ฉบับ 363

Page 2

2

ข่าวต่อ

หอการค้า ปีท่ี 32 ฉบับที่ 363 วันที่ 1-31 ตุลาคม 2555

ช�ำแหละ2บิก๊ โปรเจ็กต์ขนส่งโคราช

เอกชน-ท้องถิน ่ จีท้ บทวน‘สกายบัส-มอเตอร์เวย์’ “มอเตอร์เวย์-รถไฟรางคู-่ รถไฟความเร็วสูงและ ฯลฯ กันคนภาคอีสาน”

สารพัดโปรเจ็ก ที่ต้องใฃ้เงินลงทุนมหาศาล นับหมื่นนับแสน ล้านบาท จนถูกเรียกว่าเป็นโครงการลงทุนขนาดใหญ่ (Mega Project) ถูกน�ำมาปัดฝุ่นโดยกระทรวงคมนาคมภายใต้การน�ำทางของ รัฐบาลนายก ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โดยยังไม่มีความชัดเจนว่าจะเริ่ม ลงมือเมื่อไหร่ ด้วยวิธีการอย่างไรและจะเสร็จสิ้นเมื่อใด ทั้งโคราช รถไฟฟ้ารางคู่ รถไฟความเร็วสูง มอเตอร์เวย์ (จากบางปะอิน-โคราช) เพื่อเชื่อมโยงสู่ภาคอีสานและกลุ่มประเทศอินโดจีนเป็นการรองรับ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างภูมิภาค (AEC) อีก 2 ปีข้างหน้า มองดูอย่างสายตาชาวบ้าน ผู้เชื่อมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยแบบไทยแลนด์ ก็ไม่น่าจะมีใครคัดค้านเพราะเป็นการ สร้างงานกระจายเงิน น�ำความสะดวกสบายมาสู่ผู้ใช้ถนน ใช้การ ขนส่งเดินทางที่รวดเร็วขึ้นปลอดภัยขึ้น ซึ่งประเทศอารยะที่ไหนเขา ก็ปฏิบัติกัน แต่สำ� คัญประเทศไทยเรามีความแตกต่างตากบ้านอืน่ เมืองไกล ในต่างแระเทศเขาอยู่นิดเดียว คือ โปรเจ็กทั้งหลายมันอุดมไปด้วย ชิน้ ปลามัน ทีผ่ เู้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย จ้องทีจ่ ะเข้าไปแสวงหาและกอบโกย ผลประโยชน์ จากการด�ำเนินงานทุกขั้นตอน จนหลายโครงการต้อง เก็บเข้าตู้ หรือโยนลงตะกร้าไปผู้ที่เสียผลประโยชน์ก็คือประชาชนผู้ เสียภาษีที่ต้องก้มหน้ารับผลกรรมของการเป็นหนี้ เงินกู้จ�ำนวน มหาศาลทีฝ่ า่ ยการเมือง (รัฐบาล) ได้สร้างไว้ และแย่งชิงผลประโยชน์ กันได้ทั่วหน้า สิ่งที่ต้องพูดกันวันนี้ ไม่ใช่เพียงถกเถียงกันแค่ว่าจุดลงของ มอเตอร์เวย์ จะลงตรงไหนที่โคราช หรือจะสร้างรถไฟ รางคู่ หรือ รถไฟความเร็วสูงหรือจะขยายถนนมิตรภาพเป็น 12-20 เลน หรือ เทศบาลนครคิดเท่ๆ ว่า อยากจะสร้างทางวิง่ รถบัสลอยฟ้าอ้อมเมือง เพื่อเป็นของเชิดหน้าชูตาให้ชาวโคราช แต่กลไกลของรัฐฯหรือหน่วย งานตรวจสอบความโปร่งใสในกระบวนการใช้เม็ดเงินจ�ำนวนมหาศาล ที่เรามีอยู่ในเวลานี้ มันมีคุณภาพหรือศักยภาพพอเพียงหรือไม่ที่จะ สกัดกั้น “การทุจริต” หรือ “กลโกง” ของบรรดาเสือหิวทั้งหลาย องค์กรภาคประชาชนเข้มแข็งพอหรือไม่ที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจบางขั้นบางตอน หรือการได้รับรู้ข้อมูลที่แท้จริงจากภาครัฐ ว่ามันควรจะสร้างดี หรือไม่สร้างดี มีแนวทางหรือวิธีการอื่นหรือไม่ ที่ประหยัด ไม่ต้องใช้งบประมาณมหาศาลแต่ประชาชนได้รับสิ่งที่ดี กว่าปัจจุบัน? เพราะในอีก 10-20 ปี ข้างหน้า หากไม่มีการพูดกันหรือ ทบทวนกันในประเด็นดังกล่าวปล่อยให้เป็นไปตามกระแส แห่งความ เคยชินเดิมๆ หรือตามทฤษฎี “สมบัติผลัดกันกิน” แล้วไซร้ ลูกหลานของเราอาจจะไร้แผ่นดินแห่งความภาคภูมิใจของ บรรพบุรุษทั้งปวงก็ได้

ภาพแห่ ง ความทรงจ� ำ P h o to o f m e m o ries.

ร่วมประชุมหอการค้าเขต 13 คณะกรรมการหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา พร้อมด้วยคณะกรรมการหอการค้า จังหวัดสุรินทร์, จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดบุรีรัมย์ เข้าร่วมหารือหอการค้าเขต 13 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2543 ณ ห้องประชุม กรอ.จังหวัดชัยภูมิ

ชาวโคราชเปิดเวทีสาธารณะ Sky Bus คือค�ำตอบของบระบบขนส่งมวลชน โคราชจริ ง หรื อ ? และมอเตอร์ เ วย์ บางปะอิน-โคราชใครได้ใครเสีย หลังเกิด ปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการขอประชามติ จากภาคประชาชนและภาคเอกชน ทีย่ งั ไม่ เห็นด้วยกับการก่อสร้างทั้ง 2 โครงการ ภาคธุรกิจเบรกโครงการรถเมลล์ลอยฟ้า หวั่นบดบังทัศนียภาพของเมือง ปธ.หอ โคราชแนะให้เสนอรูปแบบการก่อสร้างที่ หลากหลาย ประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุม ทุกภาคส่วน ส่วนมอเตอร์เวย์ภาคท้องถิ่น เห็นต่าง จุดขึ้น จุดลง แต่ทุกฝ่ายยืนยัน สนับสนุนเต็มที่ วอนรัฐบาลทบทวน จั ง หวั ด นครราชสี ม า เป็ น ศู น ย์ ก ลางการค้ า การพาณิ ช ย์ การ คมนาคมทางบก และอุตสาหกรรมของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความเจริญ เติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการ ท่องเทีย่ วอย่างรวดเร็ว มีความต้องการเดิน ทางจากประชากรในเขตเทศบาลเมื อ ง นครราชสีมา ประมาณ 165,000 คน และ มีประชากรแฝงอีกประมาณ 200,000 คน มีจํานวนรถยนต์ส่วนบุคคลจดทะเบียนสูง ที่สุดในภูมิภาค และมีจํานวนรถจักรยาน ยนต์ จ ดทะเบี ย นสู ง เป็ น อั น ดั บ สองของ ประเทศ จังหวัดนครราชสีมาจึงมีโปรเจ็กต์ ขนาดใหญ่หลายโครงการทีก่ ำ� ลังรอมติจาก ประชาชนผู ้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ แ ละเสี ย ประโยชน์ ประเด็นร้อนในขณะนีค้ งหนีไม่ พ้นการก่อสร้างมอเตอร์เวย์สายบางปะอินโคราช และการก่อสร้าง SKY BUS เพื่อ แก้ไขปัญหาการคมนาคม เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ที่ ผ่าน หอการค้าจังหวัดนครราชสีมาจึงร่วม กับหน่วยงานภาคเอกชนและภาครัฐจัดเวที กลางสาธารณะ เพือ่ ระดมความคิดเห็นเกีย่ ว กับทัง้ 2 โครงการขึน้ เพือ่ เป็นแนวทางให้ กับผู้ได้ประโยชน์ ผู้เสียประโยชน์และผู้ ที่ท�ำการศึกษาวิจัยโครงการ ให้มีจุดตรง กลางเพือ่ ยืดหยุน่ และแก้ปญั หาให้กบั ทัง้ 2 ฝ่ายได้มที างออกร่วมกัน โดยในเวทีเสวนา SKY BUS คือ ค�ำตอบของระบบขนส่งมวลชนโคราชจริง หรือ จัดโดยหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีประชาชนให้ความสนใจเดินทางมา ร่วมเสวนาแสดงความคิดเห็นเป็นจ�ำนวน มาก ทัง้ หัวหน้าส่วนราชการ, นักวิชาการ ด้านการขนส่งจากสถาบันอุดมศึกษา, ภาค เอกชน, ภาคประชาสังคม เข้าร่วม ซึ่ง ไม่มีผู้บริหารเทศบาลนครนครราชสีมาเข้า ร่วมในเวทีนี้ มีเพียงผู้แทนที่ปรึกษาระบบ ขนส่งมวลชนที่เทศบาลนครนครราชสีมา ได้ว่า จ้างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ท�ำการศึกษาได้เดินทางมารับฟัง และ

ชี้แจงรายละเอียดโครงการให้แก่ผู้เข้าร่วม คือ รถระบบล้อยาง ได้แก่ รถโดยสาร โดยเวทีเสวนามีความเห็นพ้องกันในการแก้ หรื อ รถโดยสารด่ ว นพิ เ ศษ หรื อ BRT ปัญหาจราจรติดขัดในเขตเทศบาลนคร ทั้งแบบบนดิน และยกระดับ รถไฟราง นครราชสีมา แต่ต้องหารูปแบบขนส่ง เดี่ยว หรือโมโนเรล รถไฟฟ้าขนาดเบา มวลชนให้เหมาะสมกับพืน้ ที่ ซึ่งประเด็นนี้ หรือ LRT เบือ้ งต้นได้กำ� หนดเส้นทางขนส่ง ที่ผ่านมาเทศบาลนครนครราชสีมา ได้รับ สาธารณะไว้ 5 สถานี คือ สายสีน�้ำเงิน ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชนในเขต จากราชสีมาวิทยาลัยถึงบ้านเกาะ สายสี เทศบาลไปแล้ว 2 ครัง้ แต่ยงั ไม่ได้ขอ้ สรุป ฟ้า จากโคกกรวดถึงราชสีมาวิทยาลัย สาย ว่า รูปแบบใดเหมาะสมกับการแก้ปัญหา สีม่วง จากประตูน�้ำถึงหัวทะเล สายสี จราจรในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา เหลือง จากบ้านเกาะถึงจอหอ สายสีแดง โดยมี 3 ทางเลือกคือ 1.สกายบัส หรือ จากบิ๊กซีถึงแยกจอหอ BRT ระดับราบ BRT ยกระดับ 2.โมโนเรล ช่วงบ่ายได้มกี ารจัดเวทีสาธารณะ และ 3.ระบบราง แต่มีข้อมูลที่น่าสนใจ มอเตอร์เวย์บางปะอิน-โคราช ใครได้ใคร จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี เสีย ผู้เข้าร่วมต่างเสนอให้กรมทางหลวง สุรนารี พบว่า BRT ยกระดับเป็นระบบ ปรับเปลี่ยนรูปแบบแนวเส้นทาง เพื่อลด ขนส่งมวลชน ทีม่ คี วามเหมาะสมมากทีส่ ดุ ผลกระทบที่ มี ต ่ อ ประชาชนในพื้ น ที่ ที่ แต่ทงั้ นีย้ งั มีหลายฝ่ายตัง้ ข้อสังเกตว่า BRT มอเตอร์เวย์ผ่าน ซึ่งล่าสุดกรมทางหลวง ยกระดับเป็นระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะ ชะลอเรื่องน�ำเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี สมกับพืน้ ทีจ่ ริงหรือไม่ เหตุใดต้องยกระดับ และเตรียมลงพื้นที่รับฟังปัญหา และข้อ ถ้าไม่ยกระดับจะมีรูปแบบอื่นเป็นตัวเลือก เสนอแนะจากประชาชนในจั ง หวั ด อีกหรือไม่ และประชาชนได้รับประโยชน์ นครราชสีมา มากน้อยเพียงใด โดยมีนายสราวุธ ทรงศิวิไล ผู้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิคม บุญญา อ� ำ น ว ย ก า ร ส� ำ นั ก ท า ง ห ล ว ง ที่ 8 นุสิทธิ์ นายกสมาคมสถาปนิกภาคอีสาน นครราชสีมา นายวิชชุ ชุปวา ตัวแทน ให้ความเห็นว่า เทศบาลควรศึกษารูปแบบ ประชาชนจากอ�ำเภอปากช่อง ร้อยต�ำรวจ การขนส่งมวลชนให้หลากหลาย นอกเหนือ เอกคมกริช อินทรักษา นายกเทศมนตรี ไปจาก 3 รูปแบบที่ก�ำลังศึกษาอยู่ เพราะ ต�ำบลปรุใหญ่ นายทรงศักดิ์ อุไรธรากุล ตนมองว่ารถโดยสารยังมีบทบาท และหาก ประธานกรรมการบริหาร บริษัทในเครือ น�ำเรื่องทางจักรยานมาเป็นอีกแนวทางใน ปฐพีทอง และมีนายทวิสันต์ โลณานุรักษ์ การแก้ปญั หาจราจรก็จะเป็นทางเลือกหนึง่ รองประธานคณะกรรมการพั ฒ นา ให้กับประชาชน เศรษฐกิจพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้าน ดร.กีรติ กิจมานะวัฒน์ ผู้ หอการค้าไทย ด�ำเนินรายการ ท่ามกลาง เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมการขนส่งและ ตัวแทนจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาค จราจร หนึง่ ในคณะท�ำงานศึกษาโครงการ เอกชน และภาคประชาชนเดินทางมาร่วม จัดท�ำแผนแม่บท และศึกษาความเหมาะสม รับฟัง และแสดงความคิดเห็นเป็นจ�ำนวน ด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจ และผลกระทบสิง่ มาก แวดล้อมเบื้องต้น เพื่อการก่อสร้างระบบ นายวิชชุ ชุปวา ตัวแทนประชาชน ขนส่งมวลชนเมืองนครราชสีมา ระบุว่า จากอ�ำเภอปากช่อง ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก คณะท�ำงานศึกษาโครงการจัดท�ำแผนแม่บท การถูกเวนคืนที่ดินโดยเฉพาะพื้นที่ของ เพื่อการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนเมือง ต�ำบลหนองน�ำ้ แดง ได้ยนื ยันว่าชาวอ�ำเภอ นครราชสีมา ยังไม่ได้สรุปว่าจะใช้รปู แบบ ปากช่ อ งไม่ ไ ด้ คั ด ค้ า นการก่ อ สร้ า ง การขนส่งมวลชนรูปแบบใด และไม่เคยตัง้ มอเตอร์ เ วย์ พร้ อ มเรี ย กร้ อ งให้ ก รม ธงว่าจะต้องเป็น BRT ยกระดับ ตามทีห่ ลาย ทางหลวงปรับรูปแบบของมอเตอร์เวย์จาก ฝ่ายเข้าใจกัน อย่างไรก็ตามจะต้องมีการ พื้นราบที่ต้องมีการเวนคืนที่ดิน ปรับให้ ศึกษาในทุกรูปแบบทัง้ สกายบัส โมโนเรล เป็นทางยกระดับคล่อมทางหลวงหมายเลข และระบบราง โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม 2 หรือถนนมิตรภาพ เพือ่ ลดผลกระทบต่อ ของพืน้ ที่ และงบประมาณการลงทุน ประชาชนในพื้นที่ ส� ำ หรั บ โครงการจั ด ท� ำ แผน สอดคล้องกับร้อยต�ำรวจเอกคม แม่บท และศึกษาความเหมาะสมด้าน กริช อินทรักษา นายกเทศมนตรีต�ำบลปรุ วิศวกรรม เศรษฐกิจ และผลกระทบสิ่ง ใหญ่ อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา ซึ่งเป็นอีก แวดล้อมเบื้องต้น เพื่อการก่อสร้างระบบ พื้นที่หนึ่งถูกก�ำหนดให้เป็นทางขึ้นลงของ ขนส่งมวลชนเมืองนครราชสีมา เทศบาล มอเตอร์เวย์ ได้ขอให้กรมทางหลวงปรับ นครนครราชสีมาได้ว่าจ้างมหาวิทยาลัย เปลี่ยนแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์ เพื่อลด เทคโนโลยีสรุ นารีทำ� การศึกษาหารูปแบบที่ ผลกระทบที่มีต่อประชาชนในหลายต�ำบล เหมาะสม โดยได้ศึกษาในหลายรูปแบบ ของอ�ำเภอเมือง ไม่ว่าจะเป็นต�ำบลบ้าน

ใหม่ และต�ำบลปรุใหญ่ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งจุดขึ้นลงของมอเตอร์เวย์ นอกจากนีย้ งั มีความเห็นของนาย ทรงศักดิ์ อุไรธรากุล ประธานกรรมการ บริหาร บริษัทในเครือปฐพีทอง ที่เสนอให้ ขยายถนนมิตรภาพ เพิ่มเป็นอีกข้างละ 6 เลน รวมเป็น 12 เลน เหมือนกับประเทศ จีน แทนที่จะน�ำงบประมาณมหาศาลมา ก่อสร้างมอเตอร์เวย์ ประชาชนทุกระดับได้ รับประโยชน์สูงสุดมากกว่า ด้านนายสราวุธ ทรงศิวิไล ผู้ อ�ำนวยการส�ำนักทางหลวงที่ 8นครราชสีมา ได้อธิบายโครงการก่อสร้างมอเตอร์เวย์ บางปะอิ น -โคราช ว่ า รู ป แบบของ มอเตอร์เวย์ สายบางปะอิน-โคราช สรุป เสร็ จ สิ้ น ไปแล้ ว เมื่ อ ปี 2550 ขณะนี้ กฎหมายเวนคืนที่ดินผ่านคณะกรรมการ กฤษฎี ก า รอเสนอเข้ า ที่ ป ระชุ ม คณะ รัฐมนตรี แต่เนื่องจากวันนี้มีประชาชนใน พื้นที่ที่มอเตอร์เวย์ผ่านได้ออกมาคัดค้าน รูปแบบการก่อสร้าง ท�ำให้จ�ำเป็นต้องชะ รอเรื่องน�ำเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี และ กรมทางหลวงจะลงพื้นที่รับฟังปัญหาและ ข้อเสนอจากประชาชน คาดว่าสัปดาห์หน้า จะลงพื้นที่ที่อ�ำเภอปากช่อง ส� ำหรับความคืบหน้าโครงการ ก่อสร้างมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-โคราช ตามรายงานข่าวได้อ้างค�ำสัมภาษณ์ของ นายวั น ชั ย ภาคลั ก ษณ์ อธิ บ ดี ก รม ทางหลวง ว่า ปีนกี้ รมทางหลวงไม่สามารถ เปิดประมูลก่อสร้างโครงการทางหลวง พิเศษระหว่างเมือง หมายเลข 6 หรือ มอเตอร์เวย์ สายบางปะอิน-โคราช ระยะ ทาง 196 กิโลเมตร มูลค่าการลงทุน 69,100 ล้านบาท เนื่องจากยังมีปัญหา อุปสรรคเรื่องขั้นตอนการด�ำเนินงานอาจ จะท�ำให้ลา่ ช้าจากแผนงาน หลังจากทีก่ รม ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการลงทุนใหม่ จาก เดิมเป็นแบบให้เอกชนเข้าร่วมการลงทุน ตาม พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ ในรูปแบบ PPP Gross Cost เอกชนเป็นผู้ลงทุนก่อสร้าง และบ� ำ รุ ง รั ก ษา ทางรั ฐ จั ด เก็ บ ค่ า ธรรมเนียมผ่านทาง ปรับใหม่ให้เอกชน ลงทุนก่อน แล้วรัฐผ่อนช�ำระพร้อมดอกเบีย้ ภายหลัง นอกจากนี้แนวเส้นทางโครงการ ยังมีประชาชนในอ�ำเภอปากช่องร้องขอให้ ปรั บ แบบใหม่ ดั ง นั้ น กรมอยู ่ ร ะหว่ า ง ประเมินข้อดีข้อเสียอย่างรอบคอบ ก่อน เสนอไปยังกระทรวงคมนาคม คาดว่า ภายในปีนี้จะสามารถด�ำเนินการในส่วน ของการเวนคืนทีด่ นิ ส่วนการก่อสร้างคาด ว่าจะเริม่ ได้ในปี 2556 เป็นต้นไป เนือ่ งจาก ประเมินแล้วในช่วงระยะเวลาที่เหลือกว่า 3 เดือนที่เหลือของปีนี้คงจะไม่สามารถ ด�ำเนินการได้ทัน.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.