วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบปีที่ 8

Page 1


สาสนจากผูอํานวยการสํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะ 1 ปทผี่ านมา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ไดมีการปรับตัวเพื่อรับมือกับความผันผวนของ ตลาดทุนและภาวะเศรษฐกิจตกต่ําของโลก ในการนี้ สบน. ไดเขารวมดําเนินการแผนปฏิบัติการเพื่อกระตุน เศรษฐกิจและฟนฟูความเชื่อมั่นของประชาชนตลอดจนนักลงทุนทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ซึ่งเปน งานที่ สบน. มีความภูมิใจ และถือเปนเกียรติประวัติของ สบน. ในฐานะหนวยงานผูรับผิดชอบในการวางแผน การระดมทุน การบริหารตนทุนและการเบิกจายของโครงการ ตลอดจนการติดตามและประเมินผลเพื่อใหแนใจวา โครงการไทยเขมแข็งมีการเดินหนาไปถึงเปาหมายดวยความเรียบรอย นอกจากนี้ สบน. ไดปฏิรูปการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของประเทศไทยใหมีความเปนสากล มีการพัฒนาพันธบัตร Benchmark และออกตราสารหนี้รูปแบบใหมๆ เพื่อใหสอดรับกับความตองการของตลาด สรางสภาพคลองในตลาดรองเพื่อรองรับการลงทุนและลดความเสี่ยงของนักลงทุนทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศ ขณะเดียวกัน ก็ไดมีการออกพันธบัตรออมทรัพยไทยเขมแข็งเพื่อขยายฐานการระดมทุนไปสู นักลงทนรายย นกลงทุ นรายยอย อย และเพื และเพอเพมทางเลอกในการออมแกประชาชน ่อเพิ่มทางเลือกในการออมแกประชาชน โดยในป โดยในป พพ.ศ. ศ 2554 สบน. สบน จะมผลตภณฑใหม จะมีผลิตภัณฑใหม ออกมา เชน พันธบัตรรัฐบาลประเภทผลตอบแทนอางอิงเงินเฟอ (Inflation linked bond) ตั๋วสัญญาใชเงิน อัตราดอกเบี้ยคงที่ (Fixed rate promissory note) และพันธบัตรรัฐบาลรุนอายุ 50 ป (50 years loan bond) เพื่อขยายฐานนักลงทุนระยะยาวดวย ทีทสาคญยง ่สําคัญยิ่ง สบน สบน. ตระหนกดวาบุ ตระหนักดีวาบคลากรที คลากรทมคุ ่มีคณภาพและอปกรณ ณภาพและอุปกรณททนสมยเปนหวใจหลกในการ ที่ทันสมัยเปนหัวใจหลักในการ ขับเคลื่อนองคกรใหกาวไปขางหนาไดอยางภาคภูมิ ซึ่งทรัพยากรดังกลาวไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงการคลัง ดวยดีเสมอมา ในการนี้ สบน. จะมุงหนาทํางานในเชิงรุกตอไปเพื่อใหเปนองคกรที่เปนมืออาชีพในการบริหาร หนี้สาธารณะเพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล (ผูอํานวยการสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ)


โครงสรางสําานักงานบบริหารหหนี้สาธาารณะ ณ 22 ก.ย. 2553

ผูอํานนวยการสํานักงานนบริหารหนี้สาธาารณะ กลุมพัฒนาระบบบบริหาร

ที่ปรึกษษาดานหนี้สาธารณะ

กลุมตรวจสอบภาายใน

ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดดานหนี้สาธารณะและเงินนคงคลัง

รอองผูอํานวยการสํานั​ักงานบริหารหนี้สาธารณะ

กลุมกฎหมายย

รองผูอาานวยการสํ ํ านักงานนบริหารหนี้สาธารณ ณะ

สํานัก จัดการหนี้ 1

สํานัก จัดการหนี้ 2

สํานัก การระดมทุน โครงการลงทุน ภาครัฐ

สํานัก นโยบาย และแผน

สํานัก พัฒนาตลาด ตราสารหนี้

สํานัก บริหาร การชําระหนี้

สํานักงาน เลขานุการกรม

ศูนยเทคโนโลยี สารสนเทศ

สวนจัดการ เงินกูรัฐบาล 1 (ขาดดุล)

สวนบริหารจัดการ เงินกูตางประเทศ รัฐวิสาหกิจ

ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เงินกูโ ครงการ

ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน บริหารหนี้สาธารณะ และภาระผูกผัน

สวนพัฒนาตลาด ตราสารหนี้รัฐบาล

ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน บริหารการชําระหนี้

ฝายบริหาร งานทั่วไป

สวนบริหารกองทุน พัฒนาโครงสราง พืน้ ฐาน

สวนบริหารการชําระหนี้ ในประเทศ

ฝายประชาสัมพันธ

สวนวิเคราะห นโยบายและแผน สารสนเทศ

สวนนโยบาย ตลาดตราสารหนี้ ระหวางประเทศ

สวนบริหารการชําระหนี้ ตางประเทศ

สวนจัดการ เงินกูรัฐบาล 2 (กฏหมายพิเศษ)

สวนบริหารจัดการ เงินกูในประเทศ รัฐวิสาหกิจ

สวนจัดการ เงินกูรัฐบาล 3 (โครงการรัฐบาล)

สวนเงินกูตลาด เงินทุนตางประเทศ และการจัดระดับ ความนาเชื่อถือ

สวนจัดการ เงินกูห นวยงานอื่น (อปท.)

สวนบริหารจัดการ เงินใหกูตอ และการชําระหนี้ รัฐวิสาหกิจ

สวนนโยบายและ แผนการระดมทุน

สวนนโยบาย และแผน

สวนวิเคราะหและ จัดการเงินทุน โครงการ 1

สวนความรวมมือ ระหวางประเทศ

สวนวิเคราะหและ จัดการเงินทุน โครงการ 2

สวนวิเคราะห แผนการบริหาร ความเสี่ยง

ศูนยขอมูลที่ปรึกษาไทย

สวนวิจัยนโยบายหนี้ สาธารณะ

ฝายการเจาหนาที่

สวนบริหาร เงินกองทุน

ฝายคลัง ฝายพัสดุ

สวนบริหารระบบ ขอมูลสารสนเทศ


สารบัญ วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ สาสนจากผูอํานวยการสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ โครงสรางสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

I II III

การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก • จุดยืน : กอหนีต้ ามกรอบกฎหมายและจัดหาเงินกูใหครบตามความจําเปน • ไทยเขมแข็ง 2555 กระตุนเศรษฐกิจ – จากการกอหนี้นอกกรอบงบประมาณ • กรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง – การปรับตัวลดลงของหนีส้ าธารณะตอ GDP ในระยะยาว • แหลงเงินกูต า งประเทศ : อีกทางเลือกหนึง่ ในการระดมทุน • ความสําเร็จในการลดภาระหนี้ตา งประเทศ (2547 – ปจจุบัน) • สัดสวนหนีต้ า งประเทศของรัฐบาลลดเหลือ 2% – ลดความเสี่ยงของอัตราแลกเปลีย่ น

2 3 4 5 6 7

การพฒนาตลาดตราสารหนใหเปนเสาหลกทางการเงน ั ี้ใ  ป ั ิ เพอเสรมสรางความแขงแกรง ื่ ิ  ็  ของระบบการเงิน • การพัฒนาตลาดตราสารหนี้เพือ่ รองรับการระดมทุนที่เพิม่ ขึ้น (2550 – 2553) • ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ โดยการสรางพันธบัตร Benchmark ภายใตแนวทางใหม • ความสมดุ​ุลของ 3 เสาหลักทางการเงินกอใหเกิดแหลงระดมทุ​ุนที่ยั่งยืนของประเทศ • การพัฒนาตลาดตราสารหนี้อยางรอบดาน (2554 – อนาคต)

9 10 11 12

การจัดหาเงินกูเพื่อโครงการไทยเขมแข็ง 2555 • สบน. บริหารเบิกจายเงินกูโครงการไทยเขมแข็ง 2555 – ตรงตามเปาหมายและแมนยํา , ลานบาท – วันนีถ้ งึ ไหนแลว? • พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง 350,000 • โครงการไทยเขมแข็ง 1.296 ลานลานบาท – กาวใหถงึ เปาหมาย

14 15 16

ประเด็นชวนคิด พันธกิจวันขางหนา • อันดับความนาเชือ่ ถือของประเทศควรอยูทอี่ นั ดับใด • งบชําระหนี้ 15% ของงบประมาณรายจาย เพียงพอแต... • งบชําระคืนเงินตนกับความยั่งยืนทางการคลัง • บทบาทของเงินคงคลัง กับ การบริหารการคลังที่ยั่งยืน

18 19 20 21

ภาคผนวก • ผลการออกพันธบัตรออมทรัพยไทยเขมแข็ง 2552 และ 2553 • ความคืบหนาโครงการไทยเขมแข็ง ณ สิ้น 23 ก.ย. 2553 • มุมมองใหมหนี้สาธารณะ : หนี้สาธารณะวันนี้เพือ่ ประโยชนสาธารณชนในวันหนา • รางวัลชนะเลิศการประกวดรางวัลนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงกระทรวงการคลัง เพชรวายุภกั ษ ครั้งที่ 1

23 24 25 26


การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก จุจดยื ดยนน

กอหนี้ตามกรอบกฎหมายและจัดหาเงินกใหครบตามความจาเปน กอหนตามกรอบกฎหมายและจดหาเงนกู หครบตามความจําเปน

ไทยเขมแข็ง 2555 แมหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น ในป 2552 แต…

กระตุนเศรษฐกิจขยายตัวสูงสุดรอบ มูมลค ลคาา GDP ทะลุ ทะล ลานลานบาท ลานลานบาท

10

10 ป

โครงการลงทุนของรัฐบาลจะทําให หนี้สาธารณะตอ GDP ปรับตัว ลดลง ตามลําดับ

Optimizing External Sources of Fund สํานักนโยบายและแผน

สบน. ลดภาระหนี้ตางประเทศกวา 6 แสนลานบาท

สํานักนโยบายและแผน

สัดสวนหนี้ตางประเทศของรัฐบาล ลดเหลือ 2%

ลดความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยน


จุดยืน

กอหนี้ตามกรอบกฎหมายและจัดหาเงินกูใหครบตามความจําเปน สํานักนโยบายและแผน

การกอหนี้นอกกรอบ (ปงปม.’52-’54)

ใชไป 23,134 ลบ.

ใชไป

ใชไป

205,762.54 ลบ.

441,061 ลบ.

400,000 ลบ.

441,281 ลบ.

390,340 ลบ.

183,500 ลบ.

กรอบการกอหนี้ (ปงปม.’52)

60 000 ลบ. 60,000 ลบ (ปงปม.’54) (ปงปม’54)

260,000 ลบ. (ปงปม.’53) 80,000 ลบ. (ปงปม.’52)

หมายเหตุ : ในป 2552 งบประมาณรายจาย = 1,951,700 ลบ. และงบชําระคืนตนเงิน = 63,676 ลบ.

จัดทําโดย : นีรชา มรกตราภรณ, neeracha@pdmo.go.th

จุดยืน: กอหนีต้ ามกรอบกฎหมายและจัดหาเงินกูใหครบตามความจําเปน สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีจุดยืนการกอหนี้ภายใตกรอบของกฎหมาย โดยกรอบการกอหนี้ของรัฐบาลในแตละ ปงบประมาณไดถูกกําหนดไวในพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ดังนี้ 1.การกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ใหนับวงเงินรวมกับการกูเพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ โดยจะตองไมเกิน รอยละ 20 ของ งบประมาณรายจายประจําปแ ละงบประมาณรายจายเพิ่มเติม และ รอ ยละ 80 ของงบประมาณชําระคืนื ตนเงิน 2.การค้ําประกัน ใหนับวงเงินรวมกับการทีก่ ระทรวงการคลังกูม าใหกูตอ (เปนเงินบาท) โดยจะตองไมเกิน รอยละ 20 ของ งบประมาณรายจายประจําปและงบประมาณรายจายเพิ่มเติม 3.การกูเงินเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและการกูเพื่อเสริมสรางความมั่นคงทางการเงินของประเทศ ใหนับวงเงินรวมกับ การที่กระทรวงการคลังกูมาใหกูตอ (เปนเงินตราตางประเทศ) โดยจะตองไมเกิน รอยละ 10 ของงบประมาณรายจายประจําป อยางไรกตาม อย างไรก็ตาม ในยามทกรอบการกอหนตามกฎหมายไมสามารถรองรบความตองการระดมทุ ในยามที่กรอบการกอหนี้ตามกฎหมายไมสามารถรองรับความตองการระดมทนได นไดอยางเพยงพอ อยางเพียงพอ ดัดงเชนในปงบประมาณ งเชนในปงบประมาณ พพ.ศ. ศ 2552 ซึ่งเกิดวิกฤตการณทางการเงินในสหรัฐ และสงผลกระทบใหเศรษฐกิจทั่วโลกซบเซา รัฐบาลมีความจําเปนตองใชจายเงินเพื่อกระตุน ระบบเศรษฐกิจไมใหตกต่ําตามสภาวะเศรษฐกิจโลก ในขณะที่กรอบการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลแทบไมมีเหลือ (โปรดดูถังสีน้ําเงิน ประกอบ) ดังนั้น สบน. จึงจําเปนตองใหการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล โดยการจัดหาเงินกูเพิ่มเติมภายใตพระราชกําหนดใหอาํ นาจ กระทรวงการคลัง กูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐรกิจ พ.ศ. 2552 วงเงิน 400,000 ลานบาท (โปรดดูถังสีแดงประกอบ) ซึ่งเปนการกอหนี้นอกกรอบงบประมาณ ทั้งนี้ สบน. ไดวิเคราะหแลววาผลกระทบจากการกอหนี้ ทั้งในและนอกกรอบจะไมสงผลกระทบตอกรอบความยั่งยืนทางการคลัง (ภาระหนี้/งบประมาณ ไมเกินรอยละ 15 และหนีส้ าธารณะ/GDP ไมเกินรอยละ 60) อีกทั้งยังทําใหอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งมี GDP เปนตัวชี้วัดเพิ่มขึ้นอยางมากดวย

2


กระตุนเศรษฐกิจขยายตัวสูงสุดรอบ ลานลานบาท มูลคา GDP ทะลุ

ไทยเขมแข็ง 2555

10

10 ป

สํานักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ รอยละ

12%

12%

9%

10,000,900ลบ.

8%

6%

6%

6%

5%

9,075,493ลบ.

8,529,863ลบ.

4% 7,850,193ลบ.

9,050,715ลบ.

3%

วิกฤตการเงินโลก

0%

‐3% ‐4% ‐5%

‐4%

GDP ณ ราคาประจําปี อ ัตราการขยายต ัวของ GDP รายไตรมาส (Y‐o‐Y)

2551

2552

Q4

Q3

Q2

Q1

Q4

Q3

Q2

Q4

Q3

Q2

Q1

Q4

Q3

Q2

Q1

Q4

Q3

Q2

Q1

ที่มา : http://www.nesdb.go.th, http://www.bot.or.th

2550

Q1

‐7%

‐8%

2549

ไทยเขมแข็ง 2555 2553

จัดทําโดย : กุลกานต อรามทอง, kullakarn@pdmo.go.th

ไทยเขมแข็ง 2555 กระตุน เศรษฐกิจ – จากการกอหนีน้ อกกรอบงบประมาณ วิกฤติการณทางการเงินโลกในชวงป 2551 ไดสงผลกระทบตอประเทศตางๆ ทัว่ โลก รวมทั้งประเทศไทยที่มีสัดสวนการ พึง่ พาการคาการลงทนจากต พงพาการคาการลงทุ นจากตางประเทศทสู างประเทศที่สงจึ งจงไดรบผลกระทบในครงนดวย งไดรับผลกระทบในครั้งนี้ดว ย โดยเศรษฐกจไทยตดลบตงแตในชวงไตรมาสท โดยเศรษฐกิจไทยติดลบตั้งแตในชวงไตรมาสที่ 4 ของป 2551 รัฐบาลจึงไดตดั สินใจกระตุนเศรษฐกิจอยางเรงดวนผานแผนปฏิบัตกิ ารไทยเขมแข็ง 2555 วงเงินลงทุนรวม 1.296 ลลบ. โดยรัฐบาลไดกเู งินภายใต พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง วงเงิน 350,000 ลบ.* เพือ่ มาสนับสนุนการดําเนินโครงการ ภายใตแผนปฏิบัตกิ ารไทยเขมแข็ง 2555 เม็ดเงินภายใตแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขมแข็ง 2555 ไดถกู เบิกจายและกระจายสูทวั่ ประเทศผานโครงการลงทุนตางๆ แลว ป ประมาณร อ ยละ 67 ของวงเงินิ พ.ร.ก. ไทยเข ไ ม แข็ง็ (ขอ มูล ณ วั​ันที่ี 28 ก.ย. 53) และได ไ ส งผลให ใ เ ศรษฐกิจิ ไทยขยายตั ไ วั เพิ่มขึ้นอยางตอเนือ่ งตัง้ แตเริ่มมีการเบิกจายเงินครั้งแรกในไตรมาสที่ 3 ของป 2552 และขยายตัวเพิม่ ขึ้นสูงสุดที่รอยละ 12 ในไตรมาสที่ 1 ของป 2553 ดังนั้น จึงกลาวไดวา แผนปฏิบัตกิ ารไทยเขมแข็งเปนปจจัยหลักในการกระตุนเศรษฐกิจของ ประเทศใหฟนตัวอยางรวดเร็ว โดยลาสุดสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดปรับประมาณ การการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2553 เพิ่มจากรอยละ 3.5 เปนรอยละ 7.5 (ขอมูล ณ วันที่ 23 ส.ค. 53) * วงเงินกูภายใต พ.ร.ก. เทากับ 400,000 ลบ. แบงเปนวงเงินกูเพื่อนําไปสมทบเงินคงคลัง จํานวน 50,000 ลบ. และวงเงินกูเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ จํานวน 350,000 ลบ.

3


แมหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น ในป 2552 แต…

โครงการลงทุนของรัฐบาลจะทําให หนี้สาธารณะตอ GDP ปรับตัว ลดลง ตามลําดับ สํานักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

48.7%

48 9% 48.9%

48 % 48.7%

47.8%

48.2%

18,738,150 ลบ. 47.0%

46.3%

45.4%

44.2% 43.2%

43.8%

GDP (ณ ราคาประจํ า ปี , ล านบาท)

2562 ƒ

2561 ƒ

2560 ƒ

2559 ƒ

2558 ƒ

2557 ƒ

2556 ƒ

2555 ƒ

2554 ƒ

2553 ƒ

2552

2551

37.4%

หนี้สาธารณะตอ GDP (ร อยละ)

จัดทําโดย : กุลกานต อรามทอง, kullakarn@pdmo.go.th

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง – การปรับตัวลดลงของหนี้สาธารณะตอ GDP ในระยะยาว ถึงแมวา นโยบายการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลผานการกูเงินภายใตแผนปฏิบัตกิ ารไทยเขมแข็ง 2555 เพือ่ มาดําเนิน โครงการลงทนภาครั โครงการลงทุ นภาครฐในสาขาตางๆ ฐในสาขาตางๆ สงผลใหหนสาธารณะเพมสู สงผลใหหนี้สาธารณะเพิ่มสงขึ งขนในป ้นในป 2552 จนทาใหสดสวนหนสาธารณะตอ จนทําใหสัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP ปรับตัวสูงขึน้ เปนรอยละ 44.2 ของ GDP ในป 2552 ซึ่งเพิ่มขึ้นอยางมากจากรอยละ 37.4 ในป 2551 อยางไรก็ตาม การกระตุน เศรษฐกิจผานแผนปฏิบัตกิ ารไทยเขมแข็ง 2555 ไดสง ผลใหเศรษฐกิจขยายตัวอยางกาวกระโดด จนทําใหสัดสวนหนี้ สาธารณะตอ GDP ปรับตัวลดลงในระยะยาว

4


Optimizing External Sources of Fund สํสําานันักกนโยบายและแผน นโยบายและแผน

Loan Tenure: 20-30 years Grace Period: 5-7 years Lower Cost: Government bond minus 30-70 bps*

Project Life: 20-30 years Construction Period: 5-7 years I Import Content: 30-80%

*agreement date

Knowledge Transfer Technology Transfer

Avoid Crowding Out Effect Reserve budget for other projects จัดทําโดย : สุเนตรา เล็กอุทัย, sunetra@pdmo.go.th

แหลงเงินกูตางประเทศ : อีกทางเลือกหนึ่งในการระดมทุน External Borrowing Guarantee

กระทรวงการคลังกูเงินจากแหลงเงินกูทางการตางประเทศ เชน รัฐบาลญี่ปุน โดยผานองคการความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปนุ (JICA) ธนาคารพัฒนาเอเชีย ((ADB)) และธนาคารโลก ((World Bank)) ประกอบการใชเงินงบประมาณและการกู​ูเงิน ภายในประเทศเพือ่ ทําโครงการเพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดวยเหตุผล ดังนี้

Deficit 1. เงื่อนไขเงินกูเ หมาะสมและสอดคลองกับลักษณะโครงการ – เปนโครงการที่ใชเงินลงทุนสูง มีการนําเขาสินคาและบริการจากตางประเทศ รวมทั้งมีความตองการใชเทคโนโลยี และความชํานาญเฉพาะดาน – มอตราดอกเบยเงนกู มีอัตราดอกเบีย้ เงินกเมอเปรยบเทยบเปนเงนบาทแลว มื่อเปรียบเทียบเปนเงินบาทแลว ตากวาการระดมทุ ต่าํ กวาการระดมทนในประเทศ นในประเทศ – มีระยะปลอดหนี้เงินตนสอดคลองกับระยะเวลาการกอสรางกอนเปดดําเนินโครงการ – มีระยะเวลาชําระคืนเงินกูสอดคลองกับอายุโครงการ 2. ไดรบั การถายทอดความรูแ ละเทคโนโลยีจากแหลงเงินกู เชน ความชวยเหลือทางวิชาการ และการสงผูเชีย่ วชาญ มาใหความรูกับหนวยงาน เปนตน 3 หลกเลยงการแยงเงนทุ 3. หลีกเลี่ยงการแยงเงินทนระหว นระหวางรฐบาลกบเอกชน างรัฐบาลกับเอกชน (Crowding Out Effect) ซงจะสงผลใหตนทุ ซึ่งจะสงผลใหตนทนการก นการกูยมสู ืมสงขึ งขน้น อีกทัง้ รัฐบาลสามารถนําเงินงบประมาณทีม่ ีอยูจาํ กัดไปลงทุนในโครงการอื่นๆ ทั้งนี้ สําหรับเงินกูต า งประเทศ สบน. จะติดตามภาวะตลาดอยางตอเนือ่ ง และบริหารความเสี่ยงอัตราแลกเปลีย่ นเมื่อ ภาวะตลาดเหมาะสม โดยใชเครื่องมืออนุพันธทางการเงินตางๆ

5


สบน. ลดภาระหนี้ตางประเทศกวา 6 แสนลานบาท

สํานักนโยบายและแผน สํานักนโยบายและแผน

รอยละตอหนี้สาธารณะ 50%

ลานบาท 140,000 140 000 117,361

120,000

38% 99,571

100,000 78,462

80,000 63,855

60,000

25%

62,424

24% 45,628 43,680

40 000 40,000 20,316

20,000

21,104

9% 1,534

0

0% 2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553 ปงบประมาณ

จัดทําโดย : ปยธิดา สวนสุข, piyathida@pdmo.go.th

เงินตนที่ลดลงจากการชําระคืนกอนกําหนด ดอกเบีย้ ทีป่ ระหยัดไดจากการชําระคืนกอนกําหนดและการปรับเงื่อนไขเงินกู สัดสวนหนีต้ า งประเทศตอหนี้สาธารณะทั้งหมด

ความสําํ เร็​็จในการลดภาระหนี ใ ตี้ างประเทศ ป (2547 – ปจจุบัน) สบน. มีการบริหารหนี้ตางประเทศของรัฐบาลและใหคําปรึกษาแกรัฐวิสาหกิจ โดยมีวัตถุประสงคหลัก 2 ประการ คือ ลดภาระหนี้และปดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งทีผ่ านมา สบน. สามารถลดภาระ หนี้ตางประเทศไดทั้งสิ้น 553,935 ลานบาท โดย สบน. มีแนวทางการบริหารหนี้ตางประเทศ ดังนี้ 1 การชําระคืนเงินตนกอนครบกําหนด (Prepayment) ในชวงทภาวะเศรษฐกจดและภาครฐมรายได 1.การชาระคนเงนตนกอนครบกาหนด ในชวงที่ภาวะเศรษฐกิจดีและภาครัฐมีรายได ที่เพียงพอกับรายจายเพื่อการลงทุน สบน. จะบริหารจัดการเรงคืนหนี้ตางประเทศ 2.การกูเงินดวยเงื่อนไขใหมเพื่อชําระหนี้เดิม (Refinance) โดยจะ Refinance ดวยสกุลเงินบาท หรือสกุลเงินตางประเทศที่มีตนทุนที่ต่ํากวาเงื่อนไขเงินกูเดิม เพื่อเปนการลดภาระดอกเบี้ย 3.การปองกันความเสี่ยง (Hedging) โดยใชเครื่องมืออนุพันธทางการเงิน (Derivatives) ไดแก Swap Arrangement และ Forward เพือื่ ปดความเสียี่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลียี่ น โดยเปนการเปลี่ยนภาระหนี้ตางประเทศของรัฐบาลมาเปนสกุลเงินบาท และยังสงผลให การตั้งงบชําระหนี้มีความแมนยํามากขึ้น 6


สัดสวนหนี้ตางประเทศของรัฐบาล ลดเหลือ 2% ลานบาท

หนี้ในประเทศของรัฐ บาล

ลดความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยน สํานักนโยบายและแผน

หนี้ตางประเทศของรัฐบาล

สัดสวนหนี้ตางประเทศตอหนี้รฐ ั บาลทั้งหมด

3,000,000 , ,

50%

2,500,000

35% 2,000,000

1,500,000

25%

14%

1,000,000

500,000

2% ‐ 2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

* ขอมูล ณ สิ้น มิถุนายน 2553

2551

2552

จัดทําโดย : ปยธิดา สวนสุข, piyathida@pdmo.go.th

หนี้ตางประเทศของรัฐบาล

ลดความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยน

2%

9 สัดสวนหนี้ตา งประเทศในปจจุบันคิดเปน 2% ของหนี้รัฐบาล ทั้งหมด (ณ เดือนมิถุนายน 2553) ซึ่งในสัดสวนดังกลาวนั้น สบน. ได ดาํ เนิ น การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากความผั น ผวนของ อัตราแลกเปลี่ยนอยางตอเนือ่ ง โดยการใชเครองมออนุ อตราแลกเปลยนอยางตอเนอง โดยการใชเครื่องมืออนพัพนธทางการเงน นธทางการเงิน เชน Cross Currency Swap (CCS) ทําใหรัฐบาลมีหนี้ตางประเทศ ที่ยงั คงเหลือ Foreign Exchange Rate Exposure อยูเ พียง 1.2% ของหนี้รัฐบาลทั้งหมด

0%

ปงบประมาณ

สัดสวนหนี้ตางประเทศของรัฐบาล ลดเหลือ 2%

9สบน. ปรับลดสัดสวนหนีต้ า งประเทศของรัฐบาล โดยการบริหาร หนีต้ า งประเทศดวยการชําระคืนกอนกําหนด (Prepayment) การปรับ เงือ่ นไขเงินกู (Refinance) ดวยสกุลเงินบาท คูขนานไปกับการพัฒนา ตลาดตราสารหนี้ในประเทศเพือ่ ใหตลาดตราสารหนี้เปนแหลงระดมทุน ที่ยงั่ ยืนของทกภาคส ทยงยนของทุ กภาคสวน วน

7

2550

2553*

Hedged 0.8% Unhedged (เที ยบเทา 22,209 ลบ.) 1.2% (เทียบเทา 33,314 ลบ.)


การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ใหเปนเสาหลักทางการเงิน เพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงของระบบการเงิน เพอเสรมสรางความแขงแกรงของระบบการเงน 2550-2553 : ตลาดตราสารหนี้สามารถรองรับความตองการระดมทุนที่ขยายตัวกวา 3 เทา 2554 : พัฒนาเครื่องมือใหม ยกระดับตลาดตราสารหนี้สสู ากล เครื่องชี้วัดความสําเร็จของ การสรางพันธบัตร Benchmark การสรางพนธบตร

9 พัฒนาอัตราดอกเบี้ยอางอิง สรางสภาพคลองในตลาดรอง 9 เปนเครื่องมือระดมทุ​ุนที่ยั่งยืนและมีตนทุนุ ที่เหมาะสม

พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ ใหเปน 1 ใน 3 เสาหลักทางการเงิน

9สรางพันธบัตร Benchmark 9เพิ่มความหลากหลายของตราสารหนี้ 9ขยายฐานนักลงทุน

พัฒนาตลาดตราสารหนี้ อยางรอบดาน

9 สรางความยั่งยืนใหกบั ตลาดตราสารหนี้ในประเทศ 9สรางความนาเชื่อถือ บริหารหนี้อยางมืออาชีพ


2550-2553 : ตลาดตราสารหนี้สามารถรองรับความตองการระดมทุนที่ขยายตัวกวา 3 เทา 2554 : พัฒนาเครื่องมือใหม ยกระดับตลาดตราสารหนี้สสู ากล สํานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ 1,400,000

กลยุทธป 54

ตอบโจทยเงินเฟอขาขึ้น 5 สรางพนธบตร สรางพันธบัตร Benchmark อยางตอเนอง อยางตอเนื่อง สรางอตราดอกเบยอางอง สรางอัตราดอกเบี้ยอางอิง 5 ILB ตอบโจทยเงนเฟอขาขน 5 Long Term P/N ตอบโจทยกลุม ประกันชีวิต 5 ออมทรัพยขั้นบันได ขยายฐานรายยอย ลานบาท 5 LB 50 ป ยืดอายุ Portfolio + สอดรับดอกเบี้ยต่ํา 5 กูดวย Bank Loan ตนทุนต่ํา สอดรับการเบิกจาย TKK

1,200,000

1,000,000

Bank Loan Bank Loan 30,000

600,000

3 เทา

New Instrument, 58,500

Bank Loan 237,700

Other 120,000

T‐Bill 134,000

P/N 106,171

T‐Bill 50,000

P/N 49,989

SB 82,230

P/N 70,514

LB 443,572

LB 440,000

T‐Bill ‐127,000

Refinance Bank Loan

2553

2554

SB 80,000

400,000

Bank Loan 60,000

P/N 30,950 200,000

‐200,000

SB 6,000

LB 193,250

SB 18,000

LB 223,363

LB 383,269

‐90,000

ตาราง : การกูเงินของรัฐบาลแบงตามเครื่องมือ 2550

2551

2552

จัดททําโดย : นครินทร พรอมพัฒน, nakarin@pdmo.go.th

800,000

การพัฒนาตลาดตราสารหนี้เพื่อรองรับการระดมทุนที่เพิ่มขึ้น สบน. เริ่มดําเนินการพัฒนาตลาดตราสารหนี้อยางเปนระบบตั้งแตป 2551 โดยพัฒนาอัตราดอกเบี้ยอางอิงของรัฐบาล ผานการออก พันธบัตร Benchmark ใหมีวงเงินสูงเพียงพอใหเกิดสภาพคลองในตลาดรอง ปรับความถี่ในการประมูลพันธบัตรเพื่อเพิ่มบทบาทของตลาด รอง และปรับรุนอายุของพันธบัตร Benchmark ใหสอดคลองกับความตองการของนักลงทุน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2552 - 2553 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจขึ้นทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ทําใหการจัดเก็บรายไดไมเปนไปตามเปาหมาย และตองดําเนินการลงทุนเพื่อกระตุนเศรษฐกิจอยางเรงดวน รัฐบาลจึงจําเปนตองเพิ่มวงเงินการระดมทุนใหสูงขึ้นจากปกอนหนาถึงกวา 3 เทาตัว (6 แสนลานบาท) ซึ่งถือเปนโอกาสของ สบน. ในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้อยางเต็มรูปแบบ สามารถออกผลิตภัณฑใหกับนักลงทุนในแตละ กลุมไดอยางครบถวน และสามารถระดมทุนไดเพียงพอกับความตองการของรัฐบาล ในตนทุนที่เหมาะสม โดยกลยุทธที่ สบน. ไดดําเนินการไป มีดังนี้ 1.ออกพันธบัตร Benchmark อยางตอเนื่อง ในวงเงินที่เพิ่มมากขึ้น 2.เพิ่มวงเงินการออก T-Bill และ พันธบัตรระยะสั้น เพื่อสอดรับการปรับตัวของนักลงทุ​ุนที่ตองการลงทุ​ุนในเครื่องมือระยะสั้น 3.ออกพันธบัตรออมทรัพยแบบขั้นบันได วงเงิน 80,000 ลานบาท เพื่อขยายฐานของนักลงทุนสูรายยอย 4.ระดมทุนเพื่อใชในการลงทุนภายใตโครงการไทยเขมแข็งดวยการทําสัญญาเงินกูก ับธนาคารพาณิชยในลักษณะการเปดวงเงินและ ทยอยเบิกจายตามความคืบหนาของโครงการ เพื่อลดตนทุน และมีความคลองตัวตอการเบิกจายมากกวาการใชพันธบัตร จากนั้น จึงทยอยปรับโครงสรางหนี้ดังกลาวเปนพันธบัตรัฐบาลหรือตราสารหนี้ระยะยาวภายหลัง และในงบประมาณ พ.ศ. 2554 นี้ สบน. จะดําเนินการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในเชิงลึกมากขึ้น โดยการเพิ่มผลิตภัณฑทางการเงินที่มีความ ซับซอนมากขึ้น เพอยกระดบคุ ซบซอนมากขน เพื่อยกระดับคณภาพของตลาดตราสารหนี ณภาพของตลาดตราสารหนใหมความเปนสากลมากยงขน ้ใหมีความเปนสากลมากยิ่งขึ้น และเตรยมพรอมสาหรบภาวะตลาดการเงนทอาจม และเตรียมพรอมสําหรับภาวะตลาดการเงินที่อาจมี ความผันผวนในอนาคต โดยมีแผนออกผลิตภัณฑใหม ดังนี้

9

1.พันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบี้ยแปรผันตามการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟอ (Inflation Linked Bond ) เปนประเทศแรกใน Emerging Asia Economies 2.ตั๋วสัญญาใชเงินอัตราดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Rate Promissory Note) รุนอายุ 12 – 20 ป 3.พันธบัตรรัฐบาลอัตราดอกเบี้ยคงที่ รุนอายุ 50 ป (เปนประเทศที่ 4ในโลก ตอจากอังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน)


เครื่องชี้วัดความสําเร็จของ การสรางพันธบัตร Benchmark Sizable Benchmark Bond: ยอดคงคางพันธบั ตร Benchmark 5

9 พัฒนาอัตราดอกเบี้ยอางอิง สรางสภาพคลองในตลาดรอง 9 เปนเครื่องมือระดมทุนที่ยั่งยืนและมีตนทุนที่เหมาะสม สํานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ Popular Benchmark Bond: พันธบัตร Benchmark รุนอายุ 5 ป มีการซื้อขายเปน อันดับที่ 1 ตลอด

ป

สูงเทียบเทาสากล

#

5 ป 7 ป 10 ป 120,000ลบ.

#

5

2551

2552

2553

80 ของการซื้อขายพันธบัตรรัฐบาล ในตลาดรองกระจุกตัวอยู ใน 10 อันดับแรก

#

2

#

12%

7

2

13%

#

76%

78%

2550

2551

2552

Well developed Benchmark Bond pays off : รัฐบาลระดมทุนดวย

14 + 1.4 bps

bps

383,269ลบ.

223,363ลบ.

2551

2552

2553

2553

พันธบัตร Benchmark เพิ่มขึ้นแตตนทุนลดลง

+1.2

70%

5

8%

80%

2550

1

7% 6%

Demand Concentration : รอยละ

ที่มา: http://www.thaibma.or.th

1

28%

21% #

#

46,000 , ลบ.

2550

#

27%

130,000ลบ.

99,000ลบ.

1

2551

2552

443,572ลบ.

- 0.6

bps

2553

จัดทําโดย : ชาคริต โพธิสุข, chakrit@pdmo.go.th

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ โดยการสรางพันธบัตร Benchmark ภายใตแนวทางใหม ที่ผานมา ปญหาของตลาดตราสารหนี้ในประเทศคือ การขาดสภาพคลองในตลาดรอง ซึง่ มีสาเหตุมาจากพันธบัตรรัฐบาล ญไมเพียงพอที่จะทําใหเกิดการซื้อขายหมุนุ เวียนในตลาดรอง ดังนัน้ สบน. จึงแกปญหาดังกลาวดวยการสราง มีขนาดใหญ พันธบัตร Benchmark ภายใตแนวทางใหม คือ 1.เพิ่มยอดคงคางของพันธบัตร Benchmark ซึง่ ขนาดที่เหมาะสม คือประมาณ 100,000 ลานบาท ขึน้ ไป 2.เปลี่ยนรุนอายุของพันธบัตร Benchmark จาก 7 ป และ 10 ป เปน 5 ป และ 10 ป 3.ลดความถี่ในการประมูลจากประมูลทุกสัปดาหหรือทุกเดือน เปนเดือนเวนเดือน การท่ พนธบตร การที พันธบัตร Benchmark B h k รุรนอายุ อาย 5 ปป มีมการซอขายเปนอบดบท การซื้อขายเปนอับดับที่ 1 ตลอด เปนสญญาณบงชความสาเรจของ เปนสัญญาณบงชี้ความสําเร็จของ การสรางพันธบัตร Benchmark ภายใตแนวทางใหมไดเปนอยางดี อีกทั้ง เมื่อพิจารณาปริมาณการซื้อขายในตลาดรอง ของพันธบัตรรุนอายุ 5 ป และ 10 ป ปรากฎวาปริมาณการซื้อขายรวมของพันธบัตรทั้ง 2 รุน มีสัดสวนเกินกวา 1 ใน 3 ของปริมาณการซื้อขายในตลาดรอง โดยรอยละ 80 ของปริมาณการซื้อขายกระจุกตัวอยูในพันธบัตร 10 อันดับแรก การพัฒนาการออกพันธบัตร Benchmark อยางเปนระบบ ใน 3 ปที่ผานมา สงผลใหนักลงทุนและผูรวมตลาด มีความมั่นใจในแนวทางการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของรัฐบาล ทําใหตลาดตราสารหนี้สามารถรองรับความตองการกูเงิน ของทัง้ ภาครัฐและเอกชนไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึน้ เห็นไดจากการที่รัฐบาลระดมทุนดวยการออกพันธบัตรรัฐบาลเพิ่มขึน้ จาก 223,363 ลบ. ในป 2551 เปน 443,572 ลานบาทในป 2553 (เพิ่มขึ้นกวาเทาตัว) และไดรับตนทุนทีใ่ กลเคียงกับราคาตลาด

10


9สรางพันธบัตร Benchmark 9เพิ่มความหลากหลายของตราสารหนี้ 9ขยายฐานนักลงทุน

พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ ใหเปน 1 ใน 3 เสาหลักทางการเงิน

สํานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ (รอยละตอ GDP) 130%

(ณ สิ้น มิ.ย. 53)

128%

ตราสารหนี้ในประเทศ (แบงตามผุออก)

Rating ของตราสารหนี้ในประเทศ

120%

105%

3 เสาหลัก สมดุล

100%

82% 80%

66%

72% 60%

65%

52% 40%

39% 20%

7%

ธปท. 34%

AA 4% รัฐบาล 40%

รัฐวิสาหกิจ 8%

ตราสารหนี้รัฐบาล (แบงตามผูถือ) 20%

1% (นักลงทุนตา งชาติ )

(อืนื่ ๆ)

10%

19

สินเชื่อ

ตราสารทุน

ตราสารหนี้

ที่มา : www.thaibma.or.th, www.bot.or.th

BBB 3%

AAA 84%

(รัฐบาล + ธปท.)

2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 25533 (Q2)

0%

เอกชน 18%

A 9%

%

25

(ณ สิ้น มิ.ย. 53)

%

(นักลงทุนระยะยาว)

25

%

(นักลงทุนรายยอย) (ธนาคารพาณิชย)

จัดทําโดย : โพธิรัตน กิจศรีโอภาค, Pothirat@pdmo.go.th

ความสมดุลของ 3 เสาหลักทางการเงินกอใหเกิดแหลงระดมทุนที่ยั่งยืนของประเทศ

ตลาดตราสารหนี้ในประเทศ ไดรับการพัฒนาจนมูลคาตอ GDP เพิ่มขึน้ จากรอยละ 7 ในป 2535 เปน รอยละ 65 ในปจจุบนั ซึ่งเปนระดับทีใ่ กลเคียงกับตลาดสินเชือ่ และตลาดตราสารทุน ซึง่ ความสมดุลนี้จะทําใหตลาดทัง้ 3 เปนแหลงระดมทุนในประเทศ ที่ยงั่ ยืนของทุกภาคสวนเศรษฐกิจ

รอยละ 74 ของตราสารหนี้ในประเทศถูกออกโดยรัฐบาล (รอยละ 40) และธนาคารแหงประเทศไทย (รอยละ 34) ซึ่งเปนตราสารหนีท้ ี่มีความนาเชือ่ ถือสูงที่สดุ ในประเทศ อีกทัง้ ตลาดตราสารหนี้ฯ ประกอบดวยตราสารหนี้ที่ไดรับการจัดลําดับ ความนาเชื่อถือ (Credit Rating) อยูในระดับ AAA หรือตราสารหนี้ที่มีความนาเชื่อถือสูงที่สุดถึงรอยละ 84 ของตราสารหนี้ทงั้ หมด ซึง่ เปนคุณสมบัตพิ ิเศษและขอแตกตางระหวางตลาดตราสารหนี้ของประเทศไทยกับตลาดตราสารหนี้ ของตลาดเกิดใหมอื่น (Emerging g g Markets) ฐานนักลงทุนของตราสารหนี้รฐั บาลสามารถแบงตามสัดสวนการถือครองไดเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก 1.นักลงทุนระยะยาว 2.นักลงทุนรายยอย 3.Primary Dealers และ ธนาคารพาณิชยอื่น โดย นักลงทุนระยะยาว และนักลงทุนรายยอยมีความตองการซื้อตราสารหนี้อยางตอเนือ่ งและมีพฤติกรรมถือครองตราสารหนี้ จนครบอายุชาํ ระของตราสารหนี้ ทําใหรัฐบาลมั่นใจวาจะสามารถระดมทุนไดครบตามที่ตองการ ในขณะที่ Primary Dealers และ ธนาคารพาณชยอน ธนาคารพาณิชยอื่น มีมพฤตกรรมถอครองตราสารหนเพอซอ พฤติกรรมถือครองตราสารหนี้เพือ่ ซือ้ -ขาย ขาย ทากาไรในตลาดรอง ทํากําไรในตลาดรอง ซึซงพฤตกรรมดงกลาวกอใหเกด ง่ พฤติกรรมดังกลาวกอใหเกิด สภาพคลองในตลาดรองและการพัฒนาตลาดตราสารหนีฯ้ ตามลําดับ ดวยเหตุขา งตนนี้ จึงสามารถสรุปไดวา ตลาดตราสารหนี้ในประเทศมีความสมดุลทุกมิติ ทัง้ ในดานผูออกตราสารหนี้ ลําดับความนาเชื่อถือของตราสารหนี้ และดานนักลงทุน ซึง่ เปนจุดเริ่มตนทีท่ าํ ใหประเทศไทยมีระบบการเงินและแหลงระดมทุน ที่มีความยัง่ ยืนและมั่นคง

11


พัฒนาตลาดตราสารหนี้ อยางรอบดาน

9 สรางความยั่งยืนใหกบั ตลาดตราสารหนี้ในประเทศ 9สรางความนาเชื่อถือ บริหารหนี้อยางมืออาชีพ สํานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

ยกระดับ Outright Primary Dealer ดานหนาที่ในการสราง สภาพคลองในตลาดรอง ดานสิทธิประโยชนใน การเปน PD ดานการประเมินผล ดานการประเมนผล และบทลงโทษ

พันธบัตร Benchmark พนธบตร สรางอัตราดอกเบี้ยอางอิงทีม่ ีประสิทธิภาพใหภาคธุรกิจ ใชเปนฐานในการคํานวณตนทุนและผลตอบแทน เปนเครื่องมือระดมทุนหลักของรัฐบาลที่ยั่งยืน เปนทางเลือกการลงทุนทีม่ ีความมั่นคงใหนกั ลงทุนทั้ง ในและตางประเทศ ในและตางประเทศ

สงเสริมการมีสวน รวมของนักลงทุน ตางประเทศ ดานการลงทุนของ นักลงทุนตางประเทศ ดานการออกตราสารหนี้ ของนักั ลงทุนตา งประเทศ ป (Baht Bond)

เริ่มดําเนินงานของกองทุนบริหารเงินกูเพื่อการปรับโครงสราง หนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ เพมความคลองตวในการปรบโครงสรางหนทครบกาหนด เพิ ่มความคลองตัวในการปรับโครงสรางหนี้ที่ครบกําหนด และ สนับสนุนการพัฒนาตลาดตราสารหนี้อยางตอเนือ่ ง

ความ ทาทาย

แนวโนมอัตราดอกเบี้ยขาขึ้นทั่วโลก – การชะลอการลงทุนในตราสารหนี้ระยะยาว สภาพคลองในตลาดการเงินลดลง เนื่องจากมีการลงทุนในเศรษฐกิจจริงมากขึ้น การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานในดานการซือ้ ขายตราสารหนี้ใหสามารถเชื่อมโยงกับตลาดภูมิภาค : ABMI

การพัฒนาตลาดตราสารหนี้อยางรอบดาน

จัดทําโดย : นครินทร พรอมพัฒน, nakarin@pdmo.go.th

การสรางความตอเนื่องในการออกพันธบัตร Benchmark ถือเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ใหมีความยั่งยืน โดย ตั้งแตป 2551 เปนตนมา สบน. พัฒนาการออกพันธบัตร Benchmark อยางเปนระบบ กลาวคือ มีการประกาศแผนการออกที่แนนอน มีวงเงินที่สม่ําเสมอ และมีการออกอยางตอเนื่อง ทําให สบน. ไดรับความเชื่อถือจากนักลงทุนเกี่ยวกับการออกพันธบัตร Benchmark และแผนการระดมทนต และแผนการระดมทุ นตางๆ างๆ เปนอยางด เปนอยางดี ในขนตอไป ในขั้นตอไป สบน. สบน จะดาเนนการพฒนาโครงสรางพนฐาน จะดําเนินการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และปจจยสนบสนุ และปจจัยสนับสนนน เพื่อยกระดับศักยภาพของตลาดตราสารหนี้ขึ้นไปสูระดับสากลได โดยมี 3 ปจจัยหลัก ดังนี้ 1. การยกระดับ Outright Primary Dealer : กําหนดหลักเกณฑบทบาทหนาที่ สิทธิประโยชน การประเมินผลและบทลงโทษของ PD ใหมี ความสมดุล และทัดเทียบกับตางประเทศ เพื่อให PD สามารถทําหนาที่เปน Market Maker สรางสภาพคลองใหตลาดตราสารหนี้ รวมทั้งเปนเครื่องมือของรัฐบาลในการสงผานนโยบายการระดมทุนใหกับนักลงทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. การสงเสริมการมีสวนรวมของนักลงทุนตางประเทศ : เพิ่มสัดสวนของนักลงทุนตางประเทศในตลาดตราสารหนี้ไทย ทั้งดานผูลงทุน และผออกตราสารหน และผู อกตราสารหนี้ โดยม โดยมุงหวั หวงการ งการ Transfer T f Knowledge K l d ในดานตางๆ ในดานตางๆ เช เชนน เครื เครองมอการระดมทุ ่องมือการระดมทนน การบริ การบรหารความเสยง หารความเสี่ยง รวมทั รวมทง้ง นวัตกรรมใหมๆ ทางการเงินมาสูตลาดนักลงทุนในประเทศ 3. การเริ่มดําเนินการของกองทุนเพื่อบริหารเงินกูเพื่อการปรับโครงสรางหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ : เพื่อสนับสนุน การออกพันธบัตร Benchmark อยางตอเนื่อง และลดความเสี่ยงในการปรับโครงสรางหนี้จากการออกพันธบัตร Benchmark ที่มีวงเงินสูง เพียงพอสําหรับการสรางสภาพคลองในตลาดรองได โดยกองทุนดังกลาว จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. การบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 ทีใ่ หอํานาจ กระทรวงการคลังปรับโครงสรางหนี้กอนครบกําหนดไดในกรณีที่หนี้ที่ครบกําหนดมีวงเงินสูงไมสามารถดําเนินการปรับโครงสรางหนี้ภายใน ระยะเวลาสัน้ ๆ ได ไ  โดยเงิ โ นที​ีไ่ ดรับจากการกู จะตองนํ​ําสงเขากองทุนฯ เพื​ือ่ บริหารจัดการให ใ มีผลตอบแทน และสามารถลดตนทุนของการกูเงินได ไ ความทาทาย 1. แนวโนมอัตราดอกเบี้ยขาขึ้นทั่วโลก ซึ่งอาจสงผลใหนักลงทุนชะลอการลงทุนในตราสารหนี้ โดยเฉพาะประเภทอัตราผลตอนแทนคงที่ และรุนอายุยาว 2. สภาพคลองในระบบการเงินในประเทศลดลง อันเปนผลมาจากการฟนตัวของภาคเศรษฐกิจจริง ทําใหธนาคารพาณิชยตองเพิ่ม สัดสวนของการปลอยกูใหภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้น สงผลใหความตองการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลลดลง 3. การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานใหสามารถเชื่อมตอกับตลาดอื่นในภูมิภาคได ตามแนวคิด Asian Bond Market Initiative 12


การจัดหาเงินกูเพื่อ โครงการไทยเขมแข็ง 2555 โครงการไทยเขมแขง สบน. บริหารการเบิกจายเงินกูของ TKK 2555 อยางมีประสิทธิภาพ

ประมาณการเบิกจายตามเปาหมาย

((226,975 , ลบ. หรือ 65% ของ 350,000 , ลบ.)) ณ 23 ก.ย. 53

ประมาณการกระแสเงินสดแมนยํา (เงินคงบัญชี <2%)

เม็ดเงินลงทุนภายใตโครงการ ไทยเขมแข็ง 1.296 ไทยเขมแขง 1 296 ลลบ. ลลบ

กูภายใต พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง 350,000 ลบ.

วัตถุประสงคการลงทุนภายใต โครงการไทยเขมแข็ง 2555

บคุณภาพชีววิตติ คนไทยทั คนไทยทัว่ ประเทศ ยกระดับยกระดั คุณภาพชี ่วประเทศ


ประมาณการเบิกจายตามเปาหมาย

สบน. บริหารการเบิกจายเงินกูของ TKK 2555 อยางมีประสิทธิภาพ

(226,975 ลบ. หรือ 65% ของ 350,000 ลบ.) ณ 23 ก.ย. 53

ประมาณการกระแสเงินสดแมนยํา (เงินคงบัญชี <2%) สํานักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

ลานบาท 250,000

การเบิกจายเปนไปตามเปาหมายเกือบ 100% 99%

200,000

98%

99%

97%

150,000 99%

100,000 50,000

99%

0 ก.ย.-ธ.ค. 52 ไตรมาส 1/53 หนวย : ลานบาท

ไตรมาส 2/53

ก.ค. 2553 ส.ค.

ก.ย.

ก.ย.-ธ.ค. 52

ม.ค.-มี.ค. 53

เม.ย.-มิ.ย. 53

ก.ค. 53

ส.ค. 53

ก.ย. 53

ยอดกูเงินสะสม

35,000

105,000

183,000

200,000

220,000

230,000

ยอดเบิกจายสะสม

34,624

103,917

177,546

198,598

214,934

226,975

ความแมนยําของการ เบิกจาย (รอยละ)

98.9

99.0

97.0

99.3

97.7

98.7

ยอดกูเ งินิ สะสม

ยอดเบิกิ จายสะสม 

จัดทําโดย : อรพร ถมยา, oraporn@pdmo.go.th

สบน. บริหารเงินกูอยางมีประสิทธิภาพ – ตรงตามเปาหมายและแมนยํา สบน. ติดตามความกาวหนาของโครงการภายใตแผนปฏิบัตกิ ารไทยเขมแข็ง 2555 อยางใกลชิด เพื่อใหสามารถบริหาร เงินสดไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด 1. การติดตามความกาวหนาในการดําเนินโครงการและการเบิกจายเงินลงทุนใหมีประสิทธิภาพ ผานระบบติดตามและ ประเมินผลการดําเนินงานทางเว็บไซต ไ ไทยเขมแข็ง (www.tkk2555.com) ซึงึ่ จะรายงานผลความคืบื หนารายสัปดาห เชน วงเงินและจํานวน โครงการที่ไดรับจัดสรร วงเงินและจํานวนโครงการที่เบิกจายแลว/ยังไมเบิกจาย/อยูระหวางเบิกจาย เปนตน ทําใหการติดตามความคืบหนา การเบิกจายเงินกูเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถเรงรัดการดําเนินงานของหนวยงานได เพราะมีการเปดเผยขอมูลสูสาธารณชน ทําใหหนวยงานเจาของโครงการมีแรงจูงใจในการเรงรัดการดําเนินงาน และสามารถเบิกจายเงินกูจากบัญชีไทยเขมแข็งไดรอยละ 98 ของการเบิกจายเงินกู (ตัวเลข ณ วันที่ 23 กันยายน 2553) 22. การพฒนาระบบการบรหารเงนสดสาหรบโครงการภายใตแผนปฏบตการไทยเขมแขง การพัฒนาระบบการบริหารเงินสดสําหรับโครงการภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 โดยการกู โดยการกเงิงนใหสอดคลอง นใหสอดคลอง กับระยะเวลาการเบิกจายของโครงการและใชรูปแบบการกูเงินที่เหมาะสมกับการดําเนินโครงการ โดยการกูเงินในรูปแบบ Bank Loan และกําหนดเงื่อนไขใหสามารถทยอยเบิกจายเงินกูไดตามกรอบระยะเวลาการดําเนินงาน นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการรักษาระดับ เงินสดภายใตบัญชีไทยเขมแข็งเพื่อลดตนทุนการดํารงเงินสดใหอยูในระดับที่เหมาะสม โดยลาสุด ณ วันที่ 23 กันยายน 2553 มีการ เบิกจายแลว 226,975 ลานบาท (รอยละ 65 ของ 350,000 ลานบาท) โดย สบน. สามารถบริหารจัดการเงินสดคงบัญชีเฉลี่ยไวไมเกิน รอยละ 2 ณ สิ้นงวดการเบิกจาย โดยในภาพรวม การบริหารตนทุนทางการเงินภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 มีอัตราการเบิกจายเรงที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง และใกลเคียงกับการเบิกจายเงินกู ประกอบกับ สบน. ไดประมาณการการเบิกจายเงินกูของหนวยงานเปนระยะๆ การกูเงินและการเบิกจาย เงินกูจึงมีความสอดคลองกัน ทําใหการบริหารตนทุนทางการเงินภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

14


เม็ดเงินลงทุนภายใตโครงการ ไทยเขมแข็ง 1.296 ลลบ.

กูภายใต พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง 350,000 ลบ. สํานักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

หนวย : ลบ.

พ.ร.ก. 350,000

อื่นๆ 445 000 445,000

PPPs 23,000

กู​ู ตางประเทศ 134,000 งปม. 146,000

เครื่องมือทางการเงิน

วงเงิน ตนทุน

พันธบัตรออมทรัพย 6 ป

82,230 4.17%

Bank Loan 2 ปป

67 770 1.72 67,770 1 72%

Bank Loan 4 ป

77,000 1.52% 227,000* 2.54%

SOEs 280 000 280,000

* 227,000 ลบ. คดเปน คิดเปน 65% ของวงเงน ของวงเงิน พ.ร.ก. 350,000 ลบ. ณ วันที่ 23 ก.ย. 53

หนวย : ลบ. จัดทําโดย : กุลกานต อรามทอง, kullakarn@pdmo.go.th

พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง 350,000 ลานบาท – วันนี้ถึงไหนแลว? แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 (Stimulus Package II) มีกรอบวงเงินลงทุน 1,296,021 ลานบาท โดยมีแหลงเงินที่สนับสนุนโครงการ −เงินงบประมาณ ไดแก สวนที่รัฐบาลรับภาระ −เงินกูตามกฎหมายพิเศษ (พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง) −เงินกูตางประเทศตามกฎหมายปกติ −อื่นๆ

สวนที่รัฐวิสาหกิจรับภาระ −รายไดของรัฐวิสาหกิจ −เงินกูของรัฐวิสาหกิจ

เพื่อใหการกระตุนเศรษฐกิจมุงตรงกลุมเปาหมายอยางรวดเร็ว รัฐบาลไดออก พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง วงเงิน 350,000 ลานบาท* ซึ่งคิดเปน รอยละ 27 ของวงเงินลงทุนทั้งหมด โดย ณ วันที่ 23 กันยายน 2553 หนวยงานเจาของโครงการไดเบิกจายเงินกูแลว เปนเงิน 227,000 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 65 ของวงเงินกูภายใต พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง เครื่องมือทางการเงิน ไดแก 1.พันธบัตรออมทรัพย 6 ป วงเงิน 82,230 ลานบาท มีตนทุนเฉลี่ยรอยละ 4.17 ตอป 2. สัญญากูเงิน 2 ป วงเงิน 150,000 ลานบาท โดยไดดําเนินการปรับโครงสรางหนี้เปนพันธบัตรออมทรัพย 6 ป จึงคงเหลือวงเงิน จานวน ํ 67 770 ลานบาท 67,770  มตนทุ ี  นเฉลยรอยละ ี่  1 72 ตอป 1.72  ป 3. สัญญากูเงิน 4 ป วงเงิน 77,000 ลานบาท มีตนทุนเฉลี่ยรอยละ 1.52 ตอป ทั้งนี้ สบน. จะกูเงินเพื่อโครงการไทยเขมแข็งเปน Bank Loan ระยะสัน้ กอนในครั้งแรกเสมอ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการใชจายเงินของ โครงการตางๆ และจะทยอยปรับโครงสรางหนี้เปนตราสารหนี้ระยะยาวอื่นๆใหเหมาะสมตอไป

15 * วงเงินกูภายใต พ.ร.ก. เทากับ 400,000 ลบ. แบงเปนวงเงินกูเพื่อนําไปสมทบเงินคงคลัง จํานวน 50,000 ลบ. และวงเงินกูเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ จํานวน 350,000 ลบ.


วัตถุประสงคการลงทุนภายใต โครงการไทยเขมแข็ง 2555

บคุณภาพชีววิตติ คนไทยทั คนไทยทัว่ ประเทศ ยกระดับยกระดั คุณภาพชี ่วประเทศ สํานักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

เศรษฐกิ จสรางสรรค (creative economy)

ถนนลาดยางทั่วประเทศครบ 100%

เพิ่มเปน 20 % ของ GDP เพมเปน

ปจจุบัน

อื่นๆ

ไทยเขมแข็ง

21%

เตียงใน ร.พ. เพิ่มขึ้น 10,000 , เตียง

ปจจุบัน

ไทยเขมแข็ง

ขนสง

29%

พื้นที่ชลประทานเพิ่ม 1 ลานไร

ประกันรายไดเกษตรกร

3%

สาธารณสุข

7% ปจจุบัน

ไทยเขมแข็ง

รายไดครัวเรือนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเท าตัว (5 จชต.)

การลงทุนในระดับชุมชน

ทรัพยากรน้ํา และการเกษตร

11%

18%

ปจจุบัน

ไทยเขมแข็ง

รร. ที่ต่ํากวามาตรฐานหมดไป

การศึกษา

11% ปจจุบัน

ปจจุบัน

ไ ม แข็ง็ ไทยเข

ไทยเขมแข็ง

จัดทําโดย : กุลกานต อรามทอง, kullakarn@pdmo.go.th

โครงการไทยเขมแข็ง 1.296 ลานลานบาท – กาวใหถึงเปาหมาย แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 มีการกระจายเม็ดเงินลงทุนผาน 7 สาขาหลัก ซึง่ จะชวยกระจายรายได และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในดานตางๆ ดังนี้ 1 เกษตรกรและประชาชนมีพื้นที่ชลประทานเพื่อการเกษตรและอปโภคบริ 1.เกษตรกรและประชาชนมพนทชลประทานเพอการเกษตรและอุ ปโภคบรโภคเพมขน โภคเพิ่มขึ้น 2.การคมนาคมขนสงมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นเนื่องจากมีถนนลาดยางใชทั่วประเทศ 3.โรงพยาบาลทั่วประเทศสามารถรองรับผูปวยไดมากขึ้น และยกระดับคุณภาพการรักษาพยาบาล ใหไดมาตรฐานทั่วประเทศ 4.นักเรียนไดรับบริการทางการศึกษาอยางมีมาตรฐานทั่วประเทศ 5.ประชาชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใตมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 6.รัฐบาลสามารถพัฒนาและขยายผลแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรคไดอยางเปนรูปธรรม กอใหเกิดการ เพิ่มมูลคาในตัวสินคาและสรางรายไดจากสินคาเชิงสรางสรรคใหแกประเทศ ในภาพรวมการกระจายแผนการลงทุนในสาขาตางๆ ทําใหประชาชนทุกระดับทั่วประเทศตางไดรับประโยชน จากโครงการภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 อยางทั่วถึงกันทุกดาน

16


ประเด็นชวนคิด พันธกิจวันขางหนา Economic growth rebounded Confidence regained Momentum restored กรอบความยั่งยืนทางการคลัง : งบชําระหนีไ้ มเกินรอยละ 15 ของงบประมาณรายจาย

กระทรวงการคลังไดรับงบประมาณชําระคืนเงินตนเฉลี่ย เทากับรอยละ 3 ของงบประมาณรายจายประจําป

Credit Rating is Yet to be “upgraded”” กระทรวงการคลังไดรับงบชําระหนี้ไมเพียงพอ ทําใหภาระดอกเบี้ยเพิ่มสงขึ ทาใหภาระดอกเบยเพมสู งขน้น

สบน. ตองดําเนินการปรับโครงสรางหนี้ที่ไมไดรับ งบประมาณ สงผลใหมีภาระหนี้สะสมมากขึ้นในอนาคต

บทบาทของเงินคงคลัง กับ การบริหารการคลังที่ยั่งยืน ถาเงินคงคลังมีผลตอบแทนแมเพียง 1% รัฐบาลจะประหยัดตนทุนได 3,200 ลานบาท


Credit Rating is Yet to be “upgraded”

Economic growth rebounded Confidence regained Momentum restored

สํานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ Aaa AAA Aa1 AA+ Aa2 AA

• International Reserves/ ST External Debt Ratio < 1

• International Reserves/ ST External Debt ≈ 4.5 (as of June 2010)

• NPLs : Commercial Banks: 47%, Finance Companies: 67%

• NPLs: Commercial Banks: 5%, Finance Companies: 12%

• Financial Markets Imbalances: Bond 12%, Equities 24%, Bank Loans 128% (as % of GDP) Bank Loans 128% (as % of GDP)

•Balance of Financial Markets Achieved: Bond 65%, Equities 66%, Bank Loans 82% (as % of GDP) Bank Loans 82% (as % of GDP)

• Absence of Social Safety Net

• Universal Coverage for Health Care Increased to 97% of Total Population

• Absence of Bankruptcy laws and deposit guarantee

• Bankruptcy law and The Deposit Protection Act were established

15%

10%

Aa3 AA‐ A1

A+

A2

A

A3

A‐

?

5%

pre‐crisis p

0%

Baa1 BBB+

Momentum restored

Baa2 BBB Baa3 BBB‐

Investment Grade

recovery

Ba1 BB+

‐10%

•IMF Loan paid

post‐crisis

‐5%

Ba3 BB‐

Q 1 / 1995 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 1996 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 1997 (2540) Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 1998 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 1999 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2000 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2001 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2002 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2003 (2547) Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2004 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2005 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2006 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2007 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2008 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2009 Q 2 Q 3 Q 4 Q 1 / 2010 Q 2 Q 3 Q 4 / 2010 (2553)

Ba2 BB

Thailand’s GDP growth Y‐O‐Y Thailand’ss credit rating by Moody Thailand credit rating by Moody’ss ที่มา : Bloomberg

‐15%

Thailand’ss credit rating by S&P Thailand credit rating by S&P จัดทําโดย : โพธิรัตน กิจศรีโอภาค, Pothirat@pdmo.go.th

ทําไมอันดับความนาเชื่อถือของประเทศไทยยังไมกลับคืนสูร ะดับเดียวกับชวงกอนเกิดวิกฤตทางการเงินป 2540 วิกฤตการเงินในป 2540 สงผลใหอันดับความนาเชื่อถือของประเทศไทยถูกปรับลดลงมาถึง 4-5 ระดับในคราวเดียวและลดลงต่ํากวาระดับ Investment Grade ซึ่งตอมาเมื่อรัฐบาลไดปฏิรูประบบกํากับดูแลสถาบันการเงินใหมีความเขมแข็ง รวมถึงสรางระบบประกันสังคม ตลอดจนออกกฎหมายตางๆ เพื่อดูแลนักลงทุนและประชาชนใหไดรับความคุมครองหากไดรับผลกระทบจากวิกฤตทางการเงินในอนาคต ทําใหอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจปรับตัวสงขึ ทาใหอตราความเจรญทางเศรษฐกจปรบตวสู งขนอยางตอเนองและไดชาระคนหน ้นอยางตอเนื่องและไดชําระคืนหนี้ IMF บรษทจดอนดบความนาเชอถอจงไดปรบอนดบ บริษัทจัดอันดับความนาเชื่อถือจึงไดปรับอันดับ ความนาเชื่อถือของประเทศไทยขึ้นมาเหนือ Investment Grade อีกครั้งในป 2547 อยางไรก็ตาม ในชวง 5 ปที่ผานมา แมประเทศไทยจะประสบกับปญหาความผันผวนทางการเมืองและไดรับผลกระทบจากวิกฤตใน สหรัฐ แตประเทศไทยสามารถขยายตัวไดอยางแข็งแกรงและมีเสถียรภาพเสมอมา 2547 2553 เพิ่มขึ้น GDP 6,576,800 ลบ. 10,000,900 ลบ. 52% GDP per Capita 106,124 บาท 148,162 บาท 40% Reserves / S-T External Debt External Debt / GDP

3 เทา 30%

4.5 เทา 27%

สบน. มีแนวทางที่จะประสานงานกับหนวยงานหลักที่เกี่ยวของกับการใหขอมูลประกอบการวิเคราะหของบริษัทจัดอันดับความนาเชื่อถือ ใหรวมกันนําเสนอขอมลและข ใหรวมกนนาเสนอขอมู ลและขอเทจจรงใหเหนวา อเท็จจริงใหเห็นวา ผลกระทบจากความไม ผลกระทบจากความไมมนคงทางการเมองตอภาวะเศรษฐกจไทยมไมมากนก มั่นคงทางการเมืองตอภาวะเศรษฐกิจไทยมีไมมากนัก ในขณะทปญหา ในขณะที่ปญหา เชิงโครงสรางหลายประการที่เคยเปนสาเหตุใหเกิดวิกฤตทางการเงินในป 2540 ไดรับการแกไขเรียบรอยแลว ดังนั้น สบน. จักไดเรงดําเนิน นโยบายเชิงรุกเพื่อประชาสัมพันธจุดแข็งของประเทศตอไป

ประเด็นชวนคิด

เรงสรางความเชื่อมั่นทางการเมือง ผลักดันเศรษฐกิจขยายตัวตอเนื่อง ฟนฟูความนาเชื่อถือกลับคืน

18


กระทรวงการคลังไดรับงบชําระหนี้ไมเพียงพอ ทําใหภาระดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง : งบชําระหนีไ้ มเกินรอยละ 15 ของงบประมาณรายจาย

สํานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ 200,000

11%

ลานบาท

11%

ภาระดอกเบี้ย ของหนี้ร ัฐบาลเพื่อ FIDF (ลานบาท) ภาระดอกเบี้ย ของหนี้ร ัฐบาล (ลานบาท)

10%

ภาระดอกเบี้ย ของหนี้ร ัฐบาลทั้งหมด ตองบประมาณร ายจาย (%)

66,624

8%

150,000

7%

12%

10%

8%

100,000 67,273

6%

66,485

64,766

2% 36,885 50 000 50,000

35,780 37,144

51,944 58,400

62,243

128,178

33,885 36,660

29,043 26,039

4%

สัด ส สวนตองบประมาณรายจาย

68,907

89,544 40,819 45,846 45,856 43,047

2%

63,100 50,740 56,861 30,520 34,127

0

0% 2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

จัดทําโดย : นครินทร พรอมพัฒน, nakarin@pdmo.go.th

กระทรวงการคลังไดกาํ หนดกรอบความยัง่ ยืนทางการคลังไว ดังนี้ 1.หนี้สาธารณะตอ GDP ไมเกิน รอยละ 60 2.งบชําระดอกเบี้ยและเงินตน (ภาระหนี้) รวมกันไมเกินรอยละ 15 ของงบประมาณรายจาย ปปจจุ จจบับน ภาระดอกเบี ภาระดอกเบยตองบประมาณรายจายมการปรบตวสู ย้ ตองบประมาณรายจายมีการปรับตัวสงขึ งขนอยางตอเนอง น้ อยางตอเนื่อง (เฉพาะดอกเบยคดเปน (เฉพาะดอกเบี้ยคิดเปน รอยละ รอยละ 11 ของ งบประมาณรายจาย) เปนผลมาจาก – การระดมทุนเพือ่ กระตุนเศรษฐกิจใน 2 – 3 ปที่ผา นมา รัฐบาล – การขาดดุลงบประมาณอยางตอเนือ่ ง (เพื่อ FIDF) รัฐบาล 1,228 – การจัดสรรงบประมาณเพื่อการชําระเงินตนไมเพียงพอ 1,578 30% 38%

นอกจากนี้ ดอกเบีย้ ที่เกิดจากหนี้ที่รฐั บาลกูเพื่อชวยเหลือ สถาบันการเงิน (หนี้รฐั บาลเพื่อ FIDF) ถือเปนภาระหนักของ รัฐบาลอีกสวนหนึง่ ซึง่ ภาระหนีก้ ลุมนี้มีธนาคารแหงประเทศไทย เปนผูรบั ผิดชอบในการชําระคืนเงินตน อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน ธนาคารแหงประเทศไทยยังมีผลประกอบการขาดทุนสะสมอยางตอเนือ่ ง ทําํ ให ใ ไ มสามารถชําํ ระหนีด้ี งั กลาว และลดภาระดอกเบียี้ ให ใ ก ับรัฐบาลได ไ 

FIDF 62 2%

รัฐวิสาหกิจ (เปนสถาบัน

การเงิน)

รัฐวิสาหกิจ (ไมเปน สถาบัน การเงิน) 1,097 26%

178 4%

ประเด็นชวนคิด ถารัฐบาลสามารถลดภาระดอกเบี้ยที่เกิดจาก FIDF กวาปละ 65,000 ลานบาทได กระทรวงการคลังจะไดรับการจัดสรรงบชําระคืนเงินตนไดมากขึน้ และลดภาระดอกเบีย้ ไดอยางมีประสิทธิภาพหรือไม????

19


กระทรวงการคลังไดรับการจัดสรรงบชําระคืนเงินตน เฉลี่ยเทากับรอยละ 3 ของงบประมาณรายจายประจําป

สบน. ตองดําเนินการปรับโครงสรางหนี้ที่ไมไดรับ การจัดสรร สงผลใหมีภาระหนี้สะสมมากขึ้นในอนาคต สํานักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

รอยละของงบประมาณรายจาย

10% 10%

เงิเงินนตตนนทีที่ไม่ไมไดไดรับรับการจั ดสรร การจั ดสรร

เงิเงินนตตนนทีที่ได่ไดรับรบั การจั การจัดสรร ดสรร

5% 5% 3%

2.4%

2.2%

0% 0%

2.6% 2.2%

0.5%

0% ‐2.7%

‐3.6%

-5% -5%

‐5.0 5 0%

2553

2552

2551

2550

2549

2548

2547

2546

2545

2554 ƒ

‐7.9%

-10% -10%

ปงบประมาณ ปงบประมาณ

จัดทําโดย : นครินทร พรอมพัฒน, nakarin@pdmo.go.th

งบประมาณชําระคืนเงินตน ในอดีตจนถึงป 2546 : ภาระหนี้ที่ครบกําหนดชําระในแตละป มีสัดสวนคิดเปนเพียงรอยละ 2 – 3 ของงบประมาณ รายจาย ซึ่งกระทรวงการคลังไดรับการจัดสรรงบชําระหนี้อยางครบถวน และสามารถลดภาระหนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ ระหวางป 2547 – 2553 : รัฐบาลดําเนินนโยบายกระตุนเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง มีการจัดทํางบประมาณขาดดุล ทําใหภาระหนี้ที่ครบกําหนดเพิ่มขึ้นอยางกาวกระโดด ซึ่งสงผลใหรัฐบาลไมสามารถจัดสรรงบประมาณเพื่อชําระคืน เงินตนไดอยางเพียงพอ (ไดรับจัดสรรเฉลี่ย รอยละ 3 ของงบประมาณรายจาย ในขณะที่ภาระหนี้ทคี่ รบกําหนดสูงขึน้ ถึง รอยละ 5 – 7 ของงบประมาณฯ) สบน. จึงตองดําเนินการปรับโครงสรางหนีท้ ี่ครบกําหนด (Rollover) สงผลใหมีภาระหนี้ที่ กระจกตั กระจุ กตวอยู วอยในระยะสน นระยะสั้น – กลางเปนวงเงนทสู กลางเปนวงเงินที่สงงมาก มาก ป 2554 เปนตนไป : สบน. ตองดําเนินการบริหารจัดการหนี้ในเชิงรุกมากขึ้น เนือ่ งจากภาระเงินตนที่ครบกําหนดมีสัดสวน ถึง รอยละ 8 -10 ของงบประมาณรายจาย นอกจากนัน้ สบน. ตองวางกลยุทธในการปรับโครงสรางหนี้ที่ครบกําหนด ใหมีความสมดุลระหวาง : 1.อายุสั้น ตนทุนต่ํา แตจะเกิดการกระจุกตัวของภาระหนี้มากขึน้ 2.อายุยาว ตนทุนสูง แตจะเปนแรงกดดันใในดานภาระดอกเบี้ย

ประเด็นชวนคิด งบชําระเงินตนเหมาะสม เอื้อระดมทุนตอเนื่อง เฟองฟูเศรษฐกิจไทย 20


บทบาทของเงินคงคลัง กับ การบริหารการคลังที่ยั่งยืน ถาเงินคงคลังมีผลตอบแทนแมเพียง 1% รัฐบาลจะประหยัดตนทุนได 3,200 ลานบาท 500,000

ลานบาท

3,200,000,000 บาท , , , สามารถสรางอะไรไดบาง :

400,000

~ 400,000

9 ถนนลาดยาง 1,500 กิโลเมตร 9 คอมพิวเตอรเพือ่ การศึกษา 200,000 เครื่อง 9 ทองคํา 2,600 กิโลกรัม

300,000

268,689 218,082

200,000

136,026 100,000

132,138

129,335

92,563

87,092 4,617

2546

2547

เงินคงคลังคงคาง รายเดือน (2546 - 2553)

Facts:

2548

2549

2551

2550

2552

ก .ค.

เม.ย.

ม.ค.

ต.ค.

ก .ค.

เม.ย.

ม.ค.

ต.ค.

ก .ค.

เม.ย.

ม.ค.

ต.ค.

ก .ค.

เม.ย.

ม.ค.

ต.ค.

ก .ค.

ม.ค.

เม.ย.

ต.ค.

ก .ค.

เม.ย.

ม.ค.

ต.ค.

ก .ค.

เม.ย.

ม.ค.

ต.ค.

ก .ค.

เม.ย.

ม.ค.

-

2553

3เงินคงคลังรวมกับตั๋วเงินคลังทําหนาทีส่ นับสนุนการบริหารเงินสดเพือ่ เพิ่มความคลองตัวในการเบิกจายงบประมาณ 3 นิ คงคลั​ังมี​ีระดั​ับสูงที​ีส่ ุดในช 3เงิ ใ วงสิ​ิน้ ปงบประมาณ ป เพื​ือ่ รองรับั การเบิกิ จา ยในป ใ ปถัดไป (ในกรณี ใ ที ีง่ บประมาณฯ ป ยั​ังไไมมีผลบั​ังคั​ับใใช) 3เงินคงคลังถูกนําฝากไวที่ธนาคารแหงประเทศไทยโดย ไมมผี ลตอบแทน

Figures: 3ระดับเงินคงคลังเฉลี่ย (รายเดือน) อยูที่ 50,000 ลบ. (เฉลี่ยระหวางป 2546 – ปจจุบัน)

3ระดับเงินคงคลังเฉลี่ยในเดือนกันยายนสูงทีส่ ุด โดยอยูที่ประมาณ 176,000 ลบ. (เฉลี่ยระหวางป 2546 – ปจจุบัน)

Future :

?? จัดทําโดย : นครินทร พรอมพัฒน, nakarin@pdmo.go.th

การทําใหเงินคงคลังมีผลตอบแทนเพียงรอยละ 1 กระทรวงการคลังจะมีตนทุนลดลง 3,200 ลานบาท 9 ในชวง 3 ปที่ผานมา (2551 – 2553) รัฐบาลมีความตองการกูเงินมากสูงถึงเฉลี่ยปละ 7 แสนลานบาท โดยเฉพาะเปนการกูเงินเพื่อชดเชยการ ขาดดุลเนื่องจากตั้งงบประมาณรายจายไวสูง สงผลใหจําเปนตองดํารงเงินคงคลังไวในระดับที่สูง เพื่อมิใหเกิดปญหาในการเบิกจายเงิน งบประมาณ นอกจากนี้ กระแสของรายรับและรายจายของรัฐบาล มีลักษณะทีไ่ มสมดุลกัน ตัวอยางเชน รัฐบาลจะมีรายไดเขาสูงในชวงฤดูกาล จายภาษี มีมรายจายตาในชวงตนปงบประมาณ จายภาษ รายจายต่ําในชวงตนปงบประมาณ และช และชวงเดอนเมษายนเนองจากมวนหยุ วงเดือนเมษายนเนื่องจากมีวันหยดราชการติ ดราชการตดตอกนหลายวน ดตอกันหลายวัน เปนตน เปนตน ดงนน ดังนั้น ในชวงท ในชวงที่ รัฐบาลขาดดุลเงินสดระหวางป การมีเงินคงคลังอยูในระดับที่เพียงพอ และการใชตั๋วเงินคลังในการบริหารเงินสดที่เหมาะสม จะสามารถชวยให เพิ่มความคลองตัวในการใชจายไดอยางมีประสิทธิภาพ 9 ในอดีตที่ผานมา กระทรวงการคลังจะรักษาระดับของเงินคงคลังใหสูง เนื่องจากปจจัยตางๆ ดังนี้ 1. การเตรียมความพรอมในชวงที่รัฐบาลมีรายจายสูง 2. การรองรบเหตุ การรองรับเหตการณ การณฉุฉกเฉิ กเฉนในกรณทรฐบาลไมสามารถหาแหลงเงนกู นในกรณีที่รัฐบาลไมสามารถหาแหลงเงินกระยะสนในตนทุ ะยะสั้นในตนทนที นทเหมาะสมไดทนเวลา ่เหมาะสมไดทันเวลา โดยเฉพาะในช โดยเฉพาะในชวงทเกดภยพบต วงที่เกิดภัยพิบตั ิ 3. การเพิ่มความคลองตัวในการใชจายในชวงที่งบประมาณยังไมมีผลบังคับใช 9 อยางไรก็ตาม ชวงที่สภาวะเศรษฐกิจผันผวนเชนในป 2552 ( ภาคเอกชนมีผลประกอบการลดลง ประกอบกับรัฐบาลอัดฉีดเงินสูระบบจํานวน มาก) ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สงผลใหกระทรวงการคลังไมสามารถประมาณการรายรับและรายจายที่แมนยําได โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ที่ผานมา กระทรวงการคลังมีเงินคงคลัง ณ สิ้นกันยายน สูงถึง 340,000 – 400,000 ลานบาท ซึ่งถือเปนระดับที่สูงที่สดุ ในประวัติศาสตร ดังนั้น การบริหารจัดการเงินคงคลัง ทั้งในดานการรักษาใหอยูในระดับที่เหมาะสม และการบริหารจัดการเงินคงคลังสวนเกินใหมีผลตอบแทน จึงถือ เปนสิง่ จําเปนทีจ่ ะสามารถลดตนทุน (Carrying Cost) ของรัฐบาลได

21

ประเด็นชวนคิด ในการบริหารจัดการเงินคงคลังใหมีประสิทธิภาพสูงสุด มีหัวใจหลักอยู 2 ประการ คือ การประมาณการและ กําหนดระดับเงินคงคลังใหเหมาะสม และการบริหารจัดการ เงินคงคลังใหมีผลตอบแทนโดยไมสงผลกระทบตอความคลองตัวในการเบิกจาย


ภาคผนวก

รางวัลชนะเลิศ การประกวดรางวัลนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงกระทรวงการคลัง เพชรวายุภักษ ครั้งที่ 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552


6% 5%

5%

5%

4% 3%

23

3%

4% 3%

3%

4%


24


หนี้รัฐวิสาหกิจ (เปนสถาบันการเงิน) 178 พัน ลบ. (49%)

หนี้รัฐวิสาหกิจ (ไมเปนสถาบันการเงิน) 1,097 พัน ลบ. (26%)

หนี้รัฐบาล 1,578 พัน ลบ. (38%)

หนี้รัฐบาล (เพื่อ FIDF) 1,228 พัน ลบ. (30%)

FIDF 62 พัน ลบ. (2%)

หนี้สาธารณะ 4,143 พัน ลบ.

25


รางวัลชนะเลิศ การประกวดรางวัลนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงกระทรวงการคลัง เพชรวายุภักษ ครั้งที่ 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552

รางวัลชนะเลิศ (การใหบริการภายในกระทรวงการคลัง) ั ื ั ํ ั ิ ี่ ี้ การพฒนาระบบเตอนภยสาหรบการบรหารความเสยงของหนสาธารณะ ( (ระบบบรหารความเสยง ิ ี่ ระยะท2) ี่2)

เจาของผลงาน

1

2

3

4

1. นางสาวปยธิดา สวนสุข 2. นายพลช หุตะเจริญ 3 นายณฐการ 3. ั บุญศศรี 4. นางสาวรัฏฏิการ มนัสวีวงศ

ประโยชนของนวัตกรรม : สรางรายงานวิเคราะหความเสี่ยง (Exposure Report) เพื่อใชในการเฝาระวังและติดตามความเสี่ยงของหนี้สาธารณะ รวมทั้ง เปนเครื่องมือชวยสนับสนุนการตัดสินใจการดําเนินนโยบายหนี้สาธารณะ โดยผูดําเนินนโยบายสามารถเปรียบเทียบผลลัพธของตนทุนและ ความเสี่ยงของกลยทธ ความเสยงของกลยุ ทธการระดมทุ การระดมทนที นทแตกตางกนไดกอนการตดสนใจ ่แตกตางกันไดกอนการตัดสินใจ ซงจะวเคราะหความเสยงหลก ซึ่งจะวิเคราะหความเสี่ยงหลัก 4 ดาน ดาน ดงน ดังนี้ 1. ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate Risk) 2. ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) 3. ความเสี่ยงในการกูเงินใหมเพื่อชําระหนี้เดิมที่ครบกําหนด (Rollover Risk) 4. ความเสี่ยงดานสภาพคลอง (Liquidity Risk)

9 Risk Indicators 9 Warning System 9 Cost and Risk Analysis

26




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.