ใบความรู้ที่ ๑๒ ศิลปะสมัยใหม่

Page 1


ใบความรู้ที่ ๑๒ เอกสารประกอบการเรี ยน รายวิชาอารยธรรมโลก(ส๓๐๑๐๕) ภาคเรี ยนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ หน่วยที่ ๖ พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เรื่ อง ศิลปวัฒนธรรมยุโรปสมัยใหม่ ชื่อ........................................................... ม.๖/........... เลขที่.......... ผูส้ อน นางยุพา ชูเนตร์  ศิลปะสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ ศิลปะในสมัยนี้ ให้ความสนใจต่อความสวยงามของสรี ระร่ างกายมนุ ษย์ ศิลปิ นที่สาคัญ ที่มี ชื่ อเสี ยงได้แก่ มิเคลันเจโล บูโอนารอตตี ( Michelangelo Buonarroti) เลโอนาร์ โด ดาร์ วินซี , และ ราฟาแอลมิเคลันเจโล บูโอนารอตตี มีผลงานที่มีชื่อเสี ยง คือ รู ปสลัก เดวิด (David) เป็ นชายหนุ่ ม รู ปเปลือยที่อยู่ในท่าเตรี ยมพร้อมจะต่อสู ้กบั ศัตรู และ ปิ เอตา ( Pieta) เป็ นรู ปสลักพระมารดากาลัง ประคองพระเยซูในอ้อมพระกร หลังจากสิ้ นพระชนม์บนไม้กางเขนแล้ว

ภาพ ปิ เอตา ที่มา : : https://www.thaigoodview.com

ภาพ The Last Supper ที่มา : : https://www. matichon.co.th

โมนาลิซา ที่มา : : https://www. webboard.yenta4.com


๒ งานประพันธ์ The Prince บรรยายถึงศิลปะการปกครองของเจ้านคร ของ Nicolo Machiavelliค.ศ. ๑๔๖๕ – ๑๕๒๗ และ Utopia ของ Sir Thomas More, ค.ศ. ๑๔๗๗ – ๑๕๓๕ งานวรรณกรรมด้านนาฏกรรม หรื อบทละคร ที่รับอิทธิ พลจากกรี กคือ Romeo and Juliet และ เว นิ ส วานิ ช The Merchant of Venice นัก ประพัน ธ์ คื อ William Shakespeare ค.ศ. ๑๕๖๔ – ๑๖๑๖ ๒. ศิลปะบารอค (Baroque style) เกิ ดขึ้นเมื่อประมาณ คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๖ สื บต่อจากศิลปะสมัย ฟื้ นฟูศิลปวิทยา และเสื่ อมความนิ ยมเมื่อประมาณกลางคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ ศิลปะเป็ นอารมณ์ พลุ่ง พล่ าน แสดงความดิ้ น รนเคลื่ อนไหว ประณี ต และเน้น บรรยากาศโอ่ อ่าหรู ห ราเป็ นพิ เศษ ด้าน สถาปั ตยกรรม เช่ น พระราชวังแวร์ ซายส์ โบสถ์เซนต์ปีเตอร์ ศิลปิ น โจวันนิ ลอร์ เรนโซ เบร์ นินี่ ชาวอิตาลี ทางด้านดนตรี มีท้ งั เพลงศาสนาและไม่ใช่ศาสนา นักแต่งเพลงที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ คลอดิ โอ มอนเตเวอร์ ตี ชาวอิตาลี จอร์ จ เฟรดเดอริ ก แฮนเดิล และ โยฮัน เซบาสเตียน บาค ซึ่ งเป็ นชาว เยอรมันทั้งสองคน ส่ วนด้านวรรณกรรม ชอบเขียนเกินจริ ง กวีที่สาคัญ ได้แก่ ลุยส์ เดอ กองโกรา อี อาโกเต ชาวสเปน เรี ยกแนวเขียนเกินจริ งว่า กองโกริ สต์ ( Gongorism)

พระราชวังแวร์ซายส์ ที่มา : https://www.google.co.th ๓. ลัทธิคลาสสิ กใหม่ หรือ นีโอ - คลาสสิ ค (Neo – Classicism) อยู่ในช่ วงศตวรรษที่ ๑๘-๑๙) เหตุผลเป็ นสิ่ งสาคัญในงานศิลปะการนาศิลปะชั้นสู งหรื อเคยเจริ ญสู งสุ ดกลับมาสร้ างกัน ใหม่ซ่ ึ งหมายถึงการนาแบบศิลปะของกรี กและโรมัน มาเป็ นแบบในการสร้างสรรค์ศิลปิ นผูน้ ากลุ่ม คือ ยาร์ ค หลุย ดาวิด เชื่อว่าศิลปะคือ ดวงประทีปของเหตุผล งานที่ปรากฏจึงแสดงเรื่ องราวเกี่ยวกับ ความกล้าหาญ วีรบุรุษตามแบบโรมัน ส่ วนรู ปแบบแสดงความงามของเรื อนร่ างตามแบบศิลปะ กรี ก ส่ วนจิตรกรรม เน้นเส้นมากกว่าการให้สี ศิลปิ นยาร์ ค หลุย ดาวิด ภาพที่มีชื่อเสี ยง คือ การตาย ของมารา


ภาพ การตายของมารา ที่มา : http://www.skb.ac.th ดนตรี มีการแต่งเพลงอิสระมากขึ้น นักประพันธ์ที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ วอล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ ต ค.ศ.๑๗๕๖ – ๑๗๙๑ เป็ นนักดนตรี ชาวออสเตรี ย ผลงานที่ สาคัญคื อ บทละครโอเปร่ า เรื่ อง การ สมรสของฟิ กาโร ๔. ศิลปะจินตนิยม หรือ ลัทธิโรแมนติก (Romanticism) อยูใ่ นช่วงต้นศตวรรษที่ ๑๘-๑๙) 

เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 18 เป็ นศิลปะที่ให้ความสาคัญกับอารมณ์ ความรู้สึก และธรรมชาติ โดยลดความเชื่อในเรื่ องเหตุและระเบียบแบบแผน รวมทั้งให้ ความสาคัญแก่มนุษย์ในฐานะเป็ นปั จเจกบุคคลมากกว่าส่ วนรวม รวมทั้งแฝงความรู ้สึก ชาตินิยมไว้ดว้ ย ปั จจัยสาคัญที่มีอิทธิ พลต่อการเกิดศิลปะแบบโรแมนติก คือ การเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคมในสมัยนั้น โดยเฉพาะความคิดแบบเสรี ประชาธิ ปไตย ซึ่ ง เป็ นสาเหตุหนึ่งที่นาไปสู่ การปฏิวตั ิใหญ่ในฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 และการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ในยุโรปส่ งผลให้โลกทัศน์ของชาวยุโรป เปลี่ยนแปลงไป ต่างผ่อนคลายการยึดมัน่ ในระเบียบ กฎเกณฑ์ของสมัยคลาสสิ ก ละทิ้งสมัยแห่งเหตุผล แต่ กลับแสดงออกอย่างเสรี ทางด้านอารมณ์ ความรู ้สึก และความต้องการของตน แม้จะไม่มีเหตุผลหรื อไม่มี จริ งก็ตาม สถาปัตยกรรม นารู ปแบบในอดีตมา ดัดแปลง โดยได้รับอิทธิพลจากแบบโกธิก


๔ 

ประติมากรรม เน้นการแสดงอารมณ์ความรู ้สึก เช่น  รู ปปั้ นนู นสู ง มาเซเลส ประดับฐานอนุ สาวรี ยป ์ ระตูชยั ในกรุ งปารี ส ั  รู ปปั้ นสัตว์ มักเป็ นรู ปสัตว์ป่าสองตัวต่อสู ้กน

ภาพปั้ นนูนสู ง มาเซเลส บนประตูชยั ในกรุ ง ปารี ส ที่มา : http://www.skb.ac.th

จิตรกรรม ใช้ สี เส้น แรเงา รุ นแรงมุ่งให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ เช่น  ภาพ “อิสรภาพนาประชาชน” ( Liberty Leading the People )  ภาพ “แพของเมดูซา” ( Raft of Medusa

ภาพ "อิสรภาพนาประชาชน ที่มา : http://www.skb.ac.th

"ภาพ “แพของเมดูซา” ที่มา : http://www.skb.ac.th


๕ ด้านดนตรี แต่งด้วยความรู ้สึกชาตินิยม นักแต่งเพลงที่มีชื่อเสี ยงคือ ลุดวิก ฟาน เบโทเฟน เฟรเดริ ก โชแปงเป็ นนักเปี ยโนที่มีชื่อเสี ยง ด้านวรรณกรรม นวนิ ยายที่มีชื่อเสี ยง คือ เหยื่ออธรรม ของ วิก เตอร์ ฮูโก ๕. ศิลปะแบบเรียลลิสซึ่มม์ (Realism)อยู่ในช่ วงศตวรรษที่ ๑๙ ศิลปะแบบสัจนิยม(Realism) เป็ นศิลปะที่สะท้อนความจริ งที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างตรงไปตรงมา ไม่ เน้นความรู ้สึก อารมณ์ และจินตนาการของศิลปิ น แต่มุ่งเสนอความจริ งตามหลักวิทยาศาสตร์ เช่น สะท้อนสภาพความเป็ นอยูอ่ ย่างแร้นแค้นของชนชั้นกรรมชีพเป็ นต้น แนวทางของศิลปะแบบสัจนิยม มุ่งต่อต้านศิลปะแบบโรแมนติกที่มิได้ให้ความสาคัญต่อสภาพ ที่เป็ นจริ งของสังคม เป็ นกระบวนการทางศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงตอนปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 19 เป็ น ต้นมา ทาให้งานสร้างสรรค์ศิลปะมีประโยชน์และรับใช้มนุษย์โดยตรงมากขึ้น เป็ นสมัยแห่งความเจริ ญทางเทคโนโลยีการใช้เศรษฐกิจแบบทุนนิ ยมทาให้เกิดความขัดแย้ง ระหว่างกรรมกรกับนายทุน และเกิดความคิดแบบสังคมนิ ยม ต่อต้านนายทุน ศิลปิ นจะแสดงให้เห็น สภาพที่เป็ นจริ งของสังคมเปิ ดโปงความชัว่ ร้ายของพวกนายทุนความไม่ยตุ ิธรรมที่กลุ่มผูใ้ ช้แรงงาน ได้รับ ศิลปะแนวสัจนิ ยมหรื อเรี ยลิสติก (Realistic) มุ่งถ่ายทอดความเป็ นจริ งที่มีอยูใ่ นสังคมโดย ไม่แทรกอารมณ์ ความรู ้ สึกส่ วนตัวของศิลปิ นผูส้ ร้ างงานประติมากรรมที่ มีชื่อเสี ยงแนวนี้ คือ งาน หล่อสาริ ด “นักคิด” ของโอกุสต์ โรแดง (Auguste Rodin) ส่ วนงานจิตรกรรมนิ ยมแสดงภาพชี วิต ของคนจน เช่ นภาพ “คนทุ บ หิ น ” ของ กุส ตาฟ กูร์เบต์ (Gustave Courbet) งานจิตรกรรมแนวสัจ นิ ยมได้พฒั นาไปสู่ งานแนวอินเพรสชันนิ สต์ (Impressionism) ซึ่ งถื อว่ามีอิทธิ พลอย่างมากต่อการ พัฒนาศิลปะสมัยใหม่ จิตรกรรมอิมเพรสชันมิสม์ตอ้ งการวาดภาพเพื่อสื่ อถึงความรู้สึกประทับใจ ภาพวาดจะมีสีสด ในอ่อนหวาน ไม่เน้นรู ปร่ างของสิ่ งต่างๆอย่างชัดเจน ศิลปิ นสาคัญ ได้แก่ โคลด โมเนต์ (Claude Monet) ปิ แอร์ โอกุสต์ เรอนัวร์ (Pierre Auguste Renior) นอกจากนี้ ยงั มีกลุ่มจิตรกร ที่ ใ ช้ค วามรู้ ด้า นวิท ยาศาสตร์ ใ นเรื่ อ งแสง สี เข้าช่ วย เรี ย กว่า กลุ่ ม นี โดอิ ม เพรสชัน นิ ส ต์ (NeoImpressionism) และจิตรกรกลุ่มโพสต์อิมเพรสชันนิสต์ (Post- Impressionism) ที่มีเทคนิคการวาดที่ เน้นความลึ ก ระยะใกล้ไกล นิ ยมใช้สีสด จิตรกรสาคัญของแนวนี้ คือ วินเซนต์ แวนโกะ (Vincent Van Gogh) ชาวฮอลันดาด้านวรรณกรรมแนวสัจนิ ยม มีลกั ษณะเชิ งจิตวิทยาและสังคมวิทยา เพื่อ วิพ ากษ์วิจารณ์ ค วามเลวร้ า ยและสั งคมวิท ยา นัก เขี ยนส าคัญ เช่ น กุ ส ตาฟ โฟลแบรต์ (Gustave Flaubert) ชางฝรั่งเศส ตีแผ่ความไร้สาระของชีวติ คนชนชั้นกลางในนวนิยายเรื่ อง “มาดาวโบวารี ”


๖ (Madame Bovery) ชาร์ ดส์ ดิกเคนส์ (Charles Dickens) นักเขียนชาวอังกฤษเล่าถึงเด็กที่ได้รับความ เลี้ยงดูที่เลวร้ายในนวนิยายเรื่ อง “โอลิเวอร์ ทวิสต์” (Oliver twist) วรรณกรรมแบบสัจนิยมได้พฒั นา เป็ นวรรณกรรมแบบ สัจสังคมนิ ยม (Socialism realism) จากอิทธิ พลของ คาร์ ล มาร์ กซ์ นักเขียนที่มี ชื่อคือ แมกซิ ม กอร์ กี (Maxim Gorky) ผูเ้ ขียนนวนิยายเรื่ อง “แม่” (Mother) ปั จจุบนั นวนิยายในแนว โรแมนติกและเรี ยลิสติกยังคงได้รับความนิยมรวมทั้งมีอิทธิ พลต่อนวนิยายไทยด้วย

รู ปปั้ น นักคิด ที่มา : http://th.wikipedia.org

ภาพคนทุบหิน ( The Stone Brakers) ที่มา : http://th.wikipedia.org ๖. ศิ ล ปะลั ท ธิ อิ ม เพรสชั่ น นิ ส ม์ (lmpressionism ประมาณ ค.ศ.๑๗๗๔-๑๘๘๖เป็ นศิ ล ปะที่ แสดงออกถึ งการถ่ายทอดความประทับใจทันที ในธรรมชาติที่พบเห็ นออกมาเป็ นภาพเขียน จนมี คาพูดติดปากกันโดยทัว่ ไปว่าความประทับใจครั้งแรกสาคัญที่สุดในวาดภาพลัทธิ น้ ี ลักษณะงานจะ เป็ นการแต้มสี ทิ้งรอยพูก่ นั ไว้ ปล่อยให้สีต่างผสมกันในสายตาของคนดู ดังภาพตัวอย่างข้างล่างนี้


ภาพเขียนอิมเพรสชัน่ นิสม์ โคลด โมเนต์ (1840-1926AD.) http://www.bloggang.com/

อ็องรี -แอดมง คร็ อส (๑๘๕๖–๑๙๑๐) http://th.wikipedia.org/ ปัจจัยทีท่ าให้ เกิดกระแสอิมเพรสชั่นนิสม์ สมัยหลัง 

การเมือง ลัทธิ ชาตินิยม ตามมาซึ่ งความต้องการแผ่อานาจ และยึดครองรัฐต่างๆ, สังคมนิยม


๘ 

สั งคม เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า ผูค้ นมองโลกในแง่ร้าย เกิดปั ญหาเรื่ องระดับทางสังคม ใน ระบบทุนนิยม คนชนชั้นแรงงานถูกกดขี่ ปรัชญาและความเชื่อแนวใหม่ ปรัชญาของMarx and Engels , อนาธิปไตย (Anarchy) ความคิดและความเชื่ อที่รุนแรงเกิดจากความกดดัน, ทฤษฎีแห่งปรัชญาที่วา่ คนนั้นเป็ นอิสระ (Existentialism) การค้นพบทฤษฎีเรื่ องจิตวิเคราะห์ของFreud , ศาสตร์ แห่งการใช้การ สังเคราะห์ (Synthesism) วิทยาศาสตร์ การค้นพบเรื่ องสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าของ Dalton, ทฤษฎีววิ ฒั นาการของ Darwin “ศิลปะอิมเพรสชันนิ สม์สมัยหลัง” ตามความหมายของเรวอลด์จึงเป็ นคาที่หมายถึงช่วงเวลา ของประวัติศิลปะเท่านั้นที่เน้นงานศิลปะของฝรั่งเศสระหว่าง ค.ศ. ๑๘๘๖ ถึงปี ค.ศ. ๑๙๑๔ http://th.wikipedia.org/wiki

๗. ศิลปะคิวบิสซึ่ม Cubism Art เป็ นศิ ลปะที่ แสดงออกถึ งความคิดสร้ างสรรค์ในการสร้างรู ปร่ าง รู ปแบบของงานเป็ น รู ปเหลี่ ยม รู ปทรงให้มีความสวยงาม มีเหตุผล และสะท้อนเรื่ องราวทั้งที่ เป็ นความงาม ความประทับใจและ สะท้อนสภาพเหตุการณ์ ต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม สรุ ปง่ายๆได้วา่ ให้มองทุกอย่างให้เป็ นภาพเหลี่ยม ทั้งหมด คิวบิสม์ หรื อบาศกนิยม(อังกฤษ: Cubism)เป็ นลัทธิ การสร้างสรรค์ศิลปะที่ได้รับผลสะท้อนมาจาก อิทธิ พลด้านความเจริ ญทางวิทยาศาสตร์ และจากลักษณะรู ปแบบหน้ากากของชนเผ่าพรี มิตีฟใน แอฟริ กา ซึ่ งได้ปลุกเร้าการสร้างสรรค์แบบใหม่ รวมทั้งลักษณะการของศิลปิ นสมัยใหม่ที่พยายาม แสวงหาลักษณะเฉพาะตัวให้กบั ตนเอง เพื่อไม่ให้ทบั ซ้อนกับลักษณะรู ปแบบศิลปะกลุ่มอื่นที่ผ่าน มาหรื อที่มีอยูใ่ นยุคนั้น ซึ่ งมีหลักสุ นทรี ยภาพที่แสดงรู ปทรงศิลปะในลักษณะผันแปรความจริ ง โดย ให้มีลกั ษณะเป็ นเหลี่ยมมุม เป็ นลูกบาศก์ เป็ นทรงเรขาคณิ ต เพื่อสร้างความคิดรวบยอดเชิง๓มิติให้ ปรากฏในผืนระนาบ๒มิติหรื อ๓มิ ติ แสดงออกทั้งงานจิตรกรรมและประติ มากรรม หากเป็ นงาน จิตรกรรมรู ปแบบผลงานก็จะสามารถแสดงลักษณะปรากฏทั้งด้านหน้า ด้านข้าง และด้านหลังบน พื้ น ระนาบไปพร้ อมกัน บางที ก็ แสดงการทับ ซ้ อนและปิ ดบังระหว่างกัน รวมทั้ง มี ก ารตัดทอน รู ปทรงให้ดูง่ายขึ้นกว่ารู ปจริ งของวัตถุหรื อสภาวะที่แท้จริ งของรู ปทรงนั้นๆด้วยโดยศิลปิ นสองคน คือ ฌอร์ฌ บรัก (อังกฤษ: George Braque) และ ปาโบล ปี กัสโซ(อังกฤษ: Pablo Picasso) ซึ่ งทั้งสอง


๙ ต่างมีจุดเริ่ มต้นแรงบันดาลใจจากผลงานของ พอล เซซาน (อังกฤษ: Paul Cezanne) ซึ่ งมีความคิดว่า “โครงสร้างเรขาคณิ ตเป็ นรากฐานของรู ปทรงธรรมชาติท้ งั มวล” สาเหตุการสร้างงานทัศนศิลป์ ลัทธิคิวบิสม์ คือ ๑. ตอบสนองด้านจิตใจและอารมณ์ ของผูส้ ร้างและผูช้ มโดยเปิ ดโอกาสให้ผชู ้ มคิดอย่าง เสรี ภาพและใช้ปัญญาพินิจพิจารณาด้วยตนเอง ๒. เชื่อในสิ่ งที่เห็นทุกอย่างของรู ปทรงสามารถมองได้หลายๆด้านเป็ นเหลี่ยมปริ มาตร http://modem09.blogspot.com จิตรกรรมของศิลปิ นลัทธคิวบิสซึ่ม (Cubism) (ซ้าย) “House at L’Estaque” 1908 (ขวา) " Violin and Palette" 1909-10 จิตรกรรมสี น้ ามันบนผ้าใบ โดย จอร์จ บราค (Georges Braque) http://www.portfolioinspiration.com

Three Musician” ๑๙๒๑ จิตรกรรมสี น้ ามันบนผ้าใบ พาโบล ปี กาสโซ (Pablo Pigasso) ที่มา : http://www.portfolioinspiration.com


๑๐ ๘. ศิลปะแบบเอ็กซ์ เพรสชันนิสม์ (Expressionism) ศิลปะแบบเอ็กซ์เพรสชันนิ สม์ เกิ ดขึ้นทางเหนื อของยุโรป โดยที่ศูนย์กลางอยูท่ ี่ประเทศ เยอรมัน ศิลปะแนวนี้ ได้รับอิทธิ พลจากศิลปิ นสาคัญ ๒ คนคือ Vincent Van Gogh และศิลปิ นชาว Norwegian ที่ชื่อ Edvard Munch ซึ่ งทั้งสองคนนี้ ใช้สีที่รุนแรง และเกินความเป็ นจริ ง โดยเน้นความ พอใจของศิลปิ นเป็ นหลัก ไม่ยึดถื อ กฏเกณฑ์ และธรรมเนี ยมใดๆในอดี ตเลย สี ที่ใช้น้ นั จะสื่ อถึ ง พลังที่ถูกบีบคั้นบังคับกดดัน ที่อยูใ่ นความรู ้สึกนึ กคิด ของจิตใจคน เป็ นการปลดปล่อยอารมณ์ผา่ น สี และฝี แปรงที่ให้ความรู้สึก ที่แข็งๆ ดิบ รุ นแรง ศิลป นที่สาคัญช่น เอ็ดวาร์ด มุนช์ (Edvard Munch, ค.ศ. ๑๘๖๓-๑๙๔๔) ฟรัชซ์ มาร์ค (Franz Marc, ค.ศ. ๑๘๘๐-๑๙๑๖) วาสสิ ลี่ แคนดินสกี (Wassily Kandinsky, ค.ศ. ๑๘๖๖-๑๙๔๔) เป นต น

Wassily Kandinsky : Murnau with Church. C.1910 http://www.ipesk.ac.th/ipesk/VISUALART/lesson446.html ภาพ Murnau with Church นี้ เป็ นงานของ แคนดิ น สกี เป็ นภาพทิ วทัศ น์ ข องเมื องเล็ ก ๆ ที่ อยู่ใ น แคว้นบาวาเรี ยใต้ Kandinsky เลื อกใช้เมื องนี้ เป็ นเนื้ อหาของภาพ แต่ เขาได้เก็บ ความเหมื อนจริ ง เอาไว้แต่ เพี ย งเล็ ก น้อย เท่ านั้น เขาใช้สี และฝี แปรงที่ เป็ นอิ ส ระ และฉั บ พลัน มากกว่าจะนึ ก ถึ ง คานวณอะไรให้ถูกต้องแม่นยา โดยบางแห่ง ยังปล่อยพื้นกระดาษแข็งให้วา่ งไว้ ไม่ลงสี ปิดหมด แต่ เมื่อมองดูภาพนี้แล้วก็ยงั เห็นเป็ นยอดแหลมของโบสถ์ กับแนว หมู่บา้ นที่อยูท่ างด้านซ้ายอยูบ่ า้ ง การ


๑๑ ใช้สีที่ปล่อยๆเป็ นอิสระกับแนวลาดเอียงลาดชันของบ้านคน ทาให้เกิดพลังผลักดัน เคลื่อนไหว แม้ จะดูเหมือนว่าศิลปิ นทาภาพไปด้วยความฉับพลันทันทีดว้ ยสัณชาตญาณก็ตามที แต่กระนั้นการใช้สี ก็ ได้ดุลกันดี ระหว่างสี ขาวกับสี นาเงินที่ปรากฏอยูใ่ นที่ต่างๆ ถือได้วา่ เป็ นภาพที่เก็บบรรยากาศภูมิ ประเทศ และหมู่บา้ นได้ ๙. ศิลปะแบบโพสต์ – อิมเพรสชันนิสม์ (Post-Impressionism) ศิลปะแบบโพสต์-อิมเพรสชันนิ สม์จะไม่เลี ยนแบบจากสิ่ งที่ เป็ นจริ งโดยการสร้ างรู ปทรง ใหม่ แต่นาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ เช่ น การระบายสี ดว้ ยเทคนิ คขีด ๆ จุด ๆ เน้นสี แสง เงาให้เกิ ดมิ ติ บรรยากาศ ความงามและความประทับใจ ศิ ลปิ นในกลุ่ มนี้ ได้แก่ แวนโกะห์ (Van Gogh) มาติ ส (Matisse) บงนาร์ ด (Bonnard) เซซาน (Cezanne) โกแกง (Gauguin) เซอราต์ (Seurat)ศิลปะแบบโพสต์ – อิมเพรสชันนิ สม์ นั้นเกิ ดขึ้นทางเหนื อของยุโรป โดยที่ศูนย์กลางอยู่ที่ ป ระเท ศเยอรมั น ศิ ล ป ะแบ บ โพ ส ต์ – อิ ม เพ รส ชั น นิ ส ม์ จะมุ่ งก ารแส ดงออก ท าง ความรู้สึก อารมณ์ จิตวิญญาณมากกว่ามุ่งนาเสนอความเป็ นจริ งทางวัตถุ สื่ อผ่านการใช้สีที่รุนแรง และเกินความเป็ นจริ ง โดยเน้นความพอใจของศิลปิ นเป็ นหลัก ไม่ยดึ ถือกฏเกณฑ์ และธรรมเนียมใด ๆ ในอดีตเลย สี ที่ใช้น้ นั จะสื่ อถึ งพลังที่ถูกบี บคั้นบังคับกดดันที่ อยู่ในความรู ้ สึกนึ กคิ ดของจิตใจ คน เป็ นการปลดปล่อยอารมณ์ผา่ นสี และฝี แปรงที่ให้ความรู ้สึกที่รุนแรงกดดัน ฝี แปรงที่อิสระ ศิลปิ นในกลุ่มนี้ได้แก่ แวนโกะ (Vincent Van Gogh) โบนนาร์ด (Pierre Bonnard) เซ ซาน (Paul Cezanne) โกแกง (Paul Gauguin)

Vincent van Gogh, The Night Café, C 1888. Oil on canvas 72.4 × 92.1 cm. Yale University Art Gallery

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/49390


๑๒

Vincent van Gogh. Les Mangeurs de pommes de terre (The Potato Eaters). ๑๘๘๕. Oil on canvas, Vangogh Museum, Amsterdam (Post-Impressionism)

Vincent van Gogh, Starry Night Over the Rhone, ๑๘๘๘ Oil on canvas 72.5 × 92 cm. Musée d'Orsay, Paris ที่มา : http://www.ipesk.ac.th/ipesk/VISUALART/lesson๔๔๕.html


อ้างอิง https://www.thaigoodview.com https://www. matichon.co.th https://www. webboard.yenta4.com http://www.skb.ac.th http://th.wikipedia.org/



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.