ใบความรู้ที่ ๑๖ จักรวรรดินิยม

Page 1


ใบความรู้ที่ ๑๖ เอกสารประกอบการเรี ยน รายวิชาอารยธรรมโลก (ส๓๐๑๐๕) ภาคเรี ยนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ หน่วยที่ ๗ ความขัดแย้งของมนุษยชาติ เรื่ อง ลัทธิ จกั รวรรดินิยม ชื่อ................................................

ม.๖/ ............

ผูส้ อน นางยุพา ชูเนตร์ เลขที่...............

 ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ เป็ นแนวความคิดของชาติมหาอานาจในยุโรปที่จะ ขยายอานาจ และอิทธิ พลของตนเข้าครอบครองดินแดนที่ลา้ หลังและด้อยความเจริ ญในทวีปต่างๆ เพื่อแสวงผลประโยชน์ท้ งั ทางการเมืองและเศรษฐกิ จ เช่ น แหล่งวัตถุ ดิบ และตลาดระบายสิ นค้า ชาวยุโรปเข้ายึดครองดินแดนของชนชาติต่างๆในรู ปของ การล่าอาณานิคม ( Colonization ) จั ก รวรรดิ นิ ย มยุ ค แรก เริ่ ม ต้น ตั้ง แต่ ก ารส ารวจทางทะเล เมื่ อ คริ ส ต์ศ ตวรรษที่ ๑๕ จนถึ ง คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๙ มีการค้นพบทวีปอเมริ กา และการค้นพบเส้นทางเดิ นเรื อไปทวีปเอเชี ยเมื่อ คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๕ สเปน และโปรตุเกสเป็ นชาติผนู ้ าการสารวจและค้นพบดิ นแดนใหม่ และได้ สร้างความมัง่ คัง่ ให้แก่ชาติท้ งั สองเป็ นอันมาก สเปนเข้ายึดครองดินแดนในอเมริ กาใต้ แล้วบรรทุก แร่ เงิ นและทองคาจากโลกใหม่จานวนมหาศาล ส่ วนโปรตุเกสมัง่ คัง่ จากการผูกขาดการค้าขายกับ อินเดียและหมู่เกาะเครื่ องเทศ ต่อมาการผูกขาดเส้นทางเดินเรื อของสเปนและโปรตุเกสก็ถูกแข่งขัน โดยอังกฤษ ฝรั่งเศส และฮอลันดา ในคริ สต์ศตวรรษที่ 17 สเปนและโปรตุเกสก็สูญเสี ยความยิง่ ใหญ่ ด้า นการค้า และอาณานิ ค มให้แก่ อัง กฤษ ฮอลั น ดา และฝรั่ ง เศส และเกิ ด การขั ด ผลประโยชน์ ระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส

ลัทธิจกั รวรรดินิยม https://www.google.co.th/search?q=ลัทธิจกั รวรรดินิยม&hl


๒ จั กรวรรดินิยมยุค ใหม่ ในระยะแรกเมื่อ การปฏิวัติ อุตสาหกรรม เริ่ มขึ้ นในอังกฤษตอนปลาย คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ อังกฤษเป็ นชาติผนู ้ าการผลิตอุตสาหกรรมผ้าและเหล็กแต่เพียงผูเ้ ดียว ในขณะ ที่ประเทศในภาคพื้นยุโรปและสหรัฐอเมริ กายังมี อาชี พทางกสิ กรรมเป็ นส่ วนใหญ่ จึ งจาต้องพึ่ง สิ นค้าอุตสาหกรรมจากอังกฤษ ต่อมาเมื่ อการปฏิ วตั ิอุตสาหกรรมแพร่ หลายไปทัว่ ยุโรป ประเทศ อุ ต สาหกรรมหนัก เกิ ด ความจ าเป็ นต้อ ง แสวงหาตลาดสิ น ค้ า ใหม่ ๆ และแหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น นั บ ตั้ ง แ ต่ ต้ น คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๙ การล่ าอาณานิคมใน ยุคนี้ ชาวยุโรปต้องการเข้าไปควบคุ ม ทั้ง การปกครองและเศรษฐกิ จของประเทศ อาณานิ ค มอย่ า งเต็ ม ที่ ลั ก ษณะเช่ น นี้ เรี ยกว่า จักรวรรดินิยมยุคใหม่ ยุคจักรวรรดินิยม http://www.skb.ac.th/~skb/computor/ganjana/west_modern_imperialism.htm

ยุคจักรวรรดินิยม https://www.google.co.th/search?hl=en&site=imghp&tbm


๓ รู ปแบบการล่าอาณานิคมในยุคเดิมนั้นประกอบด้วยหลักการ 4 C นัน่ คือ Commerce – การค้า ใช้การค้าเป็ นข้ออ้างหรื อเครื่ องบังหน้า การเข้าครอบครองมีเป้ าหมายสาคัญ ในการดู ดกลื นทรั พยากรของเมื องขึ้ นไปใช้ในประเทศของตน ตัวอย่างที่ ชัดเจนที่ สุด คื อ การที่ อังกฤษอาศัยบริ ษทั อิสต์อินเดีย เป็ นฐานเข้าไปครอบงาอินเดียเพื่อรับสัมปทานป่ าไม้ เหมืองแร่ เครื่ องเทศ โดยมี ก ารจัดตั้ง กองก าลัง เพื่อปกป้ องผลประโยชน์ ของบริ ษ ทั ขณะเดี่ ยวกันก็ใ ช้เป็ น เครื่ องมือบุกรุ ก สู ้รบ และครอบครองเมืองใหญ่นอ้ ยในอินเดีย Christianity – ศาสนาคริ สต์ เป็ นวิธีการที่ประเทศฝรั่งเศสใช้ในการยึดครองอาณานิ คม โดยอ้างการ เผยแพร่ ศาสนาเป็ นหลัก หากประเทศใดๆ ไม่ยอมรับการเข้ารี ตศาสนาคริ สต์ ก็จะใช้เป็ นข้ออ้างใน การใช้กาลังทหารเข้ายึดครองประเทศนั้นๆ ตัวอย่างที่ชดั เจนที่สุดคือ เมื่อ ฟรานซิ ส การ์ นิเยร์ ซึ่ ง เป็ นนายทหาร นักสารวจและนักเขียนชาวฝรั่งเศส อาศัยข้ออ้างที่ว่าชาวญวณ ปฎิ เสธศาสนาคริ สต์ และทาการสังหารชาวญวณคริ สต์ซ่ ึ งเป็ นคนเชื้ อชาติเดียวกัน แต่แตกต่างเพียงความเชื่ อทางศาสนา ล้มตายไปราว ๒๐,๐๐๐ คน และอี กราว ๗๐,๐๐๐ คน ต้องไร้ ที่อยู่ ทาให้จกั รวรรดิ นิย มฝรั่ ง เศส สนับสนุ นกองกาลังทหารเข้าทาการบุกและยึดครองอินโดจี น โดยสามารถยึดครองอิ นโดจี นได้ อย่างเด็ดขาด (มีการกล่าวเกี่ยวกับเรื่ องนี้ ไว้ว่า พ่อค้าอังกฤษจะมากับเรื อปื นและกองกาลังทหาร ส่ วนบาทหลวง ฝรั่งเศสจะมากับนักสารวจและกองกาลังทหาร) Clean – ความสะอาด เป็ นข้ออ้างที่จกั รวรรดินิยม ใช้เป็ นข้ออ้างอีกประการในการยึดครองดินแดน อื่นๆ โดยระบุว่าประเทศที่ เข้าทาการยึดครองนั้นป่ าเถื่ อน คุ ณภาพชี วิตความเป็ นไม่ได้มาตรฐาน ต้องทาการจัดระเบียบชีวติ และสังคมให้ ไม่วา่ จะเป็ น การแต่งกายจากที่ไม่มีเครื่ องนุ่งห่ม ก็ตอ้ งสวม ใส่ เครื่ องนุ่ งห่ มที่มิดชิ ด สวมรองเท้า ทาการชาระร่ างกายให้สะอาดด้วยสบู่ และแปรงฟั นให้ขาว สะอาด หากมองในมุ ม มองของมายาคติ ใ นเรื่ อ งนี้ เราสามารถสั ง เกตเห็ น ได้จ ากสื่ อ โฆษณา ผลิ ตภัณฑ์ชาระความสะอาดให้ร่างกาย ทั้งของไทยและต่างประเทศไม่ว่าจะเป็ น สบู่ ครี มอาบน้ า น้ ายาสระผม จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า นางแบบผูโ้ ฆษณานั้น จะต้องมีผิวขาวและมีแรงดึ งดูดทาง เพศสู ง Civilization – ความเจริ ญก้าวหน้า ในเชิ งวัตถุ เป็ นรู ป แบบที่ มีการต่อต้านน้อยที่ สุ ด เพราะอาศัย ความเจริ ญมัง่ คัง่ เป็ นเครื่ องจู งใจ เมื่ อได้อานาจครอบครองประเทศใด ผูค้ รอบครองก็ บงั คับให้ ประชาชนที่เป็ นเมืองขึ้นศึกษาเล่าเรี ยนภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ของตน สร้างค่านิยมให้


๔ เกิ ดขึ้นว่า ภาษาและวัฒนธรรมของผูเ้ ป็ นเจ้าอาณานิ คมเหนื อหรื อดี กว่าภาษาหรื อวัฒนธรรมของ ตนเอง เช่ น อัง กฤษบัง คับ ให้อิน เดี ย พม่ า ฯลฯ เรี ย นภาษาอัง กฤษ ฝรั่ ง เศสบัง คับ ให้ล าว เขมร เวียตนาม ฯลฯ เรี ยนภาษาฝรั่งเศส http://www.gotoknow.org/posts/312920

เหตุผลที่ประเทศจักรวรรดินิยมสร้ างความชอบธรรมในการขยายอานาจครอบงาประเทศต่ างๆ ๑. การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมทาให้ยุโรปต้องการทรัพยากรธรรมชาติ แสวงหาวัตถุดิบ แหล่ง ระบายสิ นค้าและแรงงานราคาถูก ที่มีอยูม่ ากมายในดินแดนเหล่านี้ ได้กลายเป็ นแม่เหล็กดึงดูดชาติ มหาอานาจให้เข้ามาแสวงหาประโยชน์ และในที่ สุ ดก็ เข้า ยึดครองเป็ นดิ นแดนใต้ปกครองของ ตนเอง ๒. ทางการเมืองเพื่อมีสิทธิ ครอบครองดินแดนมากขึ้น การขยายอานาจทางทหารเพื่อจัดตั้ง ฐานทัพเรื อและฐานที่มนั่ ทางการทหารเพื่อควบคุมจุดยุทธศาสตร์ ท้ งั ทางบกและทางทะเล ๓. ชาวตะวันตกอ้างว่าเป็ นภาระของคนขาว"White Man's Burden" ที่ตอ้ งเข้าไปช่วยสร้าง ความเจริ ญแก่ชนพื้นเมือง ๔. การเผยแผ่ศาสนา การผจญภัย ระบอบประชาธิ ปไตยและความเจริ ญต่างๆแบบตะวันตก ๕. แนวคิดชาตินิยม ทาให้ชาวยุโรปต่างแข่งขันกันขยายอานาจในโพ้นทะเล ๖. ยุโรปแสวงหาดินแดนเพื่ออพยพประชากรเข้าไปตั้งถิ่นฐาน การขยายลัทธิ จกั รวรรดินิยม (ล่าอาณานิ คม) ของชาวตะวันตกควบคุมด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมเช่นการแต่งตั้งตัวแทนชาวตะวันตกเป็ นผูป้ กครองชาวพื้นเมือง ชาวพื้นเมืองไม่ มีสิทธิ ใดๆ มีการนาคริ สต์ศาสนา ภาษาตะวันตก และระบบการศึกษาไปเผยแพร่ ด้านเศรษฐกิ จ บังคับให้ชาวพื้นเมืองปลูกพืชเศรษฐกิจเช่น ใบชา กาแฟ อ้อยแทนการปลูกข้าวให้ค่าแรงต่า ทางาน หนัก ประเทศมหาอานาจทีเ่ ข้ าครอบครองดินแดนในเอเชียมีดังนี้ ๑. อังกฤษยึดครองอินเดีย ศรี ลงั กา พม่า มลายู ฮ่องกง สิ งคโปร์ ๒. ฝรั่งเศสยึดครองเวียดนาม ลาว กัมพูชา ๓. สหรัฐอเมริ กายึดครองฟิ ลิปปิ นส์ จากการทาสงครามชนะสเปน ๔. ฮอลันดายึดครองอินโดนีเซีย ๕. โปรตุเกสยึดครองมาเก๊าของจีน


๕ ๖. ในดิ นแดนตะวันออกกลางบริ ษทั ของเยอรมนี สร้ างทางรถไฟจากตุรกี ไปแบกแดดใน อิรักและอ่าวเปอร์ เซี ย แต่ถูกอังกฤษ รัสเซี ยและฝรั่งเศสต่อต้านเพราะได้แบ่งพื้นที่การขยายอานาจ ของตนไว้แล้ว ๗. ส่ วนในแอฟริ กาดินแดนเกือบทั้งหมดตกเป็ นของชาติตะวันตกได้แก่ สเปน โปรตุเกส อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลีและเบลเยียม ผลของนโยบายแนวคิดจักรวรรดินิยม ด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สั งคม ๑. ด้านการเมืองคือประเทศยุโรปตะวันตกใช้นโยบายแบ่งแยกและปกครอง เช่นรัฐบาลอังกฤษ ให้การสนับสนุ นชาวกะหรี่ ยงในพม่ามากกว่าชนชั้นปกครองชาวพม่าและสนับสนุ นชาวฮินดูใน อินเดี ยมากกว่าชาวมุสลิม อาณานิ คมหลายแห่ งได้รับการปลูกฝังแนวคิดประชาธิ ปไตยเช่นอินเดี ย และมลายูจากอังกฤษ ฟิ ลิปปิ นส์จากอเมริ กา ทาให้เกิดความพร้อมหลังจากได้รับเอกราช ชน พื้นเมืองถูกปกครองอย่างกดขี่ข่มเหงทาให้เกิดความรู ้สึกที่ไม่ดีต่อชาวตะวันตกเกิดความขัดแย้งและ ปะทะกัน มีการเรี ยกร้องเอกราช มีการต่อสู ้ระหว่างประเทศเมืองแม่และชนพื้นเมืองในหลายพื้นที่ ๒. ด้านเศรษฐกิจคือความเจริ ญด้านเศรษฐกิจ เช่นการสร้างถนน ทางรถไฟ การบริ การขนส่ งทาง อากาศ ทาให้ประเทศต่างๆทั้งในทวีปเอเชี ยและแอฟริ กาสามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ แร่ และ พืชผลชนิ ดต่างๆได้ถูกส่ งเป็ นสิ นค้าออก ระบบการเกษตรได้เปลี่ยนมาเป็ นเกษตรเพื่อการค้า เกิ ด รู ปแบบบริ การทางด้านสาธารณสุ ขสมัยใหม่ ๓. ด้านสังคมคือการแพร่ หลายของวัฒนธรรมตะวันตก ทั้งในรู ปแบบการดาเนินชีวิต การศึกษา ภาษาด้านสาธารณูปโภค จัดผังเมืองที่เป็ นระเบียบ จัดระบบสุ ขอนามัย แนวคิดจักรวรรดินิยมส่ งผลต่อโลก ยุโรปได้กลายเป็ นชาติมหาอานาจที่ทรงพลังของโลกสามารถ ขยายอ านาจเข้า ไปยัง ทวีป เอเชี ย และแอฟริ ก าส่ ง ผลให้ แ นวความคิ ด ทางการเมื อ ง สั ง คมและ วัฒนธรรมของยุโรปขยายไปยังดินแดนอื่นๆของโลก นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงทางความคิดและวิถี ชี วิตของผูค้ นก่อให้เกิ ดการแข่งขัน กลายเป็ นความขัดแย้งระหว่างประเทศทาให้เกิ ดสงครามโลก ครั้งที่ ๑-๒


๖ สงครามโลกครั้งที่ ๑ สาเหตุความขัดแย้ ง เหตุการณ์ สาคัญและผลกระทบ สงครามโลกครั้งที่ ๑ (ค.ศ.๑๙๑๔-๑๙๑๘)ประเทศคู่สงครามคือฝ่ ายมหาอานาจสัมพันธมิตรเรี ยกว่า กลุ่มสนธิ ไตรภาคีหรื อ ทริ เปิ ล อองตองต์ (Triple Entente) ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศสและรัสเซี ย และยังมีชาติอื่นๆสมทบเข้าร่ วมในสงครามอีก ๒๓ ประเทศ รวมทั้งสหรัฐอเมริ กาประกาศเข้าร่ วม ในช่วงปลายของสงคราม ฝ่ ายมหาอานาจกลาง (Central Powers) เรี ยกว่ากลุ่มสนธิ สัญญาพันธมิตร ไตรภาคี หรื อ ทริ เปิ ล อัลไลแอนซ์ (Triple Alliance) ประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรี ย ฮังการี และ อิ ต าลี ความส าคัญ ของสงครามโลก ครั้ งที่ ๑ สมรภูมิ ส่วนใหญ่เกิ ดในทวีปยุโรปและได้ข ยาย ไปยังภูมิภาคอื่นๆของโลก มี ประเทศเข้าร่ วมใน สงครามมากกว่า ๓๐ ประเทศ เป็ นสงครามที่สร้าง ความเสี ยหายอย่างร้ ายแรงต่อมนุ ษยชาติ ทั้งชี วิต และทรัพย์สิน ประมาณว่ามีผูเ้ สี ยชี วิตถึ ง 20 ล้าน คน การรบของทหารอังกฤษ https://www.google.co.th/search?hl สาเหตุสาคัญที่นาไปสู่ สงครามโลกครั้งที่ ๑ ๑ .ลัทธิ ชาตินิยม ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑ กระแสความรู้สึกชาตินิยมทวีความรุ นแรง ในหมู่ชนชาติต่างๆในยุโรป โดยมีสาเหตุเกิดจากการแข่งขันแย่งชิ งผลประโยชน์ในด้านเศรษฐกิ จ และการเมือง ตั้งแต่ในคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๖ เป็ นต้นมา โดยเฉพาะกรณี ของฝรั่งเศสกับเยอรมนี จน เกิดความคิดว่าการทาสงครามเป็ นการรักษาเกียรติภูมิของประเทศ ๒. ลัทธิ จกั รวรรดิ นิยม ความสาเร็ จของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ทาให้ชาติมหาอานาจใน ยุโรปแข่งขันกันขยายดิ นแดนอาณานิ คม เพื่อแสวงหาวัตถุ ดิบและตลาดระบายสิ นค้า โดยเฉพาะ ดินแดนในตะวันออกกลางและแอฟริ กาเหนื อ ทาให้เกิ ดความตึงเครี ยดในความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศ ๓. ลัทธิ นิยมทางทหารหรื อการแข่งขันด้านแสนยานุ ภาพทางทหารเกิดจากชาติมหาอานาจ ในยุโรป ต่างพยายามแข่งขันกันสะสมอาวุธและความเข้มแข็งทางทหาร เพื่อปกป้ องรักษา


๗ ผลประโยชน์ของชาติตนทาให้เกิ ดความหวาดระแวงซึ่ งกันและกัน และมีแนวโน้มจะใช้ กาลังทหารแก้ไขปั ญหาข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น ๔.การขยายตัวของระบบพันธมิ ตรทางทหาร ความหวาดระแวงและความตึ งเครี ยดใน ปั ญหาความขัดแย้งต่างๆทาให้ชาติมหาอานาจของยุโรปต้องทาสัญญาผนึ กกาลังกันเป็ นพันธมิตร ทางทหาร โดยแบ่งเป็ น ๒ ค่าย ทาให้เกิ ดสถานการณ์ การเผชิ ญหน้ากันมากขึ้น และพร้อมที่จะใช้ สงครามตัดสิ นปัญหา ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ ๑ ใน ค.ศ.๑๙๐๘ ออสเตรี ย-ฮังการี เข้ายึดครองมณฑลบอสเนีย-เฮอร์เซ โกวีน าท าให้เ กิ ดวิ ก ฤติ ก ารณ์ บ อสเนี ย การต่ อ ต้า นออสเตรี ย -ฮังการี ข องชาวเซิ ร์บ ชาติ นิ ย มใน บอสเนีย ทาให้เกิดเหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์อาร์ ชดุ๊ก ฟรานซิ ส เฟอร์ ดินานต์ มกุฎราชกุมารแห่ ง จักรวรรดิออสเตรี ย -ฮังการี ขณะเยือนเมืองซาราเยโว เมืองหลวงของบอสเนี ย โดยนักศึกษาชาว เซอร์ เบียชื่ อ การิ ลโล ปริ นซิ ป ในวันที่ ๒๘ มิถุนายน ค.ศ.๑๙๑๔ และออสเตรี ย-ฮังการี จึงประกาศ สงครามกับเซอร์ เบียในวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ค.ศ.๑๙๑๔ ส่ วนรัสเซี ยเข้าช่วยเหลือเซอร์ เบีย และชาติ พันธมิตรอื่นๆ ได้เข้าร่ วมสงครามตามข้อผูกพันในสนธิ สัญญา สงครามจึงขยายขอบเขตกลายเป็ น สงครามโลก

อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ ดินานด์และภรรยา http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_youtube.php?youtube_id=185


๘ เหตุ ก ารณ์ ส าคัญของสงครามโลกครั้ งที่ ๑ สงครามเริ่ มขึ้ นในภาคพื้นยุโรปเมื่ อออสเตรี ย-ฮังการี ประกาศสงครามกับเซอร์ เบียวันที่ ๔ สิ งหาคม ค.ศ.+๙๑๔ อังกฤษประกาศสงครามกับเยอรมัน การ รบในสงครามครั้งนี้เป็ นการรบ ๓ มิติคือทางบก ทางเรื อ ทางอากาศ เป็ นสงครามเบ็ดเสร็ จ อิตาลีเข้า ร่ วมปี ค.ศ.๑๙๑๕ ในปี ค.ศ.๑๙๑๗ เกิ ดการปฏิ วตั ิในรัสเซี ย ทาให้รัสเซี ยถอนตัวออกจากสงคราม ครั้ งนี้ และสหรั ฐ อเมริ ก าเข้า ร่ ว มสงครามเนื่ อ งจากเรื อ โดยสารลู ชิ ต าเนี ย ถู ก เยอรมัน ยิ ง เมื่ อ ๗ พฤษภาคม ค.ศ.๑๙๑๗ และ เยอรมนี ประกาศจะใช้เรื อดาน้ าโจมตี เรื อข้าศึ กและเรื อสิ นค้าโดยไม่ จากัดขอบเขต สาหรับประเทศไทยเข้าร่ วมกับฝ่ ายสัมพันธมิตรเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ค.ศ.๑๙๑๗ ส่ งทหารอาสาเข้าร่ วมรบ ๑,๒๐๐ คนสงครามโลกครั้งที่ ๑ ยุติลงเมื่อเยอรมนียอมสงบศึกยุติสงคราม เมื่อ ๑๑ พฤศจิกายน ค.ศ.๑๙๑๘ ผลของสงครามโลกครั้งที่ ๑ สรุ ปได้ ดังนี้ ด้ านการเมือง ได้แก่ ๑.ประเทศแพ้สงคราม เช่น เยอรมนี ออสเตรี ย-ฮังการี ต้องสู ญเสี ยอาณานิคม ถูกลดกาลัง ทหาร อาวุธ และต้องเสี ยค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมาก ๒.รัสเซียมีการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์ ส่ วนสหรัฐอเมริ กาและญี่ปุ่นกลายเป็ น ประเทศมหาอานาจใหม่ ๓.เกิดประเทศใหม่ในยุโรป เช่น เชคโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวีย ฮังการี โปแลนด์ ๔.มีการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติเพื่อสร้างสันติภาพ ๕.ดินแดนอาณานิคมเริ่ มเรี ยกร้องเอกราชเพราะเมืองแม่อ่อนแอ ๖.เกิดสนธิ สัญญาต่างๆเช่นสนธิ สัญญาแวร์ ซายส์เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ค.ศ.๑๙๑๙ ระหว่าง ฝรั่งเศสกับเยอรมัน ด้ านเศรษฐกิจ ได้แก่ ๑.ประเทศที่ทาสงครามต้องทุ่มเทเงินทองและทรัพยากรจานวนมหาศาลเพื่อฟื้ นฟูเศรษฐกิจ ตลอดจนเผชิ ญกับปั ญหาเศรษฐกิจตกต่าทัว่ โลก ๒.ประเทศแพ้สงครามต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมาก และกลายเป็ นสาเหตุหนึ่ง ของสงครามโลกครั้งที่ ๒ ๓.อุตสาหกรรมของสหรัฐอเมริ กาขยายตัวเพราะผลิตสิ่ งของเครื่ องใช้ ส่ งไปขายและ แจกจ่ายในยุโรป


๙ ด้ านสั งคม ได้แก่ ๑.ประชากรทั้งทหารและพลเรื อนล้มตายจานวนหลายล้านคนเป็ นการสู ญเสี ยทรัพยากร บุคคลครั้งยิง่ ใหญ่ ๒.ทหารและพลเรื อนที่รอดชีวติ ต้องบาดเจ็บ พิการ ไร้ที่อยูอ่ าศัยและประสบปั ญหาทางจิต จากการหวาดกลัวภัยสงครามจานวนมาก ด้ า นวิทยาการ ประเทศคู่ ส งครามต่ า งนาความรู ้ ด้า นวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีม าสร้ า งอาวุธ ยุทโธปกรณ์อนั ทันสมัยเพื่อใช้ในสงคราม เช่น ปื นใหญ่ยงิ ได้ไกลถึง ๑๒๐ กิโลเมตร เรื อดาน้ า อูโบต (U-Boat) รถถังไอพิษ จรวดV๒ เครื่ องบินรบ เป็ นต้น สงครามโลกครั้งที่ ๒ สาเหตุความขัดแย้ ง เหตุการณ์ สาคัญและผลกระทบ สงครามโลกครั้ งที่๒ (ค.ศ.๑๙๓๙-๑๙๔๕)เริ่ มต้นเมื่ อ ค.ศ.๑๙๓๙ จากการที่เยอรมนี บุกโปแลนด์ ประเทศที่เข้าร่ วมสงครามแบ่งเป็ น ๒ ฝ่ าย คือ ฝ่ ายพันธมิตรนาโดยอังกฤษ สหรัฐอเมริ กา สหภาพ โซเวีย ต และฝ่ ายอัก ษะ ประเทศแกนนา อิ ตาลี นาโดย เบนิ โต มุ ส โซลิ นี นาซี เยอรมนี นาโดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ญี่ปุ่น นาโดย สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโต ะสงครามในยุโรปสิ้ นสุ ดเมื่อเยอรมนี ยอมแพ้ใ นเดื อนพฤษภาคม ค.ศ.๑๙๔๕ ส่ วนสงครามในเอเชี ย สิ้ นสุ ดเมื่ อญี่ ปุ่นยอมแพ้ใ นเดื อน สิ งหาคมปี เดียวกัน สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ ๒ มีดังนี้ ๑.ข้อตกลงในสนธิ สัญญาแวร์ ซายส์บีบคั้นผูแ้ พ้สงครามมากเกินไป เช่น เยอรมนีตอ้ งจ่ายค่า ปฏิ กรรมสงครามจานวนมหาศาล ต้องจากัดขนาดกองทัพและการขยายอาณาเขตของตน ทาให้ ประเทศผูแ้ พ้สงครามเกิดความไม่พอใจ ๒.ความเป็ นชาตินิยมและการใช้ลทั ธิ ทหารของผูน้ าประเทศ คือ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผูน้ าพรรคนาซี ของเยอรมนี กับเบนิ โต มุสโสลินี ผูน้ าอิตาลีใช้ระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ และการขยายตัวของลัทธิ ทหารนิ ย มในญี่ ปุ่ นเพื่ อ ขยายอ านาจไปทั่ว เอเชีย

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผูก้ ่อตั้งพรรคนาซี https://www.google.co.th


๑๐ ๓.ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติที่ไม่สามารถยับยั้งหรื อลงโทษประเทศสมาชิกที่ ทาผิดได้เช่นกรณี เยอรมนีละเมิดสนธิ สัญญาแวร์ ซาย ด้วยการฟื้ นฟูกองทัพและเริ่ มเกณฑ์ทหาร กรณี อิตาลียึดครองเอธิ โอเปี ย และญี่ปุ่นยึดครองแมนจูเรี ยของจีน เมื่อสันนิบาตชาติมีมติประณาม ทั้ง หมดก็ ล าออกจากการเป็ นสมาชิ ก สั น นิ บ าตชาติ นอกจากนี้ การที่ ป ระเทศมหาอานาจอย่า ง สหรัฐอเมริ กาไม่ได้เข้าเป็ นสมาชิกก็เป็ นปั จจัยหนึ่งที่ทาให้องค์การสันนิบาตชาติไม่เข้มแข็ง ๔.ภาวะเศรษฐกิจตกต่าครั้งยิง่ ใหญ่ ทาให้หลายชาติตอ้ งการขยายอานาจไปยังดินแดนอื่น ๕.การแย่งชิงอานาจและต้องการแบ่งปั นโลกใหม่ของประเทศที่เจริ ญตามมาทีหลัง เช่น อิตาลี ญี่ปุ่น ต้องการแสวงหาอาณานิคม ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้แก่ การที่เยอรมนีบุกโปแลนด์ ๑กันยายน ค.ศ.๑๙๓๙ ซึ่งเป็ นชาติ ที่เป็ นกลาง ในวันที่ ๓ กันยายน ค.ศ.๑๙๓๙อังกฤษและฝรั่งเศสรับรองเอกราชของโปแลนด์ประกาศ สงครามกับเยอรมัน ญี่ปุ่นโจมตีฐานทัพเรื อของสหรัฐอเมริ กาที่อ่าวเพิร์ล เกาะฮาวายเมื่อ ๗ ธันวาคม ค.ศ.๑๙๔๑ ทาให้สหรัฐอเมริ กาและอังกฤษประกาศสงครามกับญี่ปุ่นเมื่อ ๘ ธันวาคมค.ศ.๑๙๔๑ เหตุการณ์ สาคัญของสงครามโลกครั้งที่ ๒ การที่เยอรมนี บุกโปแลนด์ ทาให้องั กฤษและฝรั่งเศสไม่ พอใจประกาศสงครามกับเยอรมนี วันที่ ๓ กันยายน ค.ศ.๑๙๓๙ เมื่อการรบขยายตัวท าให้นานา ประเทศที่เกี่ยวข้องถูกดึงเข้าร่ วมสงครามมากขึ้น การขยายสงครามในเอเชี ยเริ่ มจากญี่ปุ่นซึ่ งได้ลง นามในสัญญาเป็ นฝ่ ายเดียวกับเยอรมนีได้โจมตีฐานทัพเรื อของสหรัฐอเมริ กาที่อ่าวเพิร์ล เกาะฮาวาย เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ใน ค.ศ. ๑๙๔๑ ท าให้ ส หรั ฐ อเมริ กา ประกาศเข้าร่ วมสงครามเป็ น ฝ่ ายเดี ยวกับชาติสัมพันธมิตร อย่างเป็ นทางการ

การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ http://th.wikipedia.org/wiki


๑๑ สงครามครั้ งนี้ เกิ ดขึ้ นทัว่ ภู มิ ภาคของโลก สงครามในยุโรปยุติล งเมื่ อเยอรมนี ย อมแพ้ใ นเดื อ น พฤษภาคม ค.ศ.๑๙๔๕ ฮิตเลอร์ ฆ่าตัวตาย มุสโสลินีถูกประหารชีวติ ส่ วนในเอเชียสงครามยุติลงเมื่อ ญี่ปุ่นถูกถล่มด้วยระเบิดปรมาณู ที่เมืองฮิโรชิ มา และนางาซากิ เมื่อวันที่ ๑๔ สิ งหาคม ค.ศ.๑๙๔๕ ถือเป็ นการยุติสงครามโลกครั้งที่ ๒ อย่างแท้จริ ง

https://www.google.co.th/search ระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิมา ผลของสงครามโลกครั้งที่ ๒ สรุ ปดังนี้ ด้ านการเมือง ได้แก่ ๑.เกิดการเปลี่ยนแปลงดุลอานาจของโลก โดยประเทศมหาอานาจเก่า เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ถูกลดอานาจ และเกิดมหาอานาจใหม่ คือสหรัฐอเมริ กาและสหภาพโซเวียด ๒.มี การจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN : United Nations)เพื่อดาเนิ นงานแทนองค์การ สันนิบาตชาติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพของโลกและให้กลุ่มสมาชิกร่ วมมือช่วยเหลือกัน และสนับสนุ นสันติภาพของโลก รวมทั้งการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่ งนับว่ามีความเข้มแข็ง กว่า เดิ ม เพราะสหรั ฐ อเมริ ก าเข้า ร่ ว มเป็ นสมาชิ ก ผูก้ ่ อ ตั้ง และมี ก องทหารของสหประชาชาติ ๓.หลายประเทศถูกยึดครองและแบ่งแยก ได้แก่ เยอรมนีถูกแบ่งออกเป็ นเยอรมนี ตะวันออก และเยอรมนี ตะวันตก เกาหลี ถูกแบ่งออกเป็ นเกาหลีเหนื อและเกาหลีใต้ และญี่ปุ่นถูกยึดครองเป็ น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริ กา


๑๒ ๔.ประเทศต่างๆประกาศเอกราชจากการปกครองของประเทศในยุโรป เช่น เกาหลี เวียดนาม ๕.ประเทศในยุโรปตะวันออกปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ จากการสนับสนุนของ สหภาพโซเวียต ๖. ทาให้เกิ ดสงครามเย็น(Cold War)ตั้งแต่หลัง สงครามโลกครั้ งที่ สองเป็ นต้น ประเทศ สหภาพโซเวียต(USSR) ปกครองโดยสมัยสตาร์ ลินมี นโยบายขยายลัทธิ คอมมิ วนิ สต์ไปสู่ ยุโรป ตะวันออก และเยอรมนี ตะวันออก ซึ่ งมีทหารรั สเซี ยเข้าปลดปล่ อยดิ นแดนเหล่ านี้ จากอานาจฮิ ต เลอร์ ในสงครามโลกครั้งที่สอง ขณะที่สหรัฐต้องการสกัดกั้นการขยายตัวดังกล่าว และเผยแผ่การ ปกครองแบบเสรี ประชาธิ ปไตยในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะดินแดนอาณานิ คมที่ประกาศเอกราช เป็ นประเทศใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จนเกิดสภาวการณ์ที่เรี ยกว่า สงครามเย็น( Cold War ) ด้ านเศรษฐกิจ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทัว่ โลกหลังสิ้ นสุ ดสงคราม ซึ่ งเป็ นผลจากการล่มของตลาด หุน้ ที่วอลสตรี ท นครนิวยอร์ ก ประเทศสหรัฐอเมริ กา ค.ศ.๑๙๒๙ ทาให้ธนาคารหลายพันแห่งต้อง ปิ ดกิจการลง ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ายังครอบคลุมไปถึงประเทศต่างๆในยุโรป โดยเฉพาะเยอรมนี ซึ่งเป็ นลูกหนี้รายใหญ่ รวมถึงส่ งผลไปยังทวีปเอเชียเช่น ญี่ปุ่น มีคนว่างงาน จานวนมหาศาล ด้ านสั งคม ได้แก่ ๑.มีผเู ้ สี ยชีวติ มากที่สุดทั้งทหารและพลเรื อน และมีมูลค่าความเสี ยหายมากมาย ที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ ทั้งยังเกิดการสังหารหมู่ครั้งใหญ่ของโลก โดยชาวยิวกว่า ๖ ล้าน คนถูกสังหารโดยนาซีเยอรมัน ๒.ผูค้ นจานวนมากต้องได้รับบาดเจ็บ พิการ หายสาบสู ญ ไร้ที่อยูอ่ าศัย ขาดแคลน อาหาร และประสบปัญหาทางจิตจากการหวาดกลัวภัย ด้ านวิทยาการ เกิดการพัฒนาความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อนามาใช้ในสงคราม เช่น เรดาห์ เรื อบรรทุกเครื่ องบิน ระเบิดปรมาณู และนาไปสู่ การแข่งขันกันผลิตอาวุธร้ายแรงของสหรัฐอเมริ กา กับสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น


๑๓

ราลึก 64 เมืองฮิโรชิ มาถูกมหาอานาจ สหรัฐอเมริกา โจมตี


๑๔

https://www.google.co.th

**********************


๑๕

เอกสารอ้างอิง - ปรี ชา ศรี วาลัย.(2542). สงครามโลกครั้งที่1.พิมพ์ครั้งที่1.กรุ งเทพฯ:โอเดียนสโตร์ - วีรชัย โชคมุกดา.(2552).สงครามโลกครั้งที่1-2 พิมพ์ครั้งแรก.กรุ งเทพฯ : ยิปซี - ผศ.ศิริพร ดาบเพชร คมคาย มากบัว ประจักร แปฺะสกุล.(2551).สื่ อการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ สากล ม.4-6. พิมพ์ครั้งที่1.กรุ งเทพมหานคร :อักษรเจริ ญทัศน์ - http://th.wikipedia.org/wiki - http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_youtube.php?youtube_id=185 - https://www.google.co.th/search?q=ลัทธิจกั รวรรดินิยม&hl - http://www.skb.ac.th/~skb/computor/ganjana/west_modern_imperialism.htm - Josh Brooman, Russia in War and Revolution สุ ปราณี มุนวิชิต, ประวัติศาสตร์ ยุโรป ตั้งแต่ ปี1815 ถึงปัจจุบัน




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.