รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน-สำนักงานวิทยาเขตศรีราชา 2556

Page 1

รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน สานักงานวิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจาปีการศึกษา 2556 ระหว่างวันที่ 8 – 9 กรกฎาคม 2557

โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


คานา คณะกรรมการประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2556 ได้ รั บ มอบหมายจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายใน สานักงานวิทยาเขตศรีราชา ตามผลการ ดาเนินงานในรอบปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557) ระหว่างวันที่ 8 – 9 กรกฎาคม 2557 เพื่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการประเมินฯ หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าผลการประเมินคุณภาพครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ โดยตรงต่อ สานักงานวิทยาเขตศรีราชา และเกิดประโยชน์โดยรวมต่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ประจาปีการศึกษา 2556

วันที่ 9 กรกฎาคม 2557


สารบัญ

หน้า

บทสรุปสาหรับผู้บริหาร (Executive Summary) ......................................................................................... 1 นวัตกรรมและแนวปฏิบัติที่ดี........................................................................................................................... 3 ประสิทธิผลการสนับสนุนพันธกิจของมหาวิทยาลัย ......................................................................................... 3 ประสิทธิผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงในรอบปีการศึกษา 2555 ................................................. 3 ข้อมูลการประกันคุณภาพของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา .............................................................................. 3 แนวทางการประเมินคุณภาพภายใน ............................................................................................................... 3 กาหนดการประเมิน ........................................................................................................................................ 4 ผลการประเมินคุณภาพภายในตามองค์ประกอบคุณภาพ ................................................................................ 6 องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ................................................................10 องค์ประกอบที่ 2 ภารกิจหลัก ............................................................................................................................10 องค์ประกอบที่ 3 การบริหารและการจัดการ .....................................................................................................11 องค์ประกอบที่ 4 การเงินและงบประมาณ .........................................................................................................12 องค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ .......................................................................................14 องค์ประกอบที่ 6 การพัฒนาและปรับปรุงระบบดาเนินงาน ...............................................................................15 ภาคผนวก ....................................................................................................................................................16 ภาคผนวกที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานผลการดาเนินงาน ..................................................................................................17 ภาคผนวกที่ 2 ข้อมูลการสัมภาษณ์ ....................................................................................................................18 ภาคผนวกที่ 3 ภาพกิจกรรม ..............................................................................................................................20


บทสรุปสาหรับผู้บริหาร (Executive Summary) รายงานนี้เป็นการสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา ประจาปีการศึกษา 2556 ตามกระบวนการในระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งดาเนินการประเมินคุณภาพ ภายใน ระหว่างวันที่ 8 - 9 กรกฎาคม 2557 โดยคณะกรรมการประเมินฯ ได้ประเมินคุณภาพ จากรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ตามรอบปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 2556 - 31 พฤษภาคม 2557) และได้รวบรวม ข้อมูลเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์ และการเยี่ยมชม สาหรับผลการประเมินฯ พบว่า สานักงานวิทยาเขตศรีราชา มีการดาเนินงานตามระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพ 6 องค์ประกอบ และมีการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้การประเมิน จานวน 12 ตัวบ่งชี้ โดยหน่วยงาน ประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 4.94 ได้คุณภาพระดับดีมาก ส่วนผลการประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนน เฉลี่ย 4.52 ได้คุณภาพระดับดีมาก รายละเอียดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในตามองค์ประกอบคุณภาพ องค์ประกอบคุณภาพ

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดาเนินการ องค์ประกอบที่ 2 ภารกิจหลัก องค์ประกอบที่ 3 การ บริหารและจัดการ องค์ประกอบที่ 4 การเงินและ งบประมาณ องค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 6 การ พัฒนาและปรับปรุง ระบบดาเนินงาน เฉลี่ยภาพรวม ผลการประเมิน

คะแนนการประเมินเฉลี่ย ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต รวม หน่วยงาน กรรมการ หน่วยงาน กรรมการ หน่วยงาน กรรมการ หน่วยงาน กรรมการ -

-

5.00

5.00

-

-

5.00

5.00

-

-

5.00

4.00

4.64

4.64

4.76

4.42

5.00

5.00

5.00

4.50

-

-

5.00

4.60

-

-

5.00

5.00

-

-

5.00

5.00

-

-

5.00

4.00

-

-

5.00

4.00

-

-

5.00

4.00

-

-

5.00

4.00

5.00 ดีมาก

5.00 ดีมาก

5.00 ดีมาก

4.44 ดี

4.64 ดีมาก

4.64 ดีมาก

4.94 ดีมาก

4.52 ดีมาก

1


สาหรับการประเมินคุณภาพภายในครั้งนี้ คณะกรรมการฯ ได้มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงานมีการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ดังนี้ ภาพรวม จุดแข็ง 1. สานักงานวิทยาเขตมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการ บริ ห ารจั ดการส านั กงานวิทยาเขต ทั้งในภาพรวมและรายฝ่ าย อีกทั้งยั งได้รับ การส่ งเสริมและ สนั บ สนุ น จากผู้ บ ริ ห ารของส านั ก งานวิ ท ยาเขตในการพั ฒ นาและขยายผลการใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศดังกล่าว 2. บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามภารกิจของสานักงานวิทยาเขต ส่งผลให้สานักงาน วิทยาเขตมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แนวทางเสริมจุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา 1. ในการประเมิ น ความพึ ง พอใจต่ อ การปฏิ บั ติ ง าน หรื อ การประเมิ น ผลโครงการใดๆ ก็ ต ามยั ง ดาเนินการไม่ถูกต้องตามหลักของการประเมินผล การเก็บข้อมูลจึงเป็นเพียงการสารวจแล้วรายงานผลเท่านั้น ใน การประเมินผลที่ถูกต้องผู้ ประเมินจะต้องมีการกาหนดเกณฑ์การประเมินเสียก่อน แล้ว จึงนาผลการวัด /เก็บ รวบรวมข้อมูลมาเทียบเกณฑ์เพื่อการตัดสินว่า บรรลุ/ไม่บรรลุ หรือผ่าน/ไม่ผ่าน ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการทาความเข้าใจกับบุคลากรทุกฝ่ายเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลความพึงพอใจ ต่อการปฏิบัติงาน หรือโครงการอื่น ๆ ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ข้อสังเกต 1. จากแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี ข องส านั ก งานวิ ท ยาเขต ที่ ไ ด้ จั ด ท าคู่ มื อ การปฏิ บั ติ ง านของทุ ก ฝ่ า ยตั้ ง แต่ ปี การศึกษา 2555 และได้นามาใช้เป็นคู่มือการปฏิบัติงานอย่างจริงจังในปีการศึกษา 2556 จึงสมควรมีการติดตาม / ประเมินผลการใช้งานคู่มือดังกล่าว โดยแสดงถึงปัญหา หรือข้อขัดข้องต่าง ๆ เพื่อนามาสู่การปรับปรุงคู่มือฯ ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 2. คู่มือการปฏิบัติงานของบางฝ่าย ควรมีการกาหนดระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนของการปฏิบัติงาน กากับไว้ด้วย เช่น ฝ่ายยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ฝ่ายกิจการนิสิต และควรพิจารณาทบทวนว่าคู่มือการ ปฏิบัติงานดังกล่าวจะทาเป็นคู่มือฯ ประจาปี และควรใส่กระบวนการที่มีการปรับปรุงในแต่ละปีไว้ในคู่มือด้วย

2


ข้อเสนอแนะระดับมหาวิทยาลัย นวัตกรรมและแนวปฏิบัติที่ดี ประสิทธิผลการสนับสนุนพันธกิจของมหาวิทยาลัย การปรับปรุงกระบวนการทางานของสานักงานวิทยาเขต ส่งผลทาให้เกิดประสิทธิภาพการทางานของ สานักงานวิทยาเขต ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจหลักเรื่องการให้บริการที่ครอบคลุมทุกด้าน และแสดงถึงการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ประสิทธิผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงในรอบปีการศึกษา 2555 การติดตามผลการดาเนิ นงานตามข้อเสนอแนะจากการประเมินฯ ในรอบปีการศึกษา 2555 พบว่า สานักงานวิทยาเขตศรีราชา มีการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุง ฯ เป็นอย่างดี จากทีม่ ีโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด จานวน 6 กิจกรรม ได้มีการดาเนินการแล้วครบทั้ง 6 กิจกรรม ข้อมูลการประกันคุณภาพของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา สานักงานวิทยาเขตศรีราชา ได้ดาเนินการระบบประกันคุณภาพในรูปแบบสานัก/สถาบัน 6 องค์ประกอบ โดยได้รับการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัยแล้ว 10 ครั้ง ซึ่งผลการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา คือ ครั้งที่ 10 ในรอบปีการศึกษา 2555 (1 มิถุนายน 2555 – 31 พฤษภาคม 2556) ระหว่างวันที่ 18 – 19 มิถุนายน 2556 พบว่า มีผลการดาเนินงาน 12 ตัวบ่งชี้ ตามที่กาหนดไว้ โดยสานักงานวิทยาเขตศรีราชา ประเมิน ตนเอง ได้ค่าคะแนน 4.92 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก เปรียบเทียบกับผลการประเมินฯ ของคณะกรรมการฯ ซึ่งประเมิน ได้ค่าคะแนน 4.83 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก แนวทางการประเมินคุณภาพภายใน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อยืนยันสภาพการดาเนินงานของหน่วยงานและประเมินคุณภาพ ที่สอดคล้องกับระบบการประกัน คุณภาพของมหาวิทยาลัย 2. พิ จ ารณาความเชื่ อ มโยงของทุ ก องค์ ป ระกอบในระบบประกั น คุ ณ ภาพของหน่ ว ยงาน และการ ตอบสนองพันธกิจและเป้าหมายของมหาวิทยาลัย โดยวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และให้ข้อเสนอแนะเพื่อ การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งการค้นหานวัตกรรมและแนวปฏิบัติ ที่ดีของหน่วยงาน 3. ติดตามประสิทธิผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของการประเมินคุณภาพ ภายในที่ผ่านมา 4. เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน 3


กรอบการประเมินประสิทธิผลการดาเนินงานจากผลการประเมินคุณภาพภายใน 1. ประสิทธิผลของการดาเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน รวมทั้งด้านการบริหารจัดการ 2. ประสิทธิผลของแผนพัฒนาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของการประเมินคุณภาพภายในที่ผ่านมา 3. การค้นหานวัตกรรม และแนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงาน หรือผลลัพธ์จากการดาเนินงานตามระบบ ประกันคุณภาพ กาหนดการประเมิน วันอังคารที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เวลา 06.30 – 09.00 น. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในเดินทางถึงสานักงานวิทยาเขตศรีราชา เวลา 09.00 – 09.30 น. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในฯ ประชุมหารือก่อนการประเมิน ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ เวลา 09.30 – 09.45 น. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในฯ พบผู้บริหารสานักงานวิทยาเขตศรีราชา ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ - ประธานคณะกรรมการฯ กล่าวแนะนาคณะกรรมการ พร้อมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ และ แนวทางในการประเมินคุณภาพภายใน ประจาปีการศึกษา 2556 เวลา 09.45 – 10.20 น. ผู้ อ านวยการส านั ก งานวิ ท ยาเขตศรี ร าชา รายงานผลการด าเนิ น งานในรอบปี การศึกษา 2556 ทั้งนี้ ตามประเด็นหลักที่สาคัญ ดังนี้ 1. ข้อมูลพื้นฐานหรือสถานภาพของหน่วยงานเบื้องต้น 2. สรุปผลการดาเนินงานและการประเมินตนเองตามองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ประเมินคุณภาพภายในของหน่วยงาน ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิต รวมทั้งผลการประเมินตามมาตรฐานอุดมศึกษา และ มุมมองด้านการบริหารจัดการ 3. ประสิทธิผลของการดาเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงในรอบปีที่ผ่านมา เวลา 10.20 – 10.30 น. คณะกรรมการฯ ซักถามเพิ่มเติม เวลา 10.30 – 12.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ์ ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ เวลา 10.30 - 11.00 น. กลุ่มที่ 1 ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จานวน 3 คน - บุคคลภายใน (อาจารย์ และนิสิต) จานวน 2 คน - บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย จานวน 1 คน ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ เวลา 11.00 – 11.30 น. กลุ่มที่ 2 บุคลากรข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง จานวน 3 คน ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ เวลา 11.30 – 12.00 น. กลุ่มที่ 3 ผู้อานวยการสานัก/หัวหน้าฝ่าย จานวน 3 คน ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ 4


เวลา 12.00 – 13.00 น. เวลา 13.00 – 16.00 น.

เวลา 16.00 – 17.00 น.

เวลา 17.00 – 18.00 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน สรุปประเด็นสัมภาษณ์ในเบื้องต้น และเตรียมความพร้อมการตรวจเยี่ยมฝ่ายต่าง ๆ พร้อมตรวจเอกสารหลักฐาน และสรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ ตรวจเยี่ยมหน่วยงานสานักงานวิทยาเขต - ตรวจเยี่ยมฝ่ายบริหาร ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ - ตรวจเยี่ยมฝ่ายการศึกษา ชั้น 1 อาคาร 1 บริการวิทยาการ - ตรวจเยี่ยมฝ่ายกิจการนิสิต ชั้น 1 อาคาร 9 - ตรวจเยี่ยมฝ่ายทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ ชั้น 1 อาคารหอพักนิสิต ตรวจเอกสารหลักฐาน และสรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ

วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ เวลา 13.00 – 14.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 14.00 – 15.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ให้ผู้บริหารและ บุคลากรของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา รับทราบ ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 1 บริการวิทยาการ เวลา 15.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ เดินทางกลับ วิธีการดาเนินงาน คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน สานักงานวิทยาเขตศรีราชา ประจาปีการศึกษา 2556 ได้ศึกษา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report - SAR) และแบบเก็บข้อมูลพื้นฐาน (Common data set) ของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา ตามผลการดาเนินงานในรอบปีการศึกษา 2556 ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557 และหลักฐานเพื่อการประเมินตามรายการที่ระบุไว้ในรายงานการประเมินตนเอง และได้รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์ และการเยี่ยมชม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินภาพรวมของทุกองค์ประกอบ และรายตัวบ่งชี้ มีคะแนนเต็ม 5 คะแนน ซึ่งเป็นการ ประเมินตามเกณฑ์ 5 คะแนน ส่วนการบรรลุเป้าหมาย และพัฒนาการ ไม่มีค ะแนน สาหรับการแปลความหมาย ผลการประเมินตามเกณฑ์ 5 คะแนน ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 0.00 - 1.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุง คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับพอใช้ 5


คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง การดาเนินงานระดับดีมาก สาหรับการประเมินคุณภาพภายในครั้งนี้ คณะกรรมการฯ ได้ดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด เพื่อให้หน่วยงานสามารถพัฒนาคุณภาพการดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง สอดรับกับนโยบายและสถานการณ์ที่ เปลี่ ย นแปลงทั้ ง จากภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ส าหรั บ การพั ฒ นา มหาวิทยาลัย ผลการประเมินคุณภาพภายในตามองค์ประกอบคุณภาพ สานักงานวิทยาเขตศรีราชา มีการดาเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 6 องค์ประกอบ และมีการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ประเมิน จานวน 12 ตัวบ่งชี้ โดยหน่วยงานประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 4.94 ได้คุณภาพระดับ ดีมาก ส่วนผลการประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 4.52 ได้คุณภาพระดับ ดีมาก รายละเอียดดังตารางที่ 2

6


ตารางที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพภายในรายองค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้

หน่วย

เป้าหมาย

ผลการดาเนินงาน ปี 2556

2556

หน่วยงาน ตัวตั้ง ตัวหาร

คะแนนผลการ ประเมิน หน่วยงาน กรรมการ

กรรมการ

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

คะแนนเฉลี่ยภาพรวมตามตัวบ่งชี้ของ สานัก (บังคับ 12 ตัวบ่งชี้) องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ 1.1

กระบวนการพัฒนาแผน

ข้อ

8

8

8

องค์ประกอบที่ 2 ภารกิจหลัก 2.1 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ

38,412.14 8,984.00

4.28

38,391.93 8,984

4.27

4.94 5.00

4.52 5.00

5.00

5.00

4.76

4.42

4.28

4.27

ค่าเฉลี่ย

4.50

2.2 ระดับความสาเร็จของการให้บริการที่สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้รับบริการ

ข้อ

5

5

4

5.00

4.00

2.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและ วัฒนธรรม

ข้อ

5

5

5

5.00

5.00

7

หมายเหตุ

การคานวณค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจแต่ละ กิจกรรมมีความ คลาดเคลื่อนเล็กน้อยใน เรื่องการปัดเศษทศนิยม 1. มีข้อมูลการสารวจ จากกลุ่มนิสิตเพียงกลุ่ม เดียว ซึ่งไม่ครอบคลุม กลุ่มคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และอาจ หมายรวมถึง บุคคลภายนอกด้วย 2. การสารวจไม่ ครอบคลุมทุกส่วนงาน ที่สานักงานฯ ให้บริการ


ตัวบ่งชี้

หน่วย

เป้าหมาย

ผลการดาเนินงาน ปี 2556

2556

หน่วยงาน ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

คะแนนผลการ ประเมิน หน่วยงาน กรรมการ

กรรมการ ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

องค์ประกอบที่ 3 การบริหารและการจัดการ

5.00

4.60

3.1

ภาวะผู้นาของคณะกรรมการประจาหน่วยงาน และ ผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงาน

ข้อ

7

7

5

5.00

3.00

3.2 3.3 3.4

การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ระบบบริหารความเสี่ยง ระบบการพัฒนาบุคลากร

ข้อ ข้อ ข้อ

5 6 7

5 6 7

5 6 7

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

3.5

ร้อยละของบุคลากรทีไ่ ด้รับการพัฒนาความรู้ และ ทักษะวิชาชีพที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานทั้งใน ประเทศหรือต่างประเทศ

ร้อยละ

85.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

101.50

81.20

125.00

64.00

92.75

69.00

องค์ประกอบที่ 4 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 4.1

ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

ข้อ

7

7

8

หมายเหตุ

7

เกณฑ์ข้อที่ 1 การประเมิน ไม่ถูกต้องตามเกณฑ์ซึ่ง กาหนดให้คณะกรรมการ ประจาหน่วยงานประเมิน ตนเอง เกณฑ์ข้อที่ 7 การประเมิน ผลไม่ถูกต้องตามเกณฑ์ซึ่ง กาหนดให้คณะกรรมการ ประจาหน่วยงานเป็นผู้ ประเมินการบริหารงาน ของผู้บริหาร

การคานวณไม่นับรวม จานวนบุคลากรหมวด แรงงานทั้งตัวตั้งและ ตัวหาร


ตัวบ่งชี้

หน่วย

เป้าหมาย

ผลการดาเนินงาน ปี 2556

2556

หน่วยงาน ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

กรรมการ ตัวตั้ง ตัวหาร

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน

ข้อ

8

9

8

องค์ประกอบที่ 6 การพัฒนาและปรับปรุงระบบดาเนินงาน 6.1

ระดับความสาเร็จของการพัฒนาและปรับปรุง กระบวนการดาเนินงาน

ข้อ

5

5

9

หมายเหตุ

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

องค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 5.1

คะแนนผลการ ประเมิน หน่วยงาน กรรมการ

4

5.00

4.00

5.00

4.00

5.00

4.00

5.00

4.00

เกณฑ์ขอ้ ที่ 5 การพัฒนา ผลการดาเนินงานตาม ตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ ไม่ครบทุกตัวบ่งชี้ เกณฑ์ขอ้ ที่ 5 ไม่พบ หลักฐานการประเมินผล การปรับปรุง และจัดทา รายงานผลการปรับปรุง


องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ การประเมินผลการดาเนินงานในภาพรวมของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ พบว่า หน่วยงานประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 5.00 ได้คุณภาพระดับดีมาก ส่วนผลการประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 5.00 ได้คุณภาพระดับ ดีมาก คณะกรรมการประเมินฯ มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนินงาน ในองค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนงานสรุปได้ดังนี้ จุดแข็ง 1. ผู้ บ ริ ห ารมีบ ทบาทเป็ น ผู้ น าในการจัดทาแผนกลยุทธ์ของหน่ว ยงาน และมีการแปลงแผนกลยุทธ์ สู่แผนปฏิบัติงานที่สามารถแสดงผลการดาเนินงานได้อย่างชัดเจน แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะ แนวปฏิบัติที่ดี ข้อสังเกต 1. ควรแสดงผลการประเมินของแต่ละโครงการในตารางสรุปแผนปฏิบัติงานประจาปี เพื่อเป็นรายงาน ที่มีความครบถ้วนและชัดเจน องค์ประกอบที่ 2 ภารกิจหลัก การประเมินผลการดาเนินงานภาพรวมของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา องค์ประกอบที่ 2 ภารกิจหลัก จานวน 3 ตัวบ่งชี้ พบว่า หน่วยงานประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 4.76 ได้คุณภาพระดับ ดีมาก ส่วนผลการ ประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 4.42 ได้คุณภาพระดับดี คณะกรรมการประเมินฯ มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนินงาน ในองค์ประกอบที่ 2 ภารกิจหลัก สรุปได้ดังนี้

10


จุดแข็ง 1. ผู้บริหารส่งเสริมและสนับสนุน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิ บัติงาน ซึ่งทาให้บุคลากรทุก ระดับ และทุกฝ่ายสามารถพัฒนาศักยภาพทางด้านเทคโนโลยี แนวทางเสริม 1. ควรมีการผลักดันให้การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศครอบคลุมในทุกส่วนงานภายในวิทยาเขต จุดที่ควรพัฒนา 1. ความครอบคลุมของการสารวจความต้องการของผู้รับบริการยังไม่ครบถ้วน 2. ควรมีการแต่งตั้งคณะทางานเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการ รวมทั้งดาเนินการติดตาม และประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากรและนิสิตต่อการให้บริการของสานักงานฯ เป็นการเฉพาะ 3. การจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการให้บริการของสานักงานฯ ให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรดาเนินการสารวจความต้องการจากผู้รับบริการในทุกกลุ่ม ทั้งกลุ่มคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ กลุ่ม นักศึกษา และอาจหมายรวมถึงกลุ่มบุคคลภายนอกที่มาติดต่อ 2. ควรมี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะท างานเพื่ อ การก าหนดแนวทางและพั ฒ นาการให้ บ ริ ก ารในด้ า นต่ า งๆ อย่างรอบด้าน 3. การจัดทาแผนการพัฒนาการให้บริการ ควรระบุกิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ ให้ชัดเจน 4. ควรมีการจัดทารายงานการติดตามผลการดาเนินงานอย่างชัดเจน โดยระบุ ความก้าวหน้ าของ กิจกรรม การเบิกจ่ายงบประมาณ ปัญหาและอุปสรรค เป็นต้น 5. ควรพิจารณาประเมินผลความพึงพอใจในแต่ละด้าน (ครบทั้ง 4 ด้าน) ที่กาหนดไว้ให้ครบถ้วน ทั้งใน ภาพรวมและแต่ละโครงการเพื่อใช้ในการกาหนดแผนการพัฒนาปรับปรุงต่อไป แนวปฏิบัติที่ดี ข้อสังเกต องค์ประกอบที่ 3 การบริหารและการจัดการ การประเมินผลการดาเนินงานภาพรวมของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา องค์ประกอบที่ 3 การบริหาร และการจัดการ จานวน 5 ตัวบ่งชี้ พบว่า หน่วยงานประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 5.00 ได้คุณภาพระดับดีมาก ส่วนผลการประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 4.60 ได้คุณภาพระดับดีมาก คณะกรรมการประเมินฯ มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนินงาน ในองค์ประกอบที่ 3 การบริหารและจัดการ สรุปได้ดังนี้ 11


จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา 1. การประเมินไม่ถูกต้องตามเกณฑ์ ซึ่งกาหนดให้คณะกรรมการประจาหน่วยงานประเมินตนเอง 2. การประเมินผลไม่ถูกต้องตามเกณฑ์ซึ่งกาหนดให้คณะกรรมการประจาหน่วยงานเป็นผู้ประเมินการ บริหารงานของผู้บริหาร ข้อเสนอแนะ 1. ควรกาหนดแนวทางการประเมินให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กาหนดให้คณะกรรมการประจาหน่วยงาน ประเมินตนเอง 2. ควรประเมินผลให้ถูกต้องตามเกณฑ์ซึ่งกาหนดโดยคณะกรรมการประจาหน่วยงานเป็นผู้ประเมินการ บริหารงานของผู้บริหาร แนวปฏิบัติที่ดี 1. การพัฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่อการบริห ารจัดการ รวมทั้งความต่อ เนื่องของการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อสังเกต องค์ประกอบที่ 4 การเงินและงบประมาณ การประเมินผลการดาเนินงานภาพรวมของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา องค์ประกอบที่ 4 การเงินและ งบประมาณ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ พบว่า หน่วยงานประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 5.00 ได้คุณภาพระดับดีมาก ส่วนผลการประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 5.00 ได้คุณภาพระดับดีมาก คณะกรรมการประเมินฯ มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนินงาน ในองค์ประกอบที่ 4 การเงินและงบประมาณ สรุปได้ดังนี้ จุดแข็ง 1. สานักงานวิทยาเขตมีการกาหนดนโยบายทางด้านงบประมาณและการเงิน ที่ชัดเจน โดยเฉพาะการ จัดทาแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่มีการประมาณการรายรับและรายจ่ายอย่างรอบด้านรวมทั้งมีการ กาหนดงบประมาณรายจ่าย (ร้อยละ 85 ของรายรับทั้งหมด) และงบประมาณที่จะนาเข้ าเป็นทุน สะสมของสานักงานวิทยาเขต (ร้อยละ 15 ของรายรับทั้งหมด) ที่ชัดเจนซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการ บริหารจัดการ และสร้างความมั่นคงของสถานะทางการเงิน 12


2. สานักงานวิทยาเขตมี การติดตามผลการเบิกจ่ายงบประมาณอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความครอบคลุม ของการรายงานสถานะทางการเงินในแต่ละมิติ แนวทางเสริม 1. ควรมีการกาหนดสัดส่วนของงบประมาณรายจ่ายในแต่ละหมวดให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ งบประมาณในหมวดที่สามารถคานวณรายจ่ายได้อย่างชัดเจน เช่น เงินเดือน ซึ่งสามารถใช้รายจ่าย สุทธิของปี ก่อนหน้ า มาทาการวิเคราะห์ และกาหนดสัดส่ ว นงบประมาณรายจ่ายในปีปัจจุบันได้ ชัดเจนยิ่งขึ้น (สัดส่วนจากงบประมาณรายจ่ายร้อยละ 85) ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ต่อการกาหนดกรอบ งบประมาณในหมวดค่าครุภัณฑ์ ค่าสาธารณูปโภค ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หรือค่าที่ดินและสิ่ง ปลูกสร้าง เป็นต้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นงบดาเนินการ การกาหนดสัดส่วนงบประมาณรายจ่ายแบบ แยกย่อยดังกล่าว ยังสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามและประเมินผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติการ ซึ่งสามารถสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงานของสานักงาน วิทยาเขตได้เช่นกัน 2. ในการรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ควรรายงานควบคู่กับผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติ การ จุดที่ควรพัฒนา 1. แผนกลยุทธ์ทางการเงินจะต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติจากผู้บริหารก่อนนามาใช้ในการปฏิบัติงาน 2. ไม่พบการประเมินผลการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ทางการเงิน 3. ความไม่ชัดเจนในการกาหนดสัดส่วนของงบประมาณรายจ่าย ข้อเสนอแนะ 1. แผนกลยุทธ์หรือแผนการดาเนินงานใดๆ ควรได้รับการพิจารณาจากผู้บริหารหน่วยงานก่อนที่จะมี การประกาศใช้ รวมทั้ ง ควรมี ก ารวิ เ คราะห์ แ ละสรุ ป ผลการด าเนิ น งานตามแผนกลยุ ท ธ์ ทุ ก สิ้ น ปีงบประมาณเป็นอย่างน้อย 2. ควรมี ก ารประเมิ น ผลการเบิ ก จ่ า ยงบประมาณโดยเปรี ย บเที ย บกั บ แผนที่ ก าหนดไว้ ทุ ก สิ้ น ปีงบประมาณ เพื่อประโยชน์ต่อการวิเคราะห์และปรับปรุงแผนกลยุทธ์ทางการเงิน 3. สานักงานฯ ควรกาหนดสัดส่วนของงบประมาณรายจ่ายในแต่ละส่วนให้มีความชัดเจน เพื่อประโยชน์ ต่อการบริหารการเงินและการประเมินผลการดาเนินงานตามแผน แนวปฏิบัติที่ดี ข้อสังเกต 1. ในการจัดทาเอกสารรายงานทางงบประมาณหรือรายงานทางการเงินควรมีการระบุผู้จัดทาและผู้ ตรวจสอบให้ชัดเจน เพื่อเป็นการยืนยันความเป็นทางการของเอกสาร 13


องค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การประเมินผลการดาเนินงานภาพรวมของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา องค์ประกอบที่ 5 ระบบและ กลไกการประกันคุณภาพ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ พบว่า หน่วยงานประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 5.00 ได้คุณภาพ ระดับดีมาก ส่วนผลการประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 4.00 ได้คุณภาพระดับดี คณะกรรมการประเมินฯ มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนินงาน ในองค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ สรุปได้ดังนี้ จุดแข็ง 1. บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการดาเนินการประกันคุณภาพ แนวทางเสริม 1. การรายงานผลการประเมิ น ระดั บ ฝ่ า ยควรมี ก ารให้ ข้ อ มู ล ผลการประเมิ น ฯ ของแต่ ล ะตั ว บ่ ง ชี้ ประกอบด้วย เพื่อให้หน่วยงานทราบตัวบ่งชี้ที่ต้องมีการพัฒนา จุดที่ควรพัฒนา 1. ผลการปรับปรุงการดาเนินงานยังไม่พัฒนาขึ้นในทุกตัวบ่งชี้ตามแผนกลยุทธ์ 2. การกาหนดนโยบายการประกันคุณภาพของสานักงานวิทยาเขตศรีราชายังไม่ชัดเจน 3. หลักฐานการประเมินความพึงพอใจตามอัตลักษณ์ของสานักงานวิทยาเขตไม่แสดงกรอบเวลาและ จานวนผู้ประเมินเพื่อให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานในหัวข้อ 2.1 (ของรายงานการประเมินตนเอง) สรุปผลการดาเนินงานตามภารกิจของสานักงาน และในแต่ละฝ่ายเพื่อให้เห็นผลสัมฤทธิ์ของการ ดาเนินงานในรอบปีประกอบการประเมินคุณภาพภายใน ทั้งในระดับสานักงานและระดับฝ่าย 2. ควรมีการกาหนดนโยบายการประกันคุณภาพของสานักงานวิทยาเขตศรีราชาให้เป็นลายลักษณ์ อักษรและชี้แจงให้บุคลากรในองค์กรทราบและใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ 3. ควรมีรายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจตามอัตลักษณ์ที่มีข้อมูลจานวนผู้ตอบแบบประเมิน และกรอบเวลาในการประเมิน เสนอให้ผู้บริหารพิจารณา แนวปฏิบัติที่ดี 1. มีระบบ SAR online เป็นเครื่องมือสนับสนุนระบบประกันคุณภาพภายในของสานักงานวิทยาเขต และหน่วยงานภายในวิทยาเขต สามารถเป็นต้นแบบให้กับหน่วยงานอื่นได้ ข้อสังเกต 14


องค์ประกอบที่ 6 การพัฒนาและปรับปรุงระบบดาเนินงาน การประเมินผลการดาเนินงานภาพรวมของสานักงานวิทยาเขตศรีราชา องค์ประกอบที่ 6 การพัฒนาและ ปรับปรุงระบบดาเนินงาน จานวน 1 ตัวบ่งชี้ พบว่า หน่วยงานประเมินตนเอง มีคะแนนเฉลี่ย 5.00 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก ส่วนผลการประเมินของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 4.00 อยู่ในเกณฑ์ดี คณะกรรมการประเมินฯ มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนินงาน ในองค์ประกอบที่ 6 การพัฒนาและปรับปรุงระบบดาเนินงาน สรุปได้ดังนี้ จุดแข็ง 1. มีกระบวนการดาเนินงานในการรักษามาตรฐานตามระยะเวลาที่กาหนด

แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา 1. หลักฐานการปรับปรุงกระบวนงานไม่ระบุระยะเวลาของการปรับปรุง ทาให้ไม่ทราบถึงกรอบเวลาใน การดาเนินงานที่ถูกต้อง 2. ไม่ พ บการประเมิ น ผลการปรั บ ปรุ ง และเสนอต่ อ ผู้ บ ริ ห ารเพื่ อ ให้ ข้ อ เสนอแนะในการก าหนด กระบวนการดาเนินงานในปีต่อไป ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการระบุ ร ะยะเวลาการปรั บปรุ งกระบวนงานให้ ครบทุก กระบวนงานกากับไว้ให้ ทราบถึ ง ช่วงเวลาการปรับปรุง และดาเนินงาน เพื่อสามารถใช้ในการประเมินผลการดาเนินงานได้ถูกต้อง ชัดเจน 2. ควรมีการดาเนินงานจัดทาการประเมินผลการปรับปรุงและเสนอต่อผู้บริหาร 3. ควรมีการรายงานร้อยละของผลการดาเนินงานที่รักษามาตรฐานระยะเวลาการปรับลดระยะเวลา ตามที่กาหนดในแต่ละขั้นตอนให้ผู้บริหารทราบ แนวปฏิบัติที่ดี ข้อสังเกต -

15


ภาคผนวก

16


ภาคผนวกที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานผลการดาเนินงาน ข้อมูลพื้นฐาน

หน่วย

ผลการดาเนินงาน ปี 2556 ประเมิน กรรมการ ตนเอง

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ 1 กระบวนการพัฒนาแผน

ข้อ

8

8

ค่าเฉลี่ย

4.28

4.27

3 ระดับความสาเร็จของการให้บริการที่สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้รับบริการ

ข้อ

5

4

4 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

ข้อ

5

5

5 ภาวะผู้นาของคณะกรรมการประจาหน่วยงาน และผู้บริหารทุกระดับ ของหน่วยงาน

ข้อ

7

5

6 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้

ข้อ

5

5

7 ระบบบริหารความเสี่ยง

ข้อ

6

6

8 ระบบการพัฒนาบุคลากร

ข้อ

7

7

9 จานวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะวิชาชีพที่สอดคล้อง กับการปฏิบัติงานทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ

คน

101.5

64

10 จานวนบุคลากรทั้งหมด

คน

125

69

11 จานวนบุคลากรประจาที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ) 12 จานวนบุคลากรประจาที่ลาศึกษาต่อ

คน

125

69

คน

-

-

ข้อ

7

7

ข้อ

9

8

ข้อ

5

4

องค์ประกอบที่ 2 ภารกิจหลัก 2 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ

องค์ประกอบที่ 3 การบริหารและการจัดการ

องค์ประกอบที่ 4 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 13 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 14 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน องค์ประกอบที่ 6 การพัฒนาและปรับปรุงระบบดาเนินงาน 15 ระดับความสาเร็จของการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการดาเนินงาน 17


ภาคผนวกที่ 2 ข้อมูลการสัมภาษณ์ กลุ่มที่ 1 ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จานวน 3 คน (บุคลากรภายใน 3 คน,บุคลากรภายนอก 1 คน) บุคคลภายใน (อาจารย์และนิสิต) 1. ได้รับการบริการจากสานักงานวิทยาเขตส่วนใดบ้าง - ฝ่ายการศึกษา เกี่ยวข้องกับการจัดตารางสอน และตารางสอบ ให้บริการรวดเร็วดีขึ้น - การจองห้องเรียน สะดวกมากขึ้นมีการจองผ่านระบบโดยผ่านนักวิชาการศึกษาของคณะ - การติดต่อรับเช็ค เจ้าหน้าทีใ่ ห้บริการยิ้มแย้มแจ่มใสดี - การติดต่อตามเอกสารงานธุรการ ได้รับการบริการดีในการติดตามเอกสารที่ส่งมา - มีโอกาสตอบแบบประเมินความพึงพอใจในการรับบริการซึ่งข้อคาถามมีความครบถ้วน - ความปลอดภัยภายในวิทยาเขต มีกล้ องวงจรปิด มีพนักงานรักษาความปลอดภัยประจาอาคาร ทาให้ของหายน้อยลง - ฝ่ายไอที มีเบอร์ติดต่อที่สะดวกรวดเร็ว และมาให้บริการทันตามความต้องการ - โรงอาหาร ให้บริการอาหารอร่อย ราคาเหมาะสม 2. ปัญหาที่พบและสิ่งที่อยากให้สานักงานวิทยาเขตปรับปรุง - งานบริการบางส่วนยังพบปัญหาเจ้าหน้าที่ให้บริการไม่ยิ้มแย้ม ซึง่ อาจจะเป็นช่วงเวลาที่นิสิตมาติดต่อ พร้อมกันจานวนมาก - การให้บริการรถบริการรอบวิทยาเขตมีน้อยเกินไป ไม่เพียงพอกับผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะในช่วงเวลา เร่งรีบ และอยากให้มีรถบริการรับ-ส่ง วิ่งตลอดวัน - ที่จอดรถไม่เพียงพอ - เครือข่าย WIFI มีบางช่วงบางจุดสัญญาณไม่เพียงพอ - หอพัก ไม่เพียงพอกับจานวนนิสิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี - ช่วงเวลาการใช้บริการสนามกีฬา ไม่เพียงพอโดยเฉพาะช่วงเทศกาล เช่น งานเกษตรแฟร์ - ควรมีการสอบถามนิสิตเกี่ยวกับความต้องการในการให้บริการนิสิต - ปัญหาสุนัขมีจานวนมากเกินไป บุคคลภายนอก (ผู้แทนจากเทศบาล) 1. ได้รับการบริการจากสานักงานวิทยาเขตส่วนใดบ้าง - การขอสนับสนุนการบริการทางวิชาการให้กับชุมชน - การขอความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมของเทศบาล - การขอรับโควต้าการเข้าศึกษาต่อสาหรับเด็กในชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัย - การมีสถานศึกษาในเขตเทศบาลสามารถสร้างชื่อเสียงให้เทศบาล และสามารถสร้างรายได้ให้กับคน ในชุมชน เช่น ร้านอาหารใกล้มหาวิทยาลัย - เทศบาลให้งบประมาณสนับสนุนเกี่ยวกับกิจกรรมวิชาการอย่างต่อเนื่อง 18


2. ปัญหาที่พบและสิ่งที่อยากให้สานักงานวิทยาเขตปรับปรุง - ปัจจุบันทางเทศบาลได้รับโควต้าจานวนเด็กเข้าเรียนที่วิทยาเขต ประมาณ 20 คน ซึ่งอาจจะน้อยไป ไม่ทั่วถึง จึงอยากให้วิทยาเขตเพิ่มจานวนโควต้าซึ่งเทศบาลพร้อมสนับสนุน กลุ่มที่ 2 บุคลากรข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง จานวน 3 คน - การปรับปรุงระบบงานโดยการสร้างระบบออนไลน์มารองรับเพิ่มขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงการปะทะระหว่าง ผู้รับบริการและผู้ให้บริการ - มีการประชุมติดตามแผนของแต่ละฝ่ายอยู่เสมอ และเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสานักงานฯ และนาผลการประเมินเพื่อถ่ายทอดต่อบุคลากรในฝ่าย เสนอการปรับปรุงแก้ไขต่อไป - การกาหนดระยะเวลาที่แน่นอนในการดาเนินการแต่ละเรื่องที่ชัดเจน และมีการติดตามประสานงาน ให้เสร็จทันตามกาหนดเวลา เช่น การพิจารณาวินัยนิสิต จะมีการตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งจะมี กาหนดระยะเวลาที่ชัดเจน และสามารถดาเนินการได้ทันตามกาหนด เพื่อรักษาผลประโยชน์ให้กับ นิสิต - การบริหารของผู้บริหารจะเปิดโอกาสให้เสนอความคิดเห็นโดยมีทางเลือกและการวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารนาไปตัดสินใจ - มีการปรับปรุงห้องฝ่ายการศึกษา โดยปรับปรุงห้องให้เป็นสัดส่วน ดูแลสอดส่องการแต่งกายของนิสิต ได้ง่าย และสะดวกต่อผู้มาขอรับบริการมากขึ้น กลุ่มที่ 3 ผู้อานวยการ / หัวหน้าฝ่าย จานวน 3 คน - มีการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานบริการอยู่สม่าเสมอ เช่น งานหอพัก จะมีแบบประเมินความต้องการ ร้านค้าในหอพักและงานบริการเพิ่ มจากนิสิต ซึ่งปีที่ผ่านมาได้ สรุปความต้องการร้านค้าเพิ่ม ได้แก่ ร้านเช่าหนังสือ - แบบประเมินความพึงพอใจงานบริการหอพัก จะเก็บข้อมูลสองช่วง คือ ช่วงก่อนปิดภาคเรียน และ ช่วงรอบการประกันคุณภาพ - งานซ่อมบารุงไม่สามารถจัดทาแผนซ่อมบารุงล่วงหน้าได้สาเร็จ เนื่องจากมีข้อจากัดเกี่ยวกับเวลาใน การเข้าปฏิบัติงาน - งานบริการไปรษณีย์ จะมีระบบการคีย์เข้าโปรแกรมและรูปแบบกระดาษ ซึ่งนิสิตสามารถตรวจเช็ค สถานะจากระบบออนไลน์ พบว่า นิสิ ตมีความพึงพอใจมากขึ้น เนื่องจากจานวนของหายลดลง มีความเป็นระบบมากขึ้น - คู่มือการประเมินคุณภาพภายในหากจะมีการปรับปรุง ควรจะได้รับตั้งแต่ ต้นปีการศึกษา เพื่อจะได้ เก็บข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด

19


ภาคผนวกที่ 3 ภาพกิจกรรม

คณะกรรมการประเมินฯ พบผู้บริหารสานักงาน วิทยาเขต

คณะกรรมการประเมินฯ พบผู้บริหารสานักงาน วิทยาเขต

ผู้บริหารสานักงานวิทยาเขตฯ รายงานผลการ ดาเนินงาน

คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ์กลุ่มผู้รับบริการ

คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ์กลุ่มหัวหน้าฝ่าย

คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ์กลุ่มบุคลากร

20


คณะกรรมการประเมินฯ ตรวจเยี่ยมฝ่ายบริหาร

คณะกรรมการประเมินฯ ตรวจเยี่ยมฝ่ายการศึกษา

คณะกรรมการประเมินฯ ตรวจเยี่ยมฝ่ายกิจการนิสิต

คณะกรรมการประเมินฯ ตรวจเยี่ยมฝ่ายทรัพย์สินฯ

คณะกรรมการประเมินฯ รายงานผลการประเมินฯ ต่อผู้บริหาร และบุคลากรสานักงานวิทยาเขตฯ

21


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.