesterday. a. arrived c. arrives 8. We were at a restaurant _____. a. now c. last night 9. Last week I ____ in an airplane. a. fly c. flies 10. Select the correct sentence. a. They didn’t to a movie go. b. They go a movie didn’t go. c. They didn’t go to a movie. d. They go didn’t to a movie.

b. arrive d. arriving b. tomorrow d. afternoon b. flying d. flew

เฉลยคําตอบ 1. a 2. b 3. b 4. c 5. b 6. d 7. a 8. c 9. d 10. c ท่านผู้อ่านทําได้ถูกหมดทุกข้อไหมคะ ขอให้หมั่นฝึกฝนทบทวนทุกวันนะคะ Practice makes perfect. ค่ะ


มิสกรีน

BLONDIE

ภาพ 1 ภาพ 2 ภาพ 3 -

ฉันคิดวาคุณตองทํารายงานที่เจานายคุณตองการเปนสิ่งแรกในตอนเชานะ ผมมัวเพลินดูหนังเกาเรื่องนี้อยูน ะ หวังวาเขาจะลืมที่สงั่ ผมไว ยังไง ผมก็ไดคิดถึงแผนสํารองไวแลว ขาฯ สัญญาวา ครั้งนี้เปนครั้งสุดทาย ที่ขาฯ จะขอความชวยเหลือจากทานแบบนี้ ....

had to (modal V.) to get distracted

- เปนกริยาชวย ในรูป past simple tense ของ have to ; has to และ must - ถูกดึงความสนใจไปที่สิ่งอืน่ to distract แปลวา ดึงความสนใจไปยังสิ่งอื่น to get + adj (กริยาชอง 3) ใหความหมายที่ถกู กระทํา (passive voice) ซึ่งใช V.to be แทน to get ก็ได Ex. I am always irritated (I always get irritated) When people don’t keep their words. (ฉันมักรูสึกหงุดหงิดรําคาญ เมื่อคน ไมรักษาคําพูด)


anyway (adv.)

to figure out back-up (adj.) to ask a favor

- เปนภาษาพูด เชนเดียวกับ anyhow (อยางไรก็ตาม) ในที่นี้ ใชแกไขหรือเปลี่ยนแปลง เล็ก ๆ นอย ๆ ในสิ่งที่เพิ่งพูดไป (used when adding sth that corrects or slightly changes what you have just said) - เปนสํานวน แปลวา แกไขปญหา (solve a problem) - สํารองไวใช (sth that you can use to replace sth that does not work) - เปนสํานวน แปลวา ขอความชวยเหลือ (to ask for help) to do someone a favor ก็คือ to help

BEETLE BAILEY

ภาพ 1 - ระวัง ! ระวัง ! ภาพ 2 - ฉันบอกแกแลวไง ใหระวัง ! - ผมก็ระวังแลวนะ ! ดูตนไมเหลานีท้ ี่ผมหลบมันไดซี่ ! careful (adj.) - ระวัง ปกติตอ งใชกับ V. to be Ex. Bill is always careful และ He is a careful driver. เมื่อใชเปนคําสั่งหรือคําขอรอง จะพูดวา be careful หรือ careful และสํานวน to watch out ก็มีความหมายเดียวกัน นอกจากนั้น กริยา to watch ซึ่งแปลวา วาเฝามองอยางตั้งใจ ก็อาจมีความหมายวา ระวัง (be careful) ได Ex. He may be a former athlete, but he still has to watch his weight. (เขาอาจจะเปนนักกีฬาเกา แตยังคงตองระวังน้าํ หนักตัวอยู) และ Watch yourself in Madrid; there are some rough areas. (ในกรุงแมดริด คุณตองระวังตัวนะ เพราะมีบริเวณที่อนั ตรายอยูบาง) to miss - ในทีน่ ี้ แปลวา หลบ, หลีกเลี่ยงสิ่งที่ไมดี (to avoid sth bad or unpleasant) Ex. If we leave now, we should miss the traffic. (ถาเราออกเดินทางเดี๋ยวนี้ เราควรจะเลีย่ งการจราจรได) to miss ในความหมายอื่น ไดแก คิดถึง Ex. We miss you very much. (เราคิดถึงเธอมาก) และ พลาดรถ (miss the bus), พลาดโอกาส (miss the chance) เปนตน


หมอพัตร ทุกวันนี้เวลาไปเดินเที่ยวหางสรรพสินคา หรือศูนยการคาใหญๆ มักอดคิดอิจฉาเด็กๆ รุนใหม ไม ไ ด ไม ใ ช อิ จ ฉาเรื่ อ งใหญ โ ตอะไรหรอกครั บ เรื่องของเลนเทานั้นแหละ ของเลนเดี๋ยวนี้นอกจาก สวยน า จั บ ต อ งแล ว ยั ง ไฮเทคด ว ย ตุ ก ตาล ว นแต นารักแตรูราคาแลวก็ตองสยอง ผิดกวาสมัยผูเขียน เป น เด็ ก เล น แต ข องพื้ น ๆ พวกกะโหลกกะลา ฝากระปอง มากานกลวย ไมมีราคาคางวด ของเด็กเลนสมัยหาหกสิบปที่แลวสวนใหญ ทํ า กั น ง า ยๆ เช น ตุ ก ตาแกะสลั ก ด ว ยไม ฉํ า ฉา กระดาษแข็ ง ระบายสี ที่ ดี ห น อ ยก็ เ ป น ตุ ก ตา เซลลูลอยด แขนขาและศีรษะเคลื่อนไหวได เขาทํา เปนชิ้นสวนตางหากใชเชือกยืดๆ ยึดตอกับลําตัว เล น ได ไ ม เ ท า ไหร ก็ ยื ด หมดแล ว ตุ ก ตาที่ ดี ขึ้ น อีกหนอยทําจากยาง กดหรือบีบแลวมีเสียงรอง ของเล น ที่ เ ด็ ก ผู ช ายชอบคื อพวกรถ เรือโลหะ ทําจากสังกะสี มีลานไขใหแลนได และ

พวกปนแกบ ปนสปริง พอลานขาดก็หมดทาเอาวาง ไวดูเลน เฉยๆ ถา พอแมมีเ งิ นมากก็โยนทิ้ง ไปแลว ซื้อใหม พวกเด็กที่ไมมีเงินก็คอยเก็บที่เขาโยนลงถัง มาเลนตอ ของเลนราคาถูกสวนมาก(หรือทั้งหมด) เมดอินเจแปน แตเด็กผูหญิงชอบเลนตุกตาสวยๆ มีเสื้อผา สวมนารัก เปนตุกตาผาบาง เซรามิกบาง สั่งจากยุโรป หรืออเมริกา เด็กผูหญิงรูจักทะนุถนอมของ ถาชํารุด ก็วานคุณปาคุณนาชวยซอมให เด็กหลายคนเก็บ รักษาตุกตาไวอยางดีจนโตใหญมีครอบครัวก็สงตอ ใหลูกหลานเลนตอไปได ตุกตามีวิวัฒนาการไปตามกาลสมัย ที่เห็นๆ คื อ ตุ ก ตาบาร บี ที่ ผู เ ขี ย นเคยเขี ย นลงในข า ว ทหารอากาศหลายครั้ ง บาร บี ถื อ กํ า เนิ ด มากว า ๕๐ปแลว บริษัทแมทเทลผูผลิตจําหนายรวยไปไมรู ว า เท า ไหร ขายดี จ นเป ด ร า ยขายเฉพาะบาร บี ไ ด ในร า นมี ส ารพั ด ของใช สํ า หรั บ บาร บี ทั้ ง วิ ก ผม


ชุ ด แต ง หน า ชุ ด เครื่ อ งแต ง กายต า งๆ แม ก ระทั่ ง ชุดแตงงาน แถมยังอุปโลกนแฟนใหดวย เปนหนุม รูปหลอชื่อ “เคน” (ไมใช เคน ธีระเดช นะจะ) เมื่อ ไมนานมานี้ยังจัดนิทรรศการใหญ เปดศูนยบารบี ใหญ ม โหฬารขึ้ น ที่ น ครเซี่ ย งไฮ จี น แผ น ดิ น ใหญ ลือลั่นไปทั่วโลก

ตุ ก ตาก็ ไม แ ตกตา งจากมนุ ษ ย มีเ กิ ด แก เจ็บ ตาย ตองเขาโรงซอมเวลาชํารุด เคยมีผูสงสัย วา อะไรๆ เกี่ยวกับตุกตาก็มีสารพัด แลวโรงพยาบาล ละ มีไหม? ออ, มีครับ จะเลาใหฟง ย อ นหลั ง ไปกว า ครึ่ ง ศตวรรษ ประเทศ อารเจนตินา ในอเมริกาใต เปนแหลงผลิตตุกตาที่มี ชื่อเสียงแหงหนึ่ง มีโรงงานผลิตตุกตาหลายโรง จึงมี การตั้งโรงพยาบาลสําหรับซอมตุกตาควบคูไปดวย สวนมากเปนตุกตาเด็กผูหญิงมีเสื้อผาตัดเย็บใสให อยางสวยงาม ถึงปลายทศวรรษ ๑๙๖๐ การจําหนาย

ขายตุกตาเริ่มเสื่อมลง ตุกตาพลาสติกเมดอินไชนา เริ่ ม เข า ตี ต ลาด เบี ย ดตุ ก ตาที่ ทํ า อย า งประณี ต สวยงามหงายเกงไมเปนทา ยิ่งกวานั้นเด็กยังหันไป เลนเกมคอมพิวเตอรกัน โรงงานผลิตตุกตาเลยตอง เปลี่ยนกิจการบาง ปดตัวเองบาง ทีละโรงสองโรงจน ใกลสูญพันธุแลว โรงพยาบาลตุกตาก็เจอชะตากรรม เชนเดียวกัน เดือนที่ผานมาผูเขียนคนหนังสือพิมพเกา ที่กองไวหลายป เอาไปขายซาเลงสีแดงที่มาบีบแตร ปูน ๆ ซื้อกระดาษและของเกา ก็เจอเรื่ องเกี่ยวกับ โรงพยาบาลตุ กตาโรงสุ ดท าย(?) เห็ นว าน าสนใจ เลยนํามาเลาตอ เปนเรื่องจริงที่นาสลดครับ โรงพยาบาลตุกตาที่ผูเขียนจะเลานี้ อยูที่ นครบัวโนส แอเรส, อารเจนตินา เมืองที่ผลิตตุกตา มากมายในอดีตนั่นเอง ความจริงจะเรียกวาโรงพยาบาล อาจดูโออาไปหนอย เพราะความจริงเปนแคโรงซอม ตุกตาเล็กๆ ที่เปนขวัญใจของเด็กๆ ปานนี้จะยังเปด อยูหรือเปลายังสงสัย เพราะที่ผมอานเจอะก็หลายป ดีดักมาแลว ขณะนั้น แอนโตนิโอ คาโร ผูเปนเจาของ ก็อ ายุ ตั้ ง ๗๗ ป แล ว ขอเรี ย กแกง า ยๆ ว า คุ ณ ตา คาโร ละกั น คุ ณ ตาแกเป น หมอตุ ก ตาคนเดี ย ว ในโรงพยาบาลตุกตาดวย ลูกคาสวนมากของแกเปนเด็ก ถาโผลเขาไป ในโรงพยาบาลแหงนี้ ที่สะดุดตาเห็นจะเปนชั้นยาว สําหรับเก็บชิ้นสวนอะไหลที่แกใชซอมตุกตา มีทั้ง ศีรษะตุกตาทําจากเซรามิก แขนขาตุก ตาทํา จาก พลาสติกบาง เซลลูลอยดบาง ขนาดตางๆ วางสุมๆ กันอยู ชิ้นสวนพวกนี้แกเก็บรวบรวมมาจากตุกตาเกาๆ ที่เขาโยนทิ้งแลว แตแกเห็นวายังใชประโยชนได


ในระยะหลังๆ แมลูกคาจะลดลง แตก็พอมี แวะเวี ย นเข า มาเรื่ อ ยๆ ที่ เ ป น ลู ก ค า ต า งเมื อ งก็ มี เด็กชอบคุณตาคาโรทุกคน แกใจดีและมีเกร็ดสนุกๆ เลาใหฟงดวย ผูที่มีฝมือซอมตุกตาระดับเดียวกับแกที่ยัง ทํางานอยู เหลือแทบจะนับตัวถวน เรียกไดวาคุณตา คาโรเป น ช า งกลุ ม สุ ด ท า ยที่ มี ฝ มื อ ซ อ มตุ ก ตาได เยี่ย มยอด ฝมื อซ อมลูก ตาที่ เ สี ยไปให เคลื่อ นไหว ไดอยางเดิม มีแกเทานั้นที่ทําได นอกจากนั้นแกยัง ชวยเสริมแตงทรงผมใหเขาที่เขาทาง แกไขใหตุกตา มีเสียงรองอยางมีชีวิตชีวา ตุกตาที่กลาวมานี้ปจจุบัน หาดูไดยากแลว ในวั น ทํ า งาน คุ ณ ตาประจํ า อยู ใ นคลิ นิ ก ของแกอยางเงียบๆ ระยะหลังๆ สายตาเริ่มเสื่อมลง ทุกทีตามวัย แกตองสวมแวนติดปลายจมูก ตุกตา สวนใหญเมดอินไชนา ซอมไปคุณตาก็บนพึมพําอยู คนเดี ย วว า “ไอ พ วกนี้ แ หละเป น ตั ว การทํ า ลาย ตลาดตุกตาที่มีคุณภาพรุนเกาไมวาชนิดกระเบื้อง เคลื อบ ปูน ปลาสเตอร แมก ระทั่ ง ตุ ก ตากระดาษ จนหงายเกงไปหมด” “โรงงานตุกตาเจงไปเจียนหมดแลว เวรกรรม แทๆ” คุณตาบนไปตามประสา โตะทํางานของแกเปนโตะไมยาว แสงสวาง อาศัยจากหลอดไฟฟาที่ติดไวเหนือศีรษะ คุณตา ยังพอมีงานทําเรื่อยๆ มีลูกคาเขามาเยือนมากบาง นอยบาง สวนมากเปนหญิงวัย ๒๐ กวาๆ เอาตุกตา มาให แ ก ไ ขส ว นที่ ชํ า รุ ด ส ว นใหญ เ ป น ของเล น ที่ ตกทอดมาแตครั้ง คุ ณแมบา ง ที่ เ ก าแก ขนาดของ คุณยาคุณยายก็ยังมี ลูกคารายหนึ่งบอกวาไดมา

ตั้ง แต ยั ง เล็ ก คุณ พ อ ซื้ อ ให ขณะนี้ คุ ณ พ อ สิ้ น ชี วิ ต ไปแล ว เหลื อ ตุ ก ตาไว แ ทนตั ว ช ว ยซ อ มให ด ว ย เสียงของเธอวิงวอนเคลาอารมณ ยากที่จะปฏิเสธ อีกรายหนึ่งเปนนักสะสมของที่ระลึก เขามา ขอคํ า แนะนํ า ในการเสาะหาตุ ก ตาเก า ที่ ห ายาก ที่เปนพอคาของเกามาหาซื้อตุกตาประดิษฐดวยมือ ก็มี ซื้อไปขายในรานของที่ระลึกสําหรับนักทองเทีย่ ว ครั้งหนึ่งมีลูกค าตัวเล็ กๆ เปนเด็กหญิง เอาตุกตา ตัวโปรดมาใหซอม นับไดวาไมสูเหงานัก

เชอรลี เทมเปล

คุ ณ ตาคาโรยั ง คงมี เ วลาระลึ ก ถึ ง ตุ ก ตาที่ เคยเฟองสมัยกอน แกเลาถึงตุกตาที่กระเดงดีดตัว ไดสูง เรียกวา BOUNEY MARILU ซึ่งเปนที่คลั่งไคล กันมากในอารเจนตินาในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ (ผู เ ขี ย นจํ า ไม ไ ด แ ล ว ) แต อี ก ตั ว หนึ่ ง ที่ ยั ง จํ า ได แม น ยํ า ในหมู เ ด็ ก โดยเฉพาะเด็ ก หญิ ง คื อ ตุ ก ตา เชอรลี เทมเปล ดาราเด็กตัวนอยแหงฮอลลีวูดที่มี


ผมสีแดงมวนหลอดเต็มศีรษะ หนาตานารัก เชอรลี เทมเป ล เป น ดาราเด็ ก ขวั ญ ใจแฟนหนั ง ในยุ ค ทศวรรษ ๑๙๓๐ ตั้งแตกอนสงครามโลกครั้งที่ ๒ และอยูในความนิยมนานนับสิบๆ ป แมปจจุบันนี้ ก็ ยั ง มี จํ า หน า ยตามร า นของเล น หลายแห ง หลั ง สงครามโลก เชอรลี เทมเปล เปลี่ยนมาเปนนักการเมือง เคยเปนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาในหลายประเทศ และยังมีชีวิตอยู ในโรงพยาบาลของแก คุ ณ ตาคาโรยั ง มี อะไหลหัวตุกตาเซรามิกอยูรวม ๓ พันชิ้น เปนมรดก ตกทอดที่ บิ ด าของคุ ณ ตาเหมามาจากการขาย เลหลั ง เมื่ อ ป ๑๙๑๘ แกได อ าศั ย ชิ้ น ส ว นเหล า นี้ ซอมตุกตาใหลูกคา ชิ้นสวนยังมีเหลือมากมายจน แกพู ด ติ ด ตลกว า “ลุ ง ว า จนกระทั่ ง ลุ ง ตายก็ ยั ง มี ชิ้นสวนเหลืออยูอีกเยอะ” คุ ณ ตากล า วถึ ง ชี วิ ต ของแกว า แกเกิ ด ในบานหลังนี้ บิดาทําธุรกิจเกี่ยวกับตุกตามาตั้งแต ปลายศตวรรษที่แลว บิดาเคยมีโรงพยาบาลตุกตา อยูในความครอบครองถึง ๓ โรง ทั้งหมดอยูในกรุง ธรรม

บัวโนส แอเรส โรงพยาบาลนอกจากซอมตุกตาแลว ยังผลิตหุนสําหรับชางตัดเสื้อขายอีกดวย มาถึงปจจุบันนี้ ยังเหลือผูมีฝมือซอมตุกตา แบบโบราณอยูไมกี่คนในกรุงบัวโนส แอเรส กิจการ ของคุณตาคาโรจึงยังเปนที่ตองการอยู แกบอกวา ในยุคนี้มีเพียงไมกี่คนที่มีทักษะในการใหสีแกผิวมือ และแขนขาของตุ ก ตาได ถู ก ต อ ง การลงสี แ ก ม เสนผม คิ้ว ใหสวยงามไมใชเรื่องงาย ตองอาศัยการ ฝกฝนและประสบการณ คุ ณ ตาคาโรมี บุ ต รสาว ๓ คน ทุ ก คนเป น นักศึกษาในมหาวิทยาลัยในสายอาชีพตางๆ ไมมี สั ก คนที่ อ ยากสื บ ต อ งานของคุ ณ ตาเลย ฉะนั้ น งานซอมตุกตาคงจะสิ้นสุดลงที่แกนี่เอง เกื อ บทั้ ง วั น แกเฝ า ร า นอยู ค นเดี ย วข า ง จักรเย็บผาที่ออกแบบเปนพิเศษ เย็บวิกผมตุกตา เล็กๆ ได เปนครั้งคราวแกเหมอมองไปนอกหนาตาง แลวถอนใจ “กาลครั้งหนึ่ง มันเปนธุรกิจที่เฟองมาก” ครับ, “ทุกอยางมีเกิดก็ยอมมีดับ”

UUUUUUUUUU


Runy

สวัสดีคะ ทานผูอานหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน ดิฉันมาพบกับทานผูอานอีกครั้งนะคะ เปนบทความ ที่ตอเนื่องมาจาก Test Tip 9 เพื่อใหทานผูอานไดฝกฝนและทบทวนภาษาอังกฤษดวยตนเองแลว ยังเปน การเตรียมความพรอมในการเขารับการทดสอบภาษาอังกฤษที่ศูนยภาษาฯ ดวย ทานผูอานลองเริ่มทํา แบบทดสอบไดเลยนะคะ ใหทานอานโจทยและเลือกคําตอบที่คิดวาถูกตองจากตัวเลือก ๔ ตัวเลือกที่ใหมา 1. Books are usually sold by ________. a. teacher b. libraries c. authors d. bookstores 2. The soldier must ______ to an order immediately. a. respond b. exchange c. send d. review 3. I wish I ______ stop coughing. a. mustn’t b. will c. shouldn’t d. could 4. We wish you _____ change the subject. a. would b. must c. have d. shall 5. Since it is so cold, _______ we move around a little? a. would b. haven’t c. shouldn’t d. wouldn’t


เมื่อทําแบบฝกหัดครบสิบขอแลว เชิญตรวจคําตอบและอานคําอธิบายเพิ่มเติมไดเลยคะ 1. Books are usually sold by ________. (หนังสือถูกขายโดย ______) a. teacher (ครู) b. libraries (บรรณารักษ) c. authors (ผูประพันธ, ผูแตง) d. bookstores (รานขายหนังสือ) คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ d. bookstores (รานขายหนังสือ) Books are usually sold by ____. เปนประโยคที่ประธานเปนผูถูกกระทํา เรียกวา Passive Voice มีโครงสรางดังนี้ ประธาน + Verb BE + Verb 3 (Past Participle) Ù ตัวอยางประโยค Cheese is made from milk. (ชีสทําจากนม) You were invited to the wedding. Why didn’t you go? (คุณไดรับเชิญไปงานแตงงาน ทําไมไมไป) 2. The soldier must ______ to an order immediately. (ทหารตอง____คําสั่งทันที) a. respond (ตอบรับ) b. exchange (แลกเปลี่ยน) c. send (สง) d. review (ทบทวน) คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ a. respond (ตอบรับ) 3. I wish I ______ stop coughing. (ฉันอยากหยุดไอได) a. mustn’t (ตองไม) b. will (จะ) c. shouldn’t (ไมควร) d. could (สามารถ, ได) คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ d. could (สามารถ, ได) I wish I could stop coughing (ฉันอยากหยุดไอได) แสดงวา ขณะนี้ผูพูดกําลังไออยางหนัก ไมสามารถหยุดไอได แตมีความปรารถนาที่จะหยุดได ในประโยคนี้ใช wish เพื่อแสดงความปรารถนาให สิ่งหนึ่งสิ่งใดเกิดขึ้นในปจจุบัน แตในความเปนจริงสิ่งนั้นไมไดเกิดขึ้น มีรูปประโยค คือ


ประธาน + wish + ประธาน + Verb 2 (ถาเปน Verb BE ใหใช were เทานั้นกับประธานทุกตัว) ถา Past Simple Tense เปน Verb BE ใหใช were เทานั้น กับประธานทุกตัว เชน I wish I went to England. (ฉันอยากจะไปประเทศอังกฤษ) แตความจริงปจจุบัน ฉันไมไดไปแตฉัน ปรารถนาที่จะได) I wish I were a doctor. (ฉันอยากเปนหมอ) แตความจริงปจจุบันฉันไมไดเปนหมอแตฉัน ปรารถนาที่จะเปนหมอ 4. We wish you _____ change the subject. (พวกเราอยากใหคุณเปลี่ยนเรื่อง) a. would (จะ) b. must (ตอง) c. have (เปนกริยาชวย ตองตามดวย Verb 3 เรียกวา past participle) d. shall (เปนคําเกา มีความหมายเปนการสั่ง : old-fashioned used to show that you are determined or to give an order or instruction) คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ a. would (อานคําอธิบายเพิ่มเติมในขอสาม) 5. Since it is so cold, _______ we move around a little? (เพราะวาอากาศหนาวมาก เราควรจะ เคลื่อนไหวรางกายสักหนอยไหม) a. would (จะ เปนรูปอดีตของ will) b. haven’t (เปนกริยาชวย ตองตามดวย Verb 3 เรียกวา past participle) c. shouldn’t (ไมควร) d. wouldn’t (จะ เปนรูปอดีตของ will เปนรูปยอที่เปนปฏิเสธ) คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ c. shouldn’t should และ shouldn’t ในประโยคคําถาม ใชเพื่อเปนการใหคําแนะนํา ไมใชถามเพื่อตองการ คําตอบ เชน Should the students study harder to pass the test? (นักเรียนควรขยันกวานี้ไหมเพื่อใหสอบผาน) since ในประโยคนี้เปนคําเชื่อมประโยค (conjunction) มีความหมายเหมือนกับ because และ as เชน Since we were in the area, we should stop by and see them. (เพราะพวกเราอยูที่นี่ เราควรแวะและพบพวกเขา)


หลังจากที่ไดลองทําแบบทดสอบ ตรวจคําตอบและอานคําอธิบายแลว ทานผูอานก็คงจะไดรับ ความรูภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น หรืออยางนอยที่สุดก็ไดทบทวนความรูความเขาใจภาษาอังกฤษ ดิฉันหวังวา บทความเรื่องนี้คงจะเปนประโยชนและทําใหทราบถึงแนวทางในการเรียนรูและฝกฝนภาษาอังกฤษเพิ่มเติม กันตอไปนะคะ สวัสดีคะ ☺

อ.วารุณี


พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดํารัส ชี้แนะแนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานประมาณ ๓๐ ป ตั้งแตกอนเกิด วิกฤติการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรง เนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถ ดํ า รงอยู ไ ด อ ย า งมั่ น คงและยั่ ง ยื น ภายใต ก ระแส โลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีหลักพิจารณา ดังนี้ กรอบแนวคิด : เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทาง การดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปนโดยมี พื้ น ฐานมาจากวิ ถี ชี วิ ต ดั้ ง เดิ ม ของสั ง คมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปน การมองโลกเชิ ง ระบบที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู ตลอดเวลา มุงเนนการรอดพ นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ : เศรษฐกิจพอเพียงสามารถ นํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ

โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา อยางเปนขั้นตอน คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย ๓ คุณลักษณะพรอมๆ กัน ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียน ตนเองและผูอื่น เชน การผลิต และการบริโภคที่อยู ในระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจ เกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะตองเปนไป อยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํ า นึ ง ถึ ง ผลที่ ค าดว า จะเกิ ด ขึ้ น จากการ กระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ ๓. การมี ภู มิ คุ ม กั น ที่ ดี ใ นตั ว หมายถึ ง การเตรี ย มตั ว ให พ ร อ มรั บ ผลกระทบ และการ เปลี่ ย นแปลงด า นต า งๆ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวาจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล


y สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง (Institute of Sufficiency Economy) เปนองคกรอิสระในการ ระดมความรวมมือจากทุกฝายในการขับเคลื่อนการ แกวิกฤติชาติโดยการนอมนําศาสตรของพระราชา มาปฏิ บั ติ จั ด ตั้ ง ขึ้ น จากการประชุ ม หารื อ กั น ณ โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา ของ ๔ องคกร ไดแก โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา โครงการ อนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากราชดําริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี โครงการ ส ง เสริ ม กสิ ก รรมไร ส ารพิ ษ และมู ล นิ ธิ ก สิ ก รรม ธรรมชาติ เมื่ อ วั น ที่ ๒๓ ธั น วาคม พ.ศ.๒๕๔๕ ต อ มาได จั ด ตั้ ง มู ล นิ ธิ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งขึ้ น ใน พ.ศ.๒๕๔๘ ป จ จุ บั น สถาบั น ฯ ได ร ว มกั น ประเมิ น ว า มนุษยชาติมีวิกฤติการณใน ๔ ดาน ประกอบดวย ๑. Environmental Crisis สิ่งแวดลอม (ภัยธรรมชาติ)

๒. Epidemic Crisis โรคระบาด ๓. Economic Crisis วิกฤติเศรษฐศาสตร/ ขาวยากหมากแพง ๔. Political/Social Crisis ความขัดแยง ทางสังคม/สงคราม สถาบั น ฯ เป น ศู น ย ร วมเครื อ ข า ยที่ ส ร า ง รูปธรรมในการแกวิกฤติดานตางๆ ของมนุษยชาติ โดยพั ฒนาจากหลั กคิ ดและวิ ธี การของพระเจ าอยู หั ว เปนหลัก และผลักดันหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตรของพระราชาใหเปนจิตสํานึกและหลัก ปฏิบัติสําหรับทุกภาคสวนของสังคม โดยมีพันธกิจ ๔ ประการ คือ รวบรวม/วิเคราะห/สังเคราะห หลักคิด และวิ ธี ก ารไปสู ข อ มู ล ที่ พ ร อ มใช ง าน (Practical Knowledge), พัฒนาคน ใหเขาใจทฤษฎีจนนําไปสู การปฏิบัติที่เปนรูปธรรม, สรางเครือขายในการ ขับเคลื่อนในรูปแบบเบญจภาคี ประกอบไปดวยภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม/สื่อ


และพัฒนานโยบายที่ปฏิบัติไดอยางเหมาะสมกับ แต ล ะกลุ ม ครอบคลุ ม ทุ ก ภาคส ว นของสั ง คม (Implications) y การดําเนินการที่ผานมา สถาบันฯ เปนศูนยกลางในการสรางเครือขาย ขยายผลใหมีการเรียนรู การฝกอบรมไปสูการปฏิบัติ และการดํารงชีวิตแบบพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีผลงานดานตาง ๆ ดังนี้

- งานจัดตั้งและพัฒนาศูนยฝกอบรม เครือขายเศรษฐกิจพอเพียงกวา ๑๒๐ ศูนยฝกอบรม ทั่ ว ประเทศ และจั ด ที ม วิ ท ยากรเพื่ อ ฝ ก อบรม นอกสถานที่ใหกับหนวยงานตาง ๆ - งานเผยแพรประชาสัมพันธศาสตรของ พระราชาในการกูวิกฤติชาติผานสื่อตาง ๆ - กิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนสูการปฏิบัติจริง ในรูปแบบเบญจภาคี - การสถาปนามหาวิทยาลัยเพื่อพอ ในการ ฟนฟูปฐพีไทยดวยศาสตรของพระราชา โดยมีการ

จัดตั้งโพธิวิชชาลัย ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ.สระแก ว ตั้ ง แต พ.ศ.๒๕๕๐ มีเ ปา หมายจั ดตั้ ง โพธิวิชชาลัย ณ ที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ เพื่อถายทอด ศาสตรของพระราชาใหเต็มแผนดิน นอกจากนั้ น สํ า นั ก งานคณะกรรมการ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ (สศช.) เตรียมพิจารณาตั้ง “สถาบันพัฒนาประเทศตาม แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อใหเปน องค ก รอิ ส ระที่ ทํ า หน า ที่ ก ารขั บ เคลื่ อ นปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงอยางตอเนื่อง โดย เน น การสร า งฐานความรู เ กี่ ย วกั บ เศรษฐกิจพอเพียงในมิติตาง ๆ เชน การส ง เสริ ม การศึ ก ษาและวิ จั ย องค ค วามรู ที่ เ กี่ ย วกั บ เศรษฐกิ จ พอเพียง การสงเสริมการแลกเปลี่ยน เรี ย นรู ป ระสบการณ แ ละกิ จ กรรมที่ เกี่ ย วข อ งกั บ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และการสนั บ สนุ น ให เ กิ ด การขยายผลการนํ า ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปปรั บ ใช อ ย า งกว า งขวางใน ทุกภาคสวน ประกอบกับเมื่อเร็วๆ นี้ สถาบันการ จั ด การเพื่ อ ชนบทและสั ง คม มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบท แห ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ ร ว มกั บ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ไดริเริ่ม จัดทําแผนเศรษฐกิจพอเพียง (Road Map) เพื่อใช เปนเครื่องมือนําทางในการพัฒนาประเทศตามแนว ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดยมี วิ สั ย ทั ศ น ยุทธศาสตร ปจจัยแหงความสําเร็จ และแผนงาน ที่ชัดเจน สามารถปฏิบัติไดอยางเปนขั้นตอน พรอมกับ


ใช เ ป น เครื่ อ งมื อ ในการสร า งความรู ค วามเข า ใจ รวมกันของคนในชาติ เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนใน ลั ก ษณะที่ ป ระสานสอดคล อ งและพั ฒ นาไปใน ทิศทางเดียวกัน ในการประชุ ม ระดมสมองครั้ ง ที่ ผ า นมา มี ผู เ ข า ร ว มที่ เ ป น ตั ว แทนจากหน ว ยงานภาครั ฐ เอกชน นักวิชาการ องคกรอิสระ และภาคประชาสังคม ประมาณ ๑๑๐ คน ไดเสนอใหมีการจัดตั้งองคการ มหาชนเพื่อเปนเจาภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียงอยางตอเนื่องและประสานงานกับภาคสวน ต า งๆ ตลอดจนการกํ า หนดหลั ก สู ต รเศรษฐกิ จ พอเพียง เนนการปฏิบัติ เปลี่ยนเปาหมายการศึกษา เป น การศึ ก ษาเพื่ อ วิ ถี ชี วิ ต โดยข อ สรุ ป ของการ ประชุ ม ในแต ล ะกลุม ย อ ยมี ห ลายเรื่ อ งที่ นา สนใจ และสามารถนํามาประมวลไดเปน ๕ ดานหลัก ดังนี้ ๑. ด า นการศึ ก ษา : เน น การศึ ก ษาเพื่ อ พัฒนาพื้นฐานจิตใจและคุณธรรมใหมีความสมดุล กับการพัฒนาความฉลาดและความรอบรูในสาขา อาชีพ หรือเรียกวา เปนการปรับเปาหมายทางการ ศึกษาจากการเนนที่ “วิชาชีพ” สู “วิชาชีวิต” โดย วิธีการศึกษาจะตองเปน “การเรียนรู” มิใชเพียง “การรับรู” ที่เนน ใหผูเรียนตระหนักถึงการพัฒนา คุณภาพชีวิตดวยการแสวงหา “ความอยูดีมีสุข” มากกวาความร่ํารวย การใหความสําคัญตอความ เปนมนุษยและความสัมพันธทางสังคม โดยมีเรื่อง ความยั่งยืนเปนหัวใจสําคัญ ๒. ดานสุขภาวะ : เนนการพัฒนาสุขภาวะ ที่ไมจํากัดอยูเพียงสุขภาพทางกายและจิตประสาท แตตองครอบคลุมถึงสุขภาพทางจิตวิญญาณและ

สั ง คม เพื่ อ ให เ กิ ด ความสมดุ ล ใน ๔ มิ ติ ทั้ ง ด า น กายภาพ ดานสัง คม ด า นจิตใจ และดานปญญา มีตัววัด “ความอยูเย็นเปนสุข” ของสังคมที่เกิด จากการที่คนในสังคมมีสุขภาวะที่ดีทั้ง ๔ มิติ เชน โอกาสในการเขาถึงบริการและสวัสดิการขั้นพื้นฐาน ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ความ สงบเรียบรอยในบานเมือง ความเอื้อเฟอเผื่อแผและ ความรับผิดชอบตอสังคม การปลูกฝงคานิยมและ การรณรงคเรื่องคุณธรรม เปนตน ๓. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม : เนนความสมดุลทางดานทรัพยากร ภายใตหลักการ ของ “การใช ท รั พ ยากรอย า งยั่ ง ยื น และมี ใ ช ตลอดไป” ดวยการสงเสริมระบบเกษตรที่อนุรักษ ระบบนิเวศน เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรธรรมชาติ ใหแพรหลาย รวมทั้งการสงเสริม แนวทาง “เกษตรทฤษฎีใหม” การออกกฎหมาย รับรองสิทธิของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร การขับเคลื่ อนการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตที่ เกิดจากทรัพยากรและเทคโนโลยีภายในประเทศ เพื่อแกไขปญหาการถูกกดดันใหเปนฐานการผลิต ราคาถูก การขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมการ บริการ เชน การทองเที่ยวใหเปนการทองเที่ยวเชิง อนุรักษและยั่งยืน ตลอดจนการสงเสริมใหเกิดการ ใชปจจัยเชิงวัฒนธรรมในการจัดการทรัพยากร เพื่อ เปนแนวทางในการพิทักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เปนตน ๔. ดานการพึ่งพาทุนและเทคโนโลยี : เนนการ พัฒนาเศรษฐกิจที่สอดคลองกับทรัพยากร ภูมิปญญา และแรงงานในประเทศ การเพิ่มขีดความสามารถ


มาตรฐานทางธรรมาภิบาล (Good governance) ในการบริหารงานขององคกรปกครองสวนกลาง และส วนท องถิ่ น มาตรการในการสร างเสริ ม ภูมิคุมกันใหแกองคกรที่ทําหนาที่ตรวจสอบการ ทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ เพื่อมิให นักการเมืองเขาแทรกแซงหรือชี้นํา บทสรุป ทางการแขงขันดวยการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ทดแทนที่มีความเหมาะสมกับสภาพภูมิสังคมและ สามารถพึ่งตนเองไดในระยะยาว การสงเสริมใหมี การพัฒนาทฤษฎีเศรษฐศาสตรตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมารองรับทั้งในระดับจุลภาค และระดับมหภาค รวมทั้งการสรางชุมชนนักปฏิบัติ เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Community of Practice) เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูทาง วิชาการ และการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงใน สาขาตาง ๆ ๕. ดานการกระจายอํานาจ : เนนการสราง ใหเกิดความสมดุลในมิติของการกระจายอํานาจ เริ่มตนจากการสรางความเขาใจที่ถูกตองตอการ กระจายอํานาจ การมอบหมายการตัดสินใจทั้งใน แงของงาน เงิน คน และการจัดการใหแกทองถิ่น อยางเปนอิสระ ภายใตบริบทของวัฒนธรรมทองถิ่น กระบวนการได ม าซึ่ ง ผู นํ า ท อ งถิ่ น ที่ โ ปร ง ใสและ ระบบการกํากับดูแลของรัฐที่เปนธรรม การปรับปรุง ธรรม อ้างอิง

ความพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบ ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้ง นี้จะต องอาศั ยความรอบรู ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนําวิชาการตางๆ มา ใช ในการวางแผนและการดํ า เนิน การทุก ขั้ น ตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจ ของคนในชาติโดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนั ก ธุ ร กิ จ ในทุ ก ระดั บ ให มี สํ า นึ ก ในคุ ณ ธรรม ความซื่อสัตยสุจริตและใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดํ า เนิ น ชี วิ ต ด ว ยความอดทน ความเพี ย ร มี ส ติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอม ตอ การรองรั บ การเปลี่ย นแปลงอยา งรวดเร็ว และ กว า งขวางทั้ ง ด า นวั ต ถุ สั ง คม สิ่ ง แวดล อ ม และ วั ฒ นธรรมจากโลกภายนอกได เ ป น อย า งดี หากประชาชนไทยสามารถกระทํ า ได เ ช น นี้ แ ล ว เศรษฐกิ จ พอเพี ย งจะสามารถพั ฒ นาประเทศได อยางแนนอน &

- “สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง” online เข้าถึงได้จาก www.ise.in.th - “สถาบันเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศ” online เข้าถึงได้จาก www.sufficiencyeconomy.com


ตะวัน ในยุคเศรษฐกิจฝด การคาการขายหรือลงทุน ทํ า อะไรก็ พ ลอยฝ ด ตามไปด ว ย คนทํ า มาหากิ น หลายรายตางทอใจ พากันบนพึมพําวา “ขาดทุน” แตการคาการขายถาใจสูรูวิธีอาจมีโอกาสฟนตัว พระพุทธศาสนาสอนวา สิ่งจําเปนสําหรับ ชีวิตคนเรียกวา ปจจัย ๔ ไดแก อาหาร เครื่องนุงหม ที่ อ ยู อ าศั ย และยารั ก ษาโรค นอกจากนั้ น เป น สิ่งอํานวยความสะดวก ไมวาจะเปนรถรามาชาง จิปาถะ หลายคนวา “รถ” เปนปจจัยที่ ๕ ซึ่งก็นาคิด แตเหตุปจจั ยที่นอกเหนื อออกไปคือ “บุญกรรม” ที่ทํามาแตปางกอน ถาสั่งสมบารมีคุณงามความดี มามาก อัธยาศัยที่จะแสวงหาความดีเพิ่มเติมก็มาก เพราะมีเชื้อดีอยูในจิตวิญญาณเปนทุนเดิมอยูแลว ก็ จ ะคอยกระตุ น เตื อ นให ทํ า ดี เ พิ่ ม พู น ตลอดเวลา แต ล ะวั น คิ ด ดี ทํ า ดี พอดี เข า ไว ดั ง ที่ ห ลวงพ อ ดี ท า น ส อ น ไ ว ว า “อ ย า ดี แ ต พู ด จ ง พู ด แ ต ดี อยาดีแตทําจงทําแตดี อยาดีแตคิดจงคิดแตดี อยาดีแตใหจงใหแตดี” ส ว นคนที่ ข าดเหตุ ป จ จั ย คื อ บุ ญ กุ ศ ล ธรรมชาติ

เปนคนไรคาขาดราคา บุญเกาไมมี บุญใหมไมสนใจ คือคนไมสนใจคุณงามความดีอะไรทั้งหมด บุญทาน ไมรูจัก ศีล ๕ ไมเขาใจ นโมก็ทองไมเปน อะไรดีอะไรชั่ว ไม รู ไปทั้ งหมด พ อแม สอนก็ รํ าคาญ มั กตะคอกว า “รูแลว” เขาหลักไมรูจัก “กตัญูกตเวที” ไมรบู ญ ุ คุณ แถมยังทุบตีพอแม ไหวไดหมดทุกอยาง หมู ๓ ขา ปลา ๒ หัว ตนไม ภูเขา สวัสดีคนอื่นทั่วไป แตไหว พ อ แม ไ ม เ ป น ขาดการเหลี ย วแลบุ พ การี เท า นั้ น ยังไมพอ วันดีคืนดีก็ดาวาทุบตี ที่ ว า มาทั้ ง หมดนี้ ท า นอย า ได นึ ก ว า ไม มี อยู ใ นโลกมนุ ษ ย เป น เรื่ อ งที่ มี อ ยู แ ละเห็ น กั น อยู พอสมควร จนสามารถยกเรื่องที่เกิดขึ้นประเภทนี้ไป สอนเรื่อง “นรกภูมิ” ไดอยางสบาย ทานที่อยากให บานทานเปนสวรรค หรือเปนนรก ทานสามารถทําได ดวยมือทานเองและบุคคลที่เปนที่รักของทานทุกคน ในครอบครัว หากทานสามารถทําใหบานเปนสวรรคได นับวาไดกําไร แตถายังดูคลับคลายคลับคลาวาเปนนรก ก็คลับคลายคลับคลาวา “ขาดทุน” แลวแหละทาน


น.อ.จิโรตม มณีรัตน (ตอจากฉบับที่แลว) ; จับตากาวตอไปพรรคฝายคานหลังพายยับ ด า นเว็ บ ไซต อิ ร ะวดี ร ายงานว า พรรค ชนกลุมนอยสองพรรคใหญ ไดแก พรรคประชาธิปไตย

แหงภูมิภาคมอญ ในรัฐมอญทางตะวันออกเฉียงใต กับพรรคพัฒนาแหงชาติยะไข (อารเอนพีดี) ในรัฐ ยะไข ทางตะวันตก ประกาศไวแลววาหากยูเอสดีพี ไดรับชัยชนะ เพราะอิทธิพลและทรัพยากรของรัฐ ชนกลุ ม น อ ยและพรรคหนุ น ประชาคมอื่ น ๆ ก็ จ ะ ไมยอมรับผลการเลือกตั้งครั้งนี้

ยู เ อสดี พี ที่ เ ป น การรวมตั ว ของบรรดา รัฐมนตรีที่เกษียณจากกองทัพเมื่อเดือน เมษายน ถูกกลาวหาวาไดรับการชวยเหลือจากทางการทองถิ่น บังคับชาวบานตั้งแต ขาราชการ ครู ทหาร ตํารวจ ไปจนถึงคนงานโรงงาน ไปลงคะแนนลวงหนาใหแก พรรค ถาไมไปก็อาจมี สิ ท ธิ์ ต กงานได ไ ม เ ว น แม แ ตเ จ า ของโรงงาน หรื อ นั ก ธุ ร กิ จ หาไม แล ว ก็ อ าจจะไม ไ ด ต อ ใบอนุญาต สํ า ห รั บ ก า ร หย อ นบั ต รลงคะแนน จะเริ่มเวลา ๐๖.๐๐ น. ป ดหี บเวลา ๑๖.๐๐ น. หรื อช ากว านั้ น หากยั ง มี ประชาชนรอใช สิ ท ธิ์ อ ยู ใ นคู ห า โดยจะไม มี ผู สั ง เกตการณ จ ากภายนอกจํ า นวนไม ม ากนั ก เนื่องจากรัฐบาลพมาระบุชัดเจนวามีประสบการณ การเลื อ กตั้ ง มากพอ และสั่ ง ห า มผู สั ง เกตการณ และสื่อตางชาติเขาพมาชวงเลือกตั้ง แตในขั้นตอน


การนั บ คะแนน ผู ส มั ค รและตั ว แทนอนุ ญ าตให สังเกตการณได ขณะที่สถานทูตชาติสมาชิกสหภาพยุโรป ในย า งกุ ง ได แ ก เยอรมนี อิ ต าลี ฝรั่ ง เศส และ อังกฤษ ออกแถลงการณเมื่อวันศุกร ปฏิเสธคําเชิญ ของรั ฐ บาลพม า ที่ เ ชิ ญ ให เ ข า ร ว มทั ว ร ชี้ แ จงใน วันเลือกตั้ง เนื่องจากไมยอมรับหลักเกณฑตางๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การเยื อ น แต แ ถลงการณ ไ ม ไ ด ใ ห รายละเอียด

มีคําสั่งใหปลอยตัวนางซูจีครั้งนี้ เปนผลใหนางซูจี ถูกคุมขังในบานตัวเองเปนเวลา ๑๕ ป ในชวง ๒๑ ป ที่ผานมา และในเวลา ๑๘.๑๐ น. ของวันที่ถูกปลอยตัว ธรรม

; จีนสวนกระแสโลกชมเลือกตั้งพมา สื่อเผย รายชื่อผูชนะจากพรรคใหญ จี น แสดงความยิ น ดี ที่ พ ม า จั ด เลื อ กตั้ ง ครั้งแรกในรอบ ๒๐ ป เมินเสียงวิจารณและคว่ําบาตร ของชาติตะวันตก ขณะที่สื่อพมาเผยรายชื่อผูชนะ การเลือกตั้ง สวนใหญมาจากพรรคที่รัฐบาลหนุน หนังสือพิมพโกลบอล ไทมส ของรัฐบาลจีน ได นํ า เสนอบทบรรณาธิ ก าร “การเลื อ กตั้ ง พม า อีกกาวหนึ่งที่เดินไป” เมื่อวันจันทร (๘ พ.ย.) แสดง ความชื่นชมตอการเลือกตั้ง วันที่ ๗ พ.ย. ระบุวา “พมามีแผนปฏิรูประบบการเมืองของประเทศ แตก็ ทราบดีวาการปฏิรูปการเมืองไมสามารถเกิดขึ้นได ในชั่วขามคืน” ; พมาปลอยตัวนางอองซาน ซูจี เมื่อ ๑๓ พ.ย.๒๕๕๓ ไดมีคําสั่งใหปลอยตัว นางอองซาน ซูจี จากการควบคุมตัวในบานพักของ ตนเอง โดยมีชาวบานมาใหกําลังใจแกนางซูจีอยูที่ หนาบานพักมากกวา ๑,๐๐๐ คน ปรากฏวาการที่ทหาร

นางซูจีไดปรากฏตัวที่หนาประตูทางเขาบานดวย สีหนายิ้มแยมพรอมโบกมือใหกับผูสนับสนุน และ เพื่อยืนยันวาไดรับการปลอยตัวแลว ขณะเดียวกัน ตํ า รวจได ทํ า การเคลื่ อ นย า ยสิ่ ง กี ด ขวางบริ เ วณ หนาบานของเธอออกไป หลังจากนั้นเธอไดกลาว ประโยคแรกแก บ รรดาผู ส นั บ สนุ น ว า “เราต อ ง กาวเดินไปขางหนาดวยกัน” พรอมไดกลาวเชิญ ผูสนับสนุนไปรวมตัวกันที่พรรคสันนิบาตแหงชาติ ประชาธิปไตย (เอ็น แอนดี ) ในช ว งเที่ ย งของวัน ที่ ๑๔ พ.ย.๒๕๕๓ ปรากฏวาสุนทรพจนของนางซูจี ครั้งนี้ไดกลาวถึงพื้นฐานประชาธิปไตยตอประชาชน วาประชาชนทุกคนตองมีเสรีภาพในการพูด การแสดง ความคิดเห็นตางๆ และขอรองใหประชาชนพมา กลา


ออกมาพู ด มาแสดงความคิ ดเห็ นให รั ฐบาลพม า และประชาคมโลกไดรับทราบ เพราะถาไมกลาพูด และแสดงความคิดเห็นทําใหไมมีใครทราบความ ตองการของพมา ในสวนตัวของนางซูจี บอกวาจะ อยูเคียงขางประชาชนตลอดเวลา พรอมตองการให ประชาชนทุกภาคสวนมีสวนรวม ในกระบวนการ เคลื่อนไหวดานการเมืองไปพรอมกัน โดยกลาววา ในส ว นตั ว ของนางซู จี เ พี ย งคนเดี ย ว ไม ส ามารถ ทําการเคลื่อนไหวเพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศได อย า งไรก็ ต ามจากท า ที ใ หม ข องนางซู จี ครั้งนี้ดูเหมือนวาการเคลื่อนไหวดานการเมืองใน อนาคตจะมีความออนตัวมากขึ้น นาจะไมแข็งกราว เผชิญหนากับรัฐบาลเหมือนในอดีต ถึงแมวัตถุประสงค ของเธอยังคงไมเปลี่ยนแปลงเพื่อสรางประชาธิปไตย อยางแทจริงในพมา วาจะดําเนินไปอยางไรเพื่อให บรรลุวัตถุประสงคดังกลาว ดังนั้นจึงจําเปนจะตอง ติ ด ตามบทบาทความเคลื่ อ นไหวของเธอต อ ไป ในอนาคตวาเธอจะมีมุขเด็ดอยางไร หรือในที่สุด จะตองถูกกักบริเวณตอไปอีก ; ความคิดเห็นจากนานาชาติและรัฐบาลไทย นายบารัก โอบามา ประธานาธิบดีสหรัฐฯ แสดงความยินดีพรอมกลาวถึงนางซูจีวา “เปนฮีโร ของผม” พรอมระบุวานางจะเปนแรงบันดาลใจ ให แ ก ทุ ก คน ที่ ทํ า งานเพื่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช นในพม า และทั่วโลก พรอมกลาววา ถึงเวลาแลวที่รัฐบาลพมา ควรปลอยตัวนักโทษทางการเมืองทั้งหมด นายนิ โ กลาส ซาร โ กซี ประธานาธิ บ ดี ฝรั่งเศส ไดกลาวเตือนรัฐบาลพมาวา อยาไดจํากัด

ความเคลื่อนไหวดานเสรีภาพและการแสดงความ คิดเห็นของนางซูจีตอไป จนท. กระทรวงการตางประเทศอิตาลี ไดแสดง ความยิ น ดี ค รั้ ง นี้ พ ร อ มกล า วว า เป น ผลจากการ สนับสนุนและผนึกกําลังของสังคมโลก และหวังวา เป น สั ญ ญาณแรกของรั ฐ บาลพม า ที่ จ ะเป ด กว า ง ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ด า นนายสุ ริ น ทร พิ ศ สุ ว รรณ เลขาธิ ก าร อาเซียนกลาววารูสึกโลงอกมากที่สุดที่นางซูจีไดรับ อิ ส รภาพและแสดงความหวั ง ว า นางซู จี จ ะไม ถู ก คุมขังอีกตอไป พรอมกลาววา นางซูจีจะมีบทบาท สําคัญในการนําความสมานฉันทสูพมา ; ถอยแถลงของรัฐบาลไทย เมื่ อ ๑๙.๑๑ น. วั น ที่ ๑๓ พฤศจิ ก ายน พ.ศ.๒๕๕๓ ทางการไทยได มี ถ อ ยแถลงถึ ง กรณี การปล อ ยตั ว นางซู จีว า รัฐ บาลไทยยิ น ดี อย า งยิ่ ง และการปล อ ยตั ว นางซู จี ถื อ เป น ก า วสํ า คั ญ ใน กระบวนการปรองดองแหงชาติและประชาธิปไตย ของพมา โดยไทยยืนยันความมุงมั่นที่จะรวมมือกับ รัฐบาลใหมของพมาเพื่อสันติภาพ การพัฒนาเพื่อ ความมั่นคงของประเทศพมาตลอดจนความอยูดี กินดีของประชาชน ; กองกําลัง ติดอาวุธชนกลุมนอยที่สําคัญๆ ของพมา กองกํ า ลั ง ดั ง กล า วเปรี ย บเหมื อ นหนาม ยอกอกหรือหอกขางแครของรัฐบาลพมา ตราบใดที่ พมาไมสามารถเจรจาเพื่อจัดผลประโยชนใหลงตัวได


กลุมกองกําลังเหลานี้จะแผลงฤทธิ์ จนทําใหรัฐบาล พมา ไมวายุคใดสมัยใดถึงแมจะเปนเผด็จการหรือ ประชาธิ ป ไตยก็ ต ามย อ มก อ ให เ กิ ด ป ญ หาด า น ความมั่ น คงอยู ต ลอดไป แม ว า พม า จะไม ค อ ยมี ปญหาภัยคุกคามจากตางประเทศก็ตาม แตปญหา ชนกลุ ม น อ ยชาติ พั น ธุ ต า งๆ เหล า นี้ ไ ด ก อ ป ญ หา ใหกับรัฐบาลพมามาโดยตลอด และยิ่งกดดันโดย กํา ลัง รัฐ บาลมากเท า ไร ความรุน แรงในการตอ สู ยิ่งมากขึ้นเทานั้น ยิ่งปญหาการเลือกตั้งครั้งใหมนี้ ไมเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางจากชนกลุมนอย ดังกลาวดวย ยิ่งสรางปญหาใหกับรัฐบาลที่มาจาก การเลือกตั้งครั้งนี้อยางแนนอน ที่สําคัญเมื่อมีการ ปะทะกัน ทุก ครั้ ง ประชาชนพม า ที่ อยู ใ นพื้ น ที่สูร บ อพยพเข า มาในประเทศไทยก อ ให เ กิ ดป ญ หามา โดยตลอด ป จ จุ บั น ชนกลุ ม น อ ยของพม า ที่ สํ า คั ญ ๆ มีดวยกัน ๘ กลุมคือ ๑. องคการเอกราชคะฉิ่น (KIO) มีฐานที่ มั่นอยูทางภาคเหนือของพมา อยูติดกับเขตปกครอง ตนเอง ทิ เ บตประเทศจี น มี กํ า ลั ง พลทางทหาร ๑,๕๐๐ คน อาวุ ธ หนั ก ประกอบด ว ย ป น ค.๖๐, ค.๘๐, ค.๘๑, ค.๘๒ และเครื่องยิงจรวดอารพีจี ๒. กองทัพสหรัฐวา (UWSA) มีกําลังทหาร ๓,๐๐๐ คน ซึ่ ง เป น กองกํ า ลั ง ที่ มี ศั ก ยภาพด า น ยุท โธปกรณ ที่ ทั น สมั ย มากกว า กลุม อื่ น ๆ ในพม า มี ย านยนต หุ ม เกราะมากกว า ๑๐ คั น มี ป น ต อ สู อากาศยานอาวุ ธ หนั ก ประกอบด ว ย ป น ค.๖๐, ค.๘๐, ค.๘๑, ค.๘๒ เครื่องยิงจรวดอารพีจี และ ปนไรแรงสะทอน (ปรส.)

๓. พรรคมอญใหม (NMSP) มีฐานกําลัง อยู ท าง อ.พญาตองซู ประเทศพม า ด า นตรงข า ม อ.สั ง ขละบุ รี จ.กาญจนบุ รี มี ก องกํ า ลั ง ประมาณ ๑,๐๐๐ คน อาวุธหนักประกอบดวย ค.๖๐,ค.๘๒ และอารพีจี ๔. กองกํ า ลั ง พั น ธมิ ต รประชาธิ ป ไตย (NDAA) หรือกลุมกะเหรี่ยงคอยาว มีกองกําลังทหาร ประมาณ ๕๐๐ คน อาวุธหนักประกอบดวย ค.๖๐, ค.๘๐, ค.๘๑ และอารพีจี ๕. กองกําลังไทใหญ (SSA) “เหนือ” มีฐาน ที่ มั่ น อยู ท างฝ ง ตะวั น ตกของแม น้ํ า สาละวิ น มี กองกําลังประมาณ ๒,๐๐๐ นาย อาวุธหนักประกอบดวย ค.๖๐, ค.๘๐, ค.๘๑, ค.๘๒, อารพีจี และ ปรส. ๖. กองกําลังกลุมเมืองสา ฐานที่มั่นอยู ในรัฐฉานบริเวณสามเหลี่ยมเขตติดตอประเทศพมา ลาว และเวียดนามมีกองกําลังประมาณ ๓๐๐ นาย อาวุธหนักมี อารพีจี และ ค.๖๐ ๗. ก อง กํ า ลั ง กลุ มกะเหรี่ ยงพุ ท ธ ประชาธิปไตย (DKBA) มีฐานที่มั่นอยูบริเวณ ค า ยวาเลย บา นวาเลย จ.เมีย วดี ซึ่ ง เปน หมูบา น ติ ด ชายแดนทางฝ ง อ.พบพระ จ.ตาก ห า งจาก ชายแดนไทย ๓-๔ กม. โดยมีกองกําลังประมาณ ๕,๐๐๐ คน อาวุ ธ หนั ก ประกอบด ว ยป น ค.๖๐, ค.๘๐, ค.๘๑, ค.๘๒ อารพีจี และ ปรส. ๘. กองกําลังกะเหรี่ยงคริสต (KNU) มีฐาน ที่มั่นอยูใน จ.เมียวดี ประเทศพมา ทางฝงตรงขาม อ.แมสอด จ.ตาก มีกองกําลังประมาณ ๕,๐๐๐ คน อาวุธหนักประกอบดวยปน ค.๖๐, ค.๘๐, ค.๘๑ อารพีจี และ ปรส.


สรุปขอคิดเห็น ประเทศพมาเปน ประเทศสําคัญประเทศ หนึ่ ง อยูติ ด กับ ชายแดนไทยด า นตะวั น ตก โดยมี ชายแดนติ ด ต อ กั น ถึ ง ๒,๔๐๐ กม. มี ทั้ ง ที่ เ ป น พื้นดิน แมน้ําและทะเล ไทยกับพมาเคยเปนไมเบื่อ ไมเมาสูรบกันมาตลอดในอดีต และไทยเคยเสียกรุง ใหแกพมาถึง ๒ ครั้งในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเปน ศั ต รู สู ร บกั น มาผลั ด กั น รุ ก ผลั ด กั น รั บ จนมาถึ ง ตอนตนกรุงรัตนโกสินทรและไดสิ้นสุดราบคาบลง เมื่อเขาสูสมัยการลาเมืองขึ้นของชาวตะวันตก โดย พมาไดตกเปนเมืองขึ้นของอังกฤษการสูรบระหวาง ไทยพมาไดสิ้นสุดลง อังกฤษเริ่มเขายึดดินแดนพมา ตั้ ง แต ป พ.ศ.๒๓๖๗ โดยพม า เริ่ ม เสี ย ดิ น แดน หัวเมืองมอญและรัฐยะไขใหกับบริษัทอีสทอินเดีย ของอัง กฤษ และตกเปน เมือ งขึ้ น ของอัง กฤษโดย สมบูรณตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๔๒๙ และไดรับ เอกราชในป ๒๔๙๑ รวมทั้งสิ้น ๖๒ ป อยางไรก็ตามหลังพมาไดรับเอกราชจาก อังกฤษ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยในพมา แทบจะไมเกิดขึ้นสวนใหญจะปกครองโดยอํานาจ เผด็จการทางทหารมาโดยตลอดตั้งแตป ๒๕๐๑ ซึ่ง เปนปที่นายพลเนวินทําการปฏิวัติยึดอํานาจจาก รัฐบาลพลเรือน ทํ า ใหการปกครองโดยเผด็จการ ทางทหารเกือบจะสมบูรณแบบมาจนถึงปจจุบัน สําหรับปญหาความไมสงบภายในของพมา ไดสงผลกระทบตอไทยมาโดยตลอด ปจจุบันไทย ตองแบกรับผูอพยพสัญชาติพมาเขามาอยูในไทย ธรรม

เปนแสนคน และแตละครั้งเมื่อมีการปะทะกันบริเวณ ชายแดนระหว า งพม า กั บ กองกํ า ลั ง ชนกลุ ม น อ ย ชาติ พั น ธุ ต า งๆ เช น กะเหรี่ ย งหรื อ ไทใหญ ก็ ต าม กระสุนอาวุธหนักถูกยิงล้ําแดนเขามาตกในเขตไทย สรางความสูญเสียใหแกทรัพยสินและชีวิตของไทย มาโดยตลอด ฉะนั้ น การเลื อ กตั้ ง ครั้ ง ใหม นี้ ก็ ไ ม อ าจ คาดหวังไดวาพมาจะมีการปกครองแบบประชาธิปไตย จนเป น ที่ ย อมรั บ ของทุ ก ฝ า ยเพราะมี ข อ มู ล ว า ฝายชนะการเลือกตั้งไดอาศัยอํานาจทหาร ทําการ ฉอฉลเพื่อโกงการเลือกตั้งกันทุกรูปแบบจนไมเปน ที่ยอมรับของประชาชนโดยเฉพาะนางอองซาน ซูจี อางวาถาไดรับการปลอยตัวเมื่อไหรจะทําการประทวง และคว่ําบาตรการเลือกตั้งครั้งนี้จนถึงที่สุด ดังนั้น จึงสรุปไดวาการเลือกตั้งครั้งนี้ในรอบ ๒๐ ปไมได สร า งความหวั ง ให กั บ ชาวพม า แต อ ยา งใด ความ อดอยาก ยากจน ความไรเสถียรภาพ การคุกคาม ต อ ชี วิ ต และทรั พ ย สิ น ของชาวพม า ยั ง คงดํ า รงอยู ต อ ไป และไทยจะต อ งแบกรั บ ป ญ หาผู อ พยพที่ ทํามาหากินในไทยเพิ่มมากขึ้นอยูตอไป ซึ่งจะทําให เกิดการแยงอาชีพของคนไทย และที่สําคัญคือความ มั่นคงของไทย เพราะไมอาจทราบไดวาพมาอพยพ ตางๆ เหลานี้จะมีทหารพมาแฝงตัวเขามาทํางาน โดยเฉพาะคนงานกอสรางตางๆ ในเขตคายทหาร และสถานที่ราชการสําคัญของไทย อาจถูกทหารพมา ที่แฝงตัวหาขาวในรูปกรรมกรกอสราง ก็อาจจะเปน อันตรายตอความมั่นคงของชาติไดในอนาคต "


นายหวงใย

ของใครหลาย ๆ คนขณะนี้ เห็นจะเปนเรื่องโรงไฟฟานิวเคลียรฟูกูชิมะที่ญี่ปุนระเบิด ซึ่งเปนเรื่องที่นาตกใจเปนอยางมาก เนื่องจากประเทศญี่ปุนเปนประเทศที่ขึ้นชื่อวามีระบบรักษาความ ปลอดภัย และวิทยาการในการปองกันเปนอันดับตน ๆ ของโลก ตอนนี้หลาย ๆ คน คงได รั บ ฟอร เ วิ ร ด เมลล เรื่ อ งสารกั ม มั น ตรั ง สี ที่ ม า กั บ ฝนจนเป น ที่ ต กใจกั น ไปตามๆ กัน ความจริงแลว สารกั ม มั น ตรั ง สี นั้ น มี อ ยู ร อ บ ๆ ตั ว เ ร า ทั้ ง จ า ก จอโทรทั ศ น จากนาฬิ ก า เรืองแสง จากการเอกซเรย ซึ่งผลกระทบจากกัมมันตรังสี ตอรางกายมนุษยจะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อไดรับในปริมาณมาก โดยรังสีที่แผออกจากธาตุกัมมันตรังสี เมื่อผานเขา ไปในสิ่งมีชีวิต ทําใหเกิดผลเสียตอสิ่งมีชีวิต ๒ แบบ คือ ผลของรังสีที่มีตอรางกาย คือ เกิดเปนผื่นแดงขึ้น ตามผิวหนัง ผมรวง เซลลตายเปนแผลเปอย เกิดเนื้อเสนใยจํานวนมากที่ปอด เกิดโรคเม็ดโลหิตขาวมาก เปนตน ซึ่งรางกายจะเปนมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณของรังสีที่ไดรับ สวนของรางกายที่ได และผลของรังสีที่ เกี่ยวกับการสืบพันธุ คือ ทําใหโครโมโซมเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลทําใหลูกหลานเกิดเปลี่ยนลักษณะทาง พันธุกรรมได


เราสามารถแยกอาการ เจ็บปวยจากการรับกัมมันตรังสีใน ปริมาณมากออกเปน ๔ ระยะ คือ ระยะแรก เป น ระยะที่ ผู บ าดเจ็ บ จะมี อ าการคลื่ น ไส อาเจียน เบื่ออาหาร อาการเหลานี้ จะเกิดขึ้นหลังจากไดรับรังสี ๒-๓ ชั่วโมง และกินเวลานาน ๒-๓ วัน หากไดรับรังสีปริมาณไมมากนัก ระยะที่ ๒ เป น ระยะที่ อาการตางๆ ขางตนหายไป ผูบาดเจ็บจะรูสึกสบายดีเปนเวลาหลายวัน และอาจนาน ๒-๓ สัปดาห ระยะที่ ๓ เริ่มตั้งแตสัปดาหที่ ๓ ถึงสัปดาหที่ ๕ หรืออาจเร็วกวานี้หากไดรับรังสีปริมาณมาก ผูปวย จะมีอาการผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร เกิดภาวะเลือดออกงาย โลหิตจาง ติดเชื้อ และผมรวง และระยะสุดทาย เปนระยะที่ผูปวยเริ่มฟนคืนสูสภาพปกติหากไดรับรังสีไมมากนัก หรือเสียชีวิต ในกรณีที่ไดรับรังสีในปริมาณมาก ทั้ ง นี้ สิ่ ง ที่ น า กั ง วลในประเทศไทย ไมใชเรื่องสารกัมมันตรังสีที่จะแพรกระจาย มาจากประเทศญี่ปุน แตเปนเรื่องการสราง โรงไฟฟานิวเคลียรในอนาคต ที่หลายๆ ฝาย เห็นพองตองกันวา ในประเทศไทยจําเป น ต อ งมี โ รงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร กรณี นี้ เ ป น กรณีศึกษาและเปนคําถามวาประเทศไทย พรอมแลวหรือ?

ขอขอบคุณ : นิตยสาร Hospital Health Care


Jetta, Berlin 2010 การเดินทางของคณะผูชวยทูตทหารครั้งนี้ ถือเปนครั้งแรกในรอบปงบประมาณ ๕๔ โดย กห./ กองทัพเยอรมันไปเยี่ยมชมกิจการทางทหาร หรือ ที่เรียกกันในภาษาเยอรมันวา Attache Reise หรือ ภาษาอังกฤษวา Attache Tour การเดินทางเริ่มขึ้น ในตอนเช า ของวั น ที่ ๒ พ.ย.๕๓ โดยมี ก ารแจ ง กํ า หนดการให ท ราบทั้ ง ทางเอกสารและ e-mail ให ทุก คนได ท ราบ มี ก ารเตรี ย มการลว งหนา นาน พอสมควร ไมมีการติดตอกันทางโทรศัพทแมแตนอย การประสานงานทุกอยางใชผานสํานักงาน ซึ่งในที่นี้ หมายถึง ลามประจําสํานักงาน ผชท.ทอ.ไทย/เบอรลิน จะเปนตัวกลางประสานงาน คงเปนเพราะวาในเยอรมัน คงมี ผู ช ว ยทู ต ทหารหลายประเทศด ว ยกั น หาก มั ว แต ใ ช โ ทรศั พ ท ติ ด ต อ กั น คงจะวุ น วายและ สอบถามไปมาไมรูจักจบสิ้น ผูที่ ไดรับมอบหมาย อย า งเป น ทางการให ดู แ ลการเดิ น ทางครั้ ง นี้ เ ป น นายทหารเยอรมัน (ทหารอากาศ) ยศนาวาอากาศโท ชื่อ Toby Schmidt เปนนักเรียนรุนพี่และผูนี้ก็คือ ผูที่ไดรับมอบหมายจาก กห./กองทัพเยอรมัน (ในสวน ของเบอรลิน) ใหเปนผูประสานงานกับคณะผูชวย

ทู ต ทหารทั้ ง หมด ขอเพิ่ ม เติ ม ว า กห./กองทั พ เยอรมันยังคงแบงที่ทําการเปน ๒ สวน คือสวนหนึ่ง มีที่ตั้ง สํา นั ก งานในกรุง เบอร ลิน และอีก สว นหนึ่ ง มีที่ตั้งสํานักงานอยูที่เมือง (กรุง)บอนนซึ่งเคยเปน เมื อ งหลวงเก า และที่ เ มื อ งบอนน นั้ น ก็ ค งต อ งไป แนะนําตัว (call) กับผูบังคับบัญชาระดับสูงในโอกาส ตอไป โดยที่การแนะนําตัวในสวนของกรุงเบอรลิน นั้น ไดดําเนินการครั้งแรกแลวเมื่อไดเดินทางมาถึง ที่นี่คือ เมื่อ ๓๐ ต.ค.๕๓ โดยไปรายงานตัวที่ FueS II -5 มี Freg.Capt. von Plattenberg เปนผูแทนรับ การรายงานตัว ปจจุบันนายทหารผูนี้ไดเกษียณอายุ ไปเมื่อสิ้นเดือนที่ผานมา มีคนใหมมาทําหนาที่แทน ที่ เ บอร ลิ น นี้ ต อ งไปรายงานตั ว กั บ ผู บั ง คั บ บั ญ ชา ระดับสูงอีกเชนกัน เชาตรูเมื่อเวลา ๐๗๐๐ ใหเสมียนประจํา สํานักงาน (พ.อ.อ.เสรีฯ) เปนผูขับรถไปสงที่สนามบิน Berlin Tegel ใชเวลาเดินทางประมาณครึ่งชั่วโมง รถไม ติ ด มากนั ก เนื่ อ งจากเป น เส น ทางขาออก สนามบินทหาร Tegel ซึ่งเปนสนามบินลักษณะ คลายบานเราคือเปนสนามบินที่ใชรวมกันระหวาง


พลเรื อ นและทหาร เพี ย งอยู กั น คนละฟาก ถึ ง หองรับรองก็ยังเปนเวลาเชาอยู มีสมัครพรรคพวก มากัน ไม ม ากนั ก ได โ อกาสก็ เ ลยแนะนํา ตัว เท า ที่ ทําได การทั ก ทายพูด คุ ย กัน ใชภ าษาเยอรมัน ซึ่ ง ก็ ถ นั ด เพราะตนเองมี พื้ น ฐานภาษาเยอรมั น อยู บางสวน รวมทั้งเปนนโยบายของ กห./กองทัพเยอรมัน ดวยที่ตองการและถือปฏิบัติในการใชภาษาเยอรมัน ในการดําเนินกิจกรรมของคณะผูชวยทูตทหารใน เยอรมั น ทุ ก กิ จ กรรม ก็ ถื อ ว า ดี เ พราะว า เป น การ บังคั บใหทุ กคนตองรูและเขาใจภาษาเยอรมันไป ในตัว ไดทําความรูจักกับผูชวยทูตหลายประเทศ ทั่ว โลก แมวั น นี้ ย อดกํา ลัง พลจะมาไม ค รบก็ตาม แต ก็ ถื อ ว า มามากพอสมควร เห็ น จะมี จํ า นวน ๓๐ ประเทศได (จากกวา ๘๐ ประเทศ จํานวนรวม ๑๓๘ คน) เป น เพราะบางคนอยากมาบางคน ไม อ ยากมา คนที่ เ คยมาแล ว ก็ ไ ม อ ยากมาอี ก คงเพราะว า แต ล ะป จ ะเป น กิ จ กรรมคล า ย ๆ กั น สําหรับเรานั้นถือวาสําคัญเพราะเปนครั้งแรกที่ตอง ทําความรูจักสรางความคุนเคยกับผูชวยทูตทหาร ทุ ก คน และที่ ต อ งทํ า ความคุ น เคยเป น พิ เ ศษคื อ ผูชวยทูตทหารจากมิ ตรประเทศรอบบานของเรา ไดแก เกาหลี จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย ซึ่งบางคนก็ คุนเคยกับเมืองไทย/คนไทยพอสมควร จึงสนิทเปน เพื่ อ นกั น ได ร วดเร็ ว ผู ช ว ยทู ต จี น นั้ น จบโรงเรี ย น เสนาธิการทหารจากเยอรมัน เคยอยูที่เยอรมันนาน ๒ ป สวนผูชวยทูตเวียดนามเคยเรียนหนังสือระดับ มหาวิทยาลัยในเยอรมันตะวันออกเมื่อ ๒๕ ปที่แลว คล า ยๆ กั บ เราที่ เ คยเรี ย นที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ทหาร ที่นอยบิแบรกมาเมื่อ ๒๕ ปที่ผานมาเชนเดียวกัน

ใชภาษาเยอรมันกันเปนวาเลน สวนผูชวยทูตเวียดนาม นั้น เคยอยูเมืองไทยมาวาระหนึ่ง ๓ ป พูดไทยได รูจักนายทหารไทยและอดีตผูชวยทูตไทยหลายคน การตอนรับอยางเปนทางการกระทําขึ้นที่ อาคารผูโดยสาร ณ สนามบินทหาร กอนที่จะขึ้นเครื่อง โดย Vize Admiral Kuehn ผูแทน กห./กองทัพ เยอรมันเปนผูกลาวตอนรับ โดยไดกลาวความในใจ ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค ข องการดู ง านหน ว ยงานด า น โลจิสติคสและฐานทัพของกองทัพเยอรมันครั้งนี้วา ความสํ า เร็ จ ทั้ ง หมดของภารกิ จ กองทั พ เยอรมั น กล า วคื อ ความสํ า เร็ จ ของทั้ ง สามเหล า ทั พ คื อ กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศเยอรมันนั้น ขึ้นอยูกับการทํางานรวมกันเปนหลัก นอกจากนั้น ก็เปนความสําคัญของงานดานการขาว (Bundes Nachrichten) และการสงกําลังบํารุง(โลจิสติคส) สิ่งเหลานี้ทําใหกองทัพเยอรมันแข็งแกรงมาจนถึง ทุกวันนี้ องคความรูและวัฒนธรรมองคกรนี้จะได/ และไดสืบทอดสูคนรุนหลังตอไป ทั้งนี้ การสงกําลัง บํารุง(โลจิสติคส)ของเยอรมันที่สงใหกับหนวยกําลัง นั้ น ต อ งเป น องค ก รที่ เ ข ม แข็ ง โดยต อ งมี พื้ น ฐาน อยูกับระบบเศรษฐกิจ วิทยาศาสตรเทคโนโลยีของ ประเทศเป น หลั ก กองทั พ เยอรมั น ก็ มี ร ะบบงาน ทํางานรวมกับภาคเศรษฐกิจ/วิทยาศาสตรเทคโนโลยี อยางแข็งแกรงอยางตอเนื่องเรื่อยมา (ตั้งแตกอน สงครามโลก) ซึ่งก็เปนไปไดดวยดี ทั้งนี้ ในการดูงาน ที่เมือง Bremen นั้น กองทัพเยอรมันไดมอบหมาย ใหนายพล Zimmer ผูซึ่งรับผิดชอบงานดานสงกําลัง บํ า รุ ง (โลจิ ส ติ ค ส ) ของกองทั พ เยอรมั น เป น ผู ดู แ ล และตอบขอซักถามตลอดการเดินทางดูงานครั้งนี้


ทานนายพลผูนี้ไดกลาวตอนรับแมจะเพียงพูดสั้นๆ แตไดใจความ ครั้นไดเวลาออกเดินทาง คณะของผูชวย ทู ต ทหารทั้ ง หมดก็ อ อกจากห อ งรั บ รองไปขึ้ น

เครื่องบิน C-160 Transal เครื่องบินแบบนี้ถูกสราง และใช ง านมานานแล ว เป น เครื่ อ งบิ น ลํ า เลี ย ง ขนาดกลาง ขนาดเล็กกวา C-130 ของสหรัฐฯ มี ๒ เครื่องยนต แมจะผานการใชงานมานานหลายสิบป แตเครื่องบินก็ยังอยูในสภาพดีและก็นาจะมีความ ปลอดภั ย มากด ว ยตามมาตรฐานของเยอรมั น นี การโดยสารเครื่ อ งบิ น C-160 นี้ ถื อ เป น ครั้ ง ที่ ๒ ในชีวิต เนื่องจากเคยใชบริการมาแลวเมื่อสมัยเปน นัก เรีย นนายเรื ออากาศเยอรมั นเมื่ อเกือบ ๓๐ ป ที่แลว การเดินทางไปเมือง Bremen ดวยเครื่องบิน C-160 Transal ใชเวลาเพียง ๕๐ นาที เมื่อลงแลว ก็เดินทางดวยรถโดยสาร (รถบัส) ตอไปยังบริษัท Rhein Metal ซึ่งมีที่ตั้งอยูหางจากสนามบินโดย เดินทางดวยรถยนตใชเวลาเพียง ๔๐ นาที เมื่อถึง ที่หมายแลว นายพล (ทหารบก) Zimmer มาตอนรับ

พรอมกับผูแทนบริษัทชื่อนาย Volgt ที่นี่มีการรักษา ความปลอดภั ย อย า งเข ม งวด ห า มมิ ใ ห ถื อ กล อ ง รวมทั้งโทรศัพทมือถือที่มีกลองในตัวเขาไปในอาคาร โดยเด็ดขาด แตก็ใหเกียรติคณะพอสมควร กลาวคือ ไมมีการตรวจ แตอาศัยการบอกกลาว ซึ่ ง ทางคณะผู ช วยทู ตทหารก็ ให ความ รวมมือดวยดี การบรรยายสรุปที่นี่เริ่มตน ด ว ยการแนะนํ า กิ จ การบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง มี งบดุลมากถึง ๓,๔๒๐ พันลานยูโรตอป จํ า นวนบุ ค ลากร ๑๙,๗๖๖ คน ถื อว า บริ ษัทมี ขนาดใหญมาก มี หลาย กิจการ เกี่ยวกับเทคโนโลยีปองกันประเทศและ เทคโนโลยีทั่วไปไดแก Land System, Weapon & Ammunition, Air Defense, C4ISTAR, Propellant, Simulator & Training ธุรกิจมีการคาขาย กั บกองทั พเยอรมั นเพี ย งร อ ยละ ๓๖ นอกนั้ น เป น ธุรกิจขามชาติ ไดมีการชี้แจงวาสัดสวนการคาขาย กับรัฐบาล/กองทั พเยอรมัน นั้นนับวันจะมีนอยลง แตสัดสวนกลับไปเพิ่มที่ธุรกิจขามชาติแทน ที่นาหดหู คือบริษัทฯ นี้ ไดมีธุรกิจไปทั่วโลกขามไปถึงสิงคโปร ออสเตรเลี ย ข ามหัวประเทศไทยไปไดอยางน าพิศวง การบรรยายสรุ ปโดยรวมมีหัวข อสํ าคั ญอยู ๒ หัวข อ หลั ก คื อ หั วข อแรก การส ง กํ า ลั ง บํ า รุ ง ที่ ทํ า ให กั บ กห./กองทั พ เยอรมั น ภายใต การจั ดการและความ รวมมือกับภาคเศรษฐกิจในประเทศอยางเหนียวแนน ซึ่งบริษัทผลิตอาวุธตาง ๆ ตองมีพันธะหนาที่โดยตรง กับกองทัพ โดยเฉพาะการสงกําลังจากหลังไปหนา ไปใหกบั หนวยกําลังที่มีการปฏิบัติการ/การฝกทั้งใน และตางประเทศ และสงกําลังจากหนากลับมาหลัง


เพื่อการซอมบํารุง ทั้งหมดถือวาเปนภารกิจหนาที่ที่ ยิ่งใหญที่บริษัท/เอกชนมีตอราชการ (ทหาร) ทั้งนี้ นับตั้งแตขั้นตอนการสะสม การประกันความสําเร็จ ของระบบการสงพัสดุ การประกันความสําเร็จของ ระดับความพรอมของยุทโธปกรณของหนวยกําลัง และการจัดเจาหนาที่สวนหนาไปสนับสนุนในพื้นที่ ปฏิบัติการ โดยขอมูลการใชงานยุทโธปกรณทั้งหมด จะถู ก ส ง โดยตรงจากพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารผ า นระบบ ดาวเทียมกลับมายังสวนหลังเพื่อเตรียมการขนยาย หรือซอมบํารุง/สงกลับเพื่อใชงานในสวนหนาตอไป ทั้งนี้ ระบบสงถายขอมูลถือเปนหัวใจสําคัญที่สุด ของการสงกําลังระหวางหนวยกําลังในสวนหนากับ หนวยสนับสนุนในสวนหลัง การบรรยายสรุปครั้งนี้ ได เ น น ย้ํ า และลงลึ ก ในเรื่ อ งการบริ ห ารข อ มู ล สงกําลังบํารุงมากที่สุด สําหรับประเด็นสําคัญประการ ที่ ๒ คื อ การพั ฒ นาอากาศยานไร นั ก บิ น ที่ ติด ตั้ ง ระบบตรวจจับ (Sensor) แบบตางๆ ไดแก EO IR Radar อากาศยานไรนักบินที่นําเสนอนี้ไดแก ก) KZO : Klein Fluggeraet Zielort รัศมีปฏิบัติการ ประมาณ ๖๐๐ กม. บินนานกวา ๓ ชั่วโมงครึ่ง ไดนํา เข า ประจํ า การในอั ฟ กานิ ส ถานตั้ ง แต ป ๒๐๐๙ จนถึงขณะนี้ ซึ่งการประจําการนอกประเทศตองมี การคงระดับความพรอมใหสามารถปฏิบัติการไว ตลอดเวลา และ ข) SAATAG – Heron I (ผลิตโดย อิสราเอล) Grossweight ๑,๒๐๐ กก. บรรทุกได ๒๕๐ กก. ที่ เ ขา ประจํ า การในอั ฟ กานิ ส ถานแล ว เชนกัน เครื่องบินไรนักบินนี้ทําการบินขึ้น-ลงโดย เจาหนาที่ของบริษัท ฯ (จนท.พลเรือน ๒ ชุด จํานวน ๑๙ คน สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันทํางานเปนผลัดๆ

ละ ๔ สัปดาห) ซึ่งเปนผูรับผิดชอบในการใชงานใน ระดับหนึ่ง การบินขึ้นอาศัยวิธีปลอยจากฐานจรวด การลงนั้นลงดวยรมชูชีพ และกองทัพเยอรมัน (ทหาร) จะรั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ทางยุ ท ธการ สํ า หรั บ การบรรยายสรุ ป ที่ เ หลื อ เป น การนํ า เสนอ ผลิตภัณฑเกี่ยวกับเครื่องฝกบินจําลอง ซึ่ง ทบ.ไทย ก็ไดจัดหาไปใชงาน ๑ ระบบ คือ TACOS II สวนที่ เปนเครื่องชวยฝกหลักๆ ที่นําเสนอก็คือ Sim. ของ Typhoon, Tiger, Tornado, NH-90, Airbus - 400 และเครื่องฝกบินประจําการในศูนยฝก ฮ. เหลาทัพ เปนตน ในการนี้ ไดรับการบอกเลาว า การเริ่มใช Sim. ในเยอรมันนีนั้นมีมาตั้งแตป ค.ศ.๑๙๒๙ ครั้งนั้น เรียกวา Pilot Maker ใชฝกนักบินเพื่อการรบในสงคราม โลก เนื่ อ งจากขณะนั้ น ต อ งการนั ก บิ น มาก ผลิ ต นักบินไมทัน ตองใชเครื่องชวยฝก ฝกเอาแคเพียง ใหรูตําแหนงเครื่องวัดและสามารถกดปุมใชคันโยก เปนก็พอ แคนั้นก็บินได-รบไดแลว ขณะนี้ บริษัทฯ ยังอยูระหวางการพัฒนาเครื่องชวยฝกแบบรวมการ ใหกั บทั้ ง ๓ เหลา ทั พ โดยระบบใหมนั้น เชื่อ มโยง ข อ มู ล แบบบู ร ณาการ สามารถให ข อ มู ล และการ ประเมินผลที่เสมือนจริงมากที่สุด เชน หากมีการยิง เครื่ อ งบิ น ขา ศึ ก ตก ก็ จ ะรับทราบกั น ทั้ง กองกํ า ลั ง ของ ๓ เหลาทัพ จะไมปรากฏเปาหมายนี้บนทองฟา อีกตอไป กองกําลังทั้ง ๓ เหลาทัพจะไดมุงปฏิบัติกิจ เฉพาะอื่นๆ ตอไป และชวงทายสุดของการบรรยายสรุป บริษัทฯ ไดนําเสนอเครื่องชวยฝกการเรียนการสอน ของเจาหนาที่ภาคพื้นซึ่งลวนแตนาสนใจทั้งสิ้น หลังจากไดรับการบรรยายสรุปแลวก็เปน การพาชมเมือง Bremen ซึ่งก็ไดทราบวาที่เมือง


Bremen นี่เปนจุดเริ่มตนของการเปนเมืองคาขาย มีโรงงานกาแฟชื่อดังเปนโรงงานแรกของเยอรมันนี ชื่อ CAFEIN Companie ณ ที่นี้คือแหงแรกไดมีการ พัฒนาเทคนิคการแยกคาเฟอินออกจากกาแฟสด ไดเมื่อป ค.ศ.๑๙๐๔ ความคิดนี้เกิดขึ้นเนื่องจาก บิดาของผูคิดคนสูตรเกิดอาการแพฤทธิ์กาแฟอยาง แรง แมจะชอบกาแฟเปนชีวิตจิตใจก็ตาม หลังจาก ประสบความสําเร็จในการสกัดคาเฟอินออกจาก กาแฟได บิดาของนักคิดคนสูตรกาแฟนี้ก็สามารถ กลั บ มาดื่ ม กาแฟสู ต รได ต อ ไป นอกจากนั้ น หาก ยอนกลับไปในป ค.ศ.๑๒๐๐ เมืองนี้คือตลาดปลา ของเยอรมั น และเป น เมื อ งท า เรื อ สํ า คั ญ เมื อ งนี้ ตั้งอยูบนฝงแมน้ํา Viza แตเดิมมีปญหาเกี่ยวกับ

๒ เมืองโดยปริยาย เมืองเกามีประชากรอาศัยอยู ๕ ๔ ๐ ,๐ ๐ ๐ ค น ส ว น เ มื อ ง ใ ห ม มี ป ร ะ ช า ก ร ๑๕๐,๐๐๐ คน ตรงฝงแมน้ํามีคันดิน (Deich) กั้น ตลอดแนวป อ งกั น น้ํ า ท ว ม พื้ น ที่ ข า งๆ คั น ดิ น นี้ ถูกสรางเปนบานเรือนชั้นดีของคนรวย ที่นี่มีวิทยาลัย การเดินเรือ (สรางตอจากหอประภาคารเกา) และมี หนวยกูภัยที่คอยชวยเหลือผูประสบภัย การกอสราง และคาใชจายของหนวยกูภัยนี้ไดมาจากการบริจาค ซึ่ ง ถื อ เป น สถิ ติ ว า ที่ นี่ ไ ด รั บ การบริ จ าคเป น วงเงิ น สู ง สุ ด เท า ที่ เ คยมี ม าในเยอรมั น นี ได มี ก ารสร า ง สนามกี ฬ าซึ่ ง รวมถึ ง สนามกี ฬ าของที ม ฟุ ต บอล Werder Bremen ดวย คําวา Werder แปลวา เกาะ กลางแมน้ํา เราจึงเห็นวาหลายๆ เมืองมีคํานําหนา วา Werder ก็เพราะวาเปนเมือง เมือง Wilhemshaven ที่ มี สั ญ ลั ก ษณ เ ป น เกาะกลาง แมน้ํา เดิมทีชาวเมืองดื่มน้ําจาก แมน้ํ าและใช น้ํามาทําเบีย ร แต ตอมาตามที่ชาวเมืองที่นี่เลาขาน วาในยุคสมัยเมื่อป ค.ศ.๑๘๐๐ ผูคนไมมีน้ําดื่ม มีแตเบียร ผูคน จึงหันมาดื่มเบียรแทนน้ําBremen จึ ง กลายเป น เมื อ งที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ในการค าขายเบี ย ร อี ก ทางหนึ่ ง การเดินเรือเนื่องจากระดับน้ําในแมน้ํามักขึ้นอยูกับ เบียรที่ถือเปนตํานานคือ Beck Bier เปนเบียรลือชื่อ น้ําขึ้นน้ําลง นักธุรกิจเดินเรือจึงรวมตัวกันบริจาค ของคนเยอรมันทางเหนือ สวนตํานานเกี่ยวกับไวน และหาเงิ น ไปซื้ อ ที่ ดิ น แถบชายฝ ง ทะเลในป เล า กั น ว า แม ที่ นี่ จ ะผลิ ต ไวน ไ ม ไ ด เ พราะสภาพ ค.ศ.๑๘๒๗ เพื่อสรางทาเรือใหมและตอมาทาเรือ อากาศไมอํานวย แตบรรดาพอคาตางๆ ก็ไดนําเขา ก็กลายเปนเมืองใหมคือ Wilhemshaven เหตุนี้ ในป ไวนหลากหลายชนิดมาจากทั่วทุกภาคของเยอรมัน ค.ศ.๑๙๐๐ เมือง Bremen นี้จึงถูกแบงกลายเปน นํามาเปดตลาดขายไวนที่นี่ Bremen จึงกลายเปน


ตลาดขายส ง ไวน ที่ ยิ่ ง ใหญ คณะได ไ ปเยี่ ย มชม Rathaus ของเมืองนี้ซึ่งมีอายุหลายรอยป Rathaus ไดถูกสรางขึ้นเมื่อป ค.ศ.๑๔๑๖ ใชเปนที่ทําการของ ตลาดไวนในสมัยนั้น ที่ Rathaus นี้มีหองใตดิน ขนาดใหญเปนที่เก็บไวน บรรจุคนไดประมาณ ๘๐๐ คน ปจจุบัน Rathaus ใชเปนสถานที่เลี้ยงรับรองแขกบาน แขกเมือง ซึ่งเย็นนี้คณะผูชวยทูตทหารก็จะเดินมา ที่นี่เพื่อมาทานอาหารค่ําในฐานะแขกบานแขกเมือง Rathaus

เชนเดียวกัน มุมหนึ่งตรงดานหนาของ Rathaus เปนรูปปนตํานานโบราณ มีลา สุนัข แมว และไก อยางละ ๑ ตัว ยืนซอนกัน โดยลาอยูลางสุด ไกอยู บนสุ ด ตามลํ า ดั บ ตํ า นานมี ว า สั ตว เ หลา นี้ ขี้เ กีย จ จึงถูกขับออกจากเมือง ตางระเห็จออกมาดวยกัน เพื่อไปหาที่อยูใหม มาถึงที่เมือง Bremen นี่ แตก็ เข า เมื อ งไม ไ ด เ พราะมี น กเป น ยามเฝ า เมื อ งอยู พอจะเดิน เขา ทีไร นกก็สงเสี ยงขั นบอกสัญญาณ สัตวทั้ง ๔ ตั วนี้ จึง ตอ งหนีไปหาที่ซุกหัวนอนใหได ใกล เ ย็ น ค่ํ า ก็ ไ ปพบกระท อ มที่ บ รรดาพวกขี้ เ มา ครอบครองอยู ลา สุ นั ข แมว ไก จึ ง ร ว มกั น คิ ด

กลอุบายโดยยืนขี่กันเปนชั้นๆ ไปเคาะประตูหนาบาน บรรดาพวกขี้ เ มาตกใจในความแปลกประหลาด ตางคนตางกลัวลื่นลมบาดเจ็บวิ่งหนีไปไมกลับมา บานนี้อีก สัตวเหลานี้จึงไดบานดังกลาวนี้เปนที่อยู และใชอาศัยมาโดยตลอด ดังนั้น ใครๆ ที่มาเมืองนี้ ก็ ต อ งมาจั บ ขาหน า ของลา ถู ไ ปถู ม า จนกระทั่ ง ขาของมันเปนมันแวววาว เชื่อกันวาจะไดโชคและ ประสบความสํ า เร็ จ เช น เดี ย วกั บ สั ต ว ทั้ ง ๔ ตั ว นี้ โดยรอบๆ Rathaus มีสิ่งของ และสิ่ ง ปลู กสรางที่นา สนใจ เยอะ เชน ตํานานของโคลัมบัส และหอระฆั ง ที่ ตี ส ง เสี ย งดั ง ไพเราะเมื่อถึงเวลายามเย็น ดูแลวก็นามาเที่ยว แตคิดวา คนไทยไม ค อ ยจะชอบหรื อ สนใจเรื่องนี้มากนัก คนไทย ช อ บ ช อ ป ป ง เ มื่ อ ส มั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ เมื อ ง Bremen ถูกทําลายเกือบหมดสิ้น รอยละ ๖๕ ของ บานเมืองถูกทําลาย รอยละ ๙๐ ของทาเรือกลายเปน ซากปรั ก หั ก พั ง เหลื อ เพี ย งแห ง เดี ย วที่ ไ ม ร ะคาย สะเก็ดระเบิดแมแตนิดเดียวคือ Rathaus นี่เอง ซึ่ง ถือเปนสิ่ง ปลู กสรางที่มีคุณคา ทางประวั ติศาสตร และถือกันวาเปนเรื่องอัศจรรยยิ่ง ตอนเย็นเปนงานเลี้ยงตอนรับอยางที่เรียน ใหทราบแลวในเบื้องตน วุฒิสมาชิกของเมือง Bremen ประสงค ที่ จ ะเป น เจ า ภาพจั ด เลี้ ย ง ท า นได ก ล า ว ตอนรับอยางเปนทางการ พรอมกับไดแนะนําเมือง Bremen ใหไดทราบถึงความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจ


ป จ จุ บั น เมื อ งนี้ ถู ก จั ด อยู ใ นอั น ดั บ ๖ ของเมื อ ง เศรษฐกิจ เปนเมืองที่มีขนาดใหญอันดับ ๑๐ ของ เยอรมันนี ที่นี่มีโรงเรียนการบินของกองทัพ (อากาศ) เยอรมัน นักบินทั้งหมดของทุกเหลาทัพถูกผลิตที่นี่ ตามนโยบายของ Franz Josef Strauss อดีตเจาพอ แหงรัฐ Bayern หัวหนาพรรค CSU ที่เคยโดงดัง เกี่ยวกับนโยบายการทหารของเยอรมัน และเขาผูนี้ ก็คือคนที่ไดใหแนวคิดพัฒนาเครื่องบิน F-104 Star Fighter ของเยอรมันจํานวนกวา ๔๐๐ เครื่อง ให สามารถใช ใ นภารกิ จ โจมตี ท างอากาศได ทั้ ง ที่ แทจริงแลวเครื่องบินนี้ถูกออกแบบไวสําหรับภารกิจ ขับไล สกัดกั้น มีความเร็วสูง ขนาดเล็ก และปกเล็ก มาก วากันวาเครื่องบิน F-104 ของเยอรมันนี้ตกไป เกื อ บครึ่ ง (เกื อ บ ๒๐๐ เครื่ อ ง) นั ก บิ น ตายและ พิ การเยอะมาก นายทหารปกครองที่ ชื่อ Hauptman Jo สังกัด Offizier Schule : Fuerstenfeldbrukt

F-104

สมัยเมื่อที่ผูเขียนเปนนักเรียน ทานก็เคยเปนนักบิน กั บ เครื่ องแบบนี้ ท านเคยเล าประสบการณ ให ฟ ง ทั้งหมด แตนาเสียดายตอนนั้นยังฟงภาษาเยอรมัน ไม ค อ ยรู เ รื่ อ ง เก็ บ ใจความไม ไ ด ม ากนั ก สํ า หรั บ อาหารเย็น มื้อนี้ก็ตามสไตลอาหารเยอรมัน กินแล ว ก็เลี่ยน แมจะเปนการจัดเลี้ยงแบบ Grand Dinner เต็ ม รู ป แบบก็ ต าม งานเลี้ ย งใช เ วลาไม น านนั ก เพียง ๒ ชั่วโมง หลังอาหารเปนการเดินชมภายใน Rathaus ซึ่งไมไดชมเมื่อตอนบาย เพราะชวงบายเปน การเดินชมเพียงภายนอก การเขาชมภายในไดเห็น หองประชุมสภาของเมืองซึ่งยังคงรักษาสภาพไวได ดีแมจะมีอายุรวม ๔๐๐ ป แลวก็ตาม ถูกสรางขึ้น มาเมื่อป ค.ศ.๑๔๐๕ ไดมีโอกาสเขาไปดูหองวางแผน ของทหารเมื่ อ ครั้ ง สงครามโลก ซึ่ ง อยู ติ ด กั น กั บ ห อ งประชุ ม นี้ ห อ งนี้ เ ดิ ม ถู ก ออกแบบโดย Hans Vogel เมื่อ กวา ๒๐๐ ปที่แลว Vogel นักตอสู ชื่อดังที่ตองหลบหนีภัยไปอยูรัสเซียระยะหนึ่ง ต อ มาจึ ง ได ก ลั บ มาเยอรมั น นี ได อุ ทิ ศ ตน ทํ า การการตกแต ง ห อ งนี้ จ นสวยงามโดย ทั้ ง หมดใช เ งิ น ของตนเอง นั บ ว า คนผู นี้ ไ ด เสียสละสวนตัวเพื่อฝากศิลปะนี้ไวเปนมรดก แก บ า นเมื อ ง หาคนที่ จ ะมี ค วามคิ ด เช น นี้ ในยุคปจจุบันไดยาก (อานตอฉบับหนา)


Pharaoh เลข ๑๙ นาจะเปนเลขอาถรรพณ หรืออาจจะ เปนเลขนําโชคของคนบางกลุม ซึ่งหากยอนกลับไป เมื่อไมนานมานี้ นับตั้งแต ป ๑๙ (เหตุการณ ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๙) อันสืบเนื่องมาจากพฤติกรรมความ กดดันทางการเมืองที่ประชาชนตกอยูในกรอบการ ปกครองแบบเผด็จการมาเปนเวลานาน เกิดความ ปนปวน วุนวาย กอปรกับการแผขยายแนวคิดลัทธิ คอมมิ ว นิ ส ต เ ข า มาสู ภู มิ ภ าคเอเชี ย ในขณะนั้ น ทําใหเกิดความคิดเห็นและอุดมการณทางการเมือง ของประชาชนที่แตกตาง และขัดแยงกันอยาง รุนแรง จนกระทั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน โดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู ทําการรัฐประหาร ซึ่งถือ ได ว า เป น จุ ด ด า งทางประวั ติ ศ าสตร ก ารเมื อ ง

การปกครองของไทย ที่มีพฤติกรรมรุนแรง โหดเหี้ยม ทารุณ ขาดมนุษยธรรม เชน การทําทารุณกรรม ต อ ผู เ สี ย ชี วิ ต ในที่ ส าธารณะ เป น ต น ต อ มาวั น ที่ ๒๔ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๓๔ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ หัวหนาคณะรัฐประหาร กับเหตุการณคณะรักษา ความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ทําการยึดอํานาจ การปกครองจากรัฐบาลชาติชาย เปนเหตุการณที่ใช กําลังลมลางการปกครองเปนครั้งที่ ๑๙ ที่นับวาเปน การลมลางการปกครองโดยกลุมทหาร ตอมาวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๙ พล.อ.สนธิ บุณยรัตกลิน ไดทําการรัฐประหารในสมัยรัฐบาลทักษิณ ที่เขามา บริหารประเทศไทย เปนวาระที่ ๒ เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๘ และ ไดเปนหัวหนาคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ (คมช.)


และต อ มาในสมั ย รั ฐ บาลอภิ สิ ท ธิ์ ได เ กิ ด ความ ปน ป ว นในบ า นเมื อ งและในสั ง คมไทยหลายครั้ ง ลาสุดในชวงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ซึ่งนําไปสู การจับอาวุธเขาสูรบของคนบางกลุมกับฝายรัฐบาล เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่คนกลุมนั้นตองการ คนกลุมนั้นไดมีการใชกําลังกับรัฐบาลมาโดยตอเนื่อง จนกระทั่งถึงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๓ รัฐบาลจึงควบคุมสถานการณไวได จึงเหมือนกับวา เลข ๑๙ กลายเปนกงลออาถรรพณอยางเหลือเชื่อ หลั ง จากนั้ น คนบางกลุ ม ได พ ยายามใช เ ลข ๑๙ จัดกิจกรรมทางการเมือง โดยเปนการแสดงออกถึง ความเปนสัญลักษณเรื่อยมา เชน วันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๓ คนบางกลุมไดจัดกิจกรรมที่ใชชื่อวา “๔ ป รัฐประหาร ๔ เดือน ราชประสงค” ที่กรุงเทพฯ และ “๑๙ กันยา ตาสวางทั้งแผนดิน” ที่จังหวัด เชียงใหม เปนตน

ผูเขียนไดยกตัวอยางเลข ๑๙ ที่เกิดเหตุการณ เกี่ยวกับการเมืองในบางชวงบางตอนนั้น เพียงมี เจตนาที่ อ ยากจะให ผู อ า นได รํ า ลึ ก ถึ ง เหตุ ก ารณ

ที่ เ กี่ ย วกั บ การเมื อ งในอดี ต ที่ ไ ด ค รบรอบ ๑๙ ป ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ที่หลายคนมักจะ คุ น เคยกั บ คํ า ว า “พฤษภาทมิ ฬ ” ที่ เ กิ ด ในช ว งที่ พล.อ.สุจินดา คราประยูร เปนนายกรัฐมนตรี คนที่ ๑๙ ของประเทศไทย เหตุการณพฤษภาทมิฬ พ.ศ.๒๕๓๕ เกิดขึ้น ภายหลังเหตุการณคณะรักษาความสงบเรียบรอย แหงชาติ (รสช.) ทําการยึดอํานาจการปกครองจาก รัฐบาลของ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๓๔ นับวาเปนการลมลาง การปกครองโดยกลุมทหาร ในประวัติศาสตรการเมือง การปกครองของไทย ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ตั้งแต พ.ศ.๒๔๗๕ ซึ่งเปนเหตุการณที่ใชกําลังลมลางการปกครองเปน ครั้งที่ ๑๙ และนํารางรัฐธรรมนูญการปกครอง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๓๔ ขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อลงพระปรมาภิไธยประกาศใชเปนรัฐธรรมนูญ การปกครองประเทศ เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๔ โดย พล.อ.สุนทร คงสมพงษ หัวหนาคณะ รสช. เปน ผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการฯ รัฐธรรมนูญ ฉบับดังกลาว บัญญัติใหสภานิติบัญญัติแหงชาติ ให ทํ า หน า ที่ ทั้ ง รั ฐ สภาและสภาร า งรั ฐ ธรรมนู ญ ฉบับใหม เหตุ ผ ลสํ า คั ญ ของการทํ า รั ฐ ประหารของ คณะ รสช. คือการทุจริตคอรัปชั่นของนักการเมือง จึง มี ก ารตรวจสอบทรัพ ย สิน นัก การเมื อ งที่ร่ํา รวย ผิดปกติขึ้น ภายหลังจากการทํารัฐประหารเพียง วันเดียว โดยคณะ รสช. ไดออกประกาศ ฉบับที่ ๒๖ ลงนามโดย พล.อ.สุนทรฯ มีอํานาจอายัดทรัพยสิน


ข อ ง นั ก ก า ร เ มื อ ง ที่ มี พฤติ ก รรมส อ ว า ร่ํ า รวย ผิดปกติ ตอมาในวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๔ คณะ รสช. ได ป ระกาศ ใ ช รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย พ.ศ.๒๕๓๔ แตสาระ สํ า คั ญ ของรั ฐ ธรรมนู ญ ฉบับนี้ บางมาตราแอบแฝง ประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การสืบทอดอํานาจของคณะ รสช. จนถูกขนานนามวา รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด กอนที่รัฐธรรมนูญฉบับนี้ จะประกาศใชในวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๔ พล.อ.สุจินดาฯ ไดแถลงการณวาจะไมมีการสืบทอด อํานาจโดยสมาชิกสภา รสช. ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้ กําหนดใหมีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๕ ซึ่งในการเลือกตั้งครั้งนี้ ถึงแมจะมี องคกรกลางดูแลการเลือกตั้ง แตการเลือกตั้งกลับ ไมไดบริสุทธิ์ยุติธรรมแตอยางใด กอปรกับคณะ รสช. มีพฤติการณใชพรรคสามัคคีธรรมในการ สืบทอดอํานาจของตนไปอีกระยะหนึ่ง การสอเคา แหงการสืบทอดอํานาจของคณะ รสช. นี้ ไดกอใหเกิด กระแสการคัดคานกันทั่วไป จน พล.อ.สุจินดาฯ ซึ่ง เปนตัวเก็งในตําแหนงนายกรัฐมนตรีตองออกมา แถลงขาววา ตนจะไมเลนการเมืองและจะไมเปน นายกรัฐมนตรี ซึ่งก็ไดทําใหกระแสคัดคานสงบ ลงไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง ผลการเลือกตั้งปรากฏวา ๕ พรรคการเมืองไดรวมตัวกัน คือ พรรคสามัคคีธรรม

พรรคชาติไทย พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย และพรรคราษฎร เพื่อครองเสียงขางมากในสภา และสนับสนุนให พล.อ.สุจินดาฯ ผูบัญชาการ ทหารสูงสุด และผูบัญชาการทหารบกในขณะนั้น ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ตอมาวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๕ มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให พล.อ.สุจินดาฯ ที่เพิ่งลาออกจากตําแหนง ผูบัญชาการทหารสูงสุด และผูบัญชาการทหารบก เปนนายกรัฐมนตรี คนที่ ๑๙ ของประเทศไทย ทามกลางกระแสคัดคานอยางหนัก เนื่องจากมิได เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและเปนการสืบทอด อํานาจของคณะ รสช. พล.อ.สุจินดาฯ กลาววา “เสียสัตย เพื่อชาติ” ยอมรับตําแหนงนายกรัฐมนตรี ยิ่งไปกวานั้น รัฐบาล พล.อ.สุจินดาฯ ยังประกอบไปดวยนักการเมืองที่ถูก ประกาศยึดทรัพย ตลอดจนนายทหารนอกราชการ หลายคนอยู ใ นคณะรั ฐ มนตรี ด ว ย และไม ว า จะ เท็จจริงประการใดก็ตาม แตสถานการณในขณะนั้น


ไดชี้ใหเห็นถึงการสอเคาอยางยิ่งวา เกมการเมืองที่ ผานๆ มานั้น นาจะเปนแผนการของคณะ รสช. ที่ ต อ งการเข า มาสื บ ทอดอํ า นาจทางการเมื อ งใน ระยะยาว ซึ่งผลที่ตามมา คือ เกิดกระแสการคัดคาน อยางรุนแรง นําไปสูการนองเลือดในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๕ ในที่สุด การเรียกรองระยะแรกเปนการ เรียกรองใหแกไขรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๓๔ และคัดคานนายกรัฐมนตรีจากคนนอก โดยการชุมนุมเรียกรองดังกลาว เริ่มจากเหตุการณ อดอาหารประทวงของ ร.ต.ฉลาด วรฉัตร อดีตสมาชิก สภาผูแทนราษฎร ตั้งแตวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๕ และการนํากลุมมวลชนจํานวน มาก ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ คน โดยฝ า ยค า นเป น แกนนํ า เข า ร ว มชุ ม นุ ม ที่ ล านพระบรมรู ป ทรงม า ตั้ งแต วั นที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๕ จากนั้น พล.ต.จําลอง ศรีเมือง เริ่มอดอาหารประทวง ตั้ ง แ ต วั น ที่ ๔ พ ฤ ษ ภ า ค ม พ.ศ.๒๕๓๕ จนนําไปสูเหตุการณ พฤษภาทมิฬในที่สุด เมื่อฝาย รั ฐ บาลโดยกองทั พ ใช กํ า ลั ง ทหารเข า สลายการ ชุมนุมและเกิดการปะทะกัน “ตามแผนไพรีพินาศ” ที่ เ ริ่ ม มี ก ารปฏิ บั ติ ก ารจริ ง ตั้ ง แต วั น ที่ ๑๗-๒๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๕ ทําใหมีประชาชนจํานวนมาก บาดเจ็บและเสียชีวิต รวมทั้งมีบุคคลสูญหายจาก เหตุการณในครั้งนี้ดวย (พล.อ.สุจินดาฯ แถลงวามี ผูเสียชีวิต ๔๐ คน บาดเจ็บ ๖๐๐ คน) จนกระทั่ง เมื่อเวลาประมาณ ๒๐.๐๐ น. ของวันที่ ๒๐ พฤษภาคม

พ.ศ.๒๕๓๕ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให ศาสตราจารย สั ญ ญา ธรรมศั ก ดิ์ ประธานองคมนตรี และ พล.อ.เปรม ติ ณสูล านนท องคมนตรีแ ละรั ฐ บุรุ ษ นํา พล.อ.สุจินดาฯ นายกรัฐมนตรี และ พล.ต.จําลองฯ เขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท และทรงพระกรุณา โปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานพระราชดํารัส แกคณะผูเขาเฝาฯ เกี่ยวกับการสรางความสามัคคี ของคนในชาติดวย ทั้งนี้ มีการนําเทปบันทึกภาพ เหตุการณดังกลาว ออกอากาศทางโทรทัศนรวมการ เฉพาะกิจแหงประเทศไทย เมื่อเวลา ๒๔.๐๐ น. ของ

วันนั้น หลังจากนั้นประมาณ ๑ สัปดาห พล.อ.สุจินดาฯ จึงกราบถวายบังคมลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๕ และมอบหมายให นายมีชัย ฤชุพันธุ รองนายกรัฐมนตรี รักษาการใน ตําแหนงนายกรัฐมนตรีแทน ภายหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ พรรครวม รัฐบาล ๕ พรรค ไดอางวาเหตุการณพฤษภาทมิฬ เปนการกระทําของ พล.อ.สุจินดาฯ และคณะนายทหาร


โดยไมเกี่ยวกับพรรครวมรัฐบาล ดังนั้นพรรครวม รัฐบาลเดิมจึงมีสิทธิ์จัดตั้งรัฐบาลอีกครั้ง ในขณะที่ พรรครวมฝายคานประกอบดวย พรรคความหวังใหม พรรคประชาธิปตย พรรคพลังธรรม และพรรคเอกภาพ ก็อางความชอบธรรมในการจัดตั้งรัฐบาลเช นกัน จนเป น ที่ ม าของการเรี ย กชื่ อ “พรรคเทพ และ พรรคมาร” เปนคําที่สื่อมวลชนใชเรียกกลุม พรรคการเมืองในเหตุการณพฤษภาทมิฬ ที่แบงแยก เปน ๒ ฝายชัดเจน พรรคที่ถูกเรียกวา “พรรคเทพ” คือ พรรคความหวั งใหม พรรคประชาธิปตย พรรค พลั ง ธรรม และพรรคเอกภาพ ส ว นที่ ถู ก เรี ย กว า “พรรคมาร” คือ พรรคสามัคคีธรรม พรรคชาติไทย พรรคกิ จ สั ง คม พรรคประชากรไทย และพรรค ราษฎร จากความขัดแยงของทั้ง ๒ ฝาย นายอาทิตย อุไรรัตน ประธานสภาผูแทนราษฎร ไดกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกลาฯ แตงตั้ง นายอานันท ปนยารชุน ดํารง ตําแหนงนายกรัฐมนตรี ตอมารัฐสภาไดทําการแกไข รั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย ในประเด็ น ตอไปนี้ ๑. ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนประธาน รัฐสภา และประธานวุฒิสภาเปนรองประธานรัฐสภา ๒. การประชุมสามัญประจําปของรัฐสภา ป ล ะ ๒ สมั ย และให พิ จ ารณาเรื่ อ งอื่ น ที่ มิ ใ ช ร า ง พระราชบัญญัติไดดวย ๓. ยกเลิกอํานาจของวุฒิสภาในการเขาชื่อ เสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไป และการพิจารณา อนุมัติพระราชกําหนด

๔. ให น ายกรั ฐ มนตรี ต อ งเป น สมาชิ ก สภาผูแทนราษฎร โดย นายอานันทฯ ไดทําหนาที่ นายกรัฐมนตรีเพื่อเตรียมการเลือกตั้ง ระหวางนัน้ ได ชะลอการประกาศใชการแกไขรัฐธรรมนูญในประเด็น ที่วานายกรัฐมนตรีตองเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในราชกิจจานุเบกษาออกไป จนกระทั่ง นายอานันทฯ ประกาศยุบสภาในวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๕ เพื่อจัดใหมีการเลือกตั้งใหม บทสรุป สาเหตุของการเกิดเหตุการณพฤษภาทมิฬ เนื่องจากการใชอํานาจเขาสลายผูชุมนุมที่ประทวง รัฐบาล ตามแผนไพรีพินาศ ระหวางวันที่ ๑๗-๒๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๕ ที่นําไปสูเหตุการณนองเลือด บนท อ งถนน และการเปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ ง โดยนําไปสูการเสียชีวิต บาดเจ็บ และสูญหาย ของ ประชาชนจํานวนมาก ถือไดวาเปนประวัติศาสตร เลือดและน้ําตาของประชาชนไทย เหตุผลของการ ชุ ม นุ ม คื อ การเรี ย กร อ งแก ไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ.๒๕๓๔ ในประเด็ น ที่ เกี่ยวของกับการสืบทอดอํานาจของคณะ รสช. โดย การเปดโอกาสใหคนนอกที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง เปนนายกรัฐมนตรี และการคัดคานนายกรัฐมนตรี จากคนนอกในขณะนั้น คือ พล.อ.สุจิ น ดาฯ หนึ่ ง ในคณะ รสช. ซึ่ ง เคยสั ญ ญาวา จะไม รับตํ า แหน ง นายกรั ฐ มนตรี แต ก ลั บ กลายเป น ว า “เสี ย สั ต ย เพื่อชาติ” ยอมรับตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนที่ ๑๙ หลังจากที่ พล.อ.สุจินดาฯ เขาเฝาทูลละออง ธุลีพระบาท เพื่อรับพระราชทานพระบรมราโชวาทฯ


ในการสรางความสามัคคีของคนในชาติ เหตุการณ ความรุนแรงจึงไดสงบลง สะทอนใหเห็นวา สังคมไทย สงบสุข รมเย็นไดนั้น เพราะ ๑ ใน ๓ สถาบันหลัก (ชาติ ศาสนา และพระมหากษั ต ริ ย ที่ ป ระชาชน ทุกหมูเหลาตางลวนถือวาเปนสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ดั่ ง ธงไตรรงค ที่ โ บกไสว เป น สง า เหนื อ ดิ น แดน สุ ว รรณภู มิ แ ห ง นี้ ม าช า นาน) โดยเฉพาะสถาบั น พระมหากษัตริย เปนสถาบันหลักที่สําคัญยิ่งของ ปวงชนชาวไทย ดวยพระบารมีอันแผไพศาล ทําให เหตุการณความรุนแรงสงบลง สังคมไทยจึงสงบสุข รมเย็นตั้งแตบัดนั้น นอกจากนั้นแลว ชาวตางชาติ ได ย กย อ งสรรเสริ ญ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระมหากษัตริยไทย จึงเปนโอกาสที่ประชาชนไทย จะไดแสดงออกซึ่งความจงรักภักดี เทิดทูนสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ยกยอง เชิดชู ใหอยู ธรรม

คูบานคูเมืองตลอดไป ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร เ ลื อ ด แ ล ะ น้ํ า ต า ข อ ง ประชาชนไทย ที่ผานมาแลว ๑๙ ป กับเหตุการณ พฤษภาทมิ ฬ แต ด ว ยอุ ป นิ สั ย ที่ เ ป น เอกลั ก ษณ ประจําชาติ จนชาวตางชาติประทับใจ ความเรียบงาย รั ก สงบ รั ก อิ ส ระ รั ก สั น โดษ อั ธ ยาศั ย ดี ยิ้ ม แย ม แจมใส ใหอภัย สุภาพ ออนโยน มีน้ําใจ ไมเห็นแกตัว เกรงใจ ใหเกียรติผูอื่น รักความเปนธรรม ใฝสันติ และประนีประนอม คือคุณสมบัติของประชาชนไทย เป น จุ ด แข็ ง ของสั ง คมไทย และอุ ป นิ สั ย ที่ สํ า คั ญ อีกประการหนึ่ง คือ ลืมงาย ใหอภัย ไมอาฆาตแคน ผูเขียนจึงหวังวา เมื่อถึงวันที่ ๑๙ พฤษภาคมของ ทุก ๆ ป เชื่อวาประชาชนไทยไมอยากใหเปนกงลอ อาถรรพณ ที่ จ ะเกิ ด การเสี ย เลื อ ดและน้ํ า ตาอี ก อยางแนนอน """

อางอิง : - “สมบัติ ธํารงธัญวงศ” การเมืองการปกครองไทย : ยุคเผด็จการ-ยุคปฏิรูป. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม, ๒๕๔๙. - “สมบัติ ธํารงธัญวงศ” การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒-๒๕๐๐. พิมพครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม, ๒๕๔๙. - “พฤษภาทมิฬ” online เขาถึงไดจาก http://th.wikipedia.org/wiki/, 2553.


สายลมทะเล

น้ําลดตอผุด ประชารุมอัดรัฐมนตรี

ส.ส. มุดแผนดินหนี นายก ฯ ไมมี ที่นอน

สงครามแหงอํานาจประชาชน เปนครั้งแรกนักการเมืองเห็นคาประชากร

เปดศึกชิงคน วิ่งวอน ทั้งนครอลหมาน...ตะลานตะลึง

เลิกมุงลงเรือน หาเพื่อนพวก ขุดโคตรเหงาศักราชชาติกูมึง

ไลจวกสาดโคลน กันเหม็นหึ่ง หมาไดยินยังหนาตึง...มึงดากัน

ยุวชนคาดหัวแบงสองสี เกาอยางไรจึงจะดีถูกที่คัน

ไปรองทาดาตีตามสีสัน หรือเด็กมันรูถ ูกผิดคิดไดเอง

ตางฝายตางวาขานักรบ ตบมือตีนตีตอ ยถอยนักเลง

จะสยบพวกขายชาติมาดคุมเหง ไมเหลือเกรงอินทรพรหมยมบาล

เศรษฐกิจมืดมิดคิดไมตก เทพก็สิ้นศรัทธามาอวตาร

ไหนตองถกเขตแผนดินถิน ่ ขางบาน คนเห็นคนเปนมาร...จึงบรรลัย

แคจับเขาคุยกันทําไมได เลือดไทยนองทองถิ่นแผนดินไทย

จึงควาขวานขี่ควายเขาฟาดใส ยังเหลือใครบางนี้...ชวยผีเมือง

เชิงตะกอนเงียบงันแตควันกรุน ตอคําถามสุดทายใครขายเมือง

ไมเหลือเด็กแรกรุนมาหนุนเนื่อง ตอบไดไหมผูปราดเปรื่อง...ทั้งเหลืองแดง


กระติกน้ํารอนเปนเครื่องใชไฟฟาที่ใชตมน้ําใหรอนและเปนเครื่องใชไฟฟาที่ใชพลังงานไฟฟาสูง อีกตัวหนึ่ง เชนเดียวกับเตารีดไฟฟาซึ่งอาศัยหลักการทํางานเดียวกัน คือใหกระแสไฟฟาไหลผานขดลวด ความรอนที่อยูภายใน ดังนั้น จึงอาจเกิดอุบัติเหตุเพลิงไหมได เนื่องจากเมื่อเสียบปลั๊กกระติกน้ํารอนเพื่อ ใชงานแลวน้ําในกระติกแหง หรือระดับน้ําต่ํากวาขีดที่กําหนด ทําใหเกิดไฟฟาลัดวงจรได

การดูแลรักษากระติกน้ํารอนใหใชงานไดนานๆ ๑. ตรวจสอบสภาพสายไฟฟ า และขั้ ว ปลั๊ ก อย า ง สม่ําเสมอ หากพบวามีสภาพชํารุดตองเปลี่ยนทันที ๒. ทํ า ความสะอาดกระติ ก ด า นในอย า งสม่ํ า เสมอ อย า ให มี ค ราบตะกรั น เกาะ เพราะคราบตะกรัน จะทํ า ให ก าร ถายเทความรอนทางขดลวดไปยังน้ําไมดีเทาที่ควร ๓. หามใชของมีคมหรือฝอยขัด ขัดตัวกระติกดานใน เพราะจะทําใหสารเคลือบหลุดออกงาย

กฟน. มีคําแนะนําในการใชกระติกน้ํารอนอยาง ถูกวิธี และประหยัดพลังงาน ดังนี้ ๑. ใส น้ําใหพอเหมาะกับความต องการใช แต ตอง ไมสูงกวาระดับที่กําหนด ๒. ตรวจสอบระดับน้ําในกระติกอยูเสมอๆ อยาให น้ําแหงหรือต่ํากวาขีดที่กําหนด ๓. อยานําสิ่งใดๆ มาปดชองระบายไอน้ํา ๔. ไมควรตั้งไวในหองที่มีการใชเครื่องปรับอากาศ เพราะไอความรอนของกระติกน้ํารอนที่ระเหยออกมา ทําให เครื่องปรับอากาศตองทํางานหนักมากขึ้น สงผลใหกินไฟมากกวาเดิม สิ้นเปลืองเงินมากขึ้น ๕. ถอดปลั๊กทันทีเมื่อเลิกใชงาน

“ใส่ใจดูแล ใช้ไฟฟ้าปลอดภัย ประหยัดไฟ ประหยัดเงิน” ข้อมูล : ฝ่ายป้องกันอุบัติภัย การไฟฟ้านครหลวง


มีน

รายชื่อผูโชคดี จากการจับฉลาก จํานวน ๓ ทาน ดังนี้ X น.อ.เทียม ชูกาว โทร. ๒ – ๓๗๑๔ Y น.ท.หญิง ชุติมา กุลวัฒน โทร. ๒ – ๑๙๐๗ Z น.ท.หญิง พิสมัย อินทรพานิช โทร. ๒ – ๑๙๐๑ กรุณาติดตอรับรางวัล ๆ ละ ๓๐๐ บาท จาก สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ ภายใน มิ.ย.๕๔ โทร.๒ - ๔๒๔๑


พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีวางพวงมาลา บุพการีทหารอากาศ เนื่องในวันที่ระลึกกองทัพอากาศ ณ อนุสาวรีย‹ บุพการีทหารอากาศ หนˆา บก.รร.นอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีส‡งหน‡วยบิน ฝนหลวง ทอ. ประจำปี ๒๕๕๔ โดยมี พล.อ.ต.จอม รุ‡งสว‡าง จก.ยก.ทอ. ในฐานะหัวหนˆาคณะทำงานส‡วนฝนหลวงและดับไฟป่า ศบภ.ทอ. เป็นผูˆกล‡าวรายงาน

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับคณะกรรมาธิการ การท‡องเที่ยววุฒิสภา ณ หˆองรับรองพิเศษ ๑

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. มอบรางวัลนิรภัยภาคพื้น ประเภทหน‡วยงานดีเด‡น ประจำปี ๒๕๕๓ ใหˆแก‡ น.อ.กอบชัย คงปรีชา รอง เสธ.สอ.ทอ. เป็นผูˆแทน กรม สอ.ทอ. ณ หˆองรับรอง กองทัพอากาศ

พล.อ.อ.บุญยฤทธิ์ เกิดสุข ผช.ผบ.ทอ. และภริยา บริจาคเงิน สมทบทุนกองทุนอาคาร “คุˆมเกศ” จำนวน ๑๐๐,๐๐๐.- บาท โดยมี พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ภูมิพลอดุลยเดช รับมอบ

พล.อ.อ.วัฒนา คลˆายจำนง ผทค.พิเศษ ทอ. เป็นประธานในพิธี ปิดการแข‡งขันกีฬาเทเบิลเทนนิส กีฬาภายใน ทอ. ซึ่งในปีนี้ สอ. ทอ. ไดˆรับรางวัลชนะเลิศ


พล.อ.สมชาย พิษณุวงศ‹ รองประธานคณะกรรมมาธิการการทหาร และคณะฯ เดินทางมาตรวจเยี่ยม บน.๕๖ โดยมี น.อ.สุจินดา สุมามาลย‹ ผบ.บน.๕๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองบรรยาย ฝูง.๕๖๑ บน.๕๖

พล.อ.ท.วุฒิชัย คชาชีวะ รอง เสธ.ทอ. เป็นประธานในพิธีการ จัดการแข‡งขันเครื่องบินเล็กบังคับวิทยุ ทอ. ครั้งที่ ๔๙ ประจำปี ๒๕๕๔ โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ ณ บริเวณโรงคลุม ฮ.ฝูง.๒๐๑ รอ.บน.๒

พล.อ.ท.ธงชัย แฉลˆมเขตร ผช.เสธ.ทอ.ฝกร. ในฐานะ รอง ผอ. ศบภ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับผูˆที่เดินทางกลับจากการนำสิ่งของพระราชทาน ไปช‡วยเหลือชาวญี่ปุ่น ที่ประสบความเดือดรˆอนจากแผ‡นดินไหว และคลื่นสึนามิ ณ สนามบินสุวรรณภูมิ

พล.อ.ท.ธงชัย แฉลˆมเขตร ผช.เสธ.ทอ.ฝกร. ผูˆแทน เสธ.ทอ. เป็น หน.คณะฯ ตรวจเยี่ยม ฝอก.นิรภัย ณ บน.๒๑ โดยมี น.อ.เฉลิมชัย ศรีสายหยุด ผบ.บน.๒๑ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.ชัชชัย ถนัดใชˆปืน ผช.เสธ.ทอ.ฝกพ. เป็นประธานในพิธีเปิดงาน ขส.ทอ. จัดกิจกรรมจักรยานแรลลี่สรˆางเสริมสุขภาพ ตˆานภัยยาเสพติด เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว พระชนมพรรษา ๗ รอบ ในปี ๕๔ ณ ศูนย‹ศิลปาชีพบางไทร

พล.อ.ท.เมธา สังขวิจิตร จก.สพ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ พล.ท.อรรถนพ ศิริศักดิ์ หน.ศทช.ศบท.บก.ทท. พรˆอมคณะฯ เขˆาเยี่ยมชม สพ.ทอ. พรˆอมกับ ขอรับทราบขˆอมูลและหารือถึงแนวทางการดำเนินงานที่เกี่ยวขˆองกับ เรื่องทุ‡นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม ณ หˆองประชุม สพ.ทอ.๑


พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ.เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ในพิธีบรรพชาอุปสมบทหมู‡ภาคฤดูรˆอน นนอ.ชั้นปีที่ ๒ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๔ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร

พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธีปิด การศึกษาหลักสูตรนายทหารประทวนชั้นพันจ‡าอากาศ รุ‡นที่ ๑๔ ณ พุทธสถาน ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. รับการเยี่ยมคำนับจาก หน.คณะฯ ทอ.มาเลเซีย ตามโครงการแลกเปลี่ยนการเยือน ระหว‡าง ทอ.ไทย - ทอ.มาเลเซีย ณ ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.อมร แสงสุพรรณ จก.พอ. พรˆอมดˆวย รศ.นพ.ชาญวิทย‹ โคธีรานุรักษ‹ รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร‹วางแผนและพัฒนา จุฬาลงกรณ‹ มหาวิทยาลัย และ พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ฯ เขˆาร‡วมงาน พิธีปัจฉิมนิเทศนิสิตแพทย‹ และงานบายศรีสู‡ขวัญนิสิตแพทย‹ รุ‡นที่ ๑๙

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม พัน อย.บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม การยิง ปตอ. ดˆวยกระสุนจริง ประจำปี ๒๕๕๔ โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ ณ สนามยิงปืนใหญ‡ ศป. จ.ลพบุรี


พล.อ.ท.เฉลิม ตรีเพ็ชร ผอ.ศวอ.ทอ. และคณะฯ เขˆาร‡วมพิธี เปิดงานการวิจัยและพัฒนาสู‡อุตสาหกรรมปƒองกันประเทศกับ เศรษฐกิจเชิงสรˆางสรรค‹ ณ หอประชุมกองทัพเรือ

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. พรˆอมคณะฯ ตรวจเยี่ยม การฝึกการยิงปืนดˆวยกระสุนจริง ประจำปี ๕๔ พัน.สห.ทอ. กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม. ณ บน.๕ จ.ประจวบคีรีขันธ‹

พล.อ.ต.จอม รุ‡งสว‡าง จก.ยก.ทอ. เป็นประธานในพิธีมอบ ประกาศนี ย บั ต รและปิ ด หลั ก สู ต รยุ ท ธวิ ธ ี ก ารรบทางอากาศ รุ‡นที่ ๒๖ ณ หˆองประชุม ยก.ทอ.

พล.อ.ต.คะเชนทร‹ โสมะนันท‹ ผอ.สธน.ทอ. เป็นประธานใน การทำบุญเนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา สธน.ทอ.

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด การศึกษาหลักสูตร พลขับรถรุ‡นที่ ๗๘ โดยมีผูˆเขˆารับการศึกษา เป็นนายทหารประทวนชั้นยศ จ.ต. - จ.อ. สังกัดส‡วนราชการ ต‡างๆ ใน ทอ. ณ กวก.ขส.ทอ.

พล.อ.ต.นิวัต เนื้อนุ‡ม ผอ.สนภ.ทอ. เป็นประธานในพิธีปิดการ ศึกษาและมอบประกาศนียบัตร ใหˆแก‡ผูˆสำเร็จการศึกษาหลักสูตร เจˆาหนˆาที่นิรภัยภาคพื้น รุ‡นที่ ๓๐ ณ หˆองประชุมรณนภากาศ


พล.อ.ต.เจษฎา วิจารณ‹ ผอ.สพร.ทอ. เป็นประธานจัดกิจกรรม การพัฒนาระบบราชการปี ๒๕๕๔ เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ของ นขต.ทอ.” ณ เดือนฉาย รีสอร‹ท จ.กาญจนบุรี

พล.อ.ต.อานนท‹ วิรัชกุล รอง จก.ชอ. ใหˆการตˆอนรับ พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ ขนส‡ง ณ หˆองประชุม ชอ.๑

พล.อ.ต.ประโยชน‹ ฤทธาคนี รอง จก.สพ.ทอ. และผูˆเกี่ยวขˆอง ชมการทดสอบทดลองเครื่องยิงทำลายวงจรระเบิด จากบริษัท Force ware GmbH สหพันธ‹สาธารณรัฐเยอรมนี ณ กทว.สพ.ทอ.

พล.อ.ต.เจษฎา วิจารณ‹ ผอ.สพร.ทอ. ผูˆแทน ทอ. เป็นประธาน รับการติดตามประเมินผลจากผูˆแทนสำนักงาน ก.พ.ร. และบริษัท ที่ปรึกษาดˆานการประเมินผล (บริษัท ทริสคอร‹ปอเรชั่น จำกัด) ณ หˆองประชุม ฝสธ.๒

พล.อ.ต.ธรรมนิตย‹ สิงห‹คะสะ รอง จก.ชอ. ตˆอนรับ น.อ.ธนู ปานสุวรรณ รอง จก.สบ.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ สารบรรณ ณ หˆองประชุม ชอ.๑

พล.อ.ต.ถาวร มณีพฤกษ‹ รอง ผบ.รร.นอ.ประชุมเตรียมพรˆอมการฝึก ภาคสนาม ของ นนอ.ชั้นปีที่ ๓ เพื่อทำการฝึกภาคสนาม ณ สอ.รฝ.ทร. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี และใหˆคำแนะนำ นนอ. เพื่อเตรียมตัวเป็น นนอ. ชั้นปีที่ ๔ ณ สมส.รร.นอ.


พล.อ.ต.ทนงศักดิ์ พวงพ‡วงรอด รอง ผบ.อย. เป็นประธาน คณะกรรมการตรวจสอบความพรˆอมรบและทดสอบแผนปƒองกัน ที่ตั้งหน‡วย ทอ. (ในสนาม) ณ สร.ภูเก็ต จ.ภูเก็ต โดยมี น.ท.ธนกร ถาวรเกษตร ผบ.สร.ภูเก็ต ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.ภานุพงศ‹ เสยยงคะ รอง จก.ขว.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการการข‡าว โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ ณ บน.๒

น.อ.สมคิด พัวเวส เสธ.สน.ผบ.ดม. ตˆอนรับ คณะวิทยากร และ จนท.กวป.พอ. อบรมโครงการพัฒนาทักษะกำลังพลดˆาน การสรˆางเสริมสุขภาพ สน.ผบ.ดม. ณ หˆองประชุม พันสห.ทอ.ฯ กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม.

พล.อ.ต.อานนท‹ วิรัชกุล รอง จก.ชอ. ตˆอนรับ น.อ.ชวรัตน‹ มารุ‡งเรือง รอง จก.กพ.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ จำพวกทหารกำลังพล ณ ชอ.

น.อ.ประยูร ธรรมาธิวัฒน‹ ผบ.บน.๔๑ นำขˆาราชการ ลูกจˆาง พนักงานราชการ ทหารกองประจำการ และสมาชิกชมรมแม‡บˆาน ทอ. บน.๔๑ ออกหน‡วยมิตรประชาช‡วยเหลือประชาชน ณ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม‡

น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ เป็นประธานเปิดโครงการอบรม เยาวชนภาคฤดูรˆอนตˆานภัยยาเสพติด บน.๔ ประจำปี ๕๔ ใหˆแก‡ เยาวชน บน.๔ และเยาวชนพื้นที่ใกลˆเคียง ณ อาคารอเนกประสงค‹ บน.๔


น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ เป็นประธานในพิธีเปิด โครงการอบรมเยาวชนภาคฤดูรˆอน ใหˆแก‡บุตรหลานครอบครัว บน.๑ เพื่อเป็นการส‡งเสริมใหˆเยาวชนไดƒใชˆเวลาว‡างใหˆเกิดประโยชน‹และ ห‡างไกลยาเสพติด ณ สนามฝึกกีฬาเทนนิส บน.๑

น.อ.อาจณรงค‹ ตันสุวรรณรัตน‹ ผบ.บน.๕ ใหˆการตˆอนรับคณะ MBA จุฬาลงกรณ‹มหาวิทยาลัย เดินทางมาเยี่ยมชมกิจการ ณ บน.๕ จ.ประจวบคีรีขันธ‹

น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ เป็นประธานในพิธีเปิด การแข‡งขันกีฬาเยาวชน และ เปิดกิจกรรมการวาดภาพรณรงค‹ต‡อตˆาน ยาเสพติด บน.๔๖ บริเวณกำแพงรั้วขˆางสโมสร ทอ. บน.๔๖ โดยมีบุตรหลาน ขˆาราชการและครอบครัว เขˆาร‡วมกิจกรรม

น.อ.ไพฑูรย‹ เหลืองตระกูล รอง ผบ.บน.๒๑ ร‡วมในพิธีเปิดหน‡วย ปฏิบัติการทำฝนหลวงเพื่อช‡วยเหลือประชาชนผูˆประสบภัยแลˆง ประจำปี ๒๕๕๔ ณ หอบังคับการบิน บน.๒๑

น.อ.ฐากูร นาครทรรพ รอง ผบ.บน.๔๖ นำคณะฯ ออกปฏิบัติการ ช‡วยเหลือประชาชน โดยใหˆบริการตรวจรักษาโรคทั่วไป ตัดผมชาย-หญิง พรˆอมทั้งมอบอุปกรณ‹กีฬา อุปกรณ‹การศึกษา ใหˆแก‡ ร.ร.วัดจอมทอง ต.จอมทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก

น.อ.สุเวทย‹ งูพิมาย รอง ผบ.กกล.ทอ.ฉก.๙ ร‡วมกิจกรรมงาน แข‡งขันกีฬาสีสัมพันธ‹ และงานเมาลิด ณ ร.ร.กองทัพบกอุทิศ บˆานดอนยาง ต.บางเขา อ.หนองจิก จ.ปัตตานี





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.