เทียบท่าหน้าตึก 6 ฉบับที่ 3 กพ มีค 58

Page 1

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เทียบท่าหน้าตึก 6 ข่าวและการรายงานความก้าวหน้าของงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ศูนย์บรรณสารสนเทศทางการศึกษา ศูนย์ประสบการณ์วิชาชีพทางการศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม ตาราและเอกสารทางวิชาการ

ฉบับที่ 3 เดือน กุมภาพันธ์ – มีนาคม พ.ศ. 2558

ทีมงาน รองศาสตราจารย์ ดร.เนาวนิตย์ สงคราม ที่ปรึกษา/ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.จินตวีร์ คล้ายสังข์ ผู้รายงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณี หงษ์ศิริวัฒน์ ผู้รายงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สันติ ศรีประเสริฐ ผู้รายงาน อาจารย์ ดร. ปราณภา โหมดหิรัญ ผู้รายงาน อาจารย์ ดร. รุ่งระวี สมะวรรธนะ ผู้รายงาน อาจารย์ ดร.ฉัตรวรรณ์ ลัญฉวรรธนะกร ผู้รายงาน อาจารย์ ดร. บุษกร เลิศวีระศิริกุล ผู้รายงาน หมายเหตุ: เอกสารนีม้ ิใช่เอกสารทางราชการ และการออกเอกสารจะดาเนินการทุก 2 เดือน


ครงการประชุมปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาทักษะความเป็นครูมืออาชีพ

โครงการประชุมปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาทักษะความเป็นครูมืออาชีพ ภายใต้ความ ร่วมมือระหว่างโครงการ สควค. ศูนย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) วันเสาร์ที่ 25 และวันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2558 ณ ห้องประชุม 2 และ 3 ชั้น 2 อาคารพระมิ่งขวัญการศึกษาไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีสาระสาคัญในแต่ละมิติดังนี้ มิติที่ 1 การพัฒนาทักษะการวิจัยสาหรับวิชาชีพครู (รศ.ดร.สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Research) เป็นกระบวนการหนึ่งที่สาคัญมากใน การพัฒนาการเรียนการสอนของครู และเป็นกลยุทธ์ที่ช่วยพัฒนาวิชาชีพ เพราะทาให้ครูได้ องค์ความรู้ใหม่ในการสอน เข้าใจตนเองในฐานะผู้สอนมากขึ้น เกิดความชัดเจนในความเชื่อ เกี่ยวกับการสอนของตนเอง พัฒนาความรู้ในเนื้อหา ความรู้ในการสอน และความรู้ในเนื้อหา ผนวกวิธีสอน ส่งเสริมการทางานร่วมกันระหว่างครูและเพื่ อนครู ส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพ และพัฒนาทักษะการทาวิจัยของครู การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการเปลี่ยนแปลงบทบาทของครู ให้เป็น “ครูผู้วิจัย” ที่มีความเชี่ยวชาญในการวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอนและ แก้ปัญหาและผลงานวิจัยจะนามาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ในด้านหลักการหรือทฤษฎีทางด้านการ เรียนการสอน ซึ่งมีความจาเป็นและสาคัญอย่างยิ่งในการจัดการศึกษาทั้งระดับประถมศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา มิติที่ 2 การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสาหรับวิชาชีพครู (รศ.ดร.จินตวีร์ คล้ายสังข์) การน าเอาเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ ป ระโยชน์ ใ นวงการศึ ก ษามี ป ริ ม าณที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เนื่องจากการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่า งๆ เทคโนโลยี จึ ง มี ค วามจ าเป็ น ในหลายด้ า น อาทิ 1) ด้ า นการเรี ย นการสอน ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น มาตรฐานที่ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย 2) ด้าน กระบวนการเรียนรู้ เป็นมาตรฐานที่เน้นตัวผู้เรียนเป็นเป้าหมาย มีสาระสาคัญประกอบด้วย ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรูปแบบที่หลากหลาย ใน แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามความสนใจ มีทักษะการใช้และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่าง มีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 3) ด้านทรัพยากรการ เรียนรู้ ซึ่งจะเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนได้กาหนดให้มีเว็บไซต์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการ สอนให้กับผู้เรียน จัดการแหล่งการเรียนรู้ รวบรวมสื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอน ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเป็นระบบ จัดเป็นคลังแหล่งเรียนรู้ มิติที่ 3 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้สาหรับวิชาชีพครู (ผศ.ดร.อลิศรา ชูชาติ) ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการ จัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกใน ศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 19 และ 20 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญ ที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็นในศตวรรษที่ 21 มิติที่ 4 มิติการพัฒนาทักษะชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (ผศ.ดร.สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล) การพัฒนาสมรรถนะให้เป็นครูดี ครูเก่ง มีคุณภาพ การสร้าง ความเข้มแข็งของสมรรถนะด้านการจัดการเรียนการสอนในบริบทที่หลากหลาย โดยใช้ 2

โครงการประชุ ม ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง การพั ฒ นาทั ก ษะความ เป็ น ครู มื อ อาชี พ ภายใต้ ค วาม ร่วมมือระหว่างโครงการ สควค. ศูนย์จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอน วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สสวท.) มุ่ ง เน้ น การพั ฒ นา อาจารย์ผู้สอนจากสถาบันการ ผลิ ต ครู ที่ มี โ ครงการ สควค. คณาจารย์ผู้สอนรายวิชาต่างๆ ใ น ส า ข า วิ ช า ก า ร ศึ ก ษ า วิ ท ยาศาสตร์ และสาขาวิ ช า การศึ ก ษาคณิ ต ศาสตร์ ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ฯ ส ค ว ค . ศู น ย์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ผู้ แ ทนจาก สสวท. และนิ สิ ต ช่วยงาน โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ใน 4 มิติ ประกอบด้วย มิติที่ 1 ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร วิ จั ย สาหรับวิชาชีพครู มิติที่ 2 การ พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี สาหรับวิชาชีพครู มิติที่ 3 การ พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ สาหรับวิชาชี พครู และมิติที่ 4 มิติการพัฒนาทักษะชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพครู


กระบวนการสร้างระบบการชี้แนะ (Coaching) และการเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) เพื่อ ส่งเสริมจิตวิญญาณและอุดมการณ์ของความเป็นครู และการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถด้าน Literacy, Numeracy และ Reasoning Ability ตามแนวทางของการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อรุณี: รายงาน

วามคืบหน้าการดาเนินการด้านหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.)

ด้วยทางสานักบริหารวิชาการ ได้แจ้งให้ทุกคณะจัดทาประมวลรายวิชาใน CUCAS ให้ครบกับรายวิชาที่เปิดสอนในภาค ต้นและภาคปลายปีการศึกษา 2557 เพื่อรองรับการเข้ามาตรวจสอบมาตรฐานของคุณภาพหลักสูตรที่เปิดใช้ในปีการศึกษา 2557 นั้น ทางงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนได้ดาเนินการตามนโยบายของสานักบริหารวิชาการแล้วดังนี้ 1. แจ้งให้คณาจารย์ทุกท่านในคณะให้ดาเนินการจัดทาประมวลรายวิชาและการประเมินผลรายวิชาทุกรายวิชาที่เปิด สอนในภาคต้นและภาคปลายปีการศึกษา 2557 เนื่องจากประมวลรายวิชาจะเป็นการตอบองค์ประกอบของมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ที่ 4-6 (มคอ.4-6) ทั้งนี้สานักงานบริหารวิชาการ ได้เปิดระบบCUCASเพื่อให้สามารถจัดทาประมวล รายวิชาและประเมินรายวิชาที่ยังไม่แล้วเสร็จของทั้งภาคต้นและภาคปลาย ปีการศึกษา 2557 ในวันที่ 31 มีนาคม 2558 โดยท่าน อาจารย์จัดทาประมวลรายวิชาเรียบร้อยแล้วเมื่อกดยืนยัน (approved) บนระบบ CUCAS ระบบจะส่ง email ไปให้นิสิตที่ ลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นๆ ทาการประเมินในระบบ 2. ดาเนินการแจ้งคณาจารย์ให้ตรวจสอบแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่ รายวิชา (Curriculum Mapping) ให้สอดคล้องกันระหว่าง องค์ประกอบของมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ที่ 2 กับ การจัดทาประมวลรายวิชาในระบบ CUCAS ให้สอดคล้องกัน และจัดทาคู่มือตรวจสอบแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบฯ โดยคณาจารย์สามารถแจ้งความประสงค์ขอนิสิตช่วยดาเนินการตรวจสอบแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบฯ ของแต่ละ สาขาวิชา 3. ดาเนินการจัดทารายงานมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.7) โดยงานหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนได้ดาเนินงานขั้นตอนตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้น และประชุมแจ้งทุกหลักสูตรให้เตรียมเก็บข้อมูลของหลักสูตรตามหัวข้อใน แบบฟอร์มเพื่อรองรับการจัดทาระบบมคอ.7 ของสานักบริหารวิชาการ 4. แจ้งทุกสาขาวิชาให้ดาเนินการทวนสอบของภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2557 โดยสามารถดาวน์โหลด แบบฟอร์มข้อมูลการทวนสอบ (เอกสารหมายเลข 1) แบบฟอร์ม มคอ 7 (เอกสารหมายเลข 2) รวมทั้งตัวอย่างมคอ.7 (เอกสาร หมายเลข 3) ได้ที่ www.edu.chula.ac.th/academic รุ่งระวี: รายงาน

3


วามคืบหน้าการดาเนินการรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 (ปช.1) ของนิสิตชั้นปีที่ 2 (รหัส 57 )

การดาเนินการ รายวิชาประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 (ปช.1) เป็นรายวิชา ที่จัดขึ้นเพื่อให้นิสิตชั้นปีที่ 2 รหัส 57 ได้มีประสบการณ์ทางวิชาชีพระหว่าง เรียน ซึ่งเป็นข้อกาหนดของครุสภา โดยงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการ สอนร่วมกับ ศูนย์ประสบการณ์ทางวิชาชีพ โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม และมัธยม ได้ดาเนินงานร่วมกันด้านการเตรียมความพร้อม การออกแบบการ จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนและการวั ด การประเมิ น ในรายวิ ช าโดย ดาเนินการประชุมอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2557 เพื่อสรุปแนวทางและการดาเนินการโดยมีคณบดีและ คณาจารย์จากโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถมและมัธยมให้ความร่วมมือ อย่างดียิ่ง โดยรายวิชาดังกล่าวจะมีนิสิตที่ลงทะเบียนประมาณ 370 คน ซึ่งจะ เปิดให้นิสิตลงทะเบียนเรียนได้ทั้ งภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 โดยทางงาน หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนได้แบ่งการลงทะเบียนดังกล่าวให้กับ นิสิตโดยพิจารณาตามความเหมาะสม

1.ประชุมแนวทางการจัดดาเนินการในรายวิชา ปช. 1 และ 2 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานรายวิชา ปช. 1 และ ปช. 2 3. ประชุมเตรียมความพร้อมอาจารย์ประจาตอน เรียน ซึ่งจะจัดขึ้นภายในเดือนมีนาคม 2558 นี้ 4. จัดทาหนังสือแจ้งอาจารย์ที่ปรึกษานิสิต รหัส 57 ทีต่ ้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ปช. 1 ใน ปีการศึกษา 2558 และประชุมนิสิตเพื่อชี้แจง รายวิชา นี้กับนิสิตกลุ่มดังกล่าวเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2558 เวลา 12.00-13.00 น. ห้อง 101 อาคาร 3 รุ่งระวี: รายงาน

ารจัดทาหลักสูตรปริญญาบัณฑิต 2 ปริญญา (Double Degree)

ตามที่งานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนกาหนดแผนพัฒนาวิชาการ คณะครุศาสตร์ ปี 58-60 โดยได้กาหนด เป้าหมายทางวิชาการซึ่งเป็นเป้าหมายที่ 1 ของมหาวิทยาลัย คือ “มุ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนชั้นนาของโลก ได้รับ การยอมรับว่ามีหลักสูตรที่โดดเด่นทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของสังคมระดับประเทศ และระดับภูมิภาค (Outstanding World Class Curriculum)” ดังนั้น เพื่อเป็นการสอดรับกับนโยบายของมหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์จึงได้กาหนดเป้าหมายทางวิชาการของคณะครุศาสตร์ให้สอดคล้องกับมหาวิทยาลัยคือ การมีหลักสูตรที่โดดเด่น ทัน สมั ย ตอบสนองความต้อ งการของสั ง คมระดับ ประเทศ ระดับ ภูมิ ภาค และระดั บ โลก โดยระบุ ไว้ ในรายละเอี ย ด ว่ า จะ ดาเนินการจัดทาหลักสูตรสองปริญญาที่ได้รับวุฒิการศึกษาสองวุฒิทั้งจากสถาบันในประเทศไทยด้วยกันหรือสถาบันต่างประเทศทั้ง ในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ได้แก่ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย (วท.บ.) และ ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (ค.บ.) ในการนี้งานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนได้ ดาเนินการจัดทาหลักสูตรปริญญาบัณฑิต 2 ปริญญา หรือ Double Degree ซึ่งในขณะนี้งานหลักสูตรและการเรียนการสอนกาลัง ดาเนินการเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดดาเนินการหลักสูตรดังกล่าว โดยมีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้ 1. ดาเนินการศึกษาระเบียบการดาเนินการจัดทาหลักสูตร Double degree ของ สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) และสภามหาวิทยาลัย รวมทั้ง ตัวอย่างหลักสูตร Double degree จากมหาวิทยาลัยต่างๆทั้งในและ ต่างประเทศ 4


2. ประชุมหารือเรื่องโครงสร้างหลักสูตรระหว่างคณะครุศาสตร์และวิทยาศาสตร์การกีฬาโดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิภาวดี ลี้มิ่งสวัสดิ์ (รองคณบดี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา) รองศาสตราจารย์ ดร.เนาวนิตย์ สงคราม (รองคณบดี คณะครุศาสตร์) และ อาจารย์ ดร. รุ่งระวี สมะวรรธนะ(ผู้ช่วยคณบดี) รวมทั้งบุคลากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้งสองคณะร่วมหารือเพื่อดาเนินการ จัดทาหลักสูตรร่วมกัน รุ่งระวี: รายงาน

ครงการอบรมการเขียนบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ์

งานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนร่วมกับ ศูนย์ส่งเสริมพัฒนานวัตกรรม ตาราและเอกสารทางวิชาการ จะจัด รายการบรรยายเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมสาหรับการเสนอบทความวิชาการ ซึ่งสามารถพัฒนามาจาก งานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ที่ยังไม่เสร็จสิ้นกระบวนการ ในการนี้ทางศูนย์ฯได้เรียนเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร. นงลักษณ์ วิรัชชัย เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ์” ในวันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2558 เวลา 08.30 – 12.00 ณ ห้อง 101 อาคารประชุมสุขอาชวอารุง จึงขอประชาสัมพันธ์เรียนเชิญคณาจารย์ที่ปรึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา และนิสิตระดับบัณ ฑิตศึกษาเข้าฟังบรรยาย เพื่อนาไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ใน วารสารทางวิชาการต่อไป ปราณภา: รายงาน โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตในการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติให้ลงในฐานข้อมูล Scopus/ISI” งานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนร่วมกับศูนย์ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม ตาราและเอกสารทางวิชาการ จะจัด อบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพนิสิตในการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติให้ลงในฐานข้อมูล Scopus/ISI” โดยกาหนดคุณสมบัติผู้เข้าอบรมได้แก่ 1. เป็นนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา 2. วิทยานิพนธ์อยู่ในขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือกาลังเขียนรายงานการวิจัยและมีข้อมูลเพียงพอต่อการ เขียนบทความวิจัย กาหนดการ 1. ส่ ง ร่ า งบทความวิ จั ย ได้ ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษตามรู ป แบบวารสารครุ ศ าสตร์ ดาวน์ โ หลดได้ ที่ www.edu.chula.ac.th/academic เมนูแบบฟอร์ม --> ระดับบัณฑิตศึกษา --> ร่างบทความวิจัยภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ 2. ส่งบทความวิจัยภายในวันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน 2558 เวลา 12.00 น. ที่คุณวารุณี วิเชตชาติ งานหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอน ชั้น 1 อาคาร 6 3. ประกาศผลผู้ได้เข้าร่วมโครงการ วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2558 เวลา 16.00 น. ณ ป้ายประกาศด้านข้างอาคาร 6 4. อบรมเชิงปฏิบัติการ รุน่ ที่ 1 วันที่ 27-28 เมษายน 2558 รุน่ ที่ 2 วันที่ 29-30 เมษายน 2558 รุ่นละ 20 คน (บทความวิจัยภาษาไทย 10 คน และบทความวิจัยภาษาอังกฤษ 10 คน) สอบถามข้อมูลได้ที่คุณวารุณี วิเชตชาติ โทรศัพท์ 0-2218-2681-2 ต่อ 609 รับจานวนจากัด และไม่เสียค่าใช้จ่าย รุ่งระวี: รายงาน

5


ารดาเนินงานเกี่ยวกับ IT for Academic Affair

ตามที่ฝ่ายงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนมีแนวทางในการดาเนินงานทางด้านระบบ IT ที่จะนามาเสริมการ ทางานเพื่อ อานวยความสะดวกให้ กับ ทุกฝ่ า ยที่เกี่ ยวข้ อง ในภาคการศึก ษาปลาย 2557 ได้ มีก ารน าระบบสารสนเทศเพื่ อ กลั่นกรองวิทยานิพนธ์ มาใช้ในการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองโครงร่างวิทยานิพนธ์ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 โดยระบบฯ จะเอื้อให้ คณะกรรมการพิจ ารณากลั่นกรองตรวจสอบหัวข้อวิทยาพนธ์ รวมถึง รายชื่ อ คณะกรรมการวิ ท ยานิ พ นธ์ ไฟล์ แ นบโครงร่ า งวิ ท ยานิ พ นธ์ และสามารถเรี ย กดู หั ว ข้ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ ย้ อ นหลั ง เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ประกอบการพิจารณาได้ ระบบฯ ดังกล่าวเอื้อประโยชน์ให้คณะกรรมการฯ สามารถเรียกดูข้อมูลต่างๆ ล่วงหน้าได้จากที่ไหน เวลา ใดก็ได้ อันจะส่งผลให้สามารถลดระยะเวลาการพิจารณา และสามารถพิจารณาหัวข้อฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ในระยะที่ 2 ของดาเนินงานทางด้านระบบ IT สาหรับคณะกรรมการกลั่นกรองโครงร่างวิทยานิพนธ์ นั้น ทางฝ่าย งานหลักสูตรฯ ได้เริ่มดาเนินการรวบรวมและจัดทาระบบสืบค้นศัพทานุกรมในสาขาวิชาครุศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์ เพื่อเอื้อต่อการ พิจารณาหัวข้อวิทยานิพนธ์ให้มีประสิทธิภาพต่อไป

ภาพที่ 1 ภาพหน้าจอหลักของระบบฯ

ภาพที่ 2 ภาพหน้าจอสืบค้นข้อมูลวิทยานิพนธ์

ภาพที่ 3 ภาพบรรยากาศการประชุม คณะกรรมการกลั่นกรองฯ โดยใช้ระบบ IT

ภาพที่ 4 ภาพบรรยากาศการประชุม คณะกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาหัวข้อด้วยระบบ IT จินตวีร์: รายงาน

6


ารดาเนินงานศูนย์บรรณสารสนเทศทางการศึกษา

ความก้าวหน้าการดาเนินงานศูนย์บรรณสารสนเทศทางการศึกษา ตลาดนัดหนังสือ Book Fair ศูนย์บรรณสารสนเทศทางการศึกษาจัด ตลาดนัดหนังสือเมื่อวันที่ 19-20 มีนาคม 2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ คณาจารย์ นิสิต และบุคลากรได้คัดเลือกหนังสือจากสานักพิมพ์ชั้นนาที่นามาจัดแสดงเพื่อคัดเลือกหนังสือที่เหมาะสมทาง การศึกษาเข้าศูนย์บรรณสารสนเทศทางการศึกษาและซื้อหนังสือในราคาพิเศษ ภายในงานนอกจากจะมีการออกร้าน หนังสือทางการศึกษาสาหรับคณาจารย์และนิสิตแล้วยังมีงานเสวนาหนังสือในดวงใจเพื่อการศึกษาไทยในทศวรรษหน้าโดย วิทยากรผู้มีประสบการณ์ร่วมเสวนา

บุษกร: รายงาน

ารดาเนินงานของศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1.การนาเสนอปริญญานิพนธ์นิสิต งานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดงานนาเสนอปริญญานิพนธ์ ของนิสิตชั้นปีที่ 5 โปรแกรมเกียรตินิยม เมื่อวันจันทร์ที่ 16 มีนาคม 2558 ณ ห้อง 401 อาคาร 3 เวลา 13.00 - 17.00 น. โดยมี หัวข้อปริญญานิพนธ์ที่ได้นาเสนอมีรายละเอียดดังนี้ 7


หัวข้อปริญญานิพนธ์ นิสิตผู้นาเสนอ สาขาวิชา 1.แนวทางของผู้ปกครองในการสนับสนุนการเล่นที่ นางสาวสุพัชรา พงษ์ยี่หวา การศึกษาปฐมวัย เป็นสุขผ่านการ์ตูนยอดมนุษย์สาหรับเด็กอนุบาล 2.การพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิง นางสาวณิชาพร เจริญวานิชกูร มัธยมศึกษา (คณิตศาสตร์) สัดส่วนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัด กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดโมเดล เมธอดและวิธี 5 STEP 3. การนาเสนอแนวทางการทากิจกรรมศิลปะสาหรับ นางสาวสิรินดา ฉัตรชัยชูเกียรติ ศิลปศึกษา ครอบครัว 4. การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบของบทเพลงที่มีผลต่อ นายณภัค ภักดีสถิตย์วรา ดนตรีศึกษา เชาวน์ปัญญา 5. การพัฒนาแอพพลิเคชั่นเครื่องตั้งเสียงดนตรีไทย นายทนงศักดิ์ ฟองแพร่ ดนตรีศึกษา บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยเพื่อการศึกษาดนตรีไทย ในอนาคต 6. การพัฒนาแบบฝึกหัดเพลงไล่สาหรับทักษะการ นางสาวพิชญาภา มานะวิริยภาพ ดนตรีศึกษา บรรเลงซอด้วงขั้นสูงในหน้าทับปรบไก่สามชั้น ในการนาเสนอครั้งนี้ได้รับเกรียติจากท่านคณบดี คณาจารย์ที่ปรึกษา คณาจารย์คณะรวมทั้งนิสิตสนใจเข้าร่วมฟังการ นาเสนอดังกล่าว

8


2. โครงการเสวนา “เส้นทางชีวิตครูนิสิตมืออาชีพ” งานหลักสูตรและการจั ดการเรียนการสอน ร่วมกับ ศูนย์ประสบการณ์ทางวิชาชีพ ดาเนินการจัดงานเสวนาและการ แสดงนิทรรศการ หัวข้อ“เส้นทางชีวิตครูนิสิตมืออาชีพ” ซึ่งจัดขึ้นในวันอังคารที่ 17 มีนาคม 2558 ณ โถงชั้น 1 อาคารพระมิ่งขวัญ การศึกษาไทย ระหว่างเวลา 9.00-12.00 น. เป็นการเสวนา ในหัวข้อ “เส้นทางชีวิตครูนิสิตมืออาชีพ” โดย ผู้แทนนิสิตชั้นปีที่ 5 ที่ ได้รับรางวัลนิสิตฝึกปฏิบัติการสอนดีเด่นและนิสิตผู้ผลิตสื่อดีเด่น และเวลา 11.15 – 12.15 น. เป็นการนาเสนอมุมมองและ ประสบการณ์การดูแลนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ในหัวข้อ “ก้าวสู่รั้วโรงเรียนอย่างครูมืออาชีพ”โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง อาจารย์ผู้ได้รางวัลคณาจารย์แห่งชาติทางครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ของสภาคณบดีคณะ ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย ประจาปี 2557 และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อลิศรา ชูชาติ อาจารย์ผู้ได้รับรางวัล อาจารย์ดีเด่น ประเภทความเป็นครู จากคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ เนื่องในวันครู ปี 2558 ในการเสวนาและการแสดงนิทรรศการใน ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ความสามารถทางวิชาการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนางานวิจัย นวัตกรรม และสื่อการเรียนการสอนของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะครุศาสตร์ ให้เป็นที่ยอมรับ รวมถึงการผลิตหนังสือแนว ปฏิบัติที่เป็นเลิศในการปฏิบัติการสอนสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูจากการถอดบทเรียนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของ นิสิตฝึกสอนดีเด่นนิสิตคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้นิสิตทุ กชั้นปี และอาจารย์นิเทศก์ที่สนใจได้เข้าร่วม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ฉัตรวรรณ์: รายงาน 9


ารดาเนินงานศูนย์ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม ตาราฯ

การจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ เรื่อง “เขียนผลงานวิชาการอย่างไรให้ สาเร็จ” งานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม ตาราและเอกสารทางวิชาการ โรงเรียน สาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม จะจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการจัดเรียนการสอนที่มี คุณภาพจากผลิตผลทางวิชาการของคณาจารย์ที่มีคุณภาพสูงและได้มาตรฐาน นอกจากนั้นยังเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ตาแหน่งวิชาการ โดยจะจัดในหัวข้อ “เขียนผลงานวิชาการอย่างไรให้สาเร็จ ” ให้แก่คณาจารย์ในคณะและโรงเรียนสาธิตจุฬาฯทั้ง สองแห่ง ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้คณาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถพัฒนาการเขียนผลงานวิชาการให้มีความเหมาะสม ถูกต้อง โดยนาความรู้ ความเข้าใจ เกิดแนวคิดแนวทางที่จะพัฒนาผลงานวิชาการให้มีคุณภาพ มีมาตรฐานถูกต้องตามหลักเกณฑ์ การเสนอขอผลงานวิชาการ และได้รับการจัดพิมพ์และเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการ โดยจะจัดโครงการดังกล่าวในวันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม 2558 นี้ ณ โรงแรมตะวันนา กรุงเทพ เวลา 8.00-17.00 โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเขียนตาราและหนังสือจาก สานักพิมพ์แห่งจุฬาฯและคณาจารย์ผู้มีประสบการณ์ชั้น สูงเป็นวิทยากร คณาจารย์ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดหรือสมัคร เข้าร่วมได้ที่ 0-2218-2604 ต่อ 128 ภายในวันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2558 รับจานวนจากัดและไม่เสียค่าใช้จ่าย ปราณภา: รายงาน

10


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.